The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชาสุขศึกษา ม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khunkrunuiy, 2022-07-12 08:40:06

หลักสูตรรายวิชาสุขศึกษา ม1

หลักสูตรรายวิชาสุขศึกษา ม1

หลักสตู รรายวชิ าสุขศึกษา
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา
โรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
พุทธศกั ราช 2564

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา ปทุมธานี เขต 2
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ

หลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้จัดทำขึ้นตามแนวทางที่กำหนด
ไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) และเปน็ ไป
ตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับ
ที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งกำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการ
จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในส่วนที่
เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนเป็น
สมาชกิ ทดี่ ีของครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ฉบับนี้ประกอบด้วย ความนำ คุณภาพผู้เรียน โครงสร้างเวลาเรียน สาระมาตรฐานการเรียนรู้
ตวั ชว้ี ัดรายปี คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
การเรยี นรู้ สื่อการเรียน แหลง่ เรียนรู้ ซงึ่ ทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา
ในหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธปิ ตั ยว์ ทิ ยาคาร พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี้ เพ่อื ให้ผู้ท่เี กย่ี วข้องได้เข้าใจ และสามารถ
นำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกต้องและบรรลผุ ลตามทต่ี ้องการ

สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร
พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ฉบับนี้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ด้วยความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของ
โรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมดำเนินการ ทาง
โรงเรยี นจึงขอขอบพระคุณทา่ นมา ณ โอกาสนี้

นางสาวอุไรวรรณ น้อยมาลา
ตำแหน่ง ครู



สารบัญ

หน้า
คำนำ............................................................................................................................. .............................ก
สารบญั .......................................................................................................................................................ข
ความนำ ............................................................................................................................. ......... 1
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา.....……………………….. ๕
โครงสร้างเวลาเรยี น..................................................................................................................... 6
โครงสรา้ งหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา................................................... 7
ตวั ช้ีวัดสาระการเรียนร้แู กนกลาง................................................................................................ ๙
คำอธบิ ายรายวิชา ....................................................................................................................... ๑๑
โครงสรา้ งรายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา.................................................................................... ๑๓
แนวการจดั การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา.............................................................................. ๑6
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ............................................................................................... ๑๘
ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ .............................................................................................................. ๒๖
ภาคผนวก ................................................................................................................................... ๒๗
คำอธบิ ายศัพท์ ………………………………………………………………………..………………………………… ๒๘
เอกสารอา้ งองิ ………………………………………………………………………..……….…………………………… ๓๑
ผู้จดั ทำ………………………………………………………………………..………………..………..…………………… ๓๒



กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใชม้ าตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ
ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ที่
30/ 2561 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561 ใหเ้ ปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการงานอาชีพ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยมีคำสง่ั ใหโ้ รงเรียนดำเนินการใช้
หลักสูตรในปีการศึกษา 2561 ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 ปีการศกึ ษา 2562 ให้ใช้ในช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-2 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-
2 และปีการศึกษา 2563 ให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยกำหนดจุดหมาย และ
มาตรฐานการเรียนร้เู ปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นให้พฒั นาการเต็มตามศักยภาพ
มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จึงได้ปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษา
และพลศึกษา เพือ่ นำไปใช้ประโยชน์และเปน็ กรอบ ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายใน
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดคุณภาพผู้เรียน
โครงสร้างเวลาเรียน สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด แนวการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
ตลอดจนสื่อ/แหล่งเรียนรู้ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี เปิดโอกาสให้โรงเรียน
สามารถกำหนดทิศทางในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบ
แกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ให้มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคม
คุณภาพ มคี วามรูอ้ ย่างแท้จริง และมีทักษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัดทก่ี ำหนดไวใ้ นเอกสารนี้ ช่วยใหส้ ถานศกึ ษาเหน็ ผลคาดหวงั ท่ีต้องการ
ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำ
หลักสูตรมีคณุ ภาพและมีความเปน็ เอกภาพสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัดที่กำหนดไวใ้ น
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน รวมทั้งเปน็ กรอบทศิ ทางในการจัดการศกึ ษาทุกรูปแบบและครอบคลุม
ผเู้ รียนในระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โดยรว่ มกันทำงานอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ
ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี
กำหนดไว้



ทำไมต้องเรียนสุขศกึ ษาและพลศึกษา
สุขภาพ หรือ สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และ

ทางปญั ญาหรือจิตวิญญาณ สขุ ภาพหรอื สุขภาวะจึงเป็นเร่ืองสำคัญ เพราะเกี่ยวโยงกับทุกมิติของชีวิต ซ่ึงทุก
คนควรจะได้เรียนรู้เรื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีเจตคติ คุณธรรมและค่านิยมที่
เหมาะสม รวมท้ังมที ักษะปฏิบตั ิด้านสขุ ภาพจนเปน็ กจิ นสิ ัย อันจะส่งผลใหส้ ังคมโดยรวมมีคณุ ภาพ

เรียนรอู้ ะไรในสขุ ศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพที่มีเป้าหมาย เพื่อการดำรงสุขภาพ การสร้างเสริม

สุขภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของบุคคล ครอบครัว และชมุ ชนใหย้ ัง่ ยนื
สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยมและการปฏิบัติ

เกยี่ วกับสขุ ภาพควบคู่ไปด้วยกนั
พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและกีฬา เป็น

เครื่องมือในการพัฒนาโดยรวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ
และกีฬา

สาระที่เป็นกรอบเนื้อหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ประกอบดว้ ย

การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย์ ผูเ้ รยี นจะได้เรยี นรู้เรื่องธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ความสัมพันธ์เชื่อมโยงในการทำงานของระบบ
ต่างๆของร่างกาย รวมถงึ วธิ ีปฏบิ ัติตนเพอ่ื ให้เจรญิ เติบโตและมีพัฒนาการทสี่ มวัย

ชีวิตและครอบครัว ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องคุณค่าของตนเองและครอบครัว การปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สกึ ทางเพศ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อืน่ สุขปฏิบัติ
ทางเพศ และทักษะในการดำเนินชวี ติ

การเคล่อื นไหว การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนไดเ้ รยี นรเู้ ร่ืองการ
เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทั้งประเภทบุคคล และประเภททีมอย่าง
หลากหลายทั้งไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กติกา ระเบียบ และข้อตกลงในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย
และกฬี า และความมีนำ้ ใจนักกีฬา

การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักและ
วธิ กี ารเลอื กบริโภคอาหาร ผลิตภณั ฑ์และบริการสุขภาพ การสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพอื่ สุขภาพ และการปอ้ งกัน
โรคทัง้ โรคติดตอ่ และโรคไม่ตดิ ต่อ

ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ท้ัง
ความเส่ียงตอ่ สุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ ความรนุ แรง อันตรายจากการใช้ยาและสารเสพตดิ รวมถงึ แนวทางในการสร้าง
เสรมิ ความปลอดภัยในชวี ติ



วสิ ยั ทศั น์
กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา จดั การศึกษาโดยเน้นการมสี ว่ นรว่ ม เพ่อื มุง่ เน้นใหผ้ เู้ รียน

มีภาวะของมนุษย์ท่สี มบูรณ์ทั้งดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา รวมท้งั สมรรถภาพทางกาย
เพือ่ สขุ ภาพและกีฬา มีเจตคติ และคา่ นยิ มที่เหมาะสมต่อการเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางกายและกีฬา มนี ำ้ ใจนักกีฬา

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ั น

พื้นฐานมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5
ประการ ดงั น้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รับข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วิธีการสือ่ สารทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอ่ื การตัดสนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึน ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ่สี ่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ น่ื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทำงาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคณุ ธรรม



คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2564

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม่งุ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่รว่ มกับผ้อู น่ื ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทย และพลโลก ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ดังนี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ (๓R๘C)
๑. สามารถอา่ นออกเขยี นได้ (Reading)
๒. สามารถเขียนได้ (Writing)
๓. มที ักษะในการคำนวณ (Arithmetic)
๔. มที ักษะการคิดวิเคราะห์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและสามารถแกป้ ัญหาได้ (Critical
thinking and problem solving)
๕. การคดิ อย่างสร้างสรรค์และเชิงนวัตกรรม(Creativity and innovation)
๖. มีทักษะในการส่อื สารและรเู้ ท่าทันสื่อ (Communication information and media
literacy)
๗. มที กั ษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละรู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี(Computing and LT literacy)
๘. ความเข้าใจในความแตกตา่ งของวฒั นธรรมและกระบวนการคิดขา้ มวฒั นธรรม(Cross-
cultural understanding)
๙. ความร่วมมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะความเปน็ ผ้นู ำ(Collaboration teamwork and
leadership
๑๐. มีทักษะอาชีพและการเรยี นรู้(Career and learning skills)
๑๑. มคี วามเมตตากรุณา มีคณุ ธรรม และมีระเบยี บวินัย(Compassion)



สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี 1 การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์
มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครวั
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนนิ ชีวิต
สาระท่ี 3 การเคลือ่ นไหว การออกกำลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกำลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏบิ ตั ิเป็นประจำอยา่ งสมำ่ เสมอ

มีวนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ำ้ ใจนักกีฬา มจี ติ วญิ ญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน
สุนทรียภาพของการกีฬา
สาระที่ 4 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คณุ คา่ และมีทักษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกันโรคและ
การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชวี ิต
มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกนั และหลีกเล่ยี งปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสยี่ งต่อสุขภาพ อุบัตเิ หตุ การใชย้ า สารเสพติด
และความรนุ แรง

คุณภาพผู้เรยี น

จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

➢ เข้าใจและเห็นความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีต่อ
สขุ ภาพและชีวติ ในชว่ งวัยต่าง ๆ

➢ เข้าใจ ยอมรบั และสามารถปรับตวั ต่อการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ ความรู้สึก
ทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สร้างและรกั ษาสมั พนั ธภาพกบั ผอู้ ่นื และตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาชีวติ ดว้ ยวธิ กี ารที่
เหมาะสม

➢ เลือกกนิ อาหารที่เหมาะสม ได้สัดส่วน สง่ ผลดตี อ่ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการตามวัย
➢ มีทักษะในการประเมินอิทธิพลของเพศ เพื่อน ครอบครัว ชุมชนและวัฒนธรรมที่มีต่อเจตคติ
คา่ นิยมเกย่ี วกับสุขภาพและชีวติ และสามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม
➢ ปอ้ งกันและหลีกเลย่ี งปัจจยั เสีย่ ง พฤตกิ รรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพและการเกิดโรค อุบตั เิ หตุ การใช้ยา
สารเสพติด และความรุนแรง รจู้ ักสรา้ งเสรมิ ความปลอดภัยให้แกต่ นเอง ครอบครัว และชมุ ชน
➢ แสดงความตระหนกั ในความสัมพันธร์ ะหว่างพฤตกิ รรมสุขภาพ การปอ้ งกนั โรค การดำรงสุขภาพ
การจดั การกับอารมณ์และความเครียด การออกกำลังกายและการเล่นกฬี ากบั การมวี ถิ ชี วี ิตที่มสี ขุ ภาพดี
➢ สำนกึ ในคณุ คา่ ศักยภาพและความเปน็ ตวั ของตวั เอง



โครงสรา้ งเวลาเรยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ระดบั ชนั้ รหัสวชิ า วชิ า เวลาเรียน/ชั่วโมง รวม
ม.๑ รายวชิ าพืน้ ฐาน รายวชิ าเพม่ิ เติม
พ 21101 สุขศกึ ษา ๒0
พ 2110๒ สขุ ศกึ ษา 20 - ๒0
20 - 40
รวม 40 -



โครงสรา้ งหลกั สตู รระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2

ระดับชน้ั รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา นก. ช.ม./ รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า นก. ช.ม./
สปั ดาห์ สปั ดาห์
รายวชิ าพืน้ ฐาน
รายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศึกษา 0.5 1

ม.๑ พ 21101 สุขศกึ ษา 0.5 1 พ 21102

8

9

ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง

มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑
สาระท่ี ๑ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ม.๑ ๑.อธบิ ายความสำคญั ของระบบ  ความสำคัญของระบบประสาท และระบบต่อมไร้

ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อท่มี ี ทอ่ ทม่ี ผี ลตอ่ สุขภาพ การเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการ

ผลตอ่ สุขภาพ การเจริญเติบโต ของวัยรนุ่

และพฒั นาการของวยั รนุ่

๒.อธิบายวิธีดูแลรักษาระบบ  วิธีดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ

ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อให้ ใหท้ ำงานตามปกติ

ทำงานตามปกติ

๓. วเิ คราะห์ภาวะการเจรญิ เตบิ โต  การวเิ คราะห์ภาวะการเจรญิ เติบโต

ทางร่างกายของตนเองกบั เกณฑ์ ตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัยทเ่ี ก่ียวข้อง

มาตรฐาน

๔. แสวงหาแนวทางในการพฒั นา  แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวยั

ตนเองใหเ้ จรญิ เตบิ โตสมวัย

สาระที่ ๒ ชวี ิตและครอบครวั
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณคา่ ตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมีทักษะในการดำเนนิ ชวี ิต

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ม. ๑ ๑. อธบิ ายวิธีการปรบั ตัวต่อการเปลีย่ นแปลง  การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ
ทางร่างกายจติ ใจ อารมณ์ และพัฒนาการทาง - ลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ
เพศอย่างเหมาะสม อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ
- การยอมรบั และการปรบั ตัวต่อการ
๒. แสดงทักษะการปฏเิ สธเพ่อื ป้องกันตนเอง เปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และ
จากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ พัฒนาการทางเพศ
- การเบีย่ งเบนทางเพศ
 ทกั ษะปฏิเสธเพื่อป้องกนั การถูกลว่ งละเมิด
ทางเพศ

10

สาระท่ี ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค

มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคา่ และมีทกั ษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการ

สร้างเสริมสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ

ชัน้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม. ๑ ๑. เลือกกนิ อาหารที่เหมาะสมกบั วัย  หลกั การเลือกอาหารที่เหมาะสมกบั วยั

๒. วเิ คราะหป์ ัญหาท่ีเกิดจากการภาวะ  ปญั หาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ

โภชนาการที่มผี ลกระทบต่อสุขภาพ - ภาวะการขาดสารอาหาร

- ภาวะโภชนาการเกนิ

๓. ควบคมุ น้ำหนักของตนเองให้อยู่ใน  เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเด็กไทย

เกณฑ์มาตรฐาน  วิธีการควบคมุ น้ำหนักของตนเองให้อยูใ่ น

เกณฑ์มาตรฐาน

๔. การสร้างเสรมิ และปรบั ปรงุ  วธิ ที ดสอบสมรรถภาพทางกาย

สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ  วิธสี ร้างเสริมและปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกาย

ตามผลการทดสอบ

สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต

มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลย่ี งปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเสยี่ งตอ่ สุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ การใช้ยา สารเสพ

