การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
นายพรชยั ปัน้ สังข์
ตาแหน่ง ครู
โรงเรยี นวดั บ้านใหม่
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วสิ ัยทศั น์
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลงั ของชาติให้
เป็ นมนุษยท์ ี่มีความสมดุลท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและ
เป็ นพลโลก ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข
มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ท่ีจาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั บนพน้ื ฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และ
พฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ
หลกั การ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีหลกั การทสี่ าคญั ดงั น้ี
๑. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็ นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรม
บนพน้ื ฐานของความเป็นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
๒. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ ง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น
๔. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้งั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และ
การจดั การเรียนรู้
๕. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
๖. เป็ นหลกั สูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์
จดุ หมาย
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รียน
เมื่อจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ดงั น้ี
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละ
มีทกั ษะชีวติ
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสุขนิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปั ญญาไทย การอนุรักษ์และพฒั นา
ส่ิงแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะทม่ี ุ่งทาประโยชน์และสรา้ งส่ิงทดี่ ีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม
อยา่ งมีความสุข
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพฒั นาผเู้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งเนน้ พฒั นาผเู้ รียนให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซ่ึงจะช่วยใหผ้ เู้รียนเกิดสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ดงั น้ี
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมใน
การใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทศั นะของตนเอง เพอ่ื แลกเปลี่ยน
ขอ้ มูลข่าวสาร และประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจา
ต่อรองเพือ่ ขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึง
ผลกระทบทมี่ ีต่อตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพอ่ื นาไปสู่การสรา้ ง องค์
ความรู้หรือสารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็ นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เขา้ ใจความสัมพนั ธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้
มาใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ
ท่เี กิดข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไป
ใชใ้ นการดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทางานและการ
อยูร่ ่วมกนั ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและ
ความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดลอ้ ม และการรูจ้ กั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี
ดา้ นต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้
การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มุ่งมนั่ ในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พิ่มเติมใหส้ อดคลอ้ ง
ตามบริบทและจดุ เนน้ ของตนเอง
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ทาไมต้องเรียนภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติเป็ นสมบตั ิทางวฒั นธรรมอนั ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพ
และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ ีความเป็ นไทย เป็ นเคร่ืองมือในการตดิ ต่อส่ือสารเพ่ือ
สรา้ งความเขา้ ใจและความสัมพนั ธท์ ดี่ ีต่อกนั ทาใหส้ ามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิต
ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้
ประสบการณ์จากแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพฒั นาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวเิ คราะห์
วจิ ารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียงั เป็ น
