The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aschapanboonkua, 2021-03-30 23:25:23

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

45

Practical reason สำหรบั รบั รTศู ลี ธรรมและศาสนา ไม(ผ(านกลไกสมอง รบั รูโT ดยตรงและ
ปฏบิ ตั ิอยา( งไมใ( ชTเหตุผล (Category Imperative; duty to be done)
ชวX งปลายกระบวนทรรศน?วทิ ยาศาสตร?
เมื่อเกิดความกังขาต(อการรับรูTความเป-นจริงจึงนำไปสู(ยุคกังขาปรัชญากระบวนทรรศน[นวยุคถูกสั่นคลอน
ดTวยแนวคดิ ของ Kant อย(างเด(นชดั ต้ังแต( ค.ศ.1800
คนที่ไม(เชื่อ Kant ยอมรับว(าสมองย(อมแปรสภาพความเป-นจริงภายนอกที่รับรูTเขTามาบTาง แต(ไม(น(าจะทำ
ใหตT (างไปอย(างส้ินเชิง ดงั น้ันจึงยดึ หลักการท่วี (า “สมองของมนุษย[สามารถรคTู วามจริงวตั ถุวสิ ัยไดT”
คนที่เชื่อ Kant ก็ใชTหลักการที่ว(า “สิ่งที่เรารูTมันไม(จริง สิ่งจริงเราไม(รTู” มนุษย[มีโครงสรTางสมอง แต(ไม(เช่ือ
ว(าจะแบ(งอย(างเป-น 12 ช(องจริง จึงทำใหTหันมาพยายามศึกษาโครงสรTางของสมองว(าทำงานอย(างไร คิดไดTอย(างไร
ซ่ึงไดTกาT วหนTาเปน- วชิ าประสาทวิทยาศาสตร[ (Neuro-Science)
ปรัชญากระบวนทรรศน[นวยุคเนTนกระบวนการวิทยาศาสตร[และการพิสูจน[ความจริง มีการจำแนกสำนัก
คิดออกจำนวนมาก มีนักปรัชญาจำนวนมากที่มีแนวคิดที่น(าสนใจและมีวิธีการคิดทางปรัชญาที่ควรศึกษา และ
เขาT ใจอทิ ธพิ ลของวิธีคดิ ตอ( ทรรศนะของคนในยุคปYจจุบนั (กรี ติ บญุ เจอื , 2558)

ยุคปจ6 จุบัน

ปรัชญากระบวนทรรศน[หลังนวยุค (Post-Modern Philosophy) เป-นกระแสที่ไม(มีขอบเขตเริ่มตTน
ชัดเจน แต(เป-นการปรับท(าทีต(อการใชTปรัชญาโดยชี้ว(าปYญหาใหญ(ของโลกเช(น สงครามโลกลTวนเกิดจากความยึด
ม่นั ถือมั่น (attachment) ของผTถู ือปรัชญายุคก(อนหนาT ทั้งส้นิ

จุดสะดุดสำคัญคือ สงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว(าง ค.ศ.1914-1918 ชนวนสำคัญคือนโยบายจักรวรรดินิยม
ที่แย(งชงิ การมอี ิทธิพลเหนือผลประโยชน[ในดินแดนตา( งๆ จนมกี องกำลังเสียชวี ิตรวม 10 ลTานคน บาดเจบ็ 20 ลTาน
คน สญู หาย 8 ลTานคน และจกั รวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดอิ อโตมัน จกั รวรรดเิ ยอรมนั ตอT งล(มสลายลง

จุดสะดุดที่เป-นฟางเสTนสุดทTายบนหลังลาคือ สงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว(าง ค.ศ. 1939-1945 กองกำลัง
เสียชีวิตรวม 24 ลTานคน พลเรือนเสียชีวิต 49 ลTานคน และจบสงครามดTวยการทิ้งระเบิดนิวเคลียร[ที่ฮิโรชิมา และ
นางาซากิ ซึ่งเป-นความกTาวหนTาล(าสุดของวิทยาศาสตร[ในขณะนั้น มนุษยชาติจึงพากันตระหนักว(าโลกไม(อาจ
รองรบั สงครามโลกครัง้ ที่ 3 ไดTอย(างแน(นอน

ปรัชญามองว(าความรุนแรงของสงครามเกิดจากการพัฒนาวิทยาศาสตร[เขTมขTนตามปรัชญานวยุค
(modern philosophy) ภาพยนตร[ โทรทัศน[และนยิ ายตา( งๆ ลวT นนำเสนอภัยของวทิ ยาศาสตร[

ปรัชญากระบวนทรรศน[หลังนวยุค ตั้งประเด็นโจมตีกระบวนทรรศน[นวยุคอย(างชัดเจน และมาคลายตัว
ในแนวทางสายกลาง ทั้งนี้ กระแสคิดนี้ยังไม(เดินทางถึงที่สุด จะตTองติดตามว(ามีแนวคิดปรัชญาใหม( ๆ ใด หรือ

46

แนวคิดที่ปรับปรุงของเก(าอะไรเกิดขึ้นมาเพื่อชี้แนะต(อโลกในยุคปYจจุบันที่มีอิทธิพลของความกTาวหนTาทาง
เทคโนโลยตี า( งๆ อยา( งรวดเรว็ รวมไปถงึ สันตภิ าพโลก

ลทั ธริ อื้ สรTางใหม( (Reconstruction) เรมิ่ รกูT ันในราวป‹ 1942 ตอ( มา Richard D. Mosier จากหนงั สอื The
Philosophy of Reconstructionism, Educational Theory 1 ในป‹ 1951 โดยเสนอการรื้อสราT งใหม(ในดTาน
ตรรกะ ศีลธรรม การศกึ ษา และปรชั ญา ในยุคสมัยใหม( ท้งั น้ี Theodore Branmeld นักปรัชญาการศึกษาเป-น
แนวหนาT ในการสนับสนุนแนวคิดนีเ้ ป-นอยา( งมาก ในขณะเดยี วกนั ในทางศาสนาไดTเกิดเป-นทา( ทตี (อการปรับตัวอย(าง
สราT งสรรค[ของศาสนายิวโดยเนนT การบ(มเพาะประเพณีและวิถีชีวติ ชาวยวิ สำหรับชาวคริสตเ[ นนT การพิจารณากฎ
ตามคัมภีร[ไบเบิลทเ่ี ป-นพนื้ ฐานของกฎหมายแห(งรัฐและศีลธรรมของสงั คม รวมไปถงึ ทา( ทีในการยอมรบั การร้ือฟÈนÉ
ความเชือ่ และการปฏบิ ัตใิ นศาสนาโบราณต(างๆ อกี ดTวย

