The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by moohpupa19811, 2022-12-28 00:00:03

รายงานคุณภาพชีวิต คนกาฬสินธุ์ (จปฐ.) ปี 2565

รายงานคุณภาพชีวิต 2565 กาฬสินธุ์

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ประมวลสรุป

พระราชกระแสของสมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกมุ าร ี
ในวโรกาสท่ที รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้คณะกรรมการอานวยการ
งานพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน (พชช.) และเจา้ หนา้ ท่ี
เขา้ เฝา้ ถวายงานคุณภาพชวี ติ ของคนไทย
----------------------------------------------------------------

การดาเนินงานการพัฒนาแต่ก่อนใชว้ ัดด้วยสายตาบ้างเฉลี่ยไปตามความคิดเห็น ที่ไม่เป็น
เชงิ สถิติบ้างทาไปเรอ่ ื ย ๆ บา้ งแต่ตอนน้ที างราชการมกี ารสารวจข้อมูล จปฐ. เปน็ ข้อมลู ท่คี ิดว่าในขณะน้ีดีท่ีสุด
แล้วดีในการเป็นฐานให้เรม่ ิ ต้นแก้ไขปัญหาเป็นข้อมูลที่ง่ายดูง่ายและเห็นด้วยที่มีการสารวจข้อมูล จปฐ.
มีการวัดเพ่ือให้พบปัญหาซง่ึ เม่ือรูป้ ัญหาแล้วจะได้มีการแก้ไขสาหรบั การวัดนั้นจะ ตรงหรอื ไม่ตรงแน่นอน
ต้องมีการผิดพลาดบ้างก็ไม่น่าจะเป็นปัญหาใหญ่ขอให้มีส่ิงที่จะ ช่วยช้ีให้ฝ่ายรฐั เข้าไปหาชาวบ้านได้ทราบ
ปัญหาของชาวบ้านบ้างเม่ือเราทาจรงิ สารวจจรงิ แล้วจะทาให้พบกับบุคคลท่ีควรสงเคราะห์หรอื ทาให้พบ
ปัญหาและเมอื่ พบปัญหาแลว้ จะแก้ไขอย่างไรเป็นสิ่งท่จี ะตามมา

หลักการพฒั นาทค่ี วรจะคานงึ ถึงคือชว่ ยเขาเพ่ือให้เขาชว่ ยตัวเองด้วยการให้คาแนะนา
เพือ่ ใหช้ าวบา้ นได้เรยี นรวู้ ธิ กี ารแก้ไขปญั หาด้วยตนเองจงึ เปน็ ส่ิงสาคัญ

----------------------------------------------------------------

(ได้รบั พระราชทานพระราชานุญาตตามหนังสือสานักราชเลขาธกิ ารท่ีรล 0017/10527 ลงวันท่ี 29 ตุลาคม 2534)

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

คานา

เอกสารรายงานคุณภาพชีวิตคนจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2565 ฉบับนี้เป็นการนาเสนอผลการ
จดั เก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ของรอบปีท่ีผ่านมา (ปี 2565) จากครวั เรอื นท่ีมผี ู้อาศัยอยู่จรงิ ทงั้ ใน
เขตชนบทและเขตเมืองในรูปแบบการรายงานคุณภาพชวี ิตของคนจงั หวัดกาฬสินธุ์ ทาให้ทราบถึงคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนในภาพรวมท้ังประเทศ โดยมีเคร่ืองมือในการวัดผลคุณภาพชีวิตจานวน 5 หมวด
31 ตัวชวี้ ดั ซง่ึ ตัวชว้ี ัดท่ีไม่ผ่านเกณฑ์คือปญั หาท่ที กุ คนในครวั เรอื นต้องรว่ มกันแก้ไขเพราะเปน็ เรอ่ื งทท่ี ุกคนใน
ครัวเรือนสามารถช่วยแก้ไขได้ด้วยตนเอง สาหรับตัวช้ีวัดท่ีไม่ผ่านเกณฑ์เป็นจานวนมากในภาพรวม
ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ตาบล อาเภอ เป็นภารกิจของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในแต่ละระดับต้องนาไปใชใ้ นการ
วางแผนเพ่ือแก้ไขปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชนให้ดีย่ิงขนึ้

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะทางานบรหิ ารการ
จดั เก็บขอ้ มูลพ้นื ฐานข้อมลู ความจาเป็นพื้นฐานจงั หวัดกาฬสินธุ์ หวงั เป็นอยา่ งย่ิงว่าเอกสาร “รายงานคุณภาพ
ชีวิตคนจังหวัดกาฬสินธุ์ ปี 2565” ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องท้ังภาครฐั ภาคเอกชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่ม/องค์กร นิสิต/นักศึกษาและประชาชน ท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ในการ
กาหนดนโยบายการวางแผนการจัดทาโครงการอนุมัติโครงการ/งบประมาณ การลงทุนทางธุรกิจ
การทากิจกรรมความรบั ผิดชอบต่อสังคม การศึกษาวิจยั และการติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตของคนกาฬสินธุ์ ให้ดีย่งิ ข้ึนต่อไป

สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั กาฬสินธุ์
กันยายน 2565

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

สารบัญ

ส่วนที่ 1 บทสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร หน้า
1. ขอ้ มลู ท่วั ไป 1
2. คณุ ภาพชวี ติ ของคนกาฬสนิ ธุ์ 2
8
ส่วนท่ี 2 คุณภาพชวี ิตของประชาชนจงั หวดั กาฬสินธุ์ จากข้อมูล จปฐ. ปี 2565 16
เครอื่ งมอื ชวี้ ัด ข้อมลู จาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) จานวน 5 หมวด 31 ตัวชว้ี ดั 19
ผลการสารวจท่ผี ่านเกณฑ์ และไม่ผา่ นเกณฑ์ 21
53
ส่วนที่ 3 ภาวะเศรษฐกิจครวั เรอื น 54
ภาวะเศรษฐกิจครวั เรอื น จ.กาฬสินธุ์ 55
รายได้-รายจา่ ยครวั เรอื น 56
รายงานรายจา่ ยเฉลีย่ ครวั เรอื น 57
ผลต่างรายได้-รายจา่ ย จาแนกเปน็ อาเภอ
58
สรปุ ผลการจดั เก็บข้อมูล จปฐ. จงั หวดั กาฬสินธุ์ ปี 2565 59
หมวดที่ 1 สขุ ภาพ 60
หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม 60
หมวดที่ 3 การศึกษา 61
หมวดท่ี 4 การมงี านทาและรายได้ 62
หมวดที่ 5 ค่านิยม
81
สรปุ ผลการจดั เก็บข้อมลู ความจาเปน็ พ้ืนฐาน ทงั้ 18 อาเภอ 82
ผลกระทบท่คี นในครวั เรอื นได้รบั จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโร 83
นา 2019 84
85
ด้านสุขภาพ
การเขา้ ถงึ บรกิ ารสุขภาพ
ด้านแรงงาน
ด้านอาชพี
ด้านหนส้ี ิน

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ส่วนที่ 1

บทสรุป

สาหรบั ผู้บรหิ าร

หน้า 1 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

บทสรุป สาหรบั ผู้บรหิ าร

1 ขอ้ มูลทั่วไป
การจดั เก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2565 จงั หวัดกาฬสินธุ์ ซงึ่ ได้ทาการสารวจ
คุณภาพชีวิตของคนไทย จากครวั เรอื นท่ีมีผู้อาศัยอยู่จรงิ ในพื้นท่ีเกิน 6 เดือน ท้ังที่มีเลขที่บ้านและไม่มี

เลขท่ีบ้าน มีผลการจัดเก็บครวั เรอื นท้ังจังหวัด 18 อาเภอ 135 ตาบล 150 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

1,584 หมู่บ้าน 46 ชุมชน จานวน 212,711 ครัวเรือน ประชากรรวม 671,312 คน แยกเป็น
เพศชาย 327,603 คน (48.80%) เพศหญิง จานวน 343,709 คน (51.20%) มีผลสรปุ ได้ ดังน้ี

19,055 คน 30,894 คน
32,486 คน
28,762 คน 45,864 คน 21,023 คน
32,533 คน 21,826 คน 25,589 คน
71,903 คน
34,932 คน 24,552 คน
98,240 คน 20,202 คน

86,516 คน

19,344 คน 11,056 คน

11,056 คน

หนา้ 2 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.1 จานวนครวั เรอื น จานวนครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ

ที่ อาเภอ 31,746 14.92
29,094 13.68
1 เมืองกาฬสินธุ์ 23,361 10.98
2 ยางตลาด 14,350 6.75
3 กฉุ ินารายณ์ 13,145
4 กมลาไสย 12,273 6.18
5 สมเด็จ 11,446 5.77
6 หนองกงุ ศรี 5.38
7 ห้วยเมก็ 9,696 4.56
8 คามว่ ง 9,254 4.35
9 เขาวง 8,848 4.16
10 สหัสขันธ์ 7,538 3.54
11 ทา่ คันโท 7,488 3.52
12 นามน 7,379 3.47
13 นาคู 6,326 2.97
14 ห้วยผ้ึง 6,134 2.88
15 ดอนจาน 6,150 2.89
16 ฆ้องชยั 5,144 2.42
17 สามชยั 3,339 1.57
18 รอ่ งคา 212,711 100

รวมท้งั จงั หวัด

จานวนครวั เรอื น

35,000 31,746
30,000 29,094
25,000
20,000 23,361
15,000
10,000 14,350 13,145 12,273 11,446

5,000 9,696 9,254 8,848
0
7,538 7,488 7,379 6,326 6,134 6,150

5,144 3,339

หนา้ 3 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.2 จานวนประชากร เพศชาย เพศหญิง รวม รอ้ ยละของ
ประชากรรวม
ท่ี อาเภอ 47,022 51,218 98,240
41,721 44,795 86,516 14.63
1 เมืองกาฬสินธุ์ 35,615 36,288 71,903 12.89
2 ยางตลาด 22,095 24,440 46,535 10.71
3 กุฉินารายณ์ 22,455 23,409 45,864 6.93
4 กมลาไสย 16,431 16,102 32,533 6.83
5 สมเด็จ 17,220 17,712 34,932 4.85
6 หนองกงุ ศรี 16,289 16,197 32,486 5.20
7 ห้วยเมก็ 12,632 12,957 25,589 4.84
8 คาม่วง 14,972 15,922 30,894
9 เขาวง 14,242 14,520 28,762 3.81
10 สหัสขันธ์ 11,960 12,592 24,552 4.60
11 ท่าคันโท 10,230 10,793 21,023 4.28
12 นามน 10,589 11,237 21,826 3.66
13 นาคู 9,325 10,019 19,344 3.13
14 ห้วยผึง้ 9,953 10,249 20,202 3.25
15 ดอนจาน 9,635 9,420 19,055 2.88
16 ฆ้องชยั 5,217 5,839 11,056 3.01
17 สามชยั 327,603 343,709 671,312 2.84
18 รอ่ งคา 1.65
100
รวม

98,240
86,516

71,903

46,535 45,864

34,932 32,533 32,486

30,894 28,762

25,589 24,552

21,826 21,023 20,202 19,344 19,055

11,056

หนา้ 4 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.3 ชว่ งอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม รอ้ ยละ
213 165 378 0.06
ชว่ งอายุ 471 409 880 0.13
1 เดือน ถึง 5 เดือน 0.41
6 เดือน ถึง 1 ปี 0 เดือน 1,388 1,334 2,722 1.70
1 ปี 1 เดือน ถึง 2 ปี 5,982 5,453 11,435 7.10
3 ปี – 5 ปี 24,539 23,151 47,690 2.36
6 ปี – 12 ปี 8,160 7,711 15,871 4.79
13 ปี – 14 ปี 16,552 15,630 32,182 8.05
15 ปี – 18 ปี 27,636 26,402 54,038 11.20
19 ปี – 25 ปี 38,336 36,852 75,188 22.24
26 ปี – 34 ปี 73,036 76,235 149,271 18.87
35 ปี – 49 ปี 60,529 66,120 126,649 23.09
50 ปี – 59 ปี 70,761 84,247 155,008
60 ปี ข้ึนไป 327,603 343,709 671,312

รวม

60 ปี ขึ้นไป 126,649 155,008
50 ปี – 59 ปี 149,271
35 ปี – 49 ปี
26 ปี – 34 ปี 75,188
19 ปี – 25 ปี
15 ปี – 18 ปี 54,038
13 ปี – 14 ปี 32,182
15,871
6 ปี – 12 ปี
3 ปี – 5 ปี 47,690
1 ปี 1 เดือน ถึง 2 ปี 11,435
6 เดือน ถึง 1 ปี 0 เดือน 2,722
1 เดือน ถึง 5 เดือน 880
378

0 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 140,000 160,000 180,000

เมื่อพิจารณาชว่ งอายุต่างๆ ของประชากรจงั หวัดกาฬสินธุ์ พบว่า ประชากรมีแนวโน้มอัตรา

การเกิดลดลงและเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยประชากรส่วนมาก มีช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป รอ้ ยละ 23.09

รองลงมา คือ อายุ 35 ปี – 49 ปี รอ้ ยละ 22.24 อายุ 50 ปี – 59 ปี รอ้ ยละ 18.87 อายุ 26 ปี – 34 ปี
รอ้ ยละ 11.20 อายุ 19 ปี – 25 ปี รอ้ ยละ 8.05 อายุ 6 ปี – 12 ปี รอ้ ยละ 7.10 อายุ 15 ปี – 18 ปี รอ้ ยละ 4.79
อายุ 13 ปี – 14 ปี รอ้ ยละ 2.36 อายุ 3 ปี – 5 ปี รอ้ ยละ 1.70 อายุ 1 ปี 1 เดือน ถึง 2 ปี รอ้ ยละ 0.41

อายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี 0 เดือน รอ้ ยละ 0.13 อายุ 1 เดือน ถึง 5 เดือน รอ้ ยละ 0.06

หน้า 5 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.4 ระดับการศึกษา

การศึกษา เพศชาย เพศหญิง รวม รอ้ ยละ

ไมเ่ คยศกึ ษา 2,580 2,386 4,966 0.74
5,710 5,292 11,002 1.64
อนบุ าล/ศูนย์เด็กเลก็ 15,135 16,276 31,411 4.68
144,511 160,028 304,539 45.36
ตำ่ กวา่ ชน้ั ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 59,230 52,175 111,405 16.60
62,011 61,422 123,433 18.39
ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 14,200 12,846 27,046 4.03
23,103 31,963 55,066 8.20
ม.ต้น (มศ.1-3 หรอื ม.1-3) 1,123 1,321 2,444 0.36
327,603 343,709 671,312 100.00
ม.ปลาย (มศ.4-5 หรอื ม.4-6 หรอื ปวช.)