ส่ือแสดงภมู ิปัญญาของบรรพบรุ ุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็ นสมบตั ลิ ้าคา่ ควร
แก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานใหค้ งอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป
เรียนรู้อะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเป็ นทกั ษะที่ตอ้ งฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใชภ้ าษาเพ่อื การส่ือสาร การ
เรียนรูอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และเพอื่ นาไปใชใ้ นชีวติ จริง
การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแกว้ คาประพนั ธช์ นิดต่างๆ
การอ่านในใจเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ และการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ความรู้จากสิ่งท่อี ่าน เพ่อื นาไป
ปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั
การเขียน การเขียนสะกดตามอกั ขรวธิ ี การเขียนส่ือสาร โดยใชถ้ อ้ ยคาและรูปแบบต่าง ๆ
ของการเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอ่ ความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ
วเิ คราะห์วจิ ารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรู้สึก พดู ลาดบั เร่ืองราวตา่ งๆ อยา่ งเป็ นเหตุเป็ นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้งั เป็ นทางการ
และไม่เป็นทางการ และการพดู เพอื่ โนม้ นา้ วใจ
หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใชภ้ าษาใหถ้ ูกตอ้ ง
เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล
แนวความคิด คุณค่าของงานประพนั ธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเขา้ ใจบทเห่
บทรอ้ งเล่นของเด็ก เพลงพ้ืนบา้ นทเี่ ป็ นภมู ิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงไดถ้ ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพอ่ื ใหเ้ กิด
ความซาบซ้ึงและภมู ิใจในบรรพบุรุษที่ไดส้ งั่ สมสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา
ในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน
รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น
คุณค่าและนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
คุณภาพผู้เรียน
หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ าหนดคุณภาพผูเ้ รียนเม่ือจบ
ช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ ๓ และช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๖ ไวด้ งั น้ี
จบช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๓
อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
คล่องแคล่ว เขา้ ใจความหมายของคาและขอ้ ความท่ีอ่าน ต้งั คาถามเชิงเหตุผล ลาดบั เหตุการณ์
คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอ่าน ปฏบิ ตั ิตามคาสงั่ คาอธิบายจากเรื่องที่อ่านได้
เขา้ ใจความหมายของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนงั สืออยา่ งสม่าเสมอและ
มีมารยาทในการอ่าน
มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนบรรยาย บนั ทึกประจาวนั เขียนจดหมาย
ลาครู เขยี นเร่ืองเก่ียวกบั ประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการและมีมารยาทในการเขียน
เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคญั ต้งั คาถาม ตอบคาถาม รวมท้งั พูดแสดงความคิด
ความรู้สึกเก่ียวกบั เรื่องที่ฟังและดู พดู สื่อสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพูดเชิญชวนให้
ผอู้ ื่นปฏิบตั ติ าม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู
สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าที่ของคา
ในประโยค มีทกั ษะการใชพ้ จนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคา แตง่ ประโยคง่าย ๆ แต่งคา
คลอ้ งจอง แต่งคาขวญั และเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ
เขา้ ใจและสามารถสรุปขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพือ่ นาไปใชใ้ น
ชีวติ ประจาวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จกั เพลงพ้นื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็ น
วฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น รอ้ งบทร้องเล่นสาหรบั เด็กในทอ้ งถิ่น ทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง
ทมี่ ีคุณคา่ ตามความสนใจได้
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง อธิบายความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัยของคา ประโยค ขอ้ ความ สานวนโวหาร จากเรื่องที่อ่าน เขา้ ใจ
คาแนะนา คาอธิบายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะขอ้ คิดเห็นและขอ้ เท็จจริง รวมท้งั จบั ใจความสาคญั