หลงั นวยุคสายกลาง (moderate postmodernism) เกิดข้ึนหลงั เหตุการณ[ 9/11 ในป‹ 2001 เป-นท(าทีใน
การใชปT รัชญาปฏิบัตนิ ยิ ม (pure philosophy of pragmatism) มารบั มอื กับความเป-นจรงิ ทัง้ น้ี เนนT ใหTเรียนรTู
จดจำและประยุกต[ใชเT พ่อื ใหเT กดิ สถานการณใ[ หมท( ีด่ ีกว(าเดิม เป-นการเรยี นรูจT ากประสบการณ[ มากวา( ที่จะเป-น
เพียงกิจกรรมทางความคดิ อีกตอ( ไป แนวคิดนี้ยังเชื่อในอนาคตท่ดี พี รอT ม (Utopian Future) สำหรับมนษุ ยชาติ ถาT
เราเรยี นรทูT ่ีจะลงมือกระทำและเปลยี่ นแปลงทิศทางใหTถูกตอT ง เนนT การลงมือกระทำ และรเิ รม่ิ การเปลย่ี นแปลง
ตา( งๆ และกฎหมายตา( งๆ ตอT งถกู ใชใT นฐานะผดTู ูแล (safeguards) เพื่อใหTเกิดความกลาT หาญทีจ่ ะกTาวขาT มขอT จำกัด
ต(างๆ ท่ถี กู จดั ตั้งไวTในสังคม เนนT การชง่ั น้ำหนักผลทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ทงั้ ในดาT นดีและไม(ดี ปอž งกันการเกดิ ผลกระทบ
ขาT งเคยี ง (side effect) และ เนนT การยอมรับผลตาม (consequences) จากกระทำน้นั ๆ อยา( งแทจT รงิ โดยไมม( กี าร
บ(นว(าหรือมีการเตรียมการเอาตัวรอดเอาไวTล(วงหนาT นั่นคอื จะตอT งมีความรับผิดชอบอยา( งเต็มกำลงั ดTวย

กระแสหลงั นวยุคสายกลางนไ้ี มไ( ดTมีจำนวนมากมายอะไร แต(พลงั ของแนวคิดนี้ไกลับไดTรับการยอมรับ
อยา( งกวTางขวางในกลุ(มกอT นทางศาสนาต(างๆ และกลมุ( กTอนผTูไมน( บั ถอื ศาสนา ทัง้ นี้ กระแสหลังนวยคุ สายกลางยงั
แสดงตนเองว(าเป-นกลุม( ผูมT รี ะดับมาตรฐานทางศลี ธรรมทสี่ ูงยงิ่ ขน้ึ ทง้ั ในดTานความประพฤติ ความคิด และในทางจ
รยิ ศาสตรอ[ กี ดวT ย (ประยูร ธมุมจิตโุ ต, ม.ป.ป)

47

เปรียบเทยี บปรัชญาตะวนั ตกกบั ปรัชญาตะวันออก

คุณลกั ษณะของป:ญหาเรอื่ งความจริงตามแนวปรัชญาตะวันตและปรัชญาตะวันออก
แมวT า( ท้งั ปรชั ญาตะวนั ตกและตะวันออกจะมอี ตั ลักษณเ[ ฉพาะของตน อยา( งไรก็ตามปYญหาเรอื่ งความจรงิ

(Truth) หรือทฤษฏีทางญาณวิทยาเป-นประเดน็ ปญY หาสำคัญทีน่ ักปรัชญาตะวนั ตกและตะวนั ออกสนใจ เพอื่
แยกแยะว(าอะไรเปน- ความจริง (The truth) อะไรเป-นความเท็จ (The falsity) ท้ังปรชั ญาตะวันตกและตะวันออก
ต(างยืนยันว(ากระบวนการหาความจริงของมนุษยม[ ลี ักษณะพเิ ศษท่ีตา( งจากสัตว[ท่วั ไป เนื่องจากมนษุ ย[มีสตปิ Yญญา
ดงั นัน้ การรคTู วามจริงของมนุษย[จงึ มลี ักษณะเปน- การรตูT วั (รูTว(าตนรู)T หรอื ที่นักปรชั ญาตะวนั ตกมกั ใชTคำวา( “ความ
สำนกึ ร”Tู (Consciousness) หรือ “การตระหนักร”Tู (Awareness) อันเปน- ลักษณะพืน้ ฐานของกระบวนการรTู
ความจรงิ ของมนุษย[ อยา( งไรก็ตามปYญหาเกยี่ วกบั ความจริงของปรัชญาตะวันตกและตะวันออกตา( งมลี กั ษณะ
เฉพาะทส่ี อดคลอT งกบั จุดเนนT ของตน กลา( วคือ

1. คุณลักษณะของทฤษฏีความรต#ู ามแนวปรชั ญาตะวนั ตก คอื การรTคู วามจริงเพ่ือตอบปญY หาท่ีสงสัย
คุณลกั ษณะทส่ี ำคญั ประการหน่ึงของทฤษฏีความรูT (ปญY หาเรอ่ื งความจรงิ ) ตามแนวปรัชญาตะวนั ตก คือ การรูT
ความจริงเพ่ือตอบสนองความสงสัย ดงั ท่ี สนุ ทร ณ รงั ษี (2521: 2) ไดวT ิเคราะหล[ กั ษณะของปรชั ญาตะวนั ตกเรอ่ื ง
การแสวงหาความจริง (ทฤษฏีทางญาณวทิ ยา) ไวนT า( สนใจว(า “ปรัชญาตะวันตกม(งุ แสวงหาความจริงหรอื
ขTอเท็จจรงิ เพยี งอยา( งเดียวโดยไม( พยายามทีจ่ ะปฏบิ ตั ติ นเพื่อใหเT ขTาถึงความจริงทไี่ ดTแสวงหาพบแลTว” และ
“ปรัชญาตะวันตกส(วนใหญไ( ม(เก่ยี วกับศาสนาหรอื แยกเปน- คนละสว( นกับศาสนา” เพราะฉะน้นั นกั ปรชั ญา
ตะวันตก (ส(วนใหญ() จงึ ดำเนินชวี ิตไปในทางที่ตรงขTามกบั แนวความคิดทางปรชั ญาของตนก็ไดT นัน่ หมายความวา(
ประเดน็ ปญY หาเกี่ยวกบั ความจรงิ ของปรัชญาตะวันตก คอื การมง(ุ สก(ู ารรคูT วามจรงิ เพ่อื ตอบสนองความสงสยั
ในประเดน็ ปYญหาเกยี่ วกบั ความ เปน- จรงิ แมวT า( ความจรงิ นั้นจะไมไ( ดTช(วยใหบT รรลถุ ึงความเป-นจรงิ เลยก็ตาม
หมายความว(า นักปรัชญาตะวันตกมีแนวโนมT ในการศกึ ษาความจรงิ ในประเด็นท่ตี นสงสัยเม่ือไดTแนวคำตอบท่ี
ถูกใจกห็ ยดุ เพียงแค(นนั้ นักปรัชญาตะวนั ตกไมพ( ยายามนำแนวคำตอบ ท่ีตนไดTรับมาพัฒนาเป-นคำสอน
ใหTปฏิบัติ เพราะถอื วา( ศาสนากบั ปรัชญาเปน- คนละสว( นท่ีแยกจากกนั