อนุปริญญา หรอื เทยี บเทา่ หรอื ปวส.

ป.ตรี หรือเทยี บเทา่

สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี

รวม

ไม่เคยศึกษา 4,966

อนบุ าล/ศูนยเ์ ด็กเลก็ 11,002

อนปุ รญิ ญา หรอื เทียบเทา่ หรอื ปวส. 27,046

ตา่ กว่าชน้ั ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 31,411

ป.ตรี หรอื เทียบเทา่ 55,066

ม.ต้น (มศ.1-3 หรอื ม.1-3) 111,405

ม.ปลาย (มศ.4-5 หรอื ม.4-6 หรอื ปวช.) 123,433

ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6) 304,539

0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000

จากข้อมูลพบว่า ประชากรจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนมาก จบการศึกษา ระดับประถมฯ

(ป.4, ป.7, ป.6) ร้อยละ 45.36 รองลงมา ม.ปลาย (มศ.4-5 หรือ ม.4-6 หรือ ปวช.) ร้อยละ 18.39
ม.ต้น (มศ.1-3 หรอื ม.1-3) รอ้ ยละ 16.6 ป.ตรี หรอื เทียบเท่า รอ้ ยละ 8.2 ต่ากว่าชน้ั ประถมฯ (ป.4, ป.7, ป.6)
รอ้ ยละ 4.68 อนุปรญิ ญา หรอื เทียบเท่า หรอื ปวส. รอ้ ยละ 4.03 อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก รอ้ ยละ 1.64

ไม่เคยศึกษา รอ้ ยละ 0.74 และ ระดับ สูงกว่าปรญิ ญาตรี มเี พียงรอ้ ยละ 0.36

หน้า 6 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.5 อาชพี

อาชพี เพศชาย เพศหญิง รวม รอ้ ยละ

เกษตร-ทานา 128,909 136,963 265,872 39.60
รบั จา้ งท่วั ไป
กาลงั ศึกษา 75,616 69,951 145,567 21.68
ค้าขาย 61,005 60,088 121,093 18.04
พนักงานบรษิ ัท 15,978 25,331
พนักงาน-รบั ราชการ 9,353 3.77
เกษตร-ทาไร่ 10,534 11,388 21,922 3.27
ไมม่ ีอาชพี
อาชพี อ่นื ๆ 9,484 11,553 21,037 3.13
ธุรกิจส่วนตัว 10,070 10,135 20,205 3.01
เกษตร-ทาสวน 10,509 17,959 2.68
พนักงาน-รฐั วสิ าหกิจ 7,450 8,084 14,523 2.16
เกษตร-ประมง 6,439
เกษตร-ปศุสัตว์
4,899 5,177 10,076 1.50

1,497 1,730 3,227 0.48

1,409 1,523 2,932 0.44
0.14
555 403 958 0.09

รวม 383 227 610

327,603 343,709 671,312

จากข้อมูล พบว่า ประเภทอาชพี ที่ประชากรจงั หวัดกาฬสินธุ์ ประกอบอาชพี มากท่สี ุด
คือ การทาเกษตร-ทานา รอ้ ยละ 39.60 รองลงมา คือ รบั จ้างทั่วไป รอ้ ยละ 21.68 กาลังศึกษา

รอ้ ยละ 18.04 ค้าขาย รอ้ ยละ 3.77 พนักงานบริษัท รอ้ ยละ 3.27 พนักงาน -รับราชการ รอ้ ยละ 3.13
เกษตร-ทาไร่ รอ้ ยละ 3.01 ไม่มีอาชีพ รอ้ ยละ 2.68 อาชีพอื่นๆ รอ้ ยละ 2.16 ธุรกิจส่วนตัว รอ้ ยละ 1.50
เกษตร-ทาสวน รอ้ ยละ 0.48 พนักงาน-รฐั วสิ าหกิจ รอ้ ยละ 0.44 เกษตร-ประมง รอ้ ยละ 0.14 เกษตรปศุสัตว์
รอ้ ยละ 0.09

หน้า 7 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

1.6 ศาสนา เพศชาย เพศหญิง รวม รอ้ ยละ
327,193 99.87
ศาสนา 335 343,273 670,466 0.1
พทุ ธ 40 0.01
ครสิ ต์ 22 360 695 0.01
อสิ ลาม 6 0
อืน่ ๆ 7 51 91 0
ซกิ ส์ 327,603 100
ฮินดู 23 45
รวม
06

29

343,709 671,312

จากข้อมลู พบวา่ ประชากรจงั หวัดกาฬสินธุ์ ส่วนมาก นับถือศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 99.87

รองลงมา คือ ศาสนาครสิ ต์ รอ้ ยละ 0.10 อิสลาม รอ้ ยละ 0.01 อื่นๆ รอ้ ยละ 0.01 มีผนู้ ับถือศาสนาซกิ ส์
จานวน 6 คน และศาสนาฮนิ ดู จานวน 9 คน

2 คุณภาพชวี ิต ของคนกาฬสินธุ์

2.1 คุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์

จากข้อมลู ความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ.) ตามตัวชวี้ ัด จานวน 5 หมวด 31 ตัวชวี้ ัด มผี ลการจดั เก็บขอ้ มลู ดังน้ี

หมวดท่ี 1 สุขภาพ จานวน 7 ตัวชว้ี ัด
ตัวชว้ี ัดทคี่ นจงั หวดั กาฬสินธุ์ ผ่านเกณฑม์ ากทสี่ ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับท่ี 1 ตัวชวี้ ดั ที่ 3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รบั วคั ซนี ปอ้ งกันโรคครบตามตารางสรา้ งเสรมิ
ภมู คิ ้มุ กันโรค รอ้ ยละ 100

ลาดับท่ี 2 ตัวชว้ี ดั ท่ี 4 ครวั เรอื นกินอาหารถกู สุขลกั ษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน รอ้ ยละ 99.98
ลาดับท่ี 3 ตัวชวี้ ดั ท่ี 5 ครวั เรอื นมีการใชย้ าเพอ่ื บาบดั บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบือ้ งต้นอย่างเหมาะสม
รอ้ ยละ 99.96 และตัวชวี้ ัดที่ 7 คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที
รอ้ ยละ 99.96

หนา้ 8 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ตัวชวี้ ดั ท่ีคนจงั หวัดกาฬสินธุ์ ไม่ผา่ นเกณฑม์ ากทสี่ ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับที่ 1 ตัวชว้ี ัดท่ี 2 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อยา่ งเดียวอยา่ งนอ้ ย 6 เดือนแรกติดต่อกัน รอ้ ยละ 99.43
ลาดับที่ 2 ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 เด็กแรกเกิดมนี า้ หนัก 2,500 กรมั ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 99.84
ลาดับที่ 3 ตัวชวี้ ัดที่ 6 คนอายุ 35 ปีขน้ึ ไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจาปี รอ้ ยละ 99.91

หมวดที่ 2 สภาพแวดลอ้ ม จานวน 7 ตัวชวี้ ัด
ตัวชวี้ ดั ทค่ี นจงั หวัดกาฬสินธุ์ ผา่ นเกณฑม์ ากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับที่ 1 ตัวชว้ี ดั ที่ 9 ครวั เรอื นมีน้าสะอาดสาหรบั ด่ืมและบรโิ ภคเพียงพอตลอดปอี ย่างนอ้ ยคนละ 5
ลติ รต่อวนั รอ้ ยละ 99.99

ลาดับท่ี 2 ตัวชว้ี ัดท่ี 14 ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สิน รอ้ ยละ 99.98
ลาดับท่ี 3 ตัวชวี้ ัดท่ี 10 ครวั เรอื นมนี า้ ใชเ้ พยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลติ รต่อวัน รอ้ ยละ 99.97

ตัวชว้ี ัดทค่ี นจงั หวัดกาฬสินธุ์ ไมผ่ ่านเกณฑม์ ากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับท่ี 1 ตัวชว้ี ัดท่ี 12 ครวั เรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ รอ้ ยละ 99.84
ลาดับท่ี 2 ตัวชี้วัดที่ 11 ครวั เรอื นมีการจัดบ้านเรอื นเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาดและถูกสุขลักษณะ
รอ้ ยละ 99.92
ลาดับที่ 3 ตัวชวี้ ัดที่ 8 ครวั เรอื นมีความม่ันคงในทอ่ี ยอู่ าศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร รอ้ ยละ 99.94

หมวดท่ี 3 การศึกษา จานวน 5 ตัวชวี้ ัด
ตัวชวี้ ัดที่คนจงั หวดั กาฬสินธุ์ ผ่านเกณฑม์ ากทสี่ ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับท่ี 1 ตัวชวี้ ัดท่ี 15 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รบั บรกิ ารเล้ยี งดูเตรยี มความพรอ้ มก่อนวยั เรยี นรอ้ ยละ 100
ลาดับที่ 2 ตัวชวี้ ดั ที่ 17 เด็กจบชน้ั ม.3 ได้เรยี นต่อชนั้ ม.4 หรอื เทียบเท่า รอ้ ยละ 99.49
ลาดับที่ 3 ตัวชว้ี ัดท่ี 16 เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี รอ้ ยละ 98.45

ตัวชว้ี ดั ท่ีคนจงั หวดั กาฬสินธุ์ ไม่ผา่ นเกณฑม์ ากทสี่ ุด 2 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับที่ 1 ตัวชวี้ ดั ท่ี 18 คนในครวั เรอื นที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ทไี่ ม่ได้เรยี นต่อ รอ้ ยละ 99.12
ลาดับที่ 2 ตัวชว้ี ดั ที่ 17 เด็กจบชน้ั ม.3 ได้เรยี นต่อชนั้ ม.4 หรอื เทียบเท่า รอ้ ยละ 99.49

หนา้ 9 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดที่ 4 การมีงานทาและรายได้ จานวน 4 ตัวชว้ี ดั
ตัวชว้ี ัดท่ีคนจงั หวัดกาฬสินธุ์ ผ่านเกณฑม์ ากทสี่ ุด 2 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับที่ 1 ตัวชวี้ ัดท่ี 20 คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชพี และรายได้ รอ้ ยละ 99.93
ลาดับที่ 2 ตัวชว้ี ัดที่ 21 คนอายุ 60 ปขี นึ้ ไป มีอาชพี และรายได้ รอ้ ยละ 99.80

ตัวชวี้ ดั ที่คนจงั หวัดกาฬสินธุ์ ไมผ่ ่านเกณฑม์ ากทส่ี ุด 2 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับท่ี 1 ตัวชวี้ ัดท่ี 22 รายได้เฉลี่ยของคนในครวั เรอื นต่อปี รอ้ ยละ 99.61
ลาดับที่ 2 ตัวชว้ี ดั ที่ 23 ครวั เรอื นมกี ารเก็บออมเงนิ รอ้ ยละ 98.12

หมวดที่ 5 ค่านยิ ม จานวน 8 ตัวชวี้ ดั
ตัวชว้ี ัดท่คี นจงั หวดั กาฬสินธุ์ ผา่ นเกณฑม์ ากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับที่ 1 ตัวชวี้ ัดที่ 27 ผสู้ งู อายุ ได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน รอ้ ยละ 100
ลาดับท่ี 2 ตัวชวี้ ัดที่ 28 ผพู้ กิ าร ได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน รอ้ ยละ 100
ลาดับท่ี 3 ตัวชว้ี ัดที่ 29 ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รงั ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
รอ้ ยละ 100

ตัวชวี้ ดั ท่คี นจงั หวัดกาฬสินธุ์ ไมผ่ า่ นเกณฑม์ ากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก ได้แก่

ลาดับท่ี 1 ตัวชวี้ ดั ที่ 25 คนในครวั เรอื นไมส่ ูบบหุ ร่ี รอ้ ยละ 96.56
ลาดับที่ 2 ตัวชวี้ ัดท่ี 24 คนในครวั เรอื นไม่ด่ืมสุรา รอ้ ยละ 97.04
ลาดับที่ 3 ตัวชว้ี ดั ท่ี 31 ครอบครวั มีความอบอ่นุ รอ้ ยละ 99.83

หน้า 10 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2.2 ปัญหาท่ีควรได้รบั การแก้ไข 5 ลาดับแรก

ตัวชวี้ ัดท่ีตกเกณฑ์ 5 ลาดับแรก จานวนทส่ี ารวจ จานวนทไี่ ม่ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ

ตัวชว้ี ัดที่ 25 คนในครวั เรอื นไม่สูบบุหร่ี 671,323 คน 23,105 คน 3.44

ตัวชว้ี ัดที่ 24 คนในครวั เรอื นไม่ดื่มสุรา 671,323 คน 19,842 คน 2.96

ตัวชว้ี ดั ท่ี 23 ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงิน 212,715 คร. 3,998 คร. 1.88

ตัวชว้ี ดั ท่ี 16 เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รบั การศึกษาภาค 63,511 คน 983 คน 1.55
บงั คับ 9 ปี
ตัวชวี้ ัดที่ 18 คนในครวั เรอื นท่ีจบการศึกษาภาคบงั คับ 342 คน 3 คน 0.88
9 ปี ทีไ่ มไ่ ด้เรยี นต่อและยงั ไมม่ ีงานทา ได้รบั การ
ฝกึ อบรมด้านอาชพี