ของเร่ืองท่ีอ่าน และนาความรู้ความคดิ จากเรื่องท่ีอ่านไปตดั สินใจแกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิตได้
มีมารยาทและมีนิสยั รักการอ่าน และเห็นคุณค่าส่ิงที่อ่าน
มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั เขียนสะกดคา แต่งประโยค
และเขียนขอ้ ความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถ้ ้อยคาชดั เจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพ โครงเรื่อง
และแผนภาพความคิด เพอ่ื พฒั นางานเขยี น เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบ
รายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์
และมีมารยาทในการเขยี น
พดู แสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกบั เร่ืองท่ฟี ังและดู เล่าเร่ืองยอ่ หรือสรุปจากเร่ืองท่ีฟังและ ดู
ต้งั คาถาม ตอบคาถามจากเรื่องทีฟ่ ังและดู รวมท้งั ประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและ ดู
โฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พูดตามลาดบั ข้นั ตอนเร่ืองต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน พูดรายงานหรือประเด็น
คน้ ควา้ จากการฟัง การดู การสนทนา และพดู โนม้ นา้ วไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล รวมท้งั มีมารยาทในการดูและพดู
สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา สานวน คาพงั เพยและสุภาษิต รู้และเขา้ ใจ ชนิด
และหนา้ ที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใชค้ าราชาศพั ท์
และคาสุภาพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แตง่ ประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และ
กาพยย์ านี ๑๑
เขา้ ใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ ่าน เล่านิทานพ้ืนบา้ น รอ้ งเพลงพน้ื บา้ น
ของทอ้ งถ่ิน นาขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริง และท่องจาบทอาขยาน
ตามทีก่ าหนดได้
ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา
ในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน
ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๔ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ
บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองท่ีประกอบดว้ ย
๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาท่ีมี ร ล เป็นพยญั ชนะตน้
และสานวนจากเร่ืองทอี่ ่าน - คาที่มีพยญั ชนะควบกล้า
- คาท่ีมีอกั ษรนา
- คาประสม
- อกั ษรยอ่ และเครื่องหมายวรรคตอน
- ประโยคที่มีสานวนเป็นคาพงั เพย สุภาษิต
ปริศนาคาทาย และเครื่องหมายวรรคตอน
การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ
๓. อา่ นเรื่องส้นั ๆ ตามเวลาที่กาหนดและ การอา่ นจบั ใจความจากส่ือตา่ งๆ เชน่
ตอบคาถามจากเรื่องท่อี ่าน - เรื่องส้นั ๆ
๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น - เรื่องเลา่ จากประสบการณ์
จากเร่ืองทีอ่ ่าน - นิทานชาดก
๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองทอี่ า่ น - บทความ
โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา
๖. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องท่อี า่ น - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ
เพ่ือนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั - ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั
- สารคดีและบนั เทิงคดี
๗. อา่ นหนงั สือที่มีคุณค่าตามความสนใจ การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่
อยา่ งสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็น - หนงั สือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั
เกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน - หนงั สือท่ีครูและนกั เรียนกาหนดร่วมกนั
๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๔ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และ คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั
คร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย
๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ ง การเขียนส่ือสาร เชน่
ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั
- คาแนะนา
๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด
ความคิดเพ่ือใชพ้ ฒั นางานเขียน ไปพฒั นางานเขียน
๔. เขียนยอ่ ความจากเรื่องส้นั ๆ การเขียนยอ่ ความจากส่ือต่างๆ เช่น นิทาน ความ
เรียงประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ จดหมาย คาสอน
๕. เขียนจดหมายถึงเพอ่ื นและบิดา
มารดา การเขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดามารดา
๖. เขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจาก การเขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา
การศึกษาคน้ ควา้ คน้ ควา้
๗. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
๘. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน
สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ
ความรูส้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๔ ๑. จาแนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจาก การจาแนกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองท่ี
เร่ืองที่ฟังและดู ฟังและดู ในชีวิตประจาวนั
๒. พดู สรุปความจากการฟังและดู การจบั ใจความ และการพูดแสดงความรู้ ความคิด
ในเร่ืองทฟ่ี ังและดู จากสื่อต่าง ๆ เช่น
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น - เรื่องเล่า
และความรู้สึกเกี่ยวกบั เร่ืองที่ฟังและ - บทความส้นั ๆ
ดู - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจาวนั
๔. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผล - โฆษณา
จากเร่ืองที่ฟังและดู - สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์
- เร่ืองราวจากบทเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน
๕. รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ีศึกษา การรายงาน เชน่
คน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการ - การพดู ลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน
สนทนา - การพดู ลาดบั เหตกุ ารณ์
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๔ ๑. สะกดคาและบอกความหมายของคาใน คาในแม่ ก กา
บริบทตา่ งๆ มาตราตวั สะกด
การผนั อกั ษร
คาเป็นคาตาย
คาพอ้ ง
๒. ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคาในประโยค ชนิดของคา ไดแ้ ก่
- คานาม
- คาสรรพนาม
- คากริยา
- คาวิเศษณ์
๓. ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคา การใชพ้ จนานุกรม
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๔. แตง่ ประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ประโยคสามญั
- ส่วนประกอบของประโยค
- ประโยค ๒ ส่วน
- ประโยค ๓ ส่วน
๕. แตง่ บทร้อยกรองและคาขวญั กลอนสี่
คาขวญั
๖. บอกความหมายของสานวน สานวนที่เป็นคาพงั เพยและสุภาษิต
๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถิ่นได้ ภาษาถ่ิน
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น
คุณค่าและนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๔ ๑. ระบุขอ้ คิดจากนิทานพ้ืนบา้ นหรือ วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น
นิทานคติธรรม - นิทานพ้ืนบา้ น
๒. อธิบายขอ้ คิดจากการอ่านเพื่อ - นิทานคติธรรม
นาไปใชใ้ นชีวิตจริง - เพลงพ้ืนบา้ น
- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม
ความสนใจ
๓. ร้องเพลงพ้ืนบา้ น เพลงพ้ืนบา้ น
๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และ บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด
- บทร้อยกรองตามความสนใจ
คาอธิบายรายวชิ า
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
อธิบายความหมายของคา ประโยค สานวน คาดคะเนเหตกุ ารณ์ ระบุเหตุผลประกอบ อ่าน
ออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ บทร้อยกรอง เร่ืองส้นั แยกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น ตอบคาถาม สรุปความรูแ้ ละ
ขอ้ คิด คดั ลายมือ เขยี นส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเร่ือง เขียนยอ่ ความ เขียนจดหมายถึงเพอ่ื นบิดา
มารดา เขียนบันทึก เขียนรายงาน เขียนเรื่องตามจินตนาการ พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น
ความรู้สึก ต้งั คาถาม ตอบคาถาม เชิงเหตุผล จาแนกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น พดู สรุปความ รายงาน
เรื่อง ประเด็นที่ศึกษาค้นควา้ ระบุชนิด หน้าท่ี สะกดคา บอกความหมายของคา สานวน แต่ง
ประโยค แต่งบทร้อยกรอง คาขวญั ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมาย เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน
มีมารยาทในการอ่าน เขียน ฟัง ดูและพูด ระบุขอ้ คิด อธิบายขอ้ คิดจากการอ่านนิทาน
พน้ื บา้ น นิทานคตธิ รรม ร้องเพลงพ้นื บา้ น ทอ่ งจาบทอาขยาน บทร้อยกรองเพือ่ ปลูกฝังความช่ืนชม
ในวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินและสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
รหัสตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๔ / ๑,๒,๓,๔,๕,๖,๗ ท ๒.๑ ป.๔ / ๑,๒,๓,๔,๕,๖
ท ๓.๑ ป.๔ / ๑,๒,๓,๔,๕ ท ๔.๑ ป.๔ / ๑,๒,๓,๔,๕,๖
ท ๕.๑ ป.๔ / ๑,๒,๓,๔,๕
รวม ๓๓ ตวั ชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน เวลาเรียน(ช่ัวโมง)