2. คุณลักษณะของทฤษฏคี วามร#ตู ามแนวปรัชญาตะวนั ออก คือ การรูTความจรงิ เพอื่ การบรรลถุ งึ ความ
เป-นจริง แมวT (าลักษณะแนวคดิ ของปรชั ญาตะวนั ออก (โดยเฉพาะปรชั ญาอนิ เดีย) จะมงุ( ปYญหาเกย่ี วกบั ความเปน-
จรงิ และการรูTความจรงิ (เกย่ี วกับความเป-นจริง) แตจ( ดุ เนTนของปรัชญาตะวันออกมีลกั ษณะพเิ ศษต(างจากปรชั ญา
ตะวันตก กล(าวคือปรัชญาตะวันออก (โดยเฉพาะปรัชญาอนิ เดยี ) สนใจปญY หาความเป-นจริง และรูTความจริง
(เกย่ี วกับความเป-นจรงิ ) เพ่อื การบรรลถุ งึ ความเป-นจริง ดงั ท่ี สน่นั ไชยานกุ ลู (2519) ไดTวเิ คราะหป[ รัชญาอนิ เดีย
ว(ามีจดุ เนTนในเรอ่ื งท่ีเกีย่ วขTองกับศลี ธรรมและ การพฒั นาจิตใจ “ทุก ๆ ลัทธิถอื ว(าปรชั ญานน้ั เปน- สง่ิ จำเปน- ในการ

48

ดำเนนิ ชีวิต และทกุ ๆ ลัทธเิ พาะปลกู ปรัชญาขึ้นมาก็เพอื่ ใหTเราเขาT ใจ เราควรจะดำเนินชีวิตของเราใหดT ที ่ีสุดไดT
อย(างไร” และ “ปรัชญานั้นใชTใหTเป-นประโยชน[แก(คนเราไดอT ย(างไร” (สนั่น, 2519: 21-22) กลา( วคือ ปรชั ญา
ตะวันออก (โดยเฉพาะปรชั ญาอินเดยี ) มีลักษณะเป-น “คำสอนใหปT ฏบิ ตั ”ิ ปรัชญาอินเดยี ไม(ใช(เนนT ความรอูT ยา( ง
เดยี ว หากเพ่อื ส(งเสรมิ ใหTรเTู พ่ือนำไปปฏิบัติ เนTนหลักปฏบิ ตั ิ เพราะจุดหมายสงู สุดของปรชั ญา คือ การรแTู จงT ตน
(Self – realization) ดงั น้ัน จงึ กลา( วไดTว(าปรัชญาตะวนั ออก (โดยเฉพาะปรัชญาอินเดีย)มลี กั ษณะเปน- ปรชั ญา
ชีวติ นน่ั เอง

4.2 ลกั ษณะท่เี หมือนกัน
4.2.1 เน้ือหา/เปาž หมายของปรชั ญา กล(าวคอื การมุง( แสวงหาความจริงสูงสุดและพยายาม

นำเสนอวถิ ีบรรลสุ ู(ความจรงิ อาศยั เหตุผล โดยอาจแบง( กวTาง ๆ ไดสT ามแนวความคดิ คือ วตั ถุนยิ ม จิตนยิ ม และ
การประสานระหว(างแนวคิดทัง้ สอง (สัจนยิ ม) ซงึ่ เห็นไดTชดั เจนในปรชั ญาตะวันตกกบั ปรัชญาอนิ เดีย (ส(วนปรชั ญา
จนี ไม(คอ( ยพดู ถึงนัก) นอกจากน้นั ถาT จะพจิ ารณาแงม( มุ ท่ีเชอ่ื มโยงปรชั ญากบั ศาสนา เห็นไดวT (ามกี ารนำเสนอ
แนวคดิ มีลกั ษณะเป-นปรชั ญา (เชิงศาสนา) แบบเทวนยิ ม (Theism) กบั อเทวนิยม (Atheism)

4.2.2 มพี ัฒนาการและตอ( ยอดทางความคิด โดยนักปรัชญารุน( ใหมไ( ดTศกึ ษาแนวคิดจากนัก
ปรชั ญาก(อนหนTา นำมาคดิ ต(อหรือเสนอความคดิ ตรงขาT ม หรืออาจนำความคิดมาขยายต(อในเรอ่ื งตา( ง ๆ ตาม
บรบิ ทของสงั คมแต(ละยุคสมัย

4.3 ลกั ษณะทีต่ าX งกนั
4.3.1 ลักษณะทีต่ (างกันของปรัชญาตะวนั ตกกบั ปรัชญาอนิ เดยี (ท่มี า: บาทหลวงวฒุ ชิ ัย อ(อง

นาวา. (2551). เปรียบเทียบปรัชญาตะวนั ตกกบั ปรัชญาตะวนั ออก)

เปรยี บเทียบ ปรชั ญาอินเดียกับปรัชญากรีก

1.ปรชั ญาของพวกไอโอนกิ ธเลส (624-547 BC) เหมือนกบั ปรัชญาพระเวทและอุปนิษัท จงึ นา( ไดTรับ
ความคิดน้ไี ปจากอนิ เดียหรือนกั คดิ พวกนอี้ าจจะไมใ( ช(ชาวกรีกดวT ยซ้ำไป