2.3 รายได้เฉล่ียต่อคนต่อปี

ที่ อาเภอ จานวน จานวน แหล่งรายได้ของครวั เรอื น (บาท/ป)ี รายได้ รายได้
ครวั เรอื น คน ครวั เรอื น บุคคล
1 เมืองกาฬสนิ ธุ์ อาชพี หลัก อาชพี รอง รายได้อื่น ทา-หาเอง เฉลี่ย (บาท/คน) เฉลี่ย (บาท/คน)
2 นามน 31,746 98,240 166,814.15 34,595.87 22,006.41 16,684.54 240,100.97 77,588.00
3 กมลาไสย 7,488 24,552 116,338.36 41,805.28 27,484.63 23,042.66 208,670.93 63,641.57
4 รอ่ งคา 14,350 46,535 177,925.24 72,054.60 45,068.29 23,404.20 318,452.33 98,201.16
5 กุฉนิ ารายณ์ 3,339 11,056 125,124.24 59,792.72 29,633.63 22,199.83 236,750.42 71,500.51
6 เขาวง 23,361 71,903 124,367.75 37,648.70 29,008.91 19,547.37 210,572.73 68,414.25
7 ยางตลาด 9,254 25,589 83,030.03 42,189.01 24,773.67 17,551.60 167,544.30 60,590.68
8 ห้วยเมก็ 29,094 86,516 155,454.41 46,940.91 36,474.16 18,020.43 256,889.90 86,388.12
9 สหัสขนั ธ์ 11,446 34,932 123,893.13 40,791.18 23,788.61 20,600.34 209,073.26 68,506.03
10 คามว่ ง 8,848 30,894 157,455.78 45,996.85 28,150.64 21,659.53 253,262.81 72,534.13
11 ท่าคันโท 9,696 32,486 95,714.85 55,149.51 30,159.68 24,076.76 205,100.80 61,215.83
12 หนองกงุ ศรี 7,538 28,762 158,192.72 58,945.27 33,993.81 19,584.21 270,716.00 70,949.77
13 สมเด็จ 12,273 32,533 135,515.18 59,753.51 25,609.86 27,688.29 248,566.84 93,771.27
14 หว้ ยผ้ึง 13,145 45,864 121,374.06 37,807.37 24,726.69 23,697.25 207,605.36 59,501.41
15 สามชยั 6,326 21,826 161,194.47 44,072.07 32,426.55 21,803.14 259,496.23 75,211.82
16 นาคู 5,144 19,055 159,587.25 64,980.50 36,437.53 32,711.66 293,716.94 79,290.47
17 ดอนจาน 7,379 21,023 90,684.43 45,497.33 41,570.81 21,468.28 199,220.85 69,925.83
18 ฆ้องชยั 6,134 20,202 111,685.12 46,397.80 28,510.33 22,851.00 209,444.25 63,594.25
6,150 19,344 120,640.58 54,059.20 34,758.57 17,721.76 227,180.12 72,226.93
เฉลี่ยรวมทุกพ้ืนที่ 212,711 671,312 138,505.07 46,681.64 30,160.87 20,822.32 236,169.90 74,832.47

รายได้เฉลีย่ ของคนจงั หวัดกาฬสินธุ์ จานวน 74,832.47 บาท/คน/ปี
มรี ายได้เฉลย่ี ต่อครวั เรอื น จานวน 236,169.90 บาท/ครวั เรอื น/ปี

หน้า 11 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2.4 รายจา่ ยเฉลี่ยต่อคนต่อปี

ที่ อาเภอ จานวน จานวน แหล่งรายได้ของครวั เรอื น (บาท/ปี) รายได้ รายได้
ครวั เรอื น คน ครวั เรอื น บุคคล
1 เมืองกาฬสินธุ์ อาชพี หลัก อาชพี รอง รายได้อ่ืน ทา-หาเอง เฉล่ีย (บาท/คน) เฉลี่ย (บาท/คน)
2 นามน 31,746 98,240 28,792.12 56,009.94 17,763.49 20,333.43 122,898.98 39,714.48
3 กมลาไสย 7,488 24,552 31,657.44 61,927.30 15,542.36 24,082.51 133,209.60 40,626.97
4 รอ่ งคา 14,350 46,535 64,803.20 76,910.56 27,728.09 29,631.58 199,073.43 61,388.28
5 กฉุ นิ ารายณ์ 3,339 11,056 34,547.59 74,279.44 15,633.06 23,939.10 148,399.19 44,817.74
6 เขาวง 23,361 71,903 39,913.88 40,383.95 18,745.18 14,513.43 113,556.44 36,894.04
7 ยางตลาด 9,254 25,589 25,334.87 34,016.77 12,225.43 15,980.30 31,664.23
8 ห้วยเม็ก 29,094 86,516 33,301.55 79,333.10 19,702.66 10,924.37 87,557.37 48,176.70
9 สหสั ขันธ์ 11,446 34,932 32,057.49 55,719.74 15,583.81 24,343.29 143,261.68 41,844.26
10 คาม่วง 8,848 30,894 37,200.92 67,686.09 33,995.99 21,006.37 127,704.34 45,792.10
11 ทา่ คนั โท 9,696 32,486 32,060.50 45,072.84 19,791.04 22,484.58 159,889.37 35,639.64
12 หนองกงุ ศรี 7,538 28,762 34,081.05 67,132.54 18,178.95 25,366.17 119,408.96 37,938.64
13 สมเด็จ 12,273 32,533 49,245.03 54,064.89 21,122.06 22,648.88 144,758.71 55,485.92
14 หว้ ยผง้ึ 13,145 45,864 27,877.02 44,764.14 12,418.58 16,997.83 147,080.87 29,250.54
15 สามชยั 6,326 21,826 28,135.86 84,868.01 24,906.91 24,011.48 102,057.58 46,931.19
16 นาคู 5,144 19,055 44,335.40 45,619.67 23,558.46 28,468.08 161,922.26 38,328.70
17 ดอนจาน 7,379 21,023 27,505.31 45,434.90 18,608.87 22,206.91 141,981.61 39,927.96
18 ฆ้องชยั 6,134 20,202 29,203.08 44,690.36 14,746.61 20,812.67 113,755.99 33,233.49
6,150 19,344 36,835.11 53,962.62 21,301.43 21,992.38 109,452.72 42,631.46
เฉล่ียรวมทกุ พื้นที่ 212,711 671,312 35,642.11 57,845.17 19,381.96 19,914.29 134,091.54 42,073.61
132,783.53

รายจา่ ยเฉลยี่ ของคนจงั หวดั กาฬสินธุ์ จานวน 42,073.61 บาท/คน/ปี

มีรายจา่ ยเฉลย่ี ต่อครวั เรอื น จานวน 132,783.53 บาท/ครวั เรอื น/ปี

2.5 จงั หวัดท่ีมีรายได้เฉลี่ยต่คนต่อปี สูงสุด 10 ลาดับแรก

ท่ี อาเภอ จานวน จานวนคน รายได้ครวั เรอื น รายได้บุคคล
ครวั เรอื น 46,535 เฉลี่ยน (บาท/ป)ี เฉล่ีย (บาท/ป)ี
1 กมลาไสย
2 หนองกงุ ศรี 14,350 318,452.33 98,201.16
3 ยางตลาด 12,273 93,771.27
4 สามชยั 29,094 32,533 248,566.84 86,388.12
5 เมอื งกาฬสินธุ์ 5,144 79,290.47
6 ห้วยผึ้ง 31,746 86,516 256,889.90 77,588.00
7 สหัสขันธ์ 6,326 75,211.82
8 ฆอ้ งชยั 8,848 19,055 293,716.94 72,534.13
9 รอ่ งคา 6,150 72,226.93
10 ทา่ คันโท 3,339 98,240 240,100.97 71,500.51
7,538 70,949.77
21,826 259,496.23

30,894 253,262.81

19,344 227,180.12

11,056 236,750.42

28,762 270,716.00

หนา้ 12 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2.6 อาเภอท่มี ีรายได้เฉล่ียต่อคนต่อปี น้อยสุด 8 ลาดับแรก

ที่ อาเภอ จานวน จานวนคน รายจา่ ยครวั เรอื น รายจา่ ยบุคคล
ครวั เรอื น เฉล่ียน (บาท/ป)ี เฉล่ีย (บาท/ปี)
1 สมเด็จ
2 เขาวง 13,145 45,864 207,605.36 59,501.41
3 คำม่วง 9,254 60,590.68
4 ดอนจาน 9,696 25,589 167,544.30 61,215.83
5 นามน 6,134 63,594.25
6 กฉุ นิ ารายณ์ 7,488 32,486 205,100.80 63,641.57
7 หว้ ยเมก็ 23,361 68,414.25
8 นาคู 11,446 20,202 209,444.25 68,506.03
7,379 69,925.83
24,552 208,670.93

71,903 210,572.73

34,932 209,073.26

21,023 199,220.85

อำเภอทม่ี รี ำยไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ คนตอ่ ปี นอ้ ยสดุ 8 ลำดบั แรก

250,000.00 207,605.36 205,100.80 208,670.93 209,073.26
200,000.00
150,000.00 167,544.30 209,444.25 210,572.73 199,220.85

100,000.00 59,501.41 61,215.83 63,641.57 68,506.03
50,000.00
0.00 60,590.68 63,594.25 68,414.25 69,925.83

สมเด็จ รายจ่ายครวั เรอื น นามน รายจา่ ยบคุ คล นาคู

เขาวง คามว่ ง ดอนจาน กฉุ นิ ารายณ์ หว้ ยเม็ก

หนา้ 13 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2.7 จานวนครวั เรอื นไม่ผา่ นเกณฑ์รายได้เฉลี่ยคนละ 40,000 บาทต่อปี

ที่ อาเภอ จานวนครวั เรอื น จานวนคน ไม่ผ่านเกณฑ์

1 สามชยั ทง้ั หมด ท้งั หมด (ครวั เรอื น) รอ้ ยละ (คน)
2 ห้วยเม็ก
3 สมเด็จ 5,144 19,055 65 1.26 241
4 หว้ ยผง้ึ 415
5 ฆอ้ งชยั 11,446 34,932 137 1.20 293
6 คำมว่ ง 133
7 เมืองกาฬสินธุ์ 13,145 45,864 76 0.58 85
8 หนองกงุ ศรี 135
9 สหัสขนั ธ์ 6,326 21,826 33 0.52 477
10 นามน 80
11 รอ่ งคำ 6,150 19,344 32 0.52 90
12 นาคู 63
13 ทา่ คันโท 9,696 32,486 49 0.51 34
14 กมลาไสย 63
15 กฉุ นิ ารายณ์ 31,746 98,240 159 0.50 75
16 ยางตลาด 115
17 เขาวง 12,273 32,533 50 0.41 104
18 ดอนจาน 97
8,848 30,894 35 0.40 26
11
7,488 24,552 29 0.39
2,537
3,339 11,056 11 0.33

7,379 21,023 24 0.33

7,538 28,762 23 0.31

14,350 46,535 38 0.26

23,361 71,903 30 0.13

29,094 86,516 35 0.12

9,254 25,589 8 0.09

6,134 20,202 5 0.08

212,711 671,312 839 7.92

หน้า 14 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2.7 ระดับความสุขเฉล่ียของคนไทย

ท่ี อาเภอ จานวนครวั เรอื น จานวนคน ระดับความสุขเฉล่ีย
ทงั้ หมด ท้ังหมด ของคนในครวั เรอื น
1 ห้วยเมก็ 11,446
2 ท่าคันโท 7,538 34,932 8.97
3 นาคู 7,379 28,762 8.97
4 รอ่ งคา 3,339 21,023 8.88
5 สมเด็จ 13,145 11,056 8.85
6 สหัสขนั ธ์ 8,848 45,864 8.85
7 คาม่วง 9,696 30,894 8.84
8 หนองกงุ ศรี 12,273 32,486 8.82
9 กมลาไสย 14,350 32,533 8.75
10 ดอนจาน 6,134 46,535 8.71
11 ห้วยผ้ึง 6,326 20,202 8.65
12 เขาวง 9,254 21,826 8.63
13 ฆ้องชยั 6,150 25,589 8.62
14 กุฉินารายณ์ 23,361 19,344 8.41
15 สามชยั 5,144 71,903 8.39
16 นามน 7,488 19,055 8.36
17 ยางตลาด 29,094 24,552 8.25
18 เมอื งกาฬสินธุ์ 31,746 86,516 8.19
212,711 98,240 8.17
ระดับความสุขเฉลี่ย
671,312 8.53

หน้า 15 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ส่วนท่ี 2

คุณภาพชวี ิตของประชาชนจงั หวัดกาฬสินธุ์ จากขอ้ มูล จปฐ.
ปี 2565

หนา้ 16 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.)

ข้อมูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) คืออะไร

ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ข้อมูลในระดับครวั เรอื นที่แสดงถึงสภาพความจาเปน็
พน้ื ฐานของคนในครวั เรอื นในด้านต่างๆ เก่ียวกับคณุ ภาพชวี ิตทไี่ ด้กาหนดมาตรฐานขั้นต่าเอาไวว้ ่า คนควรจะมี
คณุ ภาพชวั ติ ในแต่ละเรอื่ งอย่างไรในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ ๆ

ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยท่ีพึงประสงค์
ตามเกณฑม์ าตรฐานข้นั ต่าของเครอื่ งชวี้ ัดวา่ อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ากวา่ ระดับไหน
ในชว่ งระยะเวลาหน่ึงๆ และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่าในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง
ครอบครวั รวมไปถึงหมู่บ้าน/ชุมชน อยู่ในระดับใด มีปัญหาที่ต้องแก้ไขในเรอื่ งใดบ้าง เป็นการส่งเสรมิ ให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั และสังคม อันเป็นนโยบายสาคัญในการพัฒนา
ประเทศ

ข้อมูลความจาเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) คืออะไร
1. ใช้เครื่องชี้วัดความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) เป็นเ คร่ืองมือของกระบวนการเรียนรู้

ของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง
และชุมชนวา่ บรรลตุ ามเกณฑ์ความจาเป็นพ้ืนฐานแล้วหรอื ไม่

2. ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีส่วนรว่ มในการพัฒนาโดยผ่านกระบวนการ จปฐ. นับตั้งแต่การ
กาหนดปัญหาความต้องการที่แท้จรงิ ของชุมชน ตลอดจนค้นหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาโดยใชข้ ้อมูล
จปฐ. ทมี่ อี ยู่ตลอดจนการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานทีผ่ ่านมา

3. ใชข้ ้อมูลจปฐ. เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการต่างๆ ของรฐั ให้สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาท่ีแท้จรงิ ของชุมชน สามารถใช้ทรพั ยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดได้อย่างท่ัวถึงและมีประสิทธภิ าพรวมทั้ง
มีการประสานระหวา่ งสาขาในด้านการปฏิบัติมากข้ึน

วตั ถุประสงค์ของ จปฐ.

“เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชวี ติ ความเป็นอยูข่ องตนเอง และครอบครวั ให้มคี ุณภาพ
ชวี ิตท่ดี ีอย่างน้อยผ่านเกณฑค์ วามจาเปน็ พน้ื ฐาน โดยใชต้ ัวชว้ี ัดจากข้อมลู จปฐ. เปน็ เครอ่ื งมือ”

หัวใจของข้อมูล จปฐ.

หัวใจของการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. แท้งจรงิ แล้วอยู่ท่ี “ประชาชน” ที่สามารถทราบปัญหา
ของ “ตนเอง” เวลาท่ีจดั เก็บขอ้ มลู จปฐ. ประชาชนจะทราบทันทีว่า “เขามคี ุณภาพชวี ิตเปน็ อยา่ งไร ขาดขอ้ ใด”
โดย จปฐ. เป็นเสมือนวัฏจักรท่ีสามารถช่วยในการปรบั ปรุงตนเอง คาว่า “ตนเอง” ในท่ีนี้ยังหมายรวมถึง
“หมู่บา้ น ตาบล อาเภอ และจงั หวดั ” อีกด้วย เพราะการจดั เก็บและประมวลผลขอ้ มูล จปฐ. เปน็ การสรุปขอ้ มูล
ภาพรวมในแต่ละระดับตั้งแต่หมบู่ า้ น เรอ่ื ยไปจนถึงระดับจงั หวัด และระดับประเทศ

หนา้ 17 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

ประโยชน์ของข้อมูล จปฐ.

1. ประชาชน จะได้ ทราบข้อมูลสถานการณ์ คุณภาพชีวิตของตนเองและครัวเ รือ น
และสามารถปรบั ปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึนได้ด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่น การดูแลสุขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัยของสมาชกิ ครวั เรอื น ฯลฯ

2. ประชาชนสามารถเข้าถึงและได้รบั สวัสดิการด้านต่างๆ จากรฐั โดยเฉพาะการช่วยเหลือ
สนับสนุนจากภาครฐั อย่างทันท่วงที เม่ือได้รบั ผลกระทบจากสาธารณภัยหรอื ภัยพิบัติ เพราะได้ให้ข้อมูล
ของตนเองไว้กับภาครฐั

3. ชุมชน โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน องค์กร หรอื กลุ่มภายในหมู่บ้าน/ชุมชน จะได้ทราบ
ข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของประชาชน ครวั เรอื น และหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจะได้
นาไปใชใ้ นการวางแผน กาหนดกิจกรรมพัฒนาหมบู่ า้ น/ชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน

4. องค์กรปกครอส่วนท้องถ่ิน หรอื ภาครฐั ท่ีเก่ียวข้อง จะได้ทราบและมีข้อมูลสถานกาณ์
คุณภาพชีวิตของประชาชน ครวั เรอื น ชุมชน ตาบล อาเภอ จังหวัด ตลอดจนภาพรวมในระดับประเทศ
เพ่อื นาไปใชก้ าหนดนโยบาย วางแผนปฏิบัติการ กาหนดกิจกรรม เพอ่ื แก้ไขปญั หา และยกระดับคณุ ภาพชวี ิต
ของประชาชน

5. ภาครฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน กลุ่ม องค์กร หรอื สถาบันที่เกี่ยวข้องสามารถ
เข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มเปา้ หมายตามสภาพปญั หาได้อย่างท่วั ถึง ทุกพน้ื ท่ี เขตชนบทหรอื เขตเมอื ง ทั้งในกรณี
ปกติและกรณีเรง่ ด่วน

6. ภาคเอกชน สามารถนาขอ้ มลู ในจภาพรวมระดับหมูบ่ า้ น/ชุมชนขึ้นไป ไปใชใ้ นการตัดสินใจ
และวางแผนธุรกิจ ซงึ่ จะมสี ่วนสนับสนุน ส่งเสรมิ การยกระดับคุณภาพชวี ติ ของประชาชนอกี ทางหนึ่ง

การจดั ทาเครอ่ ื งชวี้ ดั จปฐ. ชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ (พ.ศ. 2560-2564)
ป) ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -2564)
คณะกรรมการอานวยการงานพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชน (พชช.) ได้ดาเนินการปรบั ปรุงเครอื่ งช้ีวัด
ความจาเป็นพื้นฐาน หรอื จปฐ. ใหม่ ประกอบด้วย ข้อมูลจานวน 5 หมวด 31 ตัวชว้ี ัด และเครอ่ื งชวี้ ัดดังกล่าว
ให้นามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2565 ด้วย และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
คณะกรรมการอานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) ได้มีมติการประชุมครง้ั ที่ 3/2564
เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 เห็นชอบ ปรับเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 22 รายได้เฉล่ีย ในการจัดเก็บข้อมูล
ความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ปี 2565 จาก 38,000 บาท/คน/ปี ปรับเป็น 40,000 บาท/คน/ปี
โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

หน้า 18 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

เครอ่ื งมือชวี้ ัด ข้อมูลความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) จานวน 5 หมวด 31 ตัวชว้ี ัด ประกอบด้วย

หมวดท่ี 1 สุขภาพ จานวน 7 ตัวชว้ี ัด ได้แก่ หน่วย
คน
ท่ี ตัวชว้ี ัด คน
1 เด็กแรกเกิดมีนา้ หนัก 2,500 กรมั ขึน้ ไป คน
2 เด็กแรกเกิดได้กินนมแมอ่ ย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน
3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รบั วัคซนี โรคระบาดตามตารางสรา้ งเสรมิ ภมู ิค้มุ กันโรค ครวั เรอื น
4 ครวั เรอื นกินอาหารถกู สุขลักษณะ ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ครวั เรอื น
5 ครวั เรอื นมกี ารใชย้ าเพอ่ื บาบดั บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบ้ืองต้นอย่างเหมาะสม
6 คนอายุ 35 ปขี นึ้ ไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจาปี คน
7 คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ออกกาลงั กายอยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที คน

หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม จานวน 7 ตัวชว้ี ัด ได้แก่

ท่ี ตัวชวี้ ดั หน่วย
8
ครวั เรอื นมีความม่ันคงในทอี่ ยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครวั เรอื น
9
ครวั เรอื นมนี ้าสะอาดสาหรบั ด่ืม และบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 5 ครวั เรอื น
10 ลิตร/วัน
11
12 ครวั เรอื นมีน้าใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 45 ลิตร/วนั ครวั เรอื น
13
14 ครวั เรอื นมีการจดั บา้ นเรอื นเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาดและถูกสุขลกั ษณะ ครวั เรอื น

ครวั เรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ ครวั เรอื น

ครวั เรอื นมีการป้องกันอบุ ตั ิภัยและภัยธรรมชาติอยา่ งถูกวธิ ี ครวั เรอื น

ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สิน ครวั เรอื น

หมวดท่ี 3 การศึกษา จานวน 5 ตัวชวี้ ัด ได้แก่ หน่วย
คน
ท่ี ตัวชว้ี ดั คน
15 เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รบั บรกิ ารเลยี้ งดูเตรยี มความพรอ้ มก่อนวัยเรยี น คน
16 เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
17 เด็กจบชนั้ ม.3 ได้เรยี นต่อชน้ั ม.4 หรอื เทียบเท่า คน
คนในครวั เรอื นทจ่ี บการศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี ทไ่ี ม่ได้เรยี นต่อและยังไม่มงี านทา
18 ได้รบั การฝกึ อบรมอาชพี คน
คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียน ภาษาไทยและคิดเลขอยา่ งง่ายได้
19

หน้า 19 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดท่ี 4 การมีงานทาและรายได้ จานวน 4 ตัวชว้ี ัด ได้แก่ หน่วย
คน
ที่ ตัวชวี้ ัด คน
20 คนอายุ 15-59 ปี มีอาชพี และรายได้ บาท
21 คนอายุ 60 ปีขึน้ ไป มีอาชพี และรายได้
22 รายได้เฉลีย่ ของครวั เรอื นต่อปี ครวั เรอื น
23 ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงิน

หมวดท่ี 5 ค่านิยม จานวน 8 ตัวชวี้ ัด ได้แก่

ท่ี ตัวชว้ี ดั หน่วย
24 คน
25 คนในครวั เรอื นไม่ดื่มสุรา คน
26 คนในครวั เรอื นไม่สูบบหุ รี่ คน
27 คน
28 คนอายุ 6 ปีขึน้ ไป ปฏิบตั ิกิจกรรมทางศาสนาอยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 ครง้ั คน
29 คน
30 ผสู้ ูงอายุ ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
31 ผู้พกิ าร ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ครวั เรอื น
ผปู้ ่วยเรอ้ื รงั ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ครวั เรอื น

ครวั เรอื นมสี ่วนรว่ มทากิจกรรมสาธารณะเพอ่ื ประโยชนข์ องชุมชนและท้องถ่ิน
ครอบครวั มีความอบอนุ่

พื้นที่การจดั เก็บข้อมูล จปฐ. และครวั เรอื นเปา้ หมาย

1. จัดเก็บข้อมูลทุกครวั เรอื นท่ีอาศัยอยู่จรงิ ในหมู่บ้าน/ชุมชน ท้ังที่มีเลขที่บ้านและไม่มี
เลขทบี่ ้าน (ต้องอาศัยอยไู่ มน่ อ้ ยกว่า 6 เดือน ในรอบปที ่ผี า่ นมา) หากอยูม่ ากกว่า 1 แห่ง ให้เลือกทใี่ ดทหี่ นึง่ )

2. จดั เก็บเฉพาะครวั เรอื นท่มี คี นไทยอาศัยอยู่

ผู้จดั เก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมูล

1. ผู้จัดเก็บข้อมูล คือ คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้นาอช./อช. หัวหน้าคุ้ม อสม. หรอื
อาสาสมัครอ่ืนๆ ที่คัดเลือกมาในอัตราสัดส่วน อาสาสมัครจัดเก็บข้อมูล 1 คน / 40 ครวั เรอื น และมีคาสั่ง
อาเภอแต่งต้ังให้เป็นอาสาสมัครจดั เก็บขอ้ มูล จปฐ.

2. ผู้ให้ข้อมูล คือ หัวหน้าครวั เรอื น ค่สู มรส หรอื สมาชกิ ในครวั เรอื นทีส่ ามารถให้ข้อมลู ของ
ครวั เรอื นได้อยา่ งครบถ้วน

วิธกี ารได้มาซงึ่ ข้อมูล

วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดให้
จัดเก็บข้อมูลและบันทึกข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ด้วยเครอ่ื งมืออิเล็กทรอนิกส์ โดยการสัมภาษณ์
หัวหนา้ ครวั เรอื น หรอื สมาชกิ ในครวั เรอื น, การสังเกตและจากทะเบียนข้อมูลอื่นๆ ทม่ี อี ยู่ในหมบู่ า้ น

หน้า 20 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

จากขอ้ มูล 5 หมวด 31 ตัวชวี้ ัด มีผลการสารวจ
ทผี่ ่านเกณฑ์ และไม่ผ่านเกณฑ์ ดังนี้

หมวดท่ี 1 สุขภาพ จานวน 7 ตัวชว้ี ัด

ตัวชวี้ ัด ตัวชวี้ ดั จานวนที่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ท่ี สารวจ เกณฑ์ เกณฑ์
รอ้ ยละ
1 เด็กแรกเกดิ มีนา้ หนกั 2,500 กรมั ขึ้นไป 1,256 คน 1,254 คน 2 คน
5 คน 0.16
2 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียว อย่าง 878 คน 873 คน 0.57
0 คน
นอ้ ย 6 เดือนแรกติดต่อกัน 0.00
43 คร.
3 เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รบั วัคซนี โรคระบาด 63,047 คน 63,047 คน 0.02
75 คร.
ตามตารางสรา้ งเสรมิ ภูมิค้มุ กันโรค 0.04
383 คน
4 ครวั เรอื นกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย 212,711 คร. 212,668 คร. 0.09
293 คน
และได้มาตรฐาน 0.04

5 ครัวเรือนมีการใช้ยาเพ่ือบาบัด บรรเทา 31,746 คร. 31,671 คร.

อาการเจบ็ ปว่ ยเบอื้ งต้นอย่างเหมาะสม

6 คนอายุ 35 ปีข้ึนไป ได้รบั การตรวจสุขภาพ 430,661 คน 430,278 คน

ประจาปี

7 คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ออกกาลังกายอย่างน้อย 655,907 คน 655,614 คน

สัปดาห์ละ 3 วันๆ ละ 30 นาที

รอ้ ยละทต่ี กเกณฑ์

คนอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ออกกาลังกายอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆ… 0.04
คนอายุ 35 ปีขนึ้ ไป ได้รบั การตรวจสขุ ภาพประจาปี 0.09

ครวั เรอื นมกี ารใชย้ าเพอื่ บาบดั บรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ย… 0.04
ครวั เรอื นกนิ อาหารถกู สุขลกั ษณะ ปลอดภยั และไดม้ าตรฐาน 0.02
เด็กแรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รบั วคั ซนี โรคระบาดตามตารางสรา้ ง… 0
เด็กแรกเกิดไดก้ ินนมแมอ่ ยา่ งเดียว อยา่ งนอ้ ย 6 เดือนแรก…
0.57

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6

การมสี ุขภาพดีเปน็ องค์ประกอบสาคัญในการดารงชวี ิตให้มีความสุข ถ้าสุขภาพไมแ่ ข็งแรง
จะไม่สามารถประกอบอาชพี หรอื ทากิจกรรมอ่ืนใดเพื่อให้ชวี ิตมีความสุขได้ ดังนั้นการพัฒนาคนให้เป็นผู้ท่ีมี
สุขภาพแข็งแรงจงึ ถูกหยิบยกข้ึนมาเป็นหมวดแรกในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามเครอ่ื งชวี้ ัด
ความจาเป็นพน้ื ฐาน ซง่ึ ประกอบด้วย 7 ตัวชวี้ ดั ดังกล่าวข้างต้น

หน้า 21 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.84% 0.16%
1,254 คน 2 คน

ทง้ั หมด 1,256 คน

น้าหนักเด็กแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรมั ให้ใช้กับเด็กแรกเกิดทุกคน รวมท้ังเด็กฝา
แฝด เนื่องจากอัตราการเกิดและมีชวี ิตรอดจะสูงกวา่ และยังมผี ลต่อการพัฒนาการท้ังรา่ งกายและสมองของ
เด็กด้วย โดยเด็กคนใดท่มี ีนา้ หนักแรกเกิดน้อยกวา่ 2,500 กรบั ถือวา่ ไมผ่ า่ นเกณฑ์