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔ ๑๖๐
๑๖๐
ที่ รายวิชา/ กจิ กรรม ๘๐
๑ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๘๐
๒ ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐
๓ ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐
๔ ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
๕ พ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
๖ ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
๗ ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘๔๐
๘ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ
๙ ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐
๔๐
รวมเวลาเรียนพน้ื ฐาน ๘๐
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ
๔๐
ภาษาไทย ๔๐
ภาษาจีน ๓๐
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพม่ิ เตมิ ๑๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๑,๐๘๐
กิจกรรมชุมนุม
ลูกเสือ/ยวุ กาชาด
กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
รวมเวลาเรียน
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทยระดับประถมศึกษา
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
ลำดับ ช่อื มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคญั เวลำ น้ำหนัก
ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ตัวช้วี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน
๑ ขนมไทย ท๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ทักษะพน้ื ฐำนของภำษำ ๑๐ ๑๐
ไรเ้ ทียมทำน ป.๔/๓ ป.๔/๖
ป.๔/๗ ป.๔/๘ ไทย กำรอำ่ น กำรเขยี น กำร
ท๒.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๘ ฟงั กำรดู กำรพดู และหลักกำร
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๖ ใช้ภำษำไทย รวม
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ถงึ กำรศึกษำวรรณกรรมและ
ป.๔/๔
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ วรรณคดไี ทย เป็นทกั ษะท่ี
ป.๔/๔
จำเป็นและสำคัญตอ่ กำรพฒั นำ
ควำมร้จู ึงตอ้ งเรียนร้ใู หเ้ กิดควำม
ชำนำญ มีประสทิ ธิภำพ เพือ่
นำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ได้
อยำ่ งถกู ตอ้ งกำรอ่ำนในใจ อำ่ น
ออกเสยี งมีควำมจำเป็นต้องใช้
ในชวี ิต
ประจำวนั ควำมสำมำรถ
ในกำรอำ่ นจะทำใหเ้ ข้ำใจ
เร่อื งรำวตำ่ งๆไดอ้ ยำ่ งรวดเร็ว
๒. ออมไวก้ ำไรชีวติ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔๒ ทกั ษะพืน้ ฐำนของภำษำ-ไทย ๙ ๑๐
ป.๔/๖ป.๔/๗ ป.๔/๘ เป็นทักษะทจี่ ำเป็น และสำคญั
ท๒.๑ ป.๔/๑ป.๔/๒ ตอ่ กำรพฒั นำควำมรู้ จึงต้อง
ป.๔/๓ ป.๔/๘ เรยี นรู้ให้เกิดควำมชำนำญและ
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ มปี ระสิทธภิ ำพเพอื่ นำไป
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๖ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริงได้
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ อย่ำงถูกต้อง สำนวนโวหำรเปน็
ป.๔/๔ ป.๔/๖ ถอ้ ยคำทเี่ รียบเรียงอย่ำงมศี ลิ ปะ
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๕/๒ มีควำมหมำยโดย
ป.๔/๔ นยั เพ่ือใหผ้ ูอ้ ่ำนเขำ้ ใจเรอ่ื งรำว
และเกดิ จนิ ตนำกำรได้ดียิงขึ้น
ลำดบั ชอ่ื มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั
๓. ผักสมนุ ไพรใบหญำ้ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔๒ ทักษะพน้ื ฐำนของภำษำ ๘ ๑๐
มคี ณุ คำ่ ทัง้ น้นั ป.๔/๓ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ไทย เป็นทักษะทจี่ ำเปน็ และ
ป.๔/๘ สำคญั ต่อกำรพัฒนำควำมรจู้ ึง
ท๒.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ ต้องเรียนรู้ ให้เกิดควำมชำนำญ
ป.๔/๓ ป.๔/๘ และมี
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป๔๒ ประสิทธภิ ำพเพือ่ นำไป
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๖ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ อย่ำงถูกตอ้ ง
ป.๔/๔ ป.๔/๖ กำรอ่ำนเขยี นคำลกั ษณะ
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๕/๒ ตำ่ งๆในภำษำไทยต้องเรียนรู้
ป.๔/๔ หลกั กำรอำ่ นกำรเขียนให้ถกู ต้อง
คอื อำ่ นตำมอักขรวิธขี องภำษำ
และอำ่ นตำมควำมนิยม
๔. ภมู ใิ จมรดกโลก ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทกั ษะพื้นฐำนของภำษำไทย ๘ ๑๐
ป.๔/๓ ป.๔/๖ เป็นทกั ษะที่จำเป็นและสำคัญต่อ ๙ ๑๕
ป.๔/๗ ป.๔/๘ กำร
พฒั นำควำมรู้ จงึ ตอ้ งเรยี นรู้ ให้
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ เกดิ ควำมชำนำญและ
ป.๔/๓ ป.๔/๘ มีประสิทธภิ ำพเพอื่ นำไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ได้
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๔ อยำ่ งถูกตอ้ ง