2.ความคดิ ของพวกอีเลียตกิ (540 BC) ก็คลTายกบั พรามวทิ ยาหรอื เวทานตะ คือพดู ถงึ มายา
(ปรากฏการณท[ างผัสสะ) และเนTนความสำคัญของเหตผุ ลมากกวา( ความประจักษ[ทางอายตนะทั้ง 5

3.ความคิดของเฮราไคลตสุ (544-484 ก(อน ค.ศ.) ก็คลTาย ๆ กับพุทธปรชั ญาคอื พดู ถงึ ความเปลย่ี นแปลง
วา( เปน- ความจรงิ ของจักรวาล และถอื ว(าไฟเปน- ธาตดุ ัง้ เดิม ในอรรถกถาของพระพุทธศาสนากม็ กี ลา( วถึงโลกว(า
เร่มิ ตTนดTวยไฟและสลายไปดTวยไฟเชน( กัน เฮราไคลตุสพดู ถงึ โลกวา( ประกอบดวT ยสง่ิ ที่ตรงกนั ขTามกัน ซงึ่ ในพทุ ธ
ศาสนากม็ ีกลา( วถงึ สิ่งตรงกนั ขาT มกนั ไวTมากมาย เชน( กศุ ล-อกุศล, อณหเตโช-สีตเตโช เปน- ตTน และความคดิ เหล(านี้
พทุ ธสาสนาไดสT อนไวTกอ( นเฮราไคลตุสนมนานและเปน- คำสอนทม่ี ีอยู(ในลทั ธิเตาÀ ดTวย 4. อแนกซ[กอรัส (500-428
BC) ก็กลา( วถึงเร่ืองเม็ดสสารหรอื เม็ดธาตเุ ลก็ ๆ ไวคT ลTายกบั ความคดิ เรอ่ื งกลละของพระอภิธรรม และถอื ว(าสสาร

49

จะเกดิ จากอสสารไม(ไดT
5. เอมพิลโดเดลส (484-424 BC) มีคำสอนคลTายลัทธไิ วเศษิก แตไ( มพ( ิสดารเทา(

6.เดโมครติ สุ (460-370 BC) ไดTเสนอความคดิ เรื่องปรมาณูไวคT ลาT ยกับความคิดของไวเศษกิ และสางขยะ
และความคดิ เรอื่ งปรมาณูของพุทธศาสนาดวT ย แตเ( ขาไมเ( ช่อื เรอ่ื งคณุ สมบัติของปรมาณู โดยเขาเชือ่ ว(าลักษณะ
ต(างๆของวตั ถนุ ั้นมนษุ ย[เหน็ ไปเอง ส(วนในเร่อื งวญิ ญาณเดโมครติ ุสมคี วามคิดคลาT ยกบั เรอื่ งสุขมุ สรีระของสาง
ขยะ นกั คดิ สำนกั ตา( ง ๆ ของกรกี ดงั กลา( วมาขาT งตนT ลวT นเกดิ ข้นึ ภายหลงั พุทธกาลทง้ั นนั้ สมัยของพุทธกาล คือ
623-543 ก(อน ค.ศ.

7. ความคิดทางตรรกของโสคราติส (469-399 กอ( น ค.ศ.) นั้นคลTายกับความคดิ ของลัทธินยายะ ส(วน
ความคดิ เชงิ ปรัชญาของเขาคลาT ยปรชั ญาพราหมณ[ และความคิดเก่ียวกบั มนุษยแ[ ละโลกของเขาคลาT ยกับความคดิ
ของลัทธโิ ลกายตะ คือมงุ( ความสุขเฉพาะหนTา แต(ดีกวา( โลกายตะตรงทเ่ี ขาเนนT เรือ่ งคณุ ธรรม

8. พลาโต (427-360 ก(อน ค.ศ.) มีความคดิ เรอ่ื งสัจจะหรือความจริงคลาT ย ๆ กบั พุทธปรชั ญา คือถอื ว(า
ความจริงมี 2 ระดับ คือความจรงิ ระดบั ผสั สะกับความจรงิ ระดับเหตผุ ลคลTายความจรงิ ระดบั สมมตกิ ับระดบั
ปรมตั ถ[ของพุทธศาสนา แต(ความหมายตา( งกนั มาก ความจรงิ ของพลาโตมลี ักษณะเปน- สัสตะ สว( นความคดิ
ทางการเมืองของเขากวTางขวางกวา( ความคิดของชาวอินเดยี

9. อริสโตเตลิ (384-322 BC) ยอมรับความเปล่ียนแปลงของโลกว(าเปน- จริง คลาT ยความคดิ เรื่องอนิจจัง
ของพทุ ธศาสนา มคี วามคิดเรื่องสาเหตขุ องความเปล่ยี นแปลงของโลกว(าเป-นจริง คลาT ยความคดิ เรื่องอนิจจงั ของ
พทุ ธศาสนา แตเ( ขากลบั เช่อื เรอื่ งพระเจTาทำนองเดียวกับเร่ืองบรุ ุษของสางขยะ อนั เป-นเหตุใหTสสารหรือประกฤติ
เปล่ียนแปลง

10. ความคดิ ของเอนติ โลรสั (342-270 BC) คลTายกบั ลทั ธิไวเศษิก มคี วามเชื่อเรือ่ งเหตผุ ลคลาT ยพุทธ
ศาสนา แตม( คี วามคดิ ทางจริยศาสตรค[ ลTายพวกจารวาก. แต(เรอื่ งจดุ หมายปลายทางของชวี ิตกลับไปคลTายกบั
โมกษะของฮนิ ดู

11. พวกกรกี มีความคดิ เรอื่ งวิวฒั นาการละเอยี ดกวา( พุทธปรชั ญา แตอ( ธบิ ายขบวนการวิวฒั นาการสูT
หลักปฏจิ จสมุปบาทไม(ไดT ความคิดทางการแพทยข[ องพวกกรกี ก็คลาT ย ๆ กบั อายุรเวทของอินเดยี พวกกรีกจงึ
นา( จะไดคT วามคดิ เหล(านไี้ ปจากอนิ เดีย เพราะฮปิ โปคราสตสิ (430 BC) ผวTู างรากฐานการแพทย[ของกรกี อย(ทู ี่เกาะ
Cos ซ่งึ ติดกับฝYงÆ ทะเลตุรกี