จากผลการสารวจ พบว่า เด็กแรกเกิดทั้งหมด จานวน 1,256 คน ส่วนใหญ่ได้เกณฑ์
มาตรฐานน้าหนัก 2,500 กรัม จานวน 1,254 คน คิดเป็นร้อยละ 99.84 ไม่ผ่านเกณฑ์จานวน 2 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 0.16 โดยมีอาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ 2 ลาดับแรก ได้แก่ อาเภอสามชัย อาเภอยางตลาด
และนอกจาก 2 อาเภอน้ีผ่านเกณฑ์ตัวชว้ี ดั นีท้ ง้ั หมด

อาเภอทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 1.49
2. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.75

99.43% 0.57%
873 คน 5 คน

ทงั้ หมด 878 คน

ได้กินนมแมอ่ ย่างเดียว หมายถึง การให้เด็กกินเฉพาะนมแม่อย่างเดียวเท่านัน้ โดยไมใ่ ห้กิน
อยา่ งอ่ืนเลย แมก้ ระทงั่ นา้ เพราะนมแมม่ ีปรมิ าณนา้ เพียงพอสาหรบั ทารก มภี มู คิ ้มุ กันโรค และคณุ ค่าทาง
โภชนาการครบถ้วน เหมาะสมกับการเจรญิ เติบโตสาหรบั ทารก ถ้าให้ด่ืมนา้ หรอื อาหารอื่นรว่ มด้วยจะทาให้กิน
นมแม่ได้น้อยลง เด็กจะได้รบั สารอาหารไมเ่ พยี งพอ และนมแมย่ งั มสี ารป้องกันการเกิดเชอื้ ราในปาก (ฝา้ ใน
ปาก) จงึ ไม่ควรดื่มน้าตาม โดยกลุ่มเปา้ หมายในการสารวจมี 2 กลุ่ม ดังน้ี

- เด็กทมี่ ีอายุนอ้ ยกวา่ 6 เดือน มีวัตถุประสงค์เพอ่ื เฝา้ ระวงั ติดตามในการด่ืมนมแมต่ ิดต่อกัน

- เด็กที่มีอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดผลการเล้ียงดูลูกด้วยนมแม่ตาม
มาตรฐานสากล เพอื่ วดั ความปลอดภัยในชวี ิต และการเจรญิ เติบโตท่ีมคี ณุ ภาพของเด็กทารกต่อไป

หน้า 22 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

จากผลการสารวจพบวา่ เด็กแรกเกิดทั้งหมด จนาวน 878 คน ได้กินนมแม่อย่างเดียว อยา่ ง
น้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน จานวน 873 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.43 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 0.57 โดยมีอาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ 3 ลาดับแรก ได้แก่ อาเภอนามน อาเภอยางตลาด อาเภอคาม่วง และ
นอกจาก 3 อาเภอน้ผี า่ นเกณฑต์ ัวชวี้ ดั น้ที งั้ หมด

อาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอนามน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.70
2. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.96
3. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 1.92

100% 0.0%
63,047 คน 0 คน

ทง้ั หมด 63,047 คน

การได้รบั วัคซีนครบตามชนิด จานวน และช่วงอายุ ตามท่ีกาหนดไว้ในตารางสรา้ งเสรมิ
ภูมิคุ้มกันโรคจากสมุดบันทึกสุขภาพดี (สมุดสีชมพู) สาหรบั การประเมินเด็กอายุ 1 ปี ถึง 2 ปีเต็ม ให้ประเมนิ
เด็กท่ีเกิดในวนั /เดือน/ปี ทสี่ ารวจยอ้ นหลงั 1-2 ปีท่ผี ่านมา ถ้าครวั เรอื นไมส่ ามารถตอบคาถามได้ให้ตรวจสอบ
จากทะเบยี นของเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข หรอื อสม.

จากผลสารวจ พบว่า เด็กแรกเดิดถึง 12 ปีเต็มท้ังหมด จานวน 63,047 คน ได้รบั การฉีด
วัคซนี ปอ้ งกันโรคครบตามตารางสรา้ งภมู ิค้มุ กันโรค จานวน 63,047 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

หน้า 23 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.98% 0.02%
212,668 ครวั เรอื น 43 ครวั เรอื น

ทง้ั หมด 212,711 ครวั เรอื น

ทุกคนในครวั เรอื นได้ปฏิบัติเก่ียวกับการกินอาหารท่ีมีคุณภาพ ถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภัยและ
ได้มาตรฐานครบทงั้ 4 เรอื่ งดังต่อไปน้ี

1. ถ้ากินอาหารบรรจุสาเรจ็ ต้องมีเครอ่ื งหมาย อย. เช่น น้าปลา น้าส้มสายชู อาหารกล่อง
อาหารกระปอ๋ ง นม เกลอื ผสมไอโอดีน เป็นต้น

2. ถ้ากินเน้ือสัตว์ ต้องทาให้สุกด้วยความรอ้ น

3. ถ้ากินผัก ต้องเป็นผักปลอดสารพิษ หรอื ได้ทาการแชด่ ้วยน้าผสมด่างทับทิม หรอื น้ายา
ลา้ งผัก แล้วล้างด้วยน้าสะอาดหลายๆ ครงั้

4. ก่อนรบั ประทานอาหารทุกครง้ั ต้องลา้ งมือให้สะอาด และในการรบั ประทานอาหารรว่ มกัน
ต้องใชช้ อ้ นกลางในการตักอาหารทกุ ครง้ั

จากผลการสารวจ พบวา่ ครวั เรอื นท้ังหมด จานวน 212,711 ครวั เรอื น ทกุ คนในครวั เรอื นกิน
อาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน จานวน 212,668 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.98 ไม่ผ่าน
เกณฑ์ จานวน 43 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02 โดยมอี าเภอทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ 6 ลาดับแรก ดังน้ี

อาเภอท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.33
2. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.21
3. อาเภอห้วยผ้งึ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
4. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
5. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
6. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.003

สาหรบั 12 อาเภอนอกจาก 6 อาเภอน้ี ผา่ นเกณฑ์ชวี้ ัดนีท้ ั้งหมด

หนา้ 24 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.96% 0.04%
31,671 ครวั เรอื น 75 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 31,746 ครวั เรอื น

ทกุ คนในครวั เรอื นเมื่อมีอาการเจบ็ ป่วยเลก็ น้อยหากไม่ได้ไปรบั การรกั ษาทส่ี ถานีอนามัยหรอื
โรงพยาบาลจะใชย้ าเพ่อื บาบัด บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบือ้ งต้นด้วยตนเอง โดยได้ปฏิบัติครบทง้ั 4 เรอ่ื งคือ

1. ใชย้ าสามัญประจาบา้ น

2. ไมก่ ินยาชุดหรอื ซอ้ื จากรา้ นชา

3. ไม่กินยาสมุนไพรหรอื ยาแผนโบราณท่ีไม่ได้ปรุงขึ้นเฉพาะสาหรบั ตน (ยกเว้นยาสามัญ
ประจาบา้ นแผนโบราณ)

4. ไม่กินผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหารที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจรงิ โดยแสดงสรรพคุณเป็นยาเพื่อ
บาบดั บรรเทารกั ษาโรค ซง่ึ ไมต่ รงกับทแ่ี สงดในฉลาก (หากขาดข้อใดข้อหน่งึ ให้ถือว่า “ปฏิบตั ิไม่ครบ”)

ยาสามัญประจาบ้าน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาคัดเลือกว่าเป็นยาปลอดภัย
เป็นยาทีเ่ หมาะสมท่จี ะให้ประชาชนซอ้ื มาใชด้ ้วยตนเอง เพอ่ื การดูแลรกั ษาอาการเจบ็ ป่วยเล็กนอ้ ยที่มักเกิดขึ้น
ได้ สามารถสังเกตได้จากบรเิ วณภาชนะบรรจุจะมคี าวา่ “ยาสามญั ประจาบา้ น” พิมพ์อยู่ ซง่ึ มีท้งั ยาแผนปจั จุบนั
และยาแผนโบราณ)

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นท้ังหมด จานวน 31,746 ครวั เรอื น มีการใชย้ าเพื่อบาบัด
บรรเทาอาการเจบ็ ปว่ ยเบอื้ งต้นอย่างเหมาะสม จานวน 31,671 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.96 ไม่ผา่ นเกณฑ์
จานวน 75 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.04 และมอี าเภอท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์ 7 ลาดับ ดังนี้

อาเภอทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอคาม่วง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.43
2. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.33
3. อาเภอห้วยผง้ึ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.09
4. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04
5. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
6. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
7. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01

สาหรบั 11 อาเภอนอกจาก 7 อาเภอน้ี ผ่านเกณฑ์ชว้ี ัดนีท้ ้ังหมด

หน้า 25 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.91% 0.09%
430,278 คน 383 คน

ทงั้ หมด 430,661 คน

ตรวจสุขภาพประจาปี หมายถึง การตรวจสุขภาพหลายอย่างเพ่ือประเมินสุขภาพของบุคคล
โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนท่ีมีอายุต้ังแต่ 35 ปีขึ้นไป เป็นประจาอย่างน้อยปีละ 1 ครงั้ ได้แก่ การตรวจรา่ งกาย
ท่ัวไป การตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ การตรวจอุจจาระ การเอ็กซเรย์ปอด ฯลฯ และการตรวจคัดกรอง
ความเส่ียงต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

จากผลการสารวจ พบว่า คนอายุ 35 ปีขึ้นไปท้ังหมด 430,661 คน ได้รบั การตรวจสุขภาพ
ประจาปี จานวน 430,278 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.91 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 383 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.09
โดยมอี าเภอท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 7 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 1.04
2. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.45
3. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.41
4. อาเภอห้วยเม็ก คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.18
5. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
6. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.003
7. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.001

สาหรบั 11 อาเภอนอกจาก 7 อาเภอนี้ ผา่ นเกณฑช์ วี้ ัดน้ีท้งั หมด

หนา้ 26 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.96% 0.04%
655,614 คน 293 คน

ทงั้ หมด 655,907 คน

การออกกาลงั กายหมายถึง การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายตามรูปแบบทกี่ าหนด โดยมีวตั ถุประสงค์
เพอื่ เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ หรอื ทง้ั หมด เป็นกิจกรรมทคี่ ่อนขา้ งหนัก เชน่ เดินจ้า ว่งิ /วงิ่
เหยาะ ถีบจกั รยาน เต้นแอโรบิค วา่ ยน้า กระโดดเชอื ก กรรเชยี งเรอื เลน่ กีฬาประเภทฝกึ ควาอดทน ฯลฯ วัน
ละ 30 นาทอี ย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วัน

จากผลการสารวจ พบวา่ คนอายุ 6 ปขี น้ึ ไป ท้ังหมด จานวน 665,907 คน ออกกาลงั กาย
อยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วัน วนั ละ 30 นาที จานวน 655,907 คน คิดเป้นรอ้ ยละ 99.96 ไมผ่ า่ นเกณฑ์ จานวน
293 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04 และไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 10 อาเภอ ดังนี้

อาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.27
2. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.19
3. อาเภอคามว่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.17
4. อาเภอนาคู คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.09
5. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.05
6. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.04
7. อาเภอกุฉินารายณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03
8. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
9. อาเภอห้วยเมก็ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
10. อาเภอนามน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01

สาหรบั 8 อาเภอนอกจาก 10 อาเภอน้ี ผ่านเกณฑช์ วี้ ดั น้ที ั้งหมด

หน้า 27 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดท่ี 2 สภาพแวดลอ้ ม จานวน 7 ตัวชวี้ ัด

ตัวชว้ี ัด ตัวชวี้ ัด จานวนท่ี ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ที่ สารวจ เกณฑ์ เกณฑ์
212,578 คร. รอ้ ยละ
8 ค ร ัว เ ร ือ น มี ค ว า ม มั่ น ค ง ใ น ที่ อ ยู่ อ า ศั ย 133 คร.
212,691 คร. 0.06
212,711 คร.
212,643 คร.
และบ้านมสี ภาพคงทนถาวร 212,545 คร.
212,363 คร.
ครัวเรือนมีน้าสะอาดสาหรับดื่ม และ 212,621 คร.
212,675 คร.
9 บรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคน 212,711 คร. 20 คร. 0.01

ละ 5 ลิตร/วัน

10 ครวั เรอื นมีน้าใชเ้ พียงพอตลอดปี อย่าง 212,711 คร. 68 คร. 0.03
น้อยคนละ 45 ลิตร/วัน

11 ครวั เรอื นมีการจดั บ้านเรอื นเป็นระเบยี บ 212,711 คร. 166 คร. 0.08
348 คร. 0.16
เรยี บรอ้ ย สะอาดและถกู สุขลักษณะ 90 คร. 0.04

12 ครวั เรอื นไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 212,711 คร.