ตดิ และความรุนแรง

ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม. ๑ ๑. แสดงวิธีปฐมพยาบาลและ  การปฐมพยาบาลและเคล่ือนยา้ ยผู้ป่วยอย่าง

เคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ยอย่างปลอดภัย ปลอดภยั

- เปน็ ลม - บาดแผล

- ไฟไหม้ - กระดกู หัก

- นำ้ รอ้ นลวก ฯลฯ

๒. อธิบายลกั ษณะอาการของผตู้ ิดสาร  ลกั ษณะของผู้ตดิ สารเสพติด

เสพตดิ และการป้องกนั การตดิ สารเสพ  อาการของผู้ติดสารเสพติด
ตดิ  การปอ้ งกันการตดิ สารเสพติด

๓. อธบิ ายความสัมพันธ์ของการใช้สาร  ความสัมพันธ์ของการใชส้ ารเสพติดกบั การเกิด

เสพติดกบั การเกดิ โรคและอุบัติเหตุ โรค และอบุ ัติเหตุ

๔. แสดงวธิ ีการชักชวนผอู้ ่ืนให้ลด ละ  ทักษะที่ใชใ้ นการชกั ชวนผู้อ่นื ให้ลด ละ

เลิกสารเสพตดิ โดยใช้ทักษะต่าง ๆ เลกิ สารเสพติด

- ทักษะการคดิ วเิ คราะห์

- ทกั ษะการส่อื สาร

- ทักษะการตัดสนิ ใจ

- ทักษะการแก้ปญั หา ฯลฯ

11

คำอธบิ ายรายวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

รหสั วชิ า พ21101 (สขุ ศึกษา) กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความรู้ วิเคราะห์และอธบิ ายเกีย่ วกับความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ทอ่ ที่มี
ผลต่อสขุ ภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น วิธกี ารดูแลรกั ษาระบบประสาทและต่อมไร้ท่อให้
ทำงานตามปกติ ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน วิธีปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสม แสดงทักษะการปฏิเสธ
เพอื่ ป้องกนั ตนเองจากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ศึกษาความรู้เพิ่มเติม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น นำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์
อย่างมีเหตุผล ออกแบบหรือสร้างทางเลือกที่จะนำไปสู่การทำให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยเน้นการลงมือทำจริงจน
เกิดเปน็ ความรทู้ ีเ่ กดิ อย่ใู นตวั ผูเ้ รียน ให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงออก

เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพ นำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติตนใน
ชีวิตประจำวันเพื่อใช้ในการดูแล รักษา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ตวั ชวี้ ัด
พ 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
พ 2.1 ม.1/1, ม.1/2

รวมทัง้ หมด 6 ตัวชี้วัด

12

คำอธบิ ายรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

รหสั วิชา พ21103 (สุขศกึ ษา) กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 20 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาความรู้ วิเคราะห์ เกี่ยวกับปัญหาที่เกดิ จากภาวะโภชนาการท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ การ
เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย ควบคุมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สร้างเสริมและ
ปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกาย สามารถดุแลตนเองเมือ่ ยามเจ็บป่วย มีกระบวนการสรา้ งเสรมิ ความปลอดภัย
ให้ตนเองและครอบครัว สถานการณ์ที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวติ และความปลอดภัย การตัดสินใจและปฏิบตั ิ
ตนในการแก้ปัญหาเมื่อเผชิญกับภัยอันตราย สามารถแสดงวิธีปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่าง
ปลอดภัย อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด ความสัมพันธ์
ของการใชส้ ารเสพตดิ กบั การเกดิ โรคและอุบตั ิเหตุ แสดงวีการชกั ชวนให้ผู้อื่นเลกิ สารเสพติด

โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ศึกษาความรู้เพิ่มเติม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น นำข้อมูลมาใช้วิเคราะห์
อย่างมีเหตุผล ออกแบบหรือสร้างทางเลือกที่จะนำไปสู่การทำให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยเน้นการลงมือทำจริงจน
เกดิ เป็นความรูท้ ีเ่ กดิ อยใู่ นตวั ผู้เรยี น ให้ผู้เรียนไดแ้ สดงออก

เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพ นำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติตนใน
ชีวิตประจำวันเพื่อใช้ในการดูแล รักษา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ตัวช้วี ดั
พ 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
พ 5.1 ม.1/1,ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

รวมท้ังหมด 7 ตัวช้วี ดั

13

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า สขุ ศกึ ษา รหัสวิชา พ21101 จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
ภาคเรียนท่ี 1 สดั สว่ นคะแนน 80 : 20

ท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ชิ้นงาน/ภาระ
การเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ (ชั่วโมง) คะแนน งานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด 20 ใบงานที่ 1
ใบงานท่ี 2
1 ระบบประสาท พ 1.1 ระบบประสาทและระบบต่อมไรท้ ่อ 4 ช้ินงานท่ี 1 เรือ่ ง
ความสำคัญและ
และ ม.1/1, เปน็ ระบบการทำงานในร่างกายทม่ี ี วิธีดูแลรักษา
ระบบประสาท
ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ม.1/2 ความสำคญั ตอ่ ภาวะสขุ ภาพการ และต่อมไร้ท่อ

เจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการของวยั รนุ่ 20 ใบงานที่ 3
ใบงานท่ี 4
การดแู ลรักษาระบบประสาทและ ชนิ้ งานท่ี 2 เรอ่ื ง
การวเิ คราะห์การ
ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ให้ทำงานไดต้ ามปกติ เจรญิ เตบิ โตและ
พฒั นาตนเองให้
จะช่วยใหม้ ีสขุ ภาพดี เจริญเติบโต
สมวยั
มีการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ
10
ที่เหมาะสมตามวยั 20 ใบงานที่ 5

2 การพัฒนาตนเอง พ 1.1 การวเิ คราะหภ์ าวะการเจรญิ เติบโต 4 ใบงานท่ี 6
ชน้ิ งานท่ี 3 เรอื่ ง
ใหเ้ จรญิ เตบิ โต ม.1/3, ของรา่ งกายเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ การปรับตัวตอ่
การเปล่ยี นแปลง
สมวัย ม.1/4 มาตรฐานจะทำให้ทราบภาวะการ ทางรา่ งกาย
จติ ใจ อารมณ์
เจริญเติบโตของตนเอง เพอ่ื เปน็ และพฒั นาการ
ทางเพศ
แนวทางในการปรับปรุงพฤติกรรม

ควบคุมปจั จยั ทีเ่ ก่ยี วข้องตลอดจน

พัฒนาตนเองใหเ้ จริญเติบโตสมวัย

3 สอบกลางภาค 1

4 การเปล่ียนแปลง พ 2.1 1. ธรรมชาตแิ ละพัฒนาการของ 5

ทางรา่ งกาย ม.1/1, มนุษยจ์ ะเปน็ ไปตามวยั ตามลำดับ

จติ ใจ อารมณ์ ม.1/2 ขั้นตอน ทำให้เห็นการเปล่ียนแปลงที่

และพฒั นาการ เกดิ ข้ึนกับรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์

ทางเพศ และพัฒนาการทางเพศได้อย่าง

ชัดเจน การรู้จกั และเข้าใจตนเอง

อย่างถูกต้อง ยอมรบั ต่อ

การเปล่ียนแปลงและพฒั นาตนเอง

2. การมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสมตาม

วยั

และรู้จกั ใช้ทักษะในการปอ้ งกัน

ตนเองอย่างถูกต้อง จะทำให้

14

ท่ี ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ช้นิ งาน/ภาระ
การเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ (ช่วั โมง) คะแนน งานรวบยอด