คำทีม่ ีอักษรนำและคำท่ีมี
ป.๔/๖
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ อกั ษรควบกล้ำ ต้องอ่ำนและ
เขียนให้ถูกต้องจะทำใหก้ ำร
ป.๔/๔ สือ่ สำรมีประสทิ ธิ-ภำพ ผู้พูดมี
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ บุคลิกทีด่ ีและเปน็ กำรส่งเสริม
กำรอนรุ ักษภ์ ำษำไทย
ป.๔/๔
ทกั ษะพืน้ ฐำนของภำษำ
๕. ชีวติ ทีถ่ ูกเมิน ท๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ไทย เปน็ ทักษะท่จี ำเป็น และ
ป.๔/๓ ป.๔/๖ สำคัญต่อกำรพฒั นำควำมรู้ จงึ
ป.๔/๗ ป.๔/๘ ตอ้ งเรียนรู้ให้เกิดควำมชำนำญ
และมีประสทิ ธภิ ำพเพ่อื นำไป
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๘
ลำดับ ชื่อ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก
(ช่ัวโมง) คะแนน
ท่ี หนว่ ยกำรเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริงได้
ป.๔/๓ ป.๔/๔ อยำ่ งถูกต้อง
ป.๔/๖ กำรเรยี นรชู้ นิดของคำตำ่ งๆ
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ เพ่อื สำมำรถท่ีจะนำคำชนดิ
ป.๔/๔ นั้นๆไปใชใ้ นประโยคไดถ้ ูกต้อง
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ ตำมหลักกำรใชภ้ ำษำ ทำให้
ป.๔/๔ กำรสอื่ สำรมปี ระสทิ ธิ-ภำพ
และมีมำรยำทในกำรพูดกำร
อำ่ นและกำรเขียน
๖. โอม! พนิ ิจ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทกั ษะพื้นฐำนของภำษำ ๘ ๑๕
มหำพิจำรณำ ป๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ไทย เป็นทักษะท่จี ำเปน็ และ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
สำคญั ต่อกำรพัฒนำควำมรู้ จงึ
ป๔/๓ ป.๔/๘
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ต้องเรียนร้ใู หเ้ กิดควำมชำนำญ
ป๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป๔/๖ และมีประสทิ ธภิ ำพเพอ่ื นำไป
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริงได้
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ อยำ่ งถกู ตอ้ ง
กำรใชก้ ระบวนกำรเขียน
พฒั นำงำนเขียนเป็นกำรนำ
ควำมรูค้ วำมคิดมำใชพ้ ัฒนำงำน
เขยี นประเภทต่ำงๆ เพื่อให้งำน
เขียนมีคุณค่ำ สำมำรถสอ่ื
ควำมรู้สึกนึกคดิ อย่ำงถกู ต้อง
ตำมขอ้ เทจ็ จริงและมมี ำรยำทใน
กำรเขยี น
๗. แรงพิโรธจำกฟำ้ ดนิ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทกั ษะพนื้ ฐำนของภำษำ ๑๐ ๑๐
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ไทย เป็นทักษะท่ีจำเป็น และ
ป.๔/๓ ป.๔/๖ ป.๔/๘
สำคญั ต่อกำรพัฒนำควำมรู้ จงึ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๘ ต้องเรยี นรใู้ หเ้ กิดควำมชำนำญ
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๖ และมปี ระสทิ ธิภำพเพอื่ นำไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริงได้
อย่ำงถูกตอ้ ง
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ คำประพันธป์ ระเภทรอ้ ย
ป.๔/๔ ป.๔/๗ กรองมีหลำยชนดิ
ลำดบั ช่ือ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ แต่ละชนดิ ผูแ้ ต่งจะตอ้ งเขำ้ ใจถงึ
ป.๔/๔ ลกั ษณะบังคับหรือฉันทลกั ษณ์ที่
ถูกต้องและต้องรูจ้ ักเลอื กใช้คำท่ี
มี
ควำมหลำกหลำยเพื่อใหเ้ กิด
ควำมหมำยท่ลี ึกซงึ้ กนิ ใจเกดิ
ควำมไพเรำะและเปน็ กำร
อนุรกั ษเ์ อกลกั ษณ์อยำ่ งหน่งึ ของ
ภำษำไทย
๘. ไวรัสวำยรำ้ ย ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทกั ษะพน้ื ฐำนของภำษำ ๑๐ ๑๕
ป.๔/๓ ป.๔/๕ ป.๔/๖
ป.๔/๗ ป.๔/๘ ไทย เป็นทักษะทจี่ ำเป็น และ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๗ ป.๔/๘ สำคญั ตอ่ กำรพฒั นำควำมรูจ้ ึง
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ ป.๔/๖ ตอ้ งเรียนรู้ ใหเ้ กิดควำมชำนำญ
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ ป.๔/๕ และประสทิ ธิ-ภำพเพ่อื นำไป
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ได้อย่ำง
ป.๔/๔
ถกู ตอ้ ง
กำรเขยี นเร่อื งรำวจำก
จนิ ตนำกำรเป็นกำรเขยี นท่ี
ผเู้ ขียนได้แสดงควำม
สำมำรถ ทำงดำ้ นกำรคดิ
จินตนำกำรได้ดกี วำ่ กำรเขียน
ชนดิ อ่นื ๆ เพรำะมลี ักษณะกำร
คิดอยำ่ งสรำ้ งสรรค์โดยใช้
จินตนำ-กำรและนำ
ประสบกำรณ์ของตนเช่อื มโยง
ควำมคิดในกำรเขยี น
๙. สนกุ สนำนกบั กำร ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทักษะพืน้ ฐำนของภำษำไทย ๘ ๑๕
เล่น ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ เปน็ ทักษะทีจ่ ำเปน็ และสำคัญ
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ตอ่ กำรพฒั นำควำมรู้ จงึ ต้อง
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ เรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ควำมชำนำญและ
ป.๔/๓ ป.๔/๕ มีประสิทธภิ ำพเพอื่ นำไป
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ ได้
ป.๔/๔ ป.๔/๖ อยำ่ งถกู ตอ้ ง