13 ครวั เรอื นมีการป้องกันอุบัติภัยและภัย 212,711 คร.
ธรรมชาติอย่างถกู วิธี

14 ครวั เรอื นมีความปลอดภัยในชีวิตและ 212,711 คร. 36 คร. 0.02
ทรพั ย์สิน

รอ้ ยละทต่ี กเกณฑต์ ัวชว้ี ดั

ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส์ ิน 0.02

ครวั เรอื นมกี ารปอ้ งกันอบุ ตั ภิ ยั และภยั ธรรมชาติอยา่ งถกู วธิ ี 0.04

ครวั เรอื นไมถ่ กู รบกวนจากมลพษิ 0.16

ครวั เรอื นมกี ารจดั บา้ นเรอื นเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย สะอาดและถกู … 0.08

ครวั เรอื นมนี า้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 45 ลิตร/วนั 0.03

ครวั เรอื นมนี า้ สะอาดสาหรบั ดม่ื และบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อย่างนอ้ ย… 0.01

ครวั เรอื นมคี วามมน่ั คงในทอ่ี ยอู่ าศยั และบา้ นมสี ภาพคงทนถาวร 0.06

0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.14 0.16 0.18

ทอี่ ยู่อาศัยเปน็ หนง่ึ ในปจั จยั สีทส่ี าคัญและจาเปน็ ในการดารงชวี ิตของมนุษย์ คนจะมีคุณภาพ
ชวี ิตที่ดีนอกจากจะต้องมีสุขภาพดีแล้ว ควรต้องมีสภาพแวดล้อมท่ีต่ื อันได้แก่ ที่อยู่อาศัยที่มั่นคงแข็งแรง
สะอาดเปีนระเบียบเรยี บรอ้ ย เป็นแหล่งพักพิงสาหรบั สรา้ งความอบอุ่นในครอบครวั มีน้าสะอาดสาหรบั ดื่ม
และบรโิ ภค มีความม่นั คงปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ ินของคนในครวั เรอื น

หนา้ 28 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.94% 0.06%
212,578 ครวั เรอื น 133 ครวั เรอื น

ทง้ั หมด 212,711 ครวั เรอื น

ความมั่นคงในท่ีอยู่อาศัย หมายถึง สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีปัญหาเรอ่ื งท่ีพัก
อาศัย เชน่ การไมอ่ ยใู่ นท่ีสาธารณะหรอื เขตป่าสงวน ไมอ่ ยู่ในเขตทีป่ ระสบภัยน้าทว่ มอย่างรอ้ ยแรง ไมถ่ กู ไล่ท่ี
เป็นต้น

สภาพคงทนถาวร หมายถึง บ้านทม่ี ีโครงสรา้ งบ้านมหี ลงั คามงุ กระเบอ้ื งหรอื สังกะสี และมฝี า
ครบท้ัง 4 ด้าน มีประตูหน้าต่างที่อยู่ในสภาพดี แข็งแรงไม่ชารุด อยู่คงทน สามารถอยู่ต่อไปได้ไม่น้อยกว่า
5 ปี

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นท้ังหมด จานวน 212,711 ครวั เรอื น มีความม่ันคงในท่ีอยู่
อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร จานวน 212,578 ครัวเรือน คิดเป็นรอ้ ยละ 99. 94 ไม่ผ่านเกณฑ์
จานวน 133 ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.31 โดยมอี าเภอทีผ่ ่านเกณฑ์และไมผ่ ่านเกณฑ์ 3 ลาดับแรก ดังนี้

1. อาเภอหนองกงุ ศรี อาเภอทีผ่ ่านเกณฑ์ มากท่ีสุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอเขาวง คิดเป็นรอ้ ยละ 100
3. อาเภอดอนจาน คิดเป็นรอ้ ยละ 100
คิดเป็นรอ้ ยละ 100

1. อาเภอสามชยั อาเภอทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์ มากทสี่ ุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.51
3. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.25
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.07

หนา้ 29 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.99% 0.01%
212,691 ครวั เรอื น 20 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

น้าสะอาดสาหรบั ด่ืมและบรโิ ภค หมายถึง น้าฝนน้าประปา และน้าบาดาลท่ีผ่านเกณฑ์
มาตรฐานของกรมอนามัย ที่สาธารณสุขตาบลสารวจแล้วว่าใช้ด่ืมได้ถ้าเป็นน้าจากธรรมชาติต้องนามาต้ม
เสียก่อนหรอื แกวง่ สารส้มแล้วเติมคลอรนี จงึ จะจดั ว่าเป็นนา้ สะอาดหรอื น้าที่ผ่านเครอ่ื งกรองนา้ ทไี่ ด้มาตรฐาน
หรอื บรรจุขวดต้องมีเครอื่ งหมายอยคนละ 5 ลิตรต่อวันใช้สาหรบั ด่ืม 2 ลิตรและอ่ืนๆอีกจานวน 3 ลิตร
เชน่ ใชป้ ระกอบอาหารลา้ งหนา้ อว้ นปากและแปรงฟันเป็นต้น

จากผลการสารวจ พบว่า ครัวเรือนทังหมด จานวน 212,711 ครัวเรือน มีน้าสะอาด
สาหรบั ด่ืมและบรโิ ภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 ลติ รต่อวนั จานวน 212,691 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ
99.99 ไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 20 ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.21 โดยมอี าเภอท่ไี มผ่ า่ นเกณฑ์ 4 อาเภอ ดังนี้

อาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.12
2. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.08
3. อาเภอคามว่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.02
4. อาเภอห้วยผึง้ คิดเป็นรอ้ ยะล 0.02

สาหรบั 14 อาเภอนอกจาก 4 อาเภอน้ี ผ่านเกณฑ์ชว้ี ดั นี้ทง้ั หมด

หนา้ 30 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.97% 0.03%
212,643 ครวั เรอื น 68 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

นา้ หมายถึง น้าทีใ่ ชใ้ นครวั เรอื น เชน่ อาบนา้ ซกั ผ้า ทาความสะอาด เปน็ ต้น

จากผลการสารวจ พบวา่ ครวั เรอื นทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น มีน้าใชเ้ พยี งพอตลอดปี อย่าง
น้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน จานวน 212,643 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.97 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 68
ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03 โดยมีอาเภอทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 6 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.16
1. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.12
2. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยะล 0.03
3. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02
4. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02
5. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
6. อาเภอคาม่วง
สาหรบั 12 อาเภอนอกจาก 6 อาเภอนี้ ผ่านเกณฑ์ชวี้ ดั นที้ ัง้ หมด

99.92% 0.08%
212,545 ครวั เรอื น 166 ครวั เรอื น

ทง้ั หมด 212,711 ครวั เรอื น

การจดั บรเิ วณบ้านและภายในบา้ นเป็นระเบียบสะอาดและถกู สุขลกั ษณะได้แก่
1) ภาพในบ้านจะอาบ ห้องนอนลมพัดผา่ นสะดวกไม่มีฝุ่นละอองและกลน่ิ เหมน็ อับชน้ื ทห่ี ลับ
ทน่ี อนขา้ วของเครอื่ งใชส้ ะอาดมีการจดั เก็บเปน็ ระเบยี บไมร่ กรุงรงั
2) มีท่ีประกอบอาหารสะอาดเป็นระเบียบมีตู้กับข้าวหรอื ฝาชี มีอุปกรณ์ล้างมือที่ใชง้ านได้ดี
เชน่ มสี บูห่ รอื นา้ ยาลา้ งจานและมีบ่อดักไขมัน
3) มที เ่ี ก็บน้าสะอาดเพ่อื การอุปโภคบรโิ ภคสภาพดีมฝี าปิด

หนา้ 31 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

4) มีการกาจัดสัตว์แมลงที่เป็นพาหะนาโรค ได้แก่ ยุงลาย หนู แมลงวัน แมลงสาบ ไม่พบ
แหลง่ เพาะพนั ธแุ์ ละทีห่ ลบซอ่ นอาศัยภายในบ้านหรอื บรเิ วณบ้าน

5) มีการจัดการขยะ เช่น มีอุปกรณ์ อาทิ ไม้กวาดถังขยะถุงใส่ขยะมีการคัดแยกขยะและมี
การกาจดั ขยะ เชน่ จดั ส่งให้ อปท.กาจดั หรอื การฝงั หลุม

6) ไม่มีแหล่งน้าเสียขังในบรเิ วณบ้าน รอ่ งระบายน้าอยู่ในสภาพดีและไม่มีการปล่อยน้าเสีย
ลงแหลง่ นา้ สาธารณะ

7) มีส้วมใช้ที่มีสภาพแข็งแรงใชง้ านได้สะอาด มีการระบายอากาศที่ดีไม่มีรอยแตกรา้ วที่
หัวส้วมพน้ื ท่ีถังส้วมและฝาปิดและมีอปุ กรณ์ทาความสะอาด

8) มกี ารจดั เก็บและแยกสารเคมีท่เี ปน็ อันตรายออกจากเครอื่ งใชอ้ ืน่ ๆโดยจดั ให้เปน็ ระเบียบ
ระหว่างให้พ้นมอื เด็ก

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นทั้งหมด จานวน 212,711 ครว้ เรอื น มีการจัดบ้านเรอื น

เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูกสุขลักษณะ จานวน 212,545 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.92 ไม่ผ่าน

เกณฑ์ จานวน 166 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.08 โดยมีอาเภอทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 10 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 1.09

2. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.33

3. อาเภอห้วยผ้ึง คิดเป็นรอ้ ยะล 0.14

4. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.07

5. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03

6. อาเภอห้วยเม็ก คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03

7. อาเภอสหัสขันธ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03

8. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02

9. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01

10. อาเภอกฉุ ินารายณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01

99.84% 0.16%
212,363 ครวั เรอื น 348 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

การถูกรบกวน หมายถึง เกิดจากกิจกรรม การกระทา หรอื สภาพสิ่งแวดลอ้ มท่ีมีต่อคนใน
ครวั เรอื นโดยส่ิงท่เี ป็นต้นเหตุรบกวนจะต้องมลี กั ษณะอย่างใดอย่างหน่งึ คือ

1) เกิดขึ้นซ้าๆ ในชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึง หรอื มีความต่อเนื่องท้ังในเวลากลางวันและกลางคืน
(เวลา 18.00-06.00 น. ของวันรงุ่ ขึ้น) โดยเกิดขึน้ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ครง้ั ต่อวนั หรอื ต่อเนอื่ งนานกว่า 1 สัปดาห์ขน้ึ ไป

หน้า 32 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

2) เกิดข้ึนในขณะใดขณะหนึ่ง ซ่ึงมีผลทาให้เกิดอาการเจ็บป่วยอย่างเฉียบพลัน รวมท้ัง

ก่อให้เกิดความต่ืนตระหนัก ความเครยี ด วิตกกังวล จนไม่สามารถทางานได้อยา่ งปกติวิธกี ารสังเกตเบื้องต้น

วา่ ครวั เรอื นถกู รบกวน คือ

2.1 เสียงดัง อาจสังเกตจากคนทย่ี ืนห่างกัน ๑ เมตร พูดคยุ กันแลว้ คนฝ่ายหนึ่งไมไ่ ด้

ยินว่าคนอีกฝา่ ยพูดอะไร หรอื ความรสู้ ึกของบุคคลวา่ มเี สียงดังเกิดข้ึนจากสภาพปกติของพ้ืนที่นัน้ ๆ

2.2 ความส่ันสะเทือน โดยจากความรู้สึกหรอื การส่ันไหวของวัสดุ หรอื ภาชนะ

สิ่งของต่างๆ ในครวั เรอื นจากการสะสมของฝุ่นบนพืน้ ผิวหนา้ ของภาชนะ อุปกรณ์ เครอื่ งใชภ้ ายในบา้ น

2.3 ฝุ่นละออง (1) ฝุ่นขนาดใหญ่ โดยการมองด้วยตาเปลา่ และ (2) ฝุ่นขนาดเล็

2.4 กล่ินเหม็น โดยสอบถามจากความรูส้ ึกสัมผัสของบุคคลตั้งแต่ ๓ คนข้ึนไป

ที่รสู้ ึกไม่สบาย เชน่ วิงเวียนศีรษะ คลืน่ ไส้ ทาให้เกิดความวิตกกังวล รสู้ ึกอดึ อัด เครยี ด เป็นต้น

2.5 น้าเสีย โดยการสังเกตจากกลิ่นและสีของน้าผิดไปจากธรรมชาติะและของเสีย

อันตราย โดยการมองเห็นหรอื สังเกต เชน่ ปรมิ าณขยะลนั รองรบั ขยะ กลิ่นเหมน็ จากขยะ ของเสียอนั ตรายไม่

มกี ารแยกทงิ้ อยา่ งถูกต้อง

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นทั้งหมด 212,711 ครวั เรอื น ไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ

จานวน 212,363 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.84 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 348 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.16

โดยมอี าเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 9 อาเภอ ดังนี้

อาเภอท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.87

2. อาเภอคาม่วง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.37

3. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 0.35

4. อาเภอฆอ้ งชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03

5. อาเภอนาคู คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03

6. อาเภอห้วยเมก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02

7. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.02

8. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยะล 0.01

9. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01

หนา้ 33 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.96% 0.04%
212,621 ครวั เรอื น 90 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

การปอ้ งกันอยา่ งถูกวธิ ไี ด้แก่
1) การปฏิบัติตามกฎหมายในการขับขี่ยานพาหนะทกี่ าหนด เชน่ สวมหมวกกันนอ็ ค คาดเข็ม
ขดั นริ ภัย
2) มีการตรวจซอ่ มแซมอุปกรณ์เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าในบ้านให้อยู่ในสภาพดี เชน่ ปลั๊กหรอื สวติ ช์
ไฟ พดั ลมหม้อหุงขา้ ว
3) มีการใช้เครอ่ื งป้องกันในการประกอบอาชีพ เช่น การปฏิบัติตามคาแนะนาของการใช้
สารเคมี การใชอ้ ปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล ได้แก่ การสวมแวน่ ตาเหมือน หน้ากาก ผา้ ปดิ จมกู
เปน็ ต้น
4 มกี ารเตรยี มความพรอ้ มรบั มือกับอุบัติภัยและภัยธรรมชาติอยา่ งถกู วธิ ี คือ การทีป่ ระชาชน
ในชุมชน/หม่บู า้ น มคี วามตระหนัก มีความร/ู้ ความเขา้ ใจในการบรหิ ารจดั การภัยพิบตั ิ

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นท้ังหมด 212,711 ครวั เรอื น มีการป้องกันอุบัติภัยและภัย
ธรรมชาติอย่างถูกวิธี จานวน 212,621 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.96 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 90 ครวั เรอื น
คิดเป็นรอ้ ยละ 0.04 โดยมีอาเภอที่ไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 8 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.58
2. อาเภอคามว่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.34
3. อาเภอห้วยผึ้ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.14
4. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.06
5. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.02
6. อาเภอสหัสขันธ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
7. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
8. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเป็นรอ้ ยะล 0.01

หนา้ 34 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.98% 0.02%
212,675 ครวั เรอื น 36 ครวั เรอื น

ทง้ั หมด 212,711 ครวั เรอื น

ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สิน หมายถึง สภาพท่ีปราศจากหรอื พน้ จากสถานการณ์ท่จี ะ
ก่อให้เกิดภัยอนั ตรายต่อชวี ิต และทรพั ย์สินในรอบปีท่ผี า่ นมา ในครวั เรอื นไม่มีคนถกู ลกั ทรพั ย์ วิ่งราวทรพั ย์
ปล้นทรพั ย์ หลอกลวงให้เสียทรพั ย์ กระทาอนาจาร ข่มขนื กระทาชาเรา ถกู ทารา้ ยรา่ งกาย ถูกฆา่ ตาย หรอื ไมม่ ี
การบุกรกุ ทอี่ ย่อู าศัย หรอื ไมม่ ีอาชญากรรมอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ียวกับชวี ติ และทรพั ย์สิน