ตวั ชว้ี ดั ๑0 ใบงานที่ 7
ใบงานท่ี 8
ปลอดภัยจากการถกู ล่วงละเมิดทาง ชนิ้ งานที่ 5 เร่อื ง
การเลอื ก
เพศ รบั ประทาน
อาหารท่ี
5 อาหารท่ี พ 4.1 การเลอื กรบั ประทานอาหารต้อง 5 เหมาะสมกับวัย
เหมาะสม
กบั วัย ม.1/1 มีความเหมาะสมกบั วัย เพือ่ สร้าง ๒0
100
เสรมิ และซ่อมแซมสว่ นท่สี กึ หรอของ

ร่างกาย โดยเฉพาะวยั รุน่ ทีม่ ีการ

เปลี่ยนแปลงทางรา่ งกายอย่างชัดเจน

การเลือกรับประทานอาหารที่

เหมาะสม จะทำให้มพี ฒั นาการและ

การเจริญเตบิ โตสมวยั

6 สอบปลายภาค 1

รวม 20

15

รายวิชา สุขศึกษา โครงสรา้ งรายวิชา จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหสั วชิ า พ2110๓ สัดสว่ นคะแนน 80 : 20
ภาคเรยี นที่ ๒

ชือ่ หน่วย มาตรฐาน เวลา น้ำหนัก ช้นิ งาน
การเรยี นรู้ การเรยี นร้/ู คะแนน ภาระงาน
ท่ี ตัวชวี้ ัดชว่ ง รวบยอด
สาระสำคญั ชว่ั โมง 40 ช้ินงานที่ 8
ช้นั เรื่อง การปฐม
10 พยาบาล
6 การปฐม พ 5.1 ม. การปฐมพยาบาลอย่างถูกต้องจะ 13 ๓0
พยาบาล 1/1 ช่วยบรรเทาอาการเจบ็ ป่วยหรือ ช้ินงานที่ 9
และการ ๒0 เรื่อง ลกั ษณะ
เคลื่อนย้าย บาดเจ็บของผ้ปู ่วย ป้องกนั การ 100 อาการของผู้ติด
ผปู้ ว่ ย สารเสพติดและ
เกดิ ความพกิ ารและลดอตั ราเสยี่ ง การปอ้ งกันสาร
เสพติด
ของการเสียชวี ติ จากการเจบ็ ป่วย

หรือบาดเจ็บ

สอบกลางภาค 1

7 สารเสพติด พ 5.1 ม. 1. ผตู้ ิดสารเสพติดมลี ักษณะทาง 5
1/2, ม. พฤติกรรมความคิด ความรู้สึก
1/3,ม.1/4 บคุ ลกิ ภาพ และโลกทัศนส์ ว่ นตัว

เปลี่ยนไปจากเดิมในด้านลบซึ่ง

ลักษณะอาการท่แี สดงออกน้ัน

ขึน้ อยู่กับการออกฤทธ์ิของสาร

เสพติดแตล่ ะชนิด

2. สารเสพตดิ สง่ ผลกระทบต่อ

ร่างกายทำใหผ้ ้เู สพเกิดโรคต่าง ๆ

และส่งผลกระทบตอ่ จิตใจด้วย

โดยสภาพจิตใจของผู้เสพจะ

เปล่ยี นไปในทางที่แยล่ งและขาด

สตจิ ึงสง่ ผลให้เกดิ อบุ ตั เิ หตใุ น

ชวี ติ ประจำวันได้

3. การชกั ชวนและโนม้ นา้ วจติ ใจ

ให้ผอู้ ื่น ลด ละ เลกิ สารเสพติดได้

จะทำให้คนในสงั คมอยู่รว่ มกัน

อย่างมีความสุข

สอบปลายภาค 1

รวม 20

16

แนวการจดั การเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
หลกั การจัดการเรียนรู้

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการ
จัดการเรียนรู้ โดยเนน้ การฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ ฝึกทักษะการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดการเรยี นรสู้ อดคล้องกับนโยบายดังกล่าวน้ี จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ี
เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั (Child Centered) เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเนน้ การเรียนรู้แบบบูรณาการ
ที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มีทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
สามารถนำความรเู้ กี่ยวกบั การดำรงชีวิต สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง ที่สอดคลอ้ งกบั ชวี ิตจริง
เพอื่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การพัฒนาในองค์กรเป็นธรรมชาตสิ อดคล้องกับสภาพและปัญหาที่เกดิ ในวิถีชวี ิตของนักเรียน

การออกแบบการเรยี นรู้
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการเป็นผู้ชี้นำผู้

ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้ชว่ ยเหลือ อำนวยความสะดวกและส่งเสริมสนับสนนุ นักเรียนโดยใช้วิธีการต่างๆอย่าง
หลากหลายรูปแบบเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้ และนำความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้
นำเสนอทฤษฎแี ละเทคนคิ วิธีการเรียนการสอนต่างๆมาเปน็ แนวทางในการจดั การเรียนรู้ เช่น

การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning - BBL) ที่เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่อิงผลวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่าได้ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร โดยได้
กล่าวถึงสร้างที่แท้จริงของสมองและการทำงานของสมองมนุษย์ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามขั้นตอนของการ
พัฒนา ซง่ึ สามารถนำมาใชเ้ ป็นกรอบคดิ ของการสร้างสรรคก์ ารจดั การเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning - PBL) เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนร่วมกัน
แก้ปัญหาภายใต้การแนะนำของผู้สอน ให้นักเรียนช่วยกันตั้งคำถามและช่วยกันค้นหาคำตอบ โดยอาจใช้
ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสำหรับการแก้ปัญหา นำข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้ามาสรุป
เป็นข้อมูลในการเก็บปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการเก็บปัญหาครั้งต่อไป สำหรับ
ขัน้ ตอนการจัดการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา (Multiple Intelligences) เป็นการพัฒนาองค์รวมของนักเรียน
ทั้งสมองด้านซา้ ยและสมองดา้ นขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาทีแ่ ตกตา่ งกันของแตล่ ะบุคคล มุ่ง
หมายจะให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่างๆภายใต้ความหลากหลายของวัฒนธรรมหรือ
สภาพแวดลอ้ ม

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(Cooperative learning) เป็นจากการจัดสถานการณ์และ
บรรยากาศให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันฝึกให้นักเรียนที่มีลักษณะทางสติปัญญาและความร่วมมือกัน
ทำงานเป็นกลมุ่ ร่วมกันศกึ ษาค้นควา้

การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้หมวกความคิด 6 ใบ (Six thinking Hats) ให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามและ
ตอบคำถามทใี่ ชค้ วามคดิ ในลักษณะต่างๆโดยสามารถอธบิ ายเหตุผลประกอบหรือวเิ คราะห์วิจารณ์ได้

การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา(Problem Solving ) เป็นการฝึกให้นักเรียนเรียนรู้
จากการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการแก้ปัญหา และ
ตรวจสอบหรือมองยอ้ นหลงั

17

การจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน (Project Work) ซึ่งเป็นวิธกี ารจัดการเรยี นรู้รูปแบบหน่ึงทีส่ ่งเสรมิ
ให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้หรอื ค้นคว้าหาคำตอบใน
สง่ิ ท่ผี ู้เรยี นอยากร้หู รือสงสยั ดว้ ยวิธกี ารต่างกันอยา่ งหลากหลาย

การจัดการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ การปฏิบัติ(Active learning) ให้นกั เรยี นไดท้ ดลองทำด้วยตนเอง เพื่อจะได้
เรยี นรูข้ นั้ ตอนของงาน รจู้ กั วิธีแกป้ ญั หาในการทำงาน