50

เปรยี บเทียบ ปรชั ญาอนิ เดียกับปรชั ญาสมัยกลาง

1. แมกพุสมแี นวความเช่อื คลTายมมี อส คอื ใหTเช่ือความรูทT ี่ไดมT าจากการบันดาลใจของส่งิ ศักดิส์ ิทธิ์
2. อะครีปYส (1225-1274) มีความเช่อื บางอยา( งคลTายพทุ ธศาสนา คือเรอ่ื งภพภูมติ (าง ๆ ที่มนษุ ย[จะ
เขาT ถงึ ไดT มคี วามเชอ่ื เรอ่ื งเทวบันดาลคลาT ยกบั เวทานตะ คอื โลกเป-นไปตามเทวบนั ดาลของพระเจTา
3. พวกสกอลาสติก มี 2 พวก คือพวกท่มี ีความคิดตามแนวของพลาโต กบั พวกท่ีมคี วามคดิ ตามแนวของ
อริสโตเตลิ
4. พวกทเ่ี ป-นตามแนวคิดของพลาโตเรียกตัวเองวา( Realism เพราะวา( เปน- ผูเT ขTาถงึ สัจจะไดTสงู กว(าพวกอ่นื
5. พวกทีเ่ ปน- ตามแนวของอรสิ โตเติลน้ันเรียกว(า Nominalism คือพวกทีถ่ อื ว(าความจริงคอื สิง่ ที่ปรากฏ
ตอ( ผสั สะ พดู อกี อยา( งหนง่ึ ก็คือสิง่ ท่มี ชี อื่ คอื สงิ่ ทจ่ี ริงความคิดเร่อื งนีข้ องพวกสมัยกลางกค็ ลTายกบั ความคิดของ
ปรชั ญาพราหมณท[ วี่ (า “ส่งิ ใดมชี ่อื ส่งิ นน้ั เป-นนาม สง่ิ ใดไมม( ชี ่อื อนั พึงรไTู ดดT วT ยรูป สิง่ น้นั เปน- รูป”

เปรยี บเทียบ ปรชั ญาอนิ เดยี กบั ปรัชญาสมัยใหม*

1. ความคิดของเบคอน (1561-1626) คลาT ยกับลทั ธินยายะ ไวเศษกิ กลา( วคอื ความคดิ ทางวทิ ยาศาสตร[
ของเขาคลาT ยนยายะและสสารนยิ มของเขาก็คลายกบั ไวเศษกิ นอกจากนี้เบคอนยงั เช่ือพระเจTา (ศตวรรษที่ 17)

2. เดดารติ (1596-1650) กเ็ สนอความคดิ แบบทวนิ ิยมเหมอื นลัทธสิ างขยะ เพราะฉะนน้ั ความคิดของเด
ดารติ จึงมิใชข( องใหม(อย(างทีช่ าวโลกเชื่อถือกนั ความคิดเร่อื งจิตกับกายของเดดาริตก็เหมอื นกบั ความคิดเร่อื งบรุ ษุ
กบั ประกฤติ สว( นความคดิ เรื่องพระเจTาของเขาก็เหมือนกับปรชั ญาเวทานตะ แตค( วามคดิ ทางกลไกลของเขา
ละเอียดกวา( ของอินเดีย (ไวเศษกิ )

3. สสารนยิ มของฮอบส[ (1588-1679) กค็ ลาT ยกบั ความคิดของจารวาก ถอื วา( จติ เกดิ จากสสาร ความคดิ
เนTนการเคลือ่ นไหลของมนั สมอง

4. จติ นยิ มของสปโ- นช (1632-1677) กเ็ ทา( กบั เอาเวทานตะมาผสมกับสางขยะ ความคดิ ทางจริยศาสตร[
ของเขากเ็ หมือนกบั ของฮนิ ดู

5. ความคดิ ของลอT ด (1632-1704) บางอย(างกค็ ลTายกบั พุทธศาสนา เชน( เรื่องคณุ ภาพช้นั ตนT อารมณห[ รอื
ideal สว( นจติ วิทยาของเขาก็คลTายกบั ของฮินดู

6. ลทั ธโิ มนาดของไลมน[ ชิ (1646-1716) กลับถอยหลงั ไปหาปรัชญาพระเวท อย(างทฤ่ี คเวทกล(าว “บรุ ษุ
ย่ิงใหญก( ว(าสงิ่ ทั้งปวง สถิตอยูใ( นส่งิ ท่ัวไปทง้ั ส่ิงมชี วี ติ และไม(มชี วี ติ ” คำอธบิ ายเรื่องโมนาดยอ( ยโมนาดใหญข( องเขาก็
คือเรอื่ งชีวาตมนั กับปรมาตมันนั้นเอง

7. ความคดิ เรือ่ งแรงโนมT ถว( งของนวิ ตัน (Newton) กม็ อี ย(ใู นลัทธไิ วเศษกิ แลTว ความดึงดูดระหวา( งสงิ่
ต(าง ๆ กม็ กี ลา( วไวใT นอภธิ รรมว(า คืออาโปชตุ ความคดิ เร่ืองอากาศของนิวตันกม็ อี ยใ(ู นปรัชญาฮนิ ดู ความคิด
เก่ียวกับการแบ(งส(วนใหญอ( อกเป-นส(วนย(อยอันไม(มีท่สี น้ิ สดุ (infinitesimal) กม็ ปี รากฏอยู(ในเร่ืองการเปลย่ี นแปลง
ของรูปนาม และเรือ่ งขณะจติ ของพุทธศาสนา พระพุทธเจTาจึงเป-นคนแรกท่แี บ(งสันตตขิ องรูปนามออกเปน- ขณะนวิ
ตนั เช่ือว(ามบี างสิ่งท่อี ย(กู บั ท่ี แตพ( ระพทุ ธเจTาสอนวา( ทกุ ส่ิงเคล่ือนไหวสว( นเรื่องปฏิกิรยิ าเท(ากับกิรยิ านน้ั คลาT ยกบั

51

คำสอนเรอื่ งกรรมและกรรมวิบากของพทุ ธศาสนานนั้ เอง
8. จติ นิยมของเนิดเล(ย[ (1685-1753) กค็ ลTายกบั ความคิดของพุทธศาสนามหายานซึง่ เป-นผลของการปรับ

พุทธศาสนาใหTเขTากบั เวทานตะ แตม( หายานไมไ( กลกว(าเวทานตะเสียอีก คือปฏเิ สธโลกภายนอกเอาเลยคือถือว(า
รปู ไมม( ี มแี ตน( ามอยา( งเดียว