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นท้ังหมด 212,711 ครวั เรอื น มคี วามปลอดภัยในชวี ติ และ
ทรพั ยส์ ิน จานวน 212,675 ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.98 ไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 36 ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ย
ละ 0.02 โดยมีอาเภอทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 10 อาเภอ ดังนี้

อาเภอทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.19
2. อาเภอดอนจาน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.13
3. อาเภอคาม่วง คิดเปน็ รอ้ ยะล 0.08
4. อาเภอห้วยผ้ึง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03
5. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.02
6. อาเภอฆ้องชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02
7. อาเภอนาคู คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
8. อาเภอสหัสขนั ธ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
9. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
10. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.003

หน้า 35 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดที่ 3 การศึกษา จานวน 5 ตัวชว้ี ดั

ตัวชวี้ ดั ตัวชว้ี ัด จานวนที่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ที่ สารวจ เกณฑ์ เกณฑ์
รอ้ ยละ
15 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รับบรกิ ารเล้ียงดู 11,422 คน 0 คน
983 คน 0
11,422 คน 10 คน
1.55
เตรยี มความพรอ้ มก่อนวยั เรยี น 3 คน 0.51

16 เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบังคับ 63,511 คน 62,528 คน 209 คน 0.88
9 ปี
0.05
17 เด็กจบช้ัน ม.3 ได้เรียนต่อช้ัน ม.4 หรือ 1,970 คน 1,960
เทียบเท่า

คนในครวั เรอื นที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9

18 ปี ท่ีไม่ได้เรยี นต่อและยังไม่มีงานทา ได้รบั 342 คน 339 คน

การฝึกอบรมด้านอาชพี

19 คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขยี นภาษาไทย และ 436,862 คน 436,653 คน
คดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้

ตัวชว้ี ัดท่ี 19 คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่าง 0.05
งา่ ยได้
0.88
ตัวชว้ี ดั ที่ 18 คนในครวั เรอื นทจ่ี บการศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี ท่ไี ม่ได้เรยี น 0.51
ต่อและยงั ไม่มีงานทา ได้รบั การฝึกอบรมด้านอาชพี

ตัวชว้ี ัดที่ 17 เด็กจบชน้ั ม.3 ได้เรยี นต่อชนั้ ม.4 หรอื เทียบเท่า

ตัวชว้ี ัดที่ 16 เด็กอายุ 6 -14 ปี ได้รบั การศึกษาภาคบงั คับ 9 ปี 1.55

ตัวช้ีวัดที่ 15 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รบั บรกิ ารเลี้ยงดูเตรยี มความพรอ้ ม 0
ก่อนวยั เรยี น

คน เป็นปัจจยั และผลของการพัฒนาประทศหากประซากรของประเทศมีคุณภาพ จะ

ส่งผลให้ประเทศมีการพัฒนาท่ียั่งยืนคนจะมีคุณภาพถ้าได้รบั การศึกษาที่มีประสิทธภิ าพ การสรา้ งคนให้มี
ความรู้ ความสามารถมีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นมีลักษณะนิสัยจิตใจท่ีดีงาม มีความพรอ้ มท่ีจะต่อสู้เพ่ือตนอง
และสังคม ารศึกยาชว่ ยให้คนเจรญิ งอกงาม ทั้งทางปัญญาจติ ใจ รา่ งกาย และสังคม การศึกษาจงึ เป็นความ
จาเป็นของชวี ติ อีกประการหน่ึง นอกเหนือจากความจาเป็น ด้นท่ีอยู่อาศัย อาหารเครอ่ ื งนุ่งห่ม และยารกั ษา
โรค การศึกษาจึงเป็นปัจจัยท่ี 5 ซองชีวติ เป็นปัจจยั ที่จะชว่ ยแก้ปัญหาทุก ๆ ด้านของชวี ติ และเป็นปัจจยั ท่ี
สาคัญท่ีสุดของชวี ติ ในโลกท่ีมีกระแสความเปล่ียนแปลงทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโสยีอย่าง รวดเรว็
และส่งผลกระทยให้วถิ ีดารงชีวติ ต้องเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ เช่นเดียวกันการศึกยายิ่งมีบทยาทและ
ความจาเป็นมากข้ึนด้วย ดังคากล่าวท่ีว่า "การศึกษาพัฒนาคนคนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ"
การศึกยาจงึ เปน็ รากฐานของการพัฒนาคณุ ภาพคน ดังนั้น "การศึกษา" จงึ ได้ถูกกาหนดไว้เป็นหมวดท่ี 3 ของ
ความจาเปน็ พน้ื ฐานของประชาชนไทย

หนา้ 36 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

100% 0.00%
11,422 คน 0 คน

ทง้ั หมด 11,422 คน

จากผลการสารวจ พบวา่ เด็กอายุ 3-5 ปี ทั้งหมด 11,422 คน ได้รบั บรกิ ารเลย้ี งดุเตรยี ม
ความพรอ้ มก่อนวัยเรยี นทุกคน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

98.45% 1.55%
62,528 คน 983 คน

ทง้ั หมด 63,511 คน

เด็กอายุอายุระหว่าง 6-14 ปีเต็ม ทุกคนได้เข้าเรยี นการศึกษาในระดับช้ัน ป.1 ถึง ม.3
(การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี) ในตัวชว้ี ดั นี้ เด็กกลมุ่ เป้าหมายทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์ส่วนใหญ่ หมายถึง เด็กท่มี อี ายุ 6 ปี
เต็มหลังจากวันท่ี 16 พฤษาคม ซึ่งยังมีอายุไม่ถึงเกณฑ์การเข้าเรยี นชั้น ป.1 ต้องเข้าเรยี นชั้น ป.1 ในปี
การศึกษาถัดไป

ตัวชวี้ ัดนี้ เจา้ ของตัวชว้ี ัด คือ กระทรวงศึกษาธกิ าร มีวัตถุประสงค์เพ่ือต้องการทราบจานวน
เด็กและเตรยี มความพรอ้ มในการจดั ชน้ั เรยี นให้กับเด็กทีจ่ ะเข้าเรยี นในชนั้ ป.1 ในปีการศึกษาถัดไป

จากผลการสารวจ พบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี ท้ังหมดจานวน 63,511 คน ได้รบั การศึกษา ภาค
บังคับ 9 ปี จานวน 62,528 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 98.45 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 983 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.55
โดยมีอาเภอท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 12 อาเภอ ดังนี้

1. อาเภอสามชยั อาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.63
2. อาเภอดอนกุฉินารายณ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.08 7. อาเภอห้วยเมก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.62
3. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 5.12 8. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเป็นรอ้ ยะล 0.16
4. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยะล 2.90 9. อาเภอรอ่ งคาด คิดเป็นรอ้ ยละ 0.15
5. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 2.32 10. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.10
6. อาเภอทา่ คันโท คิดเป็นรอ้ ยละ 1.75 11. อาเภอนาคู คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04
คิดเป็นรอ้ ยละ 1.40 12. อาเภอเขาวง

หนา้ 37 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.49% 0.51%
1,960 คน 10 คน

ทง้ั หมด 1,970 คน

เด็กจบชนั้ ม.3 (การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี) ได้เรยี นต่อชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 ถึง ม.
6) หรอื เทียบเท่า ซงึ่ รวมถึงการได้เรยี นต่อในสายอาชพี ด้วย

มธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า หมายถึง การศึกษาในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 (ม.4)
ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) สาหรบั สายสามัญหรอื การศึกษาในระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.)
สาหรบั สายอาชพี

จากผลการสารวจ พบว่า เด็บจบช้ัน ม.3 ทั้งหมด 1,970 คน ได้เรยี นต่อช้ัน ม.4 หรอื
เทียบเท่า จานวน 1,960 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.49 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.51 โดยมี
อาเภอท่ไี มผ่ า่ นเกณฑ์ จานวน 8 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเป็นรอ้ ยละ 3.45
2. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.75
3. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยะล 1.56
4. อาเภอห้วยผง้ึ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.55
5. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.41
6. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.75
7. อาเภอห้วยเมก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.70
8. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.44

หนา้ 38 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

99.12% 0.88%
339 คน 3 คน

ทงั้ หมด 342 คน

เด็กจบชัน้ ม.3 (การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี) ท่ีไม่ได้เรยี นต่อชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4
ถึง ม.6) หรอื เทียบเท่า (เชน่ ปวช.) และยังไม่มงี านทา ได้รบั การฝึกอบรมด้านอาชพี ต่างๆ ท่ีหน่วยงานของรัฐ
รฐั วสิ าหกิจหรอื เอกชนจดั ขนึ้ ทุกคนอย่างนอ้ ย 1 อาชพี

การฝึกอบรม อาชพี หมายถึง การฝึกอบรมด้านอาชพี ต่างๆ ที่หน่วยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ
หรอื เอกชน จดั ขึ้นทุกคนอย่างน้อย 1 อาชีพ จะนับรวมทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้น เช่น 3 ช่วั โมง
หรอื 1 วัน เปน็ ต้น หรอื หลักสูตรระยะยาว เชน่ 3 เดือน หรอื 1 ปี เปน็ ต้น

ผลจากการสารวจ พบว่า คนในครวั เรอื นจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ทั้งหมด จานวน 342
คน ไม่ได้เรยี นต่อและยงั ไมม่ งี านทา ได้รบั การฝึกอบรมด้านอาชพี จานวน 339 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.12 คน
ไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.88 โดยมีอาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 3 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00
2. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 5.88
3. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยะล 0.75

99.95% 0.05%
436,653 คน 209 คน

ทงั้ หมด 436,862 คน

คนไทยทุกคนควรจะต้องสามารถอ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ทุกคน
โดยเฉพาะคนอายุ 15-59 ปี เปน็ กลุม่ คนทีจ่ บการศึกษาภาคบงั คับ 9 ปีแลว้ และยังอย่ใู นชว่ งของวัยทางาน

อ่าน เขียน ภาษาไทย เช่น การอ่านฉลาดยา สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาซือ้ ขาย ป้ายโฆษณา
ปา้ ยจราจร เปน็ ต้น

หนา้ 39 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

คิดเลขอย่างง่าย เชน่ สามารถบวก ลบ จานวนนับท่ีมีผลลัพธ์ และตัวต้ังไม่เกิน 100,000
ได้ และสามารถคณู หรอื หารเลข ไม่เกิน 2 หลกั ได้ เป็นต้น

จากผลการสารวจ พบว่า คนอายุ 15-59 ปี ทั้งหมด จานวน 436,862 คน อ่าน เขียน
ภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ จานวน 436,653 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.95 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 209
คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.05 โดยมอี าเภอท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 12 อาเภอ ดังน้ี

อาเภอทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอคามว่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.48
2. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ0.24
3. อาเภอห้วยผึ้ง คิดเปน็ รอ้ ยะละ 0.07
4. อาเภอสมเด็จ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.05
5. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04
6. อาเภอนาคู คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.04
7. อาเภอรอ่ งคา คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03
8. อาเภอห้วยเมก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03
9. อาเภอสหัสขนั ธ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.02
10. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01
11. อาเภอเขาวง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01
12. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเป็นรอ้ ยละ 0.005

หนา้ 40 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดท่ี 4 การมีงานทาและรายได้ จานวน 4 ตัวชว้ี ัด

ตัวชว้ี ัด ตัวชว้ี ัด จานวนที่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ท่ี สารวจ เกณฑ์ เกณฑ์
รอ้ ยละ
20 คนอายุ 15 – 59 ปี มอี าชพี และรายได้ 388,792 คน 388,512 คน 280 คน
154,055 คน 153,741 คน 314 คน 0.07
21 คนอายุ 60 ปีข้ึนไป มีอาชพี และรายได้ 0.20
212,711 211,872 839
22 รายได้เฉลย่ี ของคนในครวั เรอื นต่อปี ครวั เรอื น ครวั เรอื น ครวั เรอื น 0.39
212,711 208,713 3,998
23 ครวั เรอื นมกี ารเก็บออมเงนิ ครวั เรอื น ครวั เรอื น ครวั เรอื น 1.88

ตัวชวี้ ดั ที่ 23 ครวั เรอื นมีการเก็บออมเงนิ 1.88

ตัวชว้ี ดั ท่ี 22 รายได้เฉลยี่ ของคนในครวั เรอื นต่อปี 0.39

ตัวชวี้ ดั ท่ี 21 คนอายุ 60 ปีขน้ึ ไป มีอาชพี และรายได้ 0.2

ตัวชว้ี ดั ที่ 20 คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชพี และรายได้ 0.07

การมีงานทาและรายได้ ตัวชวี้ ดั นเ้ี ป็นการพูดในเชงิ เศรษฐกจิ ของครวั เรอื น ของคนวัย
แรงงานและคนสูงอายุ รวมทงั้ การออมเงนิ ของครวั เรอื น

99.93% 2.96%
388,512 คน 280 คน

ทง้ั หมด 388,792 คน

คนอายุ 15-59 ปี ทุกคนมีการประกอบอาชพี และมีรายได้ยกเว้นผู้ที่กาลังศึกษาอย่างเดียว
โดยไม่ได้ประกอบอาชพี หรอื คนพิการที่ไม่สามารถชว่ ยตนเองได้

หน้า 41 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

การประกอบอาชีพและมีรายได้ หมายถึง การทางานท่ีเป็นงานประจา ทั้งท่ีอยู่ภายใน
ครวั เรอื นและภายนอกครวั เรอื น โดยมีรายได้ที่เกิดจากการทางานดังกลา่ ว ท้ังในลักษณะรายวัน รายสัปดาห์
รายเดือน รายชนิ้ งาน หรอื งานเหมา เปน็ ต้น

จากผลการสารวจ พบว่า คนอายุ 15-59 ปี ทั้งหมด 388,792 คน มีอาชีพและรายได้
388,512 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.93 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 280 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.96 โดยมีอาเภอท่ีไม่
ผ่านเกณฑ์ จานวน 10 อาเภอ ดังนี้

อาเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 0.57
2. อาเภอคาม่วง คิดเป็นรอ้ ยละ 0.48
3. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยะละ 0.28
4. อาเภอรอ่ งคา คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.07
5. อาเภอนาคู คิดเป็นรอ้ ยละ 0.05
6. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.03
7. อาเภอสหัสขันธ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03
8. อาเภอห้วยเมก็ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.03
9. อาเภอยางตลาด คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.02
10. อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.01