การจัดการเรียนรู้แบบสร้างผังความคิด (Concept Mapping) เป็นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่ม
ความคิดรวบยอด เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดยนำเสนอเป็น
ภาพหรอื เปน็ ผงั

การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience learning) เป็นการจัดกิจกรรมหรือจัด
ประสบการณใ์ หน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรจู้ ากการปฏิบัติ เรียกกระตนุ้ ให้นักเรียนพฒั นาทักษะใหม่ๆ เจตคติใหม่ๆ
หรือวธิ ีการคดิ ใหมๆ่

การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้แสดง
บทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติขึ้น โดยอาจกำหนดให้แสดงบทบาทสมมติที่เป็นพฤติกรรมของบุคคลอื่น หรือ
แสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่างๆ

การจัดการเรียนรู้โดยใช้กจิ กรรมสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ทบี่ รู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตรเ์ ขา้ ดว้ ยกัน เพือ่ ใหน้ กั เรยี นไดว้ างตัวเอง
คิดค้น วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างชิ้นงานและปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อให้เกิดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ นำความรู้ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการแก้ปญั หา และการสร้างช้นิ งานทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการดำรงชีวติ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 18

1. อัตราสว่ นคะแนน (ระดับมัธยมศึกษา) คะแนน
คะแนนระหว่างปกี ารศกึ ษา : สอบปลายปกี ารศึกษา = 80 : 20 (80)
70
รายการวดั
➢ ระหวา่ งภาค 10
มีการวัดและประเมนิ ผล ดงั น้ี (20)
1. คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น 100
1.1 วดั โดยใช้แบบทดสอบ
1.2 วดั ทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ (เลือกวัดตามแผนการจดั การเรยี นร้)ู

1.2.1 ภาระงานท่ีมอบหมาย
- การทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ
- การรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้

1.2.2 การเข้าร่วมกิจกรรมทางพลศึกษา และการทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย
1.2.3 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1.3 วัดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และเจตคติทด่ี ตี ่อวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

- รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
- ซือ่ สัตยส์ จุ ริต
- มีวนิ ัย
- ใฝ่เรียนรู้
- อย่อู ยา่ งพอเพียง
- มุ่งมั่นในการท างาน
- รักความเปน็ ไทย
- มจี ติ สาธารณะ
2. คะแนนสอบกลางภาคเรยี น
มกี ารวดั และประเมนิ ผลโดยใช้แบบทดสอบ
➢ คะแนนสอบปลายภาคเรียน
มกี ารวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ

รวมท้ังภาคเรยี น

19

3. เกณฑ์การวดั ผลประเมินผล
1. การวดั และประเมนิ ผลโดยใชแ้ บบทดสอบ

กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละแบบทดสอบ ดังนี้
1.1 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ พิจารณาจากความถูกผดิ ของการเลือกตอบ

ตอบถูกให้1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน
1.2 เกณฑใ์ หค้ ะแนนแบบทดสอบแบบถูกผดิ พจิ ารณาจากความถูกผดิ ของคำตอบ

ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน
1.3 เกณฑ์ให้คะแนนแบบทดสอบแบบจับคู่ พจิ ารณาจากความถกู ผดิ ของการจับคู่

จับคถู่ กู ให้ 1 คะแนน จบั คู่ผดิ ให้ 0 คะแนน
1.4 เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเปรยี บเทยี บ พจิ ารณาจากความถกู ผดิ ของการเปรียบเทียบ

เปรยี บเทยี บถกู ให้ 1 คะแนน เปรียบเทียบผิดให้ 0 คะแนน
1.5 เกณฑใ์ ห้คะแนนแบบทดสอบแบบเตมิ คำ พิจารณาจากความถูกผิดของคำตอบ

ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน
1.6 เกณฑใ์ หค้ ะแนนแบบทดสอบแบบเขียนตอบ พจิ ารณาจากคำตอบในภาพรวมทั้งหมด

โดยกำหนดระดบั คะแนนเป็น 4 ระดบั ดังน้ี

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

4 ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธบิ ายเหตุผลได้อยา่ งชดั เจน พรอ้ มทั้งแสดงแนวคดิ เชิง

เปรยี บเทียบ

3 ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธิบายเหตผุ ลไดอ้ ยา่ งชัดเจน

2 ตอบได้ถกู ต้อง และสามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้เปน็ บางสว่ น แตย่ ังไม่อยา่ งชัดเจน

1 ตอบได้ถูกต้อง แต่ไม่สามารถอธบิ ายเหตผุ ลได้

0 ตอบได้ถูกต้อง และไม่สามารถอธบิ ายเหตุผลได้

20

๒.การวดั และประเมนิ ผลด้านทักษะ/กระบวนการ/สมรรถนะ
๒.๑ ภาระงานทมี่ อบหมาย ดังน้ี
- ใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ
กำหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลของการทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะ เปน็ 4 ระดับ ดงั นี้

ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา
4
- ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทกั ษะครบถ้วนและเสรจ็ ตามกำหนดเวลา
(ดีมาก) - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทกั ษะไดถ้ ูกต้อง
- แสดงลำดับขน้ั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะชัดเจนเหมาะสม
3
(ด)ี - ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะครบถว้ นและเสร็จตามกำหนดเวลา
- ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝกึ ทักษะไดถ้ ูกตอ้ ง
2 - สลบั ข้ันตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ หรอื ไมร่ ะบุข้ันตอนของการ
(พอใช)้ ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะ

1 - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะครบถว้ น แตเ่ สรจ็ หลงั กำหนดเวลาเลก็ น้อย
(ต้องปรับปรุง) - ทำใบงาน/แบบฝึกหัด/แบบฝึกทกั ษะข้อไมถ่ ูกต้อง
- สลับขน้ั ตอนของการทำใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบฝึกทักษะ หรือไมร่ ะบุขน้ั ตอนของการ
ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะ

- ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทักษะไม่ครบถว้ น หรือไมเ่ สร็จตามกำหนดเวลาเลก็
- ทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะไม่ถูกต้อง
- แสดงลำดับขั้นตอนของการทำใบงาน/แบบฝกึ หัด/แบบฝึกทกั ษะไมส่ มั พันธ์กบั โจทย์
หรือไม่แสดงลำดับขั้นตอน

21

๒.๓ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
– การประเมนิ ผลสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
การประเมินผลสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ประเมนิ โดยใชแ้ บบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
โดยกำหนดเกณฑ์ในการประเมิน ดงั น้ี

ระดับคุณภาพ ความหมาย

(3) ผ้เู รยี นปฏบิ ตั ิตนตามสมรรถนะจนเปน็ นิสัย และนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั เพ่ือ ประโยชนส์ ขุ

ดีเย่ียม ของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 3-5 สมรรถนะ

และไม่มีสมรรถนะใดไดผ้ ลการประเมินต่ำกว่าระดบั ดี

(2) ผเู้ รยี นมีสมรรถนะในการปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑเ์ พ่ือให้เป็นการยอมรบั ของสงั คม

ดี โดยพจิ ารณาจาก

1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยย่ี ม จำนวน 1-2 สมรรถนะ และไม่มี สมรรถนะใด

ได้ผลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับดหี รือ

2. ได้ผลการประเมินระดบั ดีเยีย่ ม จำนวน 2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะ ใด

ไดผ้ ลการประเมินตำ่ กวา่ ระดับผ่าน หรือ

3. ได้ผลการประเมินระดับดจี ำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใด ไดผ้ ล