9. ความคิดของฮิวม[ (1711-1776) กเ็ หมอื นกบั อเหตกุ ทฏิ ฐิ อกิรยิ ทิฏฐิ และอจุ เฉททิฏฐนิ ั่นเอง เพราะ
ฮวิ ม[บอกวา( ไมม( ีอะไรนอกจากความคดิ (หรืออารมณ)[ ลTวนไมม( ีสสาร ไมม( ีจิต มีแตค( วามคิด ทกุ อย(างสลายไปกบั
ความตาย

10. คานต[ (1724-1804) ไดเT สนอความคดิ เรอื่ ง กาลและอวกาศเปน- คนแรกในยโุ รป แตค( วามคิดน้ีก็มีอยู(
ในลทั ธไิ วเศษกิ แลTว และความคิดน้กี ็กลายเป-นคำสอนเรอื่ งบญั ญัติของพุทธปรัชญาดTวย คำสอนเร่ืองโลกและ
วิญญาณของคานตก[ ค็ ลาT ยกับเรื่องบุรษุ และประกฤตขิ องสางขยะ ความคิดเร่อื งของคานต[ก็คลาT ย ๆ กบั เรื่องปYฏ
ฐาน 24 ของพทุ ธศาสนา

11. ความคดิ ของนกั คดิ เยอรมันคือ Fickte Sohelling Hegel (1775, 1770) มีความคลTายคลึงกบั
ปรชั ญาเวทานตะหรือพรามวทิ ยามาก ปรชั ญาประวัติศาสตรข[ องเฮเกล คลTายกับลัทธิอวตารของฮินดู สว( น
ความคิดเร่ืองไดอะเล็กตกิ ของเขาก็เหมอื นกับความคดิ เร่อื ง สนิ าสยะของนยายะ ซง่ึ ถือวา( ความจริงไดจT ากการ
พิจารณาเรือ่ งทีข่ ัดแยงT กนั

12. ความคิดของนักคิดเรื่องสสารนยิ มทางประวตั ศิ าสตรข[ องพวกมากซสิ ต[ ก็คลTายกับความคดิ เร่ืองยคุ
ต(าง ๆ ในปรชั ญาฮนิ ดู ทแ่ี บง( ยคุ ออกเปน- กฤตยุค ทวาพรยุค ไตรดายุค กลยี คุ แต(พวกมากซิสต[แบ(งกลียุคไวT
ละเอยี ดกว(า สว( นความคิดเรอ่ื งสงั คมนยิ มนั้น พวกพราหมณ[และพวกพทุ ธก็ไดกT ลา( วไวนT มนานมาแลTว สสารนยิ ม
ไดอะเลก็ ตกิ จงึ เทา( กบั เปน- พฒั นาการขนั้ สงู สุดของลัทธจิ ารวาก

13. ความคดิ เรือ่ ง ววิ ฒั นาการของดาร[วิน (1809-1882) คลTายกับความคิดเรื่องพืชนิยมของพทุ ธศาสนา
14. ความคดิ ของพวกสัจนยิ มในศตวรรษท่ี 20 น้ีกค็ ลาT ยกับความคิดของพทุ ธศาสนา คอื ยอมรบั ความมี
อยูข( องสิง่ ทปี่ รากฏทงั้ ที่เปน- สสารและอสสาร โดยท่ีสิง่ ทงั้ สองมิไดTสราT งซง่ึ กนั และกนั แต(ตา( งก็มีอยู(ดTวยกนั (ท่มี า:
ผจญ คำชูสงั ข[. (2549). ลกั ษณะท่วั ไปของปรชั ญาตะวันตก – ปรชั ญาตะวนั ออก)

52

ลกั ษณะทีต่ า* งกนั ของปรัชญาตะวันตกกบั ปรชั ญาจีน

1. ด#านหลักการสอน

ปรัชญาตะวันตก ปรัชญาจนี

มีความสัมพนั ธใ[ กลชT ิดกับ มีความสมั พันธใ[ กลTชดิ กบั จรยิ ศาสตร[ การเมอื ง วรรณคดี และศิลปะ
วทิ ยาศาสตร[

แสวงหาความรเูT พอ่ื ความรูT ความรนTู ั้นคือมรรควธิ ที น่ี ำไปสูอ( ดุ มคติอนั สูงส(งที่ปฏิบัตไิ ดTในชวี ติ จริง

รากฐานของปรชั ญาจีน ความกระหายของนกั ปราชญ[ทอี่ ยากจะเขาT ใจวถิ ีธรรมชาติ

สอนเรือ่ งความรักในพระ สอนเรื่องความรักในเพื่อนมนุษย[ เนนT ความสำคัญของจรยิ ธรรม โดยเฉพาะอย(างยงิ่ ความ
เจาT เกย่ี วขอT งทางสงั คม หนาT ท่ีของพลเมอื งดี และหลกั ปฏิบัตทิ างศีลธรรม

2.ด#านประเด็นที่มาของความร#ู

ปรชั ญาตะวนั ตก ปรัชญาจนี

ความรูจT ากทฤษฎีคือ ความรูTและความหมายทไ่ี ดT เนนT การภาวนาฝก¡ ฝนอบรมตนเอง ซง่ึ ส(งผลใหTมคี วาม
จากหลักคำสอนอันเป-นหลกั จากอนมุ าน การใชT สนใจอยา( งลึกซึ้งเกี่ยวกับปYญหาทีเ่ ป-นรูปธรรม
ความคิดทางคาดคะเน และการวเิ คราะห[เหตุผล
แบบตรรกวทิ ยา

สนใจเรอื่ งของความขัดแยงT กันของสิง่ ทแ่ี ตกต(าง มีลกั ษณะไมใ( ชเ( ป-นความขดั แยTง แต(เปน- ความกลมกลืน
จากกันในโลก เช(น ความขดั แยงT ระหว(างคนกบั ประสานกันของสง่ิ ท้งั หลายในโลก มนุษยเ[ ป-นส(วนหนง่ึ
พระเจTา อุดมคติกบั ความเป-นจริง สงั คมกับปYจเจก ของจักรวาล โลกจักรวาลเปน- สว( นหนง่ึ ของชีวิตมนษุ ย[
อำนาจกบั เสรภี าพ ผูกพันกันอย(างแน(นแฟžน

53

3. ดา# นเน้ือหาสาระ

ปรชั ญาตะวนั ตก ปรัชญาจนี

แบง( ออกเป-น 5 แทบจะไมม( กี ารแยกคนออกจากความตTองการทางจริยธรรมและการปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ของ
สาขา บุคคลเลย จติ มีความกลมกลืนกับทุกสรรพส่ิง