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ลำดบั ชอ่ื มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี หน่วยกำรเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั กำรเขียนจดหมำยส่วนตัวและ
จดหมำยกจิ ธรุ ะเปน็ กำรสือ่ สำร ๙ ๑๐
ป.๔/๔ ข่ำวครำวและเรื่องรำวหรือเขยี น
เลำ่ ประสบกำรณท์ ไี่ ด้พบเห็น
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ กำรเขยี นจดหมำยถึงบคุ คลตำ่ งๆ
ยอ่ มมรี ะเบยี บแบบแผนของกำร
ป.๔/๔ ใช้ภำแตกตำ่ งกนั ตำมควำม
เหมำะสมและเปน็ ผทู้ ีม่ มี ำรยำท
๑๐. หนูเอยจะบอกให้ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ในกำรเขยี น
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ทักษะพื้นฐำนของภำษำไทย
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๖ เป็นทกั ษะทจี่ ำเป็น และสำคัญ
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ตอ่ กำรพฒั นำควำมรู้ จึงตอ้ ง
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๓ เรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ควำมชำนำญและ
ป.๔/๖ มปี ระสทิ ธภิ ำพเพ่ือนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ ไดอ้ ยำ่ ง
ถกู ต้อง
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ กำรสอ่ื สำรดว้ ยกำรเขียนยอ่
ป.๔/๔ ป.๔/๖ ควำมเป็นกำรสื่อสำรดว้ ยกำร
ท๕.๑ ป๔/๑ ป.๔/๒ เขียนแบบหน่ึง ย่อควำมเป็น
ป.๔/๔ กำรนำใจควำมสำคญั จำกเร่ือง
แตล่ ะตอนในเรอ่ื งมำเรียบเรยี ง
๑๑. คนดีศรีโรงเรียน ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ใหม่ เพ่ือให้สอดคล้อกลมกลืน ๙ ๑๕
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ กระชบั และได้ใจควำมครบถว้ น
ป.๔/๖ ป.๔/๗ป.๔/๘
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ทกั ษะพ้ืนฐำนของภำษำ
ป.๔/๓ ป.๔/๘ ไทย เป็นทักษะทจี่ ำเป็น และ
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ สำคัญตอ่ กำรพฒั นำควำมรู้ จึง
ป.๔/๓ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ตอ้ งเรียนรูใ้ ห้เกดิ ควำมชำนำญ
และมี
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๔ ประสทิ ธิภำพเพือ่ นำไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ไดอ้ ยำ่ ง
ถูกตอ้ ง
ลำดบั ชื่อ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
ท่ี หน่วยกำรเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ กำรพดู เปน็ กำรถ่ำยทอดควำมรู้
ป.๔/๔ ควำมคดิ อำรมณ์และควำมรสู้ กึ
จำกผ้พู ดู ไปยงั ผูฟ้ ัง กำรพูดแต่
ละแบบ ผพู้ ูดต้องมคี วำมร้ถู งึ
แนวกำรและวิธกี ำรเพอื่ ทำให้
ผู้ฟงั เปล่ียนแปลงหรือคล้อย
ตำมทผ่ี ูพ้ ูดเสนอแนวคิดได้และ
ต้องมีมำรยำทในกำรพูด
๑๒. มลพิษใน ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทักษะพืน้ ฐำนของภำษำ ๑๐ ๑๕
ชวี ติ ประจำวัน ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ไทย เป็นทักษะทีจ่ ำเป็น และ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๘ สำคญั ตอ่ กำรพฒั นำควำมรู้จงึ
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ตอ้ งเรยี นรู้ ใหเ้ กิดควำมชำนำญ
ป.๔/๖
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๔ และมปี ระสทิ ธิภำพ เพอื่ นำไป
ป.๔/๕
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ได้อยำ่ ง
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ ถูกต้อง
กำรอ่ำนและกำรท่องจำ
บทอำขยำน จำวรรณคดี หรอื
จำก คำประพันธ์ประเภทร้อย
กรอง ซงึ่ สำมำรถนำไปใชใ้ นกำร
พดู หรือกำรเขยี นเพอ่ื ถำ่ ยทอด
ควำมรู้ ควำมคิดและควำม
รสู้ ึกสอดแทรกดว้ ยข้อคิด
ทสี่ ำมำรถนำไประยุกตใ์ ช้ในกำร
ดำเนนิ ชีวิตได้
๑๓. อยำ่ งนด้ี ีควรทำ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทักษะพืน้ ฐำนของภำษำ ๙ ๑๕
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป.๔/๖ ป.๔/๗ป.๔/๘ ไทย เป็นทกั ษะที่จำเป็น และ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๘ สำคญั ต่อกำรพัฒนำควำมรู้ จงึ
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ต้องเรยี นรู้ให้เกดิ ควำมชำนำญ
ป.๔/๖
และมีประสทิ ธิภำพเพื่อนำไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้อย่ำง
ถูกตอ้ ง
ลำดบั ชือ่ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนกั
(ช่วั โมง) คะแนน
ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ ตวั ช้วี ัด
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๔ ทกั ษะใน กำรฟัง กำรดู
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ กำรพูด กำรอ่ำนและกำรเขียน
ป.๔/๔ เปน็ ทกั ษะทจ่ี ำเป็น และสำคญั
ตอ่ กำรพัฒนำควำมรแู้ ละชีวติ จงึ
ต้องฝึกฝนใหช้ ำนำญและ