การประเมินต่ำกวา่ ระดับผา่ น

(1) ผเู้ รียนรบั รูแ้ ละปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขทส่ี ถานศกึ ษากำหนด โดย พิจารณาจาก

ผา่ น 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผ่าน จำนวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มสี มรรถนะ ใด

ได้ผลการประเมินตำ่ กว่าระดับผ่าน หรอื

2. ไดผ้ ลการประเมินระดับดจี ำนวน 2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใด ได้ผลการ

ประเมินตำ่ กวา่ ระดบั ผ่าน

(0) ผเู้ รียนรับรู้และปฏบิ ัติได้ไมค่ รบตามเกณฑ์และเง่ือนไขทกี่ ำหนด โดยพิจารณา จากผลการ

ไมผ่ า่ น ประเมนิ ระดบั ต้องปรับปรงุ ต้ังแต่ 1 สมรรถนะ

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทปี่ ฏิบัตบิ ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ัง ให้ 0 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัตนิ ้อยคร้ัง

เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพตามสมรถนะรายข้อ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
13 - 15 ดเี ยยี่ ม (3)
9 - 12
5-8 ดี (2)
ต่ำกว่า 5 ผ่าน (1)
ไม่ผา่ น (0)

22

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน

ช่อื .......................................................นามสกลุ ....................................................เลขท.ี่ .............ช้ัน...................
คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียน และขีด ✓ลงในช่องทต่ี รงกบั คะแนน

สมรรถนะดา้ น รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ดเี ยีย่ ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน
1. ความสามารถ 1.1 มคี วามสามารถในการรับ-สง่ สาร (3) (2) (1) (0)

ในการส่อื สาร 1.2 มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจของ รวม ....... คะแนน ระดบั .........

ตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม รวม ....... คะแนน ระดับ .........

1.3 ใช้วิธกี ารสอื่ สารท่เี หมาะสม มปี ระสิทธิภาพ รวม ....... คะแนน ระดับ .........

1.4 เจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งตา่ งๆได้ รวม ....... คะแนน ระดับ .........

1.5 เลอื กรับและไม่รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง รวม ....... คะแนน ระดบั .........

สรปุ ผลการประเมนิ

2. ความสามารถ ใน 2.1 มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์

การคดิ 2.2 มที ักษะในการคดิ นอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์

2.3 สามารถคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ

2.4 มีความสามารถในการสรา้ งองคค์ วามรู้

2.5 ตัดสินใจแกป้ ญั หาเกีย่ วกบั ตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม

สรุปผลการประเมิน

3. ความสามารถ ใน 3.1 สามารถแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทเ่ี ผชิญได้

การแก้ปญั หา 3.2 ใช้เหตผุ ลในการแกป้ ัญหา

3.3 เข้าใจความสัมพนั ธแ์ ละการเปล่ยี นแปลงในสงั คม

3.4 แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรูม้ าใช้ในการป้องกนั และแก้ไข

ปญั หา

3.5 สามารติดสินใจได้เหมาะสมตามวยั

สรุปผลการประเมนิ

4. ความสามารถ 4.1 เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองได้เหมาะสมตามวัย

ในการใช้ทกั ษะ 4.2 สามารถท างานกลุ่มร่วมกบั ผู้อนื่ ได้

ชวี ติ 4.3 น าความรทู้ ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจ าวนั

4.4 จดั การปญั หาและความขัดแยง้ ไดเ้ หมาะสม

4.5 หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ท่สี ่งผลกระทบต่อตนเอง

สรุปผลการประเมิน

5. ความสามารถ ใน 5.1 เลือกและใชเ้ ทคโนโลยีไดเ้ หมาะสมตามวัย

การใช้ เทคโนโลยี 5.2 มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี

5.3 สามารถนำเทคโนโลยไี ปใช้พัฒนาตนเอง

5.4 ใชเ้ ทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์

5.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี

สรุปผลการประเมิน

ระดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ในหลกั สตู รรายชน้ั

ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมนิ

23

๓.คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
การประเมินผลคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ประเมนิ โดยใช้แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ โดย

กำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ ดังน้ี

ระดบั คุณภาพ ความหมาย
(3)
ดเี ยี่ยม ผ้เู รยี นปฏบิ ัตติ นตามคณุ ลักษณะจนเป็นนิสยั และน าไปใช้ในชีวติ ประจ าวันเพือ่
ประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินท้ัง 8 คุณลกั ษณะ คือ
(2) ไดร้ ะดบั 3 จำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ล การประเมนิ ตำ่ กวา่
ดี ระดบั 2

(1) ผ้เู รียนมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบตั ิตามเกณฑ์ เพื่อใหเ้ ปน็ ที่ยอมรับของสังคม โดยพิจารณา
ผา่ น จาก

(0) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั 3 จำนวน 1-4 คุณลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใด
ไม่ผ่าน ไดผ้ ลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับ 2 หรอื

2. ได้ผลการประเมนิ ระดับ 3 จำนวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใด ไดผ้ ล
การประเมินตำ่ กว่าระดับ 1 หรือ

3. ได้ผลการประเมนิ ระดบั 2 จำนวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใด
ไดผ้ ลการประเมินตำ่ กว่าระดับ 1

ผเู้ รียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และเงื่อนไขท่ีสถานศึกษาก าหนด โดยพิจารณาจาก
1. ได้ผลการประเมินระดบั 1 จำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใด

ได้ผลการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดับ 1 หรือ
2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับ 2 จำนวน 4 คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใด

ได้ผลการประเมนิ ตำ่ กวา่ ระดับ 1

ผู้เรยี นรบั รแู้ ละปฏิบตั ิได้ไมค่ รบตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีสถานศึกษาก าหนด โดย
พิจารณาจากผลการประเมนิ ระดบั 0 ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะข้ึนไป

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั สิ มำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ิบางครง้ั ให้ 0 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติน้อยคร้งั

24

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ชอื่ .......................................................นามสกลุ ....................................................เลขที.่ .............ช้นั ...................
คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น และขีด ✓ลงในช่องทีต่ รงกับคะแนน

ระดับคณุ ภาพ

สมรรถนะดา้ น รายการประเมิน ดี ดี ผา่ น ไม่
เยี่ยม (2) (1) ผ่าน
(3) (0)

1. รักชาติ ศาสน์ - ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้

กษัตริย์ - เขา้ ร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็

ประโยชน์ต่อโรงเรียน

- เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัตติ ามหลัก ศาสนา

- เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามท่ี โรงเรยี น

จดั ข้ึน

2. ซือ่ สัตย์ สุจริต - ให้ขอ้ มลู ท่ีถูกตอ้ ง และเป็นจรงิ

- ปฏิบัติในส่งิ ทถ่ี ูกต้อง

3. มวี นิ ัย - ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของ ครอบครัว

รับผิดชอบ มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจ าวัน

4. ใฝเ่ รยี นรู้ - รู้จกั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และน าไปปฏบิ ตั ไิ ด้

- รจู้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม

- เช่ือฟังค าส่งั สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง

- ต้งั ใจเรียน

5. อยู่อย่าง - ใชท้ รัพยส์ ินและสิ่งของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั - ใช้อปุ กรณ์

พอเพยี ง การเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ุณค่า

- ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงิน

6. ม่งุ มัน่ ในการ - มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการท างานทไี่ ด้รับมอบหมาย

ทำงาน - มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเร็จ

7. รักความเป็น - มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย

ไทย - เหน็ คณุ ค่าและปฏิบตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย

8. มีจิตสาธารณะ 3. รูจ้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน

4. รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบตั แิ ละสง่ิ แวดล้อมของหอ้ งเรยี น