99.80% 0.20%
153,741 คน 314 คน

ทงั้ หมด 154,055 คน

คนอายุ 60 ปีข้ึนไป ประกอบอาชพี และมีรายได้ ครบทุกคน ยกเว้น คนพิการที่ไม่สามารถ
ชว่ ยเหลอื ตัวเองได้

คนอายุ 60 ปีขึ้นไป ในปัจจุบันหลายคนยังมีสุขภาพรา่ งกายท่ีแข็งแรง สามารถประกอบ
อาชพี และทางานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และเป็นหลกั ของครอบครวั ด้วย

จากผลการสารวจ พบว่า คนอายุ 60 ปีข้ึนไป ท้ังหมด จานวน 154,055 คน มีอาชีพและ
รายได้ จานวน 153,741 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99.80 ไม่ผา่ นเกณฑ์ จานวน 314 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.20 โดยมี
อาเภอทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์ จานวน 9 อาเภอ ดังน้ี

หนา้ 42 จาก 90

รายงานคุณภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565

อาเภอทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์

1. อาเภอสามชยั คิดเป็นรอ้ ยละ 2.72
2. อาเภอคาม่วง คิดเป็นรอ้ ยละ 1.58
3. อาเภอสมเด็จ คิดเปน็ รอ้ ยะละ 0.39
4. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 0.20
5. อาเภอห้วยผงึ้ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.14
6. อาเภอเมอื งกาฬสินธุ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.07
7. อาเภอห้วยเมก็ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.05
8. อาเภอนาคู คิดเป็นรอ้ ยละ 0.05
9. อาเภอกฉุ ินารายณ์ คิดเป็นรอ้ ยละ 0.01

99.61% 0.39%
211,872 ครวั เรอื น 839 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

วิธคี ิดรายได้ ให้คิดจากรายได้ท้ังหมดของทุกคนในครวั เรอื น โดยแยกเป็นรายได้จากอาชพี
หลกั รายได้จากอาชพี รอง/อาชพี เสรมิ รายได้อื่นๆ และรายได้ทีเ่ กิดจากการทา/การปลูก การเล้ียง และการหา
ไวก้ ินเองแลว้ คิดคานวณเป็นจานวนเงิน (รายได้ในทน่ี ้ี ไมน่ ับรวมเงินกู้ หรอื เงนิ ยมื )

สาหรบั รายได้จากอาชพี หลัก/อาชีพรองนั้น ถ้ามีรายจา่ ยที่เป็นต้นทุนการผลิต ให้หักออก
ก่อน (เฉพาะต้นทุนการผลิตเท่านั้น ได้แก่ ค่าพันธุ์พืช/ค่าพันธุ์สัตว์ ค่าปุ๋ย/ยาฆ่าแมลง ค่าจ้าง/ที่ดิน
ค่าเครอื่ งจกั ร เป็นต้น)

กระทรวงมหาดไทย ได้มีหนังสือ ที่ มท 0405.6/ว 7477 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2564
เรอื่ ง การจดั เก็บขอ้ มลู ความจาเป็นพนื้ ฐาน (จปฐ) ปี 2565 ได้แจง้ ให้ทราบว่กระทรวงมหาคไทย มอบหมายให้
กรมการพัฒนาชุมชน รบั ผิดชอบการบรหิ ารการจดั เก็บขอ้ มูลความจาเป็นพืน้ ฐาน (จปฐ.) เป็นประจาทุกปี และ
ให้จังหวัดดาเนินการตามแนวทางการบรหิ ารการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ .) ตามหัวงเวลา
ที่กาหนด และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการอานวยการงานพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชน
(พชช) ได้มีมติในการประชุมครงั้ ท่ี 3/2564 เมอ่ื วันที่ 26 พฤศจกิ ายน 2564 เห็นชอบ ปรบั เกณฑต์ ัวชวี้ ดั ที่ 22
รายได้เฉลี่ยในการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ) ปี 2565 จาก 38,000 บาท/คน/ปี ปรบั เป็น
40,000 บาท/คน/ปี

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นทั้งหมด 212,711 ครวั เรอื น มีรายได้เฉลี่ยของคนใน
ครวั เรอื นต่อปี ไม่น้อยกว่า 40,000 บาท/คน/ปี จานวน 211,872 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 99.61 ไม่ผ่าน
เกณฑ์ จานวน 839 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 0.39 โดยมีอาเภอท่ีผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์มากท่ีสุด 3
ลาดับ ดังนี้

หนา้ 43 จาก 90

1. อาเภอดอนจาน รายงานคณุ ภาพชวี ิตคนกาฬสินธุ์ ปี 2565
2. อาเภอเขาวง
3. อาเภอยางตลาด อาเภอท่ผี ่านเกณฑ์ มากทีส่ ุด 3 ลาดับแรก
คิดเป็นรอ้ ยละ 99.92
1. อาเภอสามชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.91
2. อาเภอห้วยเม็ก คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.88
3. อาเภอสมเด็จ
อาเภอท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ มากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก
คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.26
คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.20
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.58

98.12% 1.88%
208,713 ครวั เรอื น 3,998 ครวั เรอื น

ทงั้ หมด 212,711 ครวั เรอื น

การเก็บออมเงิน หมายถึง การนารายได้ท่ีเหลือจากการใช้จ่ายอุปโภคบรโิ ภค หรอื
การกันรายได้ส่วนหน่งึ มาเก็บไวเ้ พ่ือใชจ้ า่ ยในยามเจบ็ ป่วย หรอื มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ หรอื เมอื่ แก่ชรา หรอื เพ่ือ
ใช้จ่ายในกิจการอื่นใดท่ีสมควร ท้ังในรูปแบบที่เป็นเงินสด หรอื ทรพั ย์สินต่างๆ เช่น เงินสดที่เก็บออมไว้เอง
เงินฝากธนาคาร เงินฝากกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เงินฝากกลุ่มสัจจะ เงินฝากสหกรณ์ เงินฝากกองทุน
หมู่บ้าน เงินฝากกองทุนต่างๆ การทาประกันชวี ิต การซอื้ พันธบัตร การซือ้ ทองคา การซ้อื บ้าน หรอื การซื้อ
ทด่ี ิน เป็นต้น

จากผลการสารวจ พบว่า ครวั เรอื นทั้งหมด 212,711 ครวั เรอื น มีการเก็บออมเงิน จานวน
208,713 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 98.12 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 3,998 ครวั เรอื น คิดเป็นรอ้ ยละ 1.88 โดยมี
อาเภอท่ีผ่านเกณฑแ์ ละไม่ผ่านเกณฑ์ 3 ลาดับแรก ดังนี้

1. อาเภอกมลาไสย อาเภอที่ผ่านเกณฑ์ มากท่ีสุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอเขาวง คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
3. อาเภอฆอ้ งชยั คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
คิดเป็นรอ้ ยละ 100

1. อาเภอสามชยั อาเภอทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ มากทสี่ ุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอคามว่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.21
3. อาเภอดอนจาน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.03
คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.99

หนา้ 44 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

หมวดท่ี 5 ค่านิยม จานวน 8 ตัวชวี้ ัด

ตัวชวี้ ัด ตัวชว้ี ัด จานวนท่ี ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ท่ี สารวจ เกณฑ์ เกณฑ์
651,479 คน รอ้ ยละ
24 คนในครวั เรอื นไมด่ ่ืมสุรา 671,321 คน 19,842
648,216 คน คน 2.96
25 คนในครวั เรอื นไมส่ ูบบุหรี่ 671,321 คน
655,392 คน 23,105 3.44
26 คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางศาสนา 655,907 คน คน
อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครงั้ 154,952 คน 0.08
515 คน
27 ผู้สูงอายุ ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชมุ ชน 154,954 คน 12,525 คน 0.001
ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน 2 คน
18,539 คน 0.00
28 ผู้พิการ ได้รบั การดูแลจากครอบครวั ชุมชน 12,525 คน 212,684 0 คน
ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ครวั รอื น 0.00
212,349 0 คน
29 ผู้ ป่ ว ย โ ร ค เ ร้ือ รัง ไ ด้ รับ ก า ร ดู แ ล จ า ก 18,539 คน ครวั เรอื น 0.01
ครอบครวั ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน 27
ครวั รอื น 0.17
30 ครัวเรอื นมีส่วนรว่ มทากิจกรรมสาธารณะ 212,711
เพื่อประโยชน์ของชุมชน หรอื ทอ้ งถนิ่ ครวั เรอื น 362
ครวั เรอื น
31 ครอบครวั มคี วามอบอนุ่ 212,711
ครวั เรอื น

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 31 ครอบครวั มคี วามอบอนุ่ 0.17

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 30 ครวั เรอื นมสี ว่ นรว่ มทากจิ กรรมสาธารณะเพอ่ื … 0.01

ตวั ชวี้ ัดท่ี 29 ผปู ้ ่ วยโรคเรอ้ื รงั ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครัว… 0

ตัวชวี้ ดั ที่ 28 ผพู ้ กิ าร ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน… 0

ตัวชว้ี ดั ท่ี 27 ผสู ้ งู อายุ ไดร้ ับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน… 0.001

ตัวชวี้ ัดที่ 26 คนอายุ 6 ปีขน้ึ ไป ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทางศาสนา… 0.08

ตวั ชว้ี ดั ที่ 25 คนในครวั เรอื นไมส่ บู บหุ ร่ี 3.44
2.96
ตัวชว้ี ัดท่ี 24 คนในครัวเรอื นไมด่ มื่ สรุ า

ค่านิยมเป็นกรอบของแนวความคิดเพ่ือประโยชน์สุขของตนเองและส่วนรวม เป็นสิ่งท่ีคนในสังคม
ยอมรบั ว่ามีคุณคา่ การปลกู ฝงั คา่ นยิ มในสังคมไทยเปน็ ส่วนหนึ่งของวฒั นธรรม ซงึ่ เปน็ ตัวกาหนดพฤติกรรมของบุคคลใน
การดาเนินชวี ิตระหว่างสมาชกิ ในสังคมให้สอดคล้องสัมพันธก์ ันชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเป็นปีกแผ่นให้แก่สังคม เม่อื กระแส
โลกาภิวัตน์ที่วัฒนธรรมตะวันตกและชาติอื่น ๆ ข้ามาในประเทศไทย ทาให้มีผลกระทบต่อ การดาเนินชวี ิต ทาให้เด็กรุน่
ใหม่ของไทยลืมเลือนวิถีชวี ิตและวัฒนธรรมไทยไปไม่น้อย ดังน้ัน จงึ ได้กาหนดเรอื่ งการปลูกฝังค่านิยมไทยไว้เป็นหมวด
ท่ี 5 ถา้ เด็กหรอื เยาวชนในวนั นี้เป็นผู้ที่มคี ุณค่า มีปัญญา เปน็ ผ้มู ีคุณธรรมและสติปัญญาในทางท่ีถูกต้องสังคมไทยจะได้
ผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต ครอบครวั จึงเป็นสถาบันแรกที่สาคัญท่ีสุดในการแต่งแต้มคุณธรรมความดีหรอื สิ่งท่ีเลวรา้ ย
ให้กับเด็ก ซง่ึ ถือว่าเป็นตัวแทนทางสังคมที่ทาหน้าท่ีปลูกฝังวัฒนธรรม เรม่ิ จากการเป็นแบบอย่างให้เด็กเลียนแบบจน
เปน็ ความเคยชนิ ซมึ ซบั จนกลายเป็นคุณสมบัติอย่างหน่ึงของเด็กโดยไม่รูต้ ัว ส่ิงเหลา่ น้ีจะชว่ ยกล่อมเกลาเด็กให้เกิดการ
เรยี นรแู้ ละรบั การถา่ ยทอดวัฒนธรรมรวมทัง้ ค่านิยม

หนา้ 45 จาก 90

รายงานคณุ ภาพชวี ติ คนกาฬสินธุ์ ปี 2565

97.04% 2.96%
651,481 คน 19,842 คน

ทง้ั หมด 671,312 คน

ไม่ดื่มสุรา หมายถึง ไมม่ กี ารดื่มเครอื่ งด่ืมทม่ี ีแอลกอฮอลผ์ สมอยู่ เชน่ สุรา เบียร์ ไวน์ ยาดอง
กระแช่ สาโท หรอื ที่ผลิตจากผัก หรอื ผลไม้ เชน่ มันฝรงั่ ข้าว น้าองุ่น โดยการนาวัตถุดิบดังกล่าว มาหมักและ
เติมยีสต์ลงไป ยกเว้นการด่ืมเป็นครงั้ คราวในงานเทศกาล งานประเพณี หรอืงานเล้ยี งทางสังคม เฉลยี่ ไม่เกิน
เดือนละ 1 ครง้ั

โทษของการดื่มสุรา ทาให้คนติดสุราอาจเสียชวี ิตด้วยโรคหัวใจวาย มะเรว็ กระเพาะอาหาร
ตับแข็งและเส้นเลอื ดในสมองแตก คนเมาที่ขบั รถจะขาดการควบคุมสติสัมปชญั ญะ ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ หญงิ
มีครรภ์อาจแท้งลูก หรอื เด็กที่คลอดออกมาจะมีรา่ งกายสติปัญญาที่บกพรอ่ ง รวมท้ังการดื่มสุราทาให้เกิด
ปัญหาต่อตนเอง ครอบครวั และสังคม ซง่ึ ผิดศีลข้อ 5 ในศาสนาพุทธ

จากผลการสารวจ พบว่า คนในครวั เรอื นทั้งหมด 671,312 คน ไม่ด่ืมสุราจานวน 651,481
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 97.04 ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน 19,842 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.96 โดยมีอาเภอท่ีผ่านเกณฑ์
และไม่ผา่ นเกณฑ์ 3 ลาดับแรก ดังน้ี

1. อาเภอเขาวง อาเภอที่ผ่านเกณฑ์ มากท่สี ุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอหนองกงุ ศรี คิดเป็นรอ้ ยละ 100
3. อาเภอยางตลาด คิดเป็นรอ้ ยละ 100
คิดเปน็ รอ้ ยละ 98.83

1. อาเภอดอนจาน อาเภอทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์ มากทส่ี ุด 3 ลาดับแรก
2. อาเภอนามน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.89
3. อาเภอนาคู คิดเป็นรอ้ ยละ 6.24
คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.22

หน้า 46 จาก 90


Click to View FlipBook Version