4.ดา# นจติ วิญญาณแหXงปรชั ญา

ปรชั ญาตะวนั ตก ปรชั ญาจีน

ฝYงใจเก่ียวกับเรอื่ งความขดั แยTงกนั มลี ักษณะเดน( ไมเ( ป-นความขดั แยงT แตเ( ป-นความกลมกลืนประสาน
ของสิง่ ท่แี ตกตา( งกันและกันท่มี ีอยู( สบื เน่ืองกนั ของสิง่ ท้งั หลายในโลก ปรชั ญาจนี ถือวา( มนษุ ย[เปน- สว( นหนึง่
ในโลก เชน( คนกับพระเจTา อดุ มคติ ของโลกจกั รวาล และโลกจกั รวาลเปน- ส(วนหน่งึ ของชวี ติ มนุษย[ มนษุ ย[
กับความเปน- จริง สังคมกับปจY เจก กบั ธรรมชาตผิ กู พันกันอย(างแนน( แฟžนสมบรู ณ[ตอ( กันและกนั
อำนาจกับเสรภี าพ เป-นตนT (มหาวทิ ยาลัยบรู พา. (2555). ความแตกตา( งปรชั ญาจนี กบั ปรชั ญา
ตะวันตก)

54

สรุป

คำว(า “ปรัชญา” นั้นเป-นศัพท[ที่พระเจTาวรวงศ[เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ[ประพันธ[ (พระองค[เจTาวรรณไว
ทยากร) ไดTทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใชTคู(กับคำภาษาอังกฤษว(า “Philosophy” เป-นคำมาจากรากศัพท[ภาษาสันสฤต 2
คำคือ 1. ปร : ประเสรฐิ 2. ชญา : ความรูT, รูT, เขTาใจ เมื่อรวมกันแลTวเป-น “ปรชญา” (ปรัชญา) แปลว(า ความรTู
อันประเสริฐ เป-นวิชาที่ว(าดTวยหลักแห(งความรูTและความจริง ปรัชญาตะวันออกเกิดขึ้นมาในความเป-นศาสนา ซ่ึง
จะมีความเกี่ยวขTองกันอย(างแทบจะแยกไม(ไดT โดยศาสนานั้นมีรากเหงTามาจากความเชื่อ ความศรัทธาที่จะปฏิบัติ
ตามคำสั่งสอนหรือเนื้อหาของศาสนานั้น ๆ นำไปสู(พิธีกรรมต(างๆที่มุ(งสู(มรรคผล โดยปรัชญานั้นประกอบแนบ
แน(นกันกับศาสนาในตัวของความรTู และวิธีการไดTมาซึ่งความรูT และปรัชญาตะวันตก หมายถึง แนวความคิด
หลักการ ความรูTทางปรัชญาที่เกิดขึ้นในซีกโลกตะวันตกทั้งหมด ซึ่งนักปรัชญาเมธีเชื่อชาตินั้น ๆ ทางซีกโลก
ตะวนั ตกไดคT ดิ คTนขน้ึ

ปรัชญาอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานว(ามีมาตั้งแต( 3,000 ป‹ก(อนคริสต[ศักราช ปรัชญาที่กล(าวถึงนี้คือพระ
เวทย[อินเดียลTวนเกิดจากคำสอนในคัมภีร[พระเวทเป-นคัมภีร[พระเวทแบ(งออกเป-น 4 อย(างคือ ฤคเวทยชุรเวท สาม
เวท อถรรพเวท และในอินเดียนั้นมีเรื่องราวและตำนานเป-นมหากาพย[ 2 เรื่องอันยิ่งใหญ( คือ มหากาพย[รา
มายณะ ซึ่งรูTจักดีในประเทศไทยอีกชื่อก็คือ รามเกียรติ์ และอีกมหากาพย[หนึ่ง ชื่อมหาภารตะ โดยเรื่องราว
เกี่ยวกับความขัดแยTงของพี่นTองสองตระกูล ระหว(างตระกูลเการพและตระกูลปาณฑพ จนบานปลายไปสู(มหา
สงครามที่ทุ(งกุรุเกษตร จำนวน 18 วัน และฝÄายปาณฑพเป-นผูTชนะสงครามครั้งนี้ ศาสนาในอินเดียหลักๆจะมี 4
ศาสนาคือ ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน และศาสนาซิกข[ ศาสนาในจีน จะกล(าวถึงลัทธิต(างๆ ที่เกิดขึ้นใน
จีนซึ่ งมีอยู(มากมายโดยหลักๆจะมีอยู( 2 ลัทธิ คือ เล(าจื๊อหรือเตÀา เชื่อว(าเตÀาเป-นอุดมคติเป-นจุดหมายปลายทาง
สูงสุด มีจุดมุ(งหมายใหTผูTคนเขTาทางธรรม หรือสัจธรรม สละทางโลก ไม(สนใจลาภยศ มุ(งหาความสงบดำรงชีวิต
แบบเรียบง(าย กลมกลืนกับธรรมชาติ ปรัชญาการศึกษา คือการนำเอาหลักการ ความคิด ความเชื่อ ผลจากการ
แสวงหา ความเขTาใจเกี่ยวกับการศึกษาที่ชัดเจน หรือการนำเอาทักษะเกี่ยวกับการศึกษามาดัดแปลงใหTเป-นระบบ
ใหม( เพื่อประยุกต[ใชTใหTเป-นประโยชน[ในการจัดการศึกษา และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว
พระราชดำริ คือ การยึดหลักทางสายกลางและความไม(ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การ
สรTางภูมิคุTมกันที่ดีในตัว ตลอดจนการใชTความรูTดTวยความรอบคอบ ระมัดระวัง และมีคุณธรรมเป-น พื้นฐานในการ
ตัดสินใจและการกระทำปรัชญาญี่ปุÄน ปรัชญาของญี่ปุÄนจำแนกเป-นฐานหลักไดT 3 ฐาน คือ 1. ฐานชินโต ฐานนี้
ญี่ปุÄนรับมาในสมัยมีการนับถือธรรมชาติ (พระเจTา) 2.ฐานมิกาโต คือ ฐานเกี่ยวกับระบบการนับถือจักรพรรดิ
ระบบภายในครอบครัวและระบบทางสังคมที่ยังเป-นระบบที่มีชีวิต 3. ฐานปุตสุโตหรือพระพุทธศาสนา เป-นการ
ภกั ดีตอ( พระพุทธศาสนา เพราะวา( พระพุทธศาสนา มี อทิ ธพิ ลยิ่งใหญ( ควบคู(ไปกบั ศาสนาชินโต