และโรงเรยี น

ระดบั คณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมินในหลักสตู รรายช้นั

ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ

25

๔. เกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียน

4.1 เกณฑก์ ารตัดสินระดบั ผลการเรยี น

ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนน
80 - 100
4 ผลการเรยี นดีเย่ยี ม 75 - 79
70 - 74
3.5 ผลการเรียนดีมาก 65 - 69
60 - 64
3 ผลการเรียนดี 55 - 59
50 - 54
2.5 ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี 0 - 49

2 ผลการเรยี นปานกลาง

1.5 ผลการเรยี นพอใช้

1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ข้ันต่ำ

0 ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์

4.2 เกณฑ์การตัดสินผลการเรยี น ร และ มส.
4.2.1 ตัดสินผลการเรียน ร

หมายถงึ รอการตดั สินและยังตดั สนิ ผลการเรยี นไม่ได้เน่อื งจาก ผ้เู รยี นไมม่ ีข้อมูลผลการเรียน
ในรายวชิ าครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรยี น ไม่ไดส้ ่งงาน
ท่ีมอบหมายใหท้ ำ ซ่ึงงานน้ันเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการตดั สินผลการเรียน หรือมีเหตุ
สุดวิสยั ที่ทำใหป้ ระเมินผลการเรยี นไมไ่ ด้

4.2.2 ตดั สินผลการเรยี น มส.
หมายถงึ ผ้เู รียนไม่มีสทิ ธิเขา้ รับการวัดผลปลายภาคเรียน เน่อื งจากผู้เรียนมีเวลาเรยี นไม่ถึง
ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้งั หมด และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เขา้ รับการวดั ผล
ปลายภาคเรียน

๕. การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และการเขียน
เกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และการเขยี น คะแนนเตม็ 20 คะแนน

ระดบั คณุ ภาพ ความหมาย ช่วงคะแนน
ดเี ย่ียม 16 - 20
ดี มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ 13-15
ผ่าน และเขียน ที่มีคุณภาพดีเลิศอย่เู สมอ 10-12

ไม่ผ่าน มีผลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ 0-9
และเขยี น ท่ีมีคุณภาพเปน็ ทีย่ อมรับได้

มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์
และเขียน ท่ีมคี ุณภาพเปน็ ที่ยอมรับได้ แต่ยังมีขอ้ บกพร่อง
บางประการ

ไมม่ ีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานนน้ั ยังมขี ้อบกพรอ่ งท่ี
ตอ้ งการได้รบั การปรบั ปรงุ แก้ไขหลายประการ

26

สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ไดจ้ ดั ทำสื่อและจัดใหม้ ีแหลง่ เรียนรู้ ตามหลกั การและ
นโยบายของการจัดการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ดงั น้ี สอื่ การเรยี นรู้เปน็ เคร่ืองมือสง่ เสริมสนบั สนนุ การจัดการ
กระบวนการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสตู รได้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สื่อการเรยี นรมู้ ี หลากหลายประเภท ทง้ั สอ่ื ธรรมชาติสือ่ สิง่ พมิ พ์สื่อเทคโนโลยีและ
เครือข่ายการเรียนร้ตู า่ งๆ ทมี่ ีในท้องถ่ิน การเลือกใชส้ ่ือควรเลือกใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และ
ลลี าการเรียนรู้ที่หลากหลายของผูเ้ รียน การจัดหาส่ือการเรียนรผู้ ู้เรียนและผ้สู อนสามารถจัดทำและพฒั นาข้นึ
เอง หรือปรับปรุงเลือกใชอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ จากส่ือตา่ งๆ ท่ีมีอยรู่ อบตวั เพือ่ น ามาใชป้ ระกอบในการจดั การเรยี นรู้
ทสี่ ามารถส่งเสรมิ และสือ่ สารใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้โดยสถานศึกษาควรจดั ให้มอี ยา่ งพอเพียง เพ่ือพฒั นาให้
ผู้เรียน เกดิ การเรียนรู้อย่างแทจ้ ริง สถานศึกษา เขตพ้นื ที่การศกึ ษา หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องและผ้มู หี นา้ ทีจ่ ัด
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ควรด าเนินการ ดังน้ี

1. จดั ใหม้ แี หลง่ การเรยี นร้ศู นู ยส์ ่อื การเรียนรรู้ ะบบสารสนเทศการเรยี นรู้และเครือข่ายการเรยี นร้ทู ี่ มี
ประสิทธิภาพทงั้ ในสถานศึกษาและในชมุ ชน เพ่ือการศกึ ษาคน้ คว้าและการแลกเปลย่ี นประสบการณ์การ
เรยี นรู้ระหวา่ งสถานศึกษา ท้องถน่ิ ชุมชน สงั คมโลก

2. จัดทำและจัดหาสือ่ การเรยี นรสู้ ำหรบั การศกึ ษาค้นควา้ ของผู้เรยี น เสรมิ ความรใู้ หผ้ สู้ อน รวมทง้ั
จดั หาสิ่งท่ีมีอยู่ในท้องถน่ิ มาประยุกตใ์ ช้เปน็ ส่ือการเรียนรู้

3. เลอื กและใช้สอ่ื การเรียนรู้ทีม่ คี ุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวธิ ีการ
เรยี นรูธ้ รรมชาติของสาระการเรยี นรแู้ ละความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี น

4. ประเมนิ คณุ ภาพของสอ่ื การเรียนร้ทู ่ีเลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศกึ ษาค้นควา้ วิจัย เพ่ือพัฒนาส่อื การเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับกระบวนการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน
6. จดั ใหม้ กี ารกำกับ ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสิทธภิ าพเก่ยี วกับส่ือและการใช้ส่ือการเรียนรู้
เปน็ ระยะๆ และสม่ำเสมอ
ในการจดั ทำ การเลือกใช้และการประเมินคุณภาพสอ่ื การเรียนรูท้ ่ีใช้ในสถานศึกษาควรคำนงึ ถึง
หลักการสำคญั ของสื่อการเรยี นรู้เชน่ ความสอดคล้องกบั หลักสตู ร วัตถุประสงค์การเรียนรู้การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนร้กู ารจดั ประสบการณ์ใหผ้ ู้เรียน เนอ้ื หามีความถกู ต้องและทนั สมัย ไม่กระทบความมั่นคง
ของชาติไมข่ ัดต่อศีลธรรม มกี ารใช้ภาษาทถี่ ูกตอ้ ง รปู แบบการนำเสนอทเี่ ข้าใจงา่ ย และน่าสนใจ

27

ภาคผนวก

28

อภธิ านศพั ท์
การจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด (Emotion and Stress Management)

วิธีควบคุมอารมณ์ความเครียดและความคับข้องใจ ที่ไม่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น แล้วลง
มือปฏิบัติอย่างเหมาะสม เช่น ทำสมาธิ เล่นกีฬา การร่วมกิจกรรม นันทนาการ การคลายกล้ามเน้ือ
(muscle relaxation)

ความเสี่ยงต่อสุขภาพ (Health Risk)
การประพฤติปฏิบัติที่อาจนำไปสู่การเกิดอันตรายต่อชีวิตและสขุ ภาพของตนเองและผู้อื่น เช่น การ

ขับรถเร็ว การกินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ ความสำส่อนทางเพศ การมีน้ำหนักตัวเกิน การขาด การออกกำลัง
กาย การสูบบหุ รี่ การดม่ื สุรา การใช้ยาและสารเสพติด

ทกั ษะชีวิต (Life Skills)
เป็นคุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา (Psychosocial Competence) และเป็น