มปี ระสทิ ธภิ ำพเพอ่ื กำรนำไปใช้
ในชวี ิตประจำวนั
๑๔. กระดำษน้ีมที ี่มำ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทักษะพืน้ ฐำนของภำษำ ๙ ๑๐
ป.๔/๓ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ไทย เปน็ ทักษะทีจ่ ำเปน็ และ
ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ สำคญั ตอ่ กำรพัฒนำควำมรู้ จึง
ป.๔/๘ ต้องเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ควำมชำนำญ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ และมี
ป.๔/๔ ป.๔/๘ ประสทิ ธภิ ำพเพอ่ื นำไป
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ไดอ้ ย่ำง
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ถูกต้อง
ป.๔/๖
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ กำรเขยี นรำยงำนเปน็ กำร
นำเสนอข้อมลู จำกกำรไปศกึ ษำ
ป.๔/๔
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ค้นคว้ำมำจำกแหลง่ เรยี นรู้ตำ่ งๆ
เปน็ กำรแสวง
ป.๔/๓ ป.๔/๔ หำควำมรู้ดว้ ยตนเองแล้วนำไป
เขยี นถ่ำยทอใหค้ นอื่นได้
รับทรำบผลของกำรคน้ คว้ำส่ิงที่
นำ่ สนใจและ มีประโยชน์
๑๕. รกั นค้ี ุ้มภัย ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทักษะพ้ืนฐำนของภำษำ
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ไทย เป็นทักษะทจี่ ำเป็น และ
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ สำคัญต่อกำรพัฒนำควำมรู้ จงึ
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ตอ้ งเรียนรใู้ หเ้ กิดควำมชำนำญ
ป.๔/๓ ป.๔/๖ ป.๔/๘ และมปี ระสิทธภิ ำพ เพอ่ื นำไป
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริงไดอ้ ย่ำง
ป.๔/๕ ป.๔/๖ ถกู ต้อง
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/
ลำดบั ช่ือ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / สำระสำคัญ เวลำ นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัด
๓ ป.๔/๕ ป.๔/ ๗ กำรจำแนกลกั ษณะของ
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ คำไทยแทแ้ ละคำที่มำจำก
ป๔/๓ ป.๔/๔ ภำษำต่ำงประเทศซง่ึ นำมำ
ใชใ้ นไทยทำให้นำไปใช้ได้ถกู ต้อง
กำรใชพ้ จนำนกุ รมในกำร
ค้นหำควำมหมำยของคำทำให้
สำมำรถเลือกใช้คำในกำรสื่อ
ควำมหมำยได้ถูกตอ้ ง
๑๖. ธรรมชำตนิ ีม้ คี ณุ ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ทกั ษะพ้นื ฐำนของภำษำ ๑๐ ๑๕
ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ไทย เป็นทักษะที่จำเป็น และ
ป.๔/๖ ป๔/๗ ป.๔/๘ สำคญั ตอ่ กำรพัฒนำควำมรู้ จึง
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ตอ้ งเรียนรใู้ หเ้ กิดควำมชำนำญ
ป.๔/๖ ป.๔/๘ และมีประสิทธิภำพ เพอ่ื นำไป
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๕ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ได้อยำ่ ง
ป.๔/๖ ถูกต้อง
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๓ คำรำชำศัพทแ์ ละคำสุภำพเป็น
ป.๔/๕ ป.๔/ ๗ คำที่ต้องเลือกใช้ใหเ้ หมำะสมกับ
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ บคุ คลระดบั ตำ่ งๆ เพรำะเป็น
ป.๔/๓ ป.๔/๔ วฒั นธรรมทำงภำษำซ่งึ ตอ้ ง
เรียนรู้เพ่ือกำรนำไปใชไ้ ดถ้ ูก
๑๗. ทอ่ งเท่ยี วเมอื ง ท๑.๑ ป.๔/๑ ป๔/๒ ตอ้ งกำรแต่งคำคล้องจองและคำ ๑๕ ๑๕
ลพบุรี ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ประพนั ธต์ อ้ งเลือกสรรถ้อยคำไป
ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘ ใช้ในกำรเขยี นใหถ้ กู ตอ้ งตำม
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๖ ฉันทลักษณ์ควำมมีควำมไพเรำะ
ป. ๔/๗ ป.๔/๘ สละสลวย
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ทักษะพื้นฐำนของภำษำ
ไทย เป็นทกั ษะทจ่ี ำเป็น และ
สำคัญตอ่ กำรพัฒนำควำมรู้ จงึ
ต้องเรยี นรใู้ ห้เกิดควำมชำนำญ
และมปี ระสทิ ธภิ ำพ เพื่อนำไป
ลำดบั ชือ่ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / สำระสำคัญ เวลำ น้ำหนัก
ที่ หน่วยกำรเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด (ช่วั โมง) คะแนน
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริงได้อย่ำง
ถูกตอ้ ง
กำรศกึ ษำประวตั ิ เร่อื งเลำ่
นิทำน ตำนำน เพลงพื้น
บ้ำนและอืน่ ๆ รวมถึงประเพณี
และวัฒนธรรมเก่ยี วกับท้องถน่ิ
เป็นกำรสืบทอดวัฒนธรรมจำก
บรรพ-บรุ ุษเพื่อรกั ษำไว้ใหค้ นรุน่
หลงั ได้เรียนรแู้ ละเกิดควำม
ภำคภมู ิใจในท้องถิ่นของเรำ
กำรเรียนรู้โดยกำรจดั ทำ
โครงงำนตำมควำมสนใจเป็นวธิ ี
กำรศกึ ษำหำควำมรูด้ ้วยตนเอง
เปน็ กำรสร้ำงองค์ควำมรู้ ทำให้
ควำมรตู้ ิดคงทน สำมำรถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้ดีย่ิง
(จัดนิทรรศกำรแสดง
ผลงำนนักเรยี น)
คะแนนระหว่ำงภำค ( ๓๕ + ๓๕ ) ๗๐
คะแนนปลำยภำค ( ๑๕ + ๑๕ ) ๓๐
รวมทั้งสน้ิ ( ๗๐ + ๓๐ ) ๑๖๐ ๑๐๐