ความสามารถทางสติปัญญา ที่ทุกคนจำเป็นต้องใช้ในการเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้ น ใน
ชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยการฝึกและกระทำซ้ำ ๆ ให้เกิดความ
คล่องแคล่ว เคยชิน จนเป็นลักษณะนิสัย ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ คือ การรู้จักตนเอง เข้าใจ
ตนเองและเหน็ คณุ ค่าของตนเอง การรู้จักคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและคิดสร้างสรรค์ การรู้จกั คิดตดั สินใจและ
แก้ปัญหา การรู้จักแสวงหาและใช้ข้อมูลความรู้ การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น การจัดการ
กับอารมณ์และความเครียด การปรับตัวท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง การตั้งเป้าหมาย การวางแผนและ
ดำเนินการตามแผน ความเห็นใจผูอ้ ่ืน ความรับผดิ ชอบต่อสงั คมและซาบซึ้งในส่งิ ทด่ี งี ามรอบตัว

ธงโภชนาการ (Nutrition Flag)
เป็นเครื่องมือที่ช่วยอธิบายและทำความเข้าใจโภชนบัญญัติ ๙ ประการ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ โดย

กำหนดเป็นภาพ “ธงปลายแหลม” แสดงกลุ่มอาหารและสัดส่วนการกินอาหารในแต่ละกลุ่ม มากน้อยตาม
พื้นที่ สังเกตได้ชัดเจนว่า ฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมากและปลายธงข้างล่างบอกให้กิน น้อย ๆ เท่าที่
จำเป็นโดยมฐี านมาจากข้อปฏิบตั ิการบรโิ ภคอาหารเพื่อสุขภาพท่ีดีของคนไทย หรือ โภชนบญั ญตั ิ ๙ ประการ คอื

๑. กินอาหารครบ ๕ หมู่ แตล่ ะหมู่ให้หลากหลายและหมน่ั ดูแลน้ำหนักตวั
๒. กนิ ข้าวเป็นอาหารหลักสลบั กับอาหารประเภทแป้งเปน็ บางมอ้ื
๓. กินพชื ผักใหม้ ากและกินผลไม้เปน็ ประจำ
๔. กนิ ปลา เนอื้ สัตวไ์ ม่ตดิ มนั ไข่ และถัว่ เมลด็ แหง้ เป็นประจำ
๕. ดม่ื นมใหเ้ หมาะสมตามวยั
๖. กินอาหารทม่ี ีไขมันแตพ่ อควร
๗. หลกี เลย่ี งการกินอาหารรสหวานจัด และเคม็ จดั
๘. กนิ อาหารทส่ี ะอาด ปราศจากการปนเปือ้ น
๙. งดหรือลดเครือ่ งดืม่ ท่มี ีแอลกอฮอล์

บริการสุขภาพ (Health Service)
บรกิ ารทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ท้งั ของรฐั และเอกชน

29

ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ (Health Products)
ยา เครอ่ื งสำอาง อาหารสำเรจ็ รูป เคร่ืองปรุงรสอาหาร อาหารเสริม วติ ามิน

พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนทางเพศ (Sex Abuse)
การประพฤตปิ ฏบิ ัติใด ๆ ท่ไี มเ่ ป็นไปตามธรรมชาติทางเพศตนเอง เช่น มีจติ ใจรกั ชอบในเพศเดียวกัน

การแต่งตวั หรือแสดงกริ ยิ าเปน็ เพศตรงขา้ ม

พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behaviour)
การปฏิบัติหรือกิจกรรมใด ๆ ในด้านการป้องกัน การสร้างเสริม การรักษาและการฟื้นฟู สุขภาพ

อนั มผี ลตอ่ สภาวะทางสขุ ภาพของบุคคล

พฤติกรรมเสี่ยง (Risk Behaviour)
รูปแบบจำเพาะของพฤติกรรม ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่า มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มโอกาส ที่จะ

ป่วยจากโรคบางชนิดหรือการเสอ่ื มสขุ ภาพมากข้นึ

ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
การขาดสารอาหารทจี่ ำเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของเดก็ ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ

แรงขับทางเพศ (Sex Drive)
แรงขบั ที่เกิดจากสัญชาตญาณทางเพศ

ลว่ งละเมิดทางเพศ (Sexual Abuse)
การใช้คำพดู การจับ จบู ลูบ คลำ และ / หรือรว่ มเพศ โดยไม่ได้รบั การยินยอมจาก ฝ่ายตรงข้าม

โดยเฉพาะกบั ผ้เู ยาว์

สติ (Conscious)
ความรู้สึกตัวอยู่เสมอในการรับรู้สิ่งต่าง ๆ การให้หลักการและเหตุผลในการป้องกัน ยับยั้งชั่งใจ

และควบคุมตนเองเพื่อไม่ให้คิดผิดทาง ไม่หลงลืม ไม่เครียด ไม่ผิดพลาด ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องดี
งาม

สุขบัญญัติแห่งชาติ (National Health Disciplines)
ข้อกำหนดที่เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป พึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ จนเป็นสุขนิสัย

เพื่อใหม้ สี ุขภาพดที ง้ั รา่ งกาย จิตใจ และสงั คม ซึง่ กำหนดไว้ ๑๐ ประการ ดงั น้ี
๑. ดูแลรกั ษารา่ งกายและของใชใ้ หส้ ะอาด
๒. รกั ษาฟนั ใหแ้ ข็งแรงและแปรงฟนั ทุกวนั อย่างถกู ต้อง
๓. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลงั การขับถา่ ย
๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลกี เลยี่ งอาหารรสจดั สีฉูดฉาด
๕. งดบุหร่ี สุรา สารเสพติด การพนนั และการสำส่อนทางเพศ

30

๖. สรา้ งความสัมพนั ธใ์ นครอบครัวใหอ้ บอนุ่
๗. ปอ้ งกันอุบัติภัยด้วยการไมป่ ระมาท
๘. ออกกำลงั กายสมำ่ เสมอและตรวจสขุ ภาพประจำปี
๙. ทำจติ ใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
๑๐.มสี ำนกึ ตอ่ ส่วนรวม รว่ มสร้างสรรคส์ งั คม

สุขภาพ (Health)
สุขภาวะ (Well – Being หรือ Wellness) ท่สี มบูรณแ์ ละเชอื่ มโยงกันเปน็ องค์รวมอย่างสมดุลท้ังมิติ

ทางจิตวิญญาณ (มโนธรรม) ทางสังคม ทางกาย และทางจิต ซึ่งมิได้หมายถึงเฉพาะความ ไม่พิการและ
ความไมม่ โี รคเทา่ นัน้

31

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552) ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุม่ สาระสุขศึกษาและพลศกึ ษาตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ ชน
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา โรงเรียนชมุ ชนประชาธปิ ัตย์วทิ ยาคาร
พทุ ธศักราช 2564

ท่ีปรึกษา 32
1. นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ
2. นางวรี วลั ย์ เวยี งจันทร์ ผจู้ ดั ทำ
3. นางสุมนา น้อยวรรณะ
4. นางสาวจนั ทิมา อดทน ผู้อำนวยการโรงเรยี น
5. นางเนตรชนก ยอดเชียงคำ รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารงานวชิ าการ
6. นายคกึ ฤทธ์ิ สิทธฤิ ทธิ์ รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารบุคคล
รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารงานทัว่ ไป
ผู้จดั ทำ หัวหนา้ ฝา่ ยวชิ าการ
นางสาวอไุ รวรรณ น้อยมาลา หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ครูกลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา


Click to View FlipBook Version