55

ปรชั ญาตะวันตกตามเนอื้ หามีอยู(ท้ังหมด 5 ยุคคือ ยคุ ดกึ ดำบรรพ[ ยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม( ยุคปจY จบุ นั
ในยุคดึกดำบรรพ[นั้น ผูTคนต(างนับถือและเชื่อในเรื่องเทพเจTา จึงเกิดเรื่องเล(าเกี่ยวกับเทพเจTาขึ้นเช(น การกำเนิด
โลกโดยมี 4 ส่งิ หลอมรวมผสมกัน และการกำเนิดเทพ โดยมีเทพเจาT Zeus เปน- ผูTนำสูงสุดแหง( เขาโอลิมปYส ส(วนใน
ปรัชญาตะวันตกยุคโบราณ นักปรัชญาในยุคนี้ต(างตามหาความจริงของตTนกำเนิดของปฐมธาตุของโลก ในยุคใหม(
ไดTนำปรัชญาของ Aristotle มาอธิบายศาสนา ทำใหTเกิดการถกปYญหาปรัชญาศาสนาจนถึงระดับอิ่มตัว นัก
ปรัชญาจงึ หันมาสนใจปรัชญาวิทยาศาสตร[ (science=ความรTู)

และยุคปYจจุบันเป-นกระแสที่ไม(มีขอบเขตเริ่มตTนชัดเจน แต(เป-นการปรับท(าทีต(อการใชTปรัชญาโดยชี้ว(าปYญหาใหญ(
ของโลกเช(น สงครามโลกลTวนเกิดจากความยึดมั่นถือมั่น (attachment) ของผูTถือปรัชญายุคก(อนหนTาทั้งสิ้น แต(
พลังของแนวคิดนไี้ ดTรับการยอมรับอย(างกวาT งขวางในกลุ(มกอT นทางศาสนาตา( งๆ และกลุม( กอT นผไTู ม(นบั ถือศาสนา

เปรียบเทียบปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก ทั้งสองปรัชญายืนยันว(ากระบวนการหาความจริง
ของมนุษย[มีลักษณะพิเศษที่ต(างจากสัตว[ทั่วไป ดังนั้นการรูTความจริงของมนุษย[จึงมีลักษณะเป-นการรTูตัว นัก
ปรัชญาตะวันตกจะศึกษาความจริงเมื่อเกิดความสงสัย แต(จะหยุดเพียงแค(นั้น จะไม(นำมาพัฒนาเป-นคำสอนใหT
ปฏิบัติ ส(วนนักปรัชญาตะวันออกจะหลักมาปฏิบัติ ทั้งสองปรัชญามีเนื้อหากับเปžาหมายเหมือนกันตรงที่ม(ุง
แสวงหาความจริง มีการพัฒนาและต(อยอดทางความคิดเหมือนกัน มีต(างกันตรงที่ตะวันตกจะมีวิทยาศาสตร[เขTา
มาเกยี่ วขอT ง ปรัชญาจะเกดิ จากความเชอื่ ของคน เพราะฉะนัน้ แต(ละพ้ืนทีม่ คี วามเช่อื ตา( งกันกจ็ ะมีปรัชญาทีต่ (างกัน

56

อNางองิ

Rp.10 มหาวทิ ยาลยั บูรพา. (2555). ความแตกตXางปรัชญาจนี กับปรัชญาตะวันตก. [ออนไลน[], Available :
http://bubeeja.blogspot.com/2012/12/blog-post_19.html. (คนT หาขอT มลู 2564,

22 กมุ ภาพันธ[)

กีรติ บญุ เจือ. (2546) “เริ่มรจTู ักปรัชญา” ในชดุ ปรชั ญาและศาสนาเซนต[จอห[น, กรงุ เทพฯ:
มหาวิทยาลัยเซนต[จอห[น.

ชัยจักร ทวยทุ ธานนท,[ ผแูT ปล. ซกี ัล, โรเบริ [ต เอ, บรรณาธกิ ารฉบบั ภาษาอังกฤษ.Croot, Viv, author. 30
Second Mythology: The 50 Most Important Greek and Roman Myths, Monsters,
Heroes and Gods Each Explained in Half a Minute. กรุงเทพฯ : ยปิ ซี กรุ£ป, 2560. -
Ambalu, Shulamit. The Mythology Book: Big Ideas Simply Explained. London: DK
Publishing, 2018. - Hamilton, Edith. Mythology : Timeless Tales of Gods and Heroes.
New York: Grand Central Publishing, 1999.

ธรรมะไทย การเผยแผพ( ระพุทธศาสนาเขาT สป(ู ระเทศจีน. [ออนไลน][ , เขTาถงึ ไดTจาก : http://old-
book.ru.ac.th/e-book/p/PY225/py225-1-1.pdf (คนT หาขอT มูล 2564, 26 กุมภาพนั ธ[)

บรษิ ทั อมรินทร[พรน้ิ ต้ิงแอนด[พับลิชชิ่ง จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วิถแี หงX อหิงสา. [ออนไลน[], เขTาถึงไดT
จาก : https://ngthai.com/cultures/13974/jainism-religion/ (คนT หาขTอมูล 2564, 20 กมุ ภาพนั ธ[)

บาทหลวงวุฒิชัย ออ( งนาวา. (2551). เปรียบเทียบปรัชญษตะวันตกกบั ปรัชญาตะวันออก. [ออนไลน][ ,
Available : http://franciswut01.blogspot.com/. (คนT หาขTอมูล 2564, 17 กมุ ภาพนั ธ)[

เบญจภรณ[ ศรเี มอื ง. ศาสนาซิกข?. [ออนไลน][ , เขาT ถงึ ไดจT าก :
https://sites.google.com/site/socialbuddhismm4/unit_9_4#:~:text (คนT หาขอT มลู 2564,
18 กุมภาพนั ธ[)

ประเทศเพอื่ นบาT นของไทย. ประเทศอนิ เดยี . [ออนไลน[], เขTาถึงไดจT าก :
http://www.thaiheritage.net/nation/neighbour/india2.htm (คนT หาขTอมูล 2564,
23 กมุ ภาพันธ)[

ปานทพิ ย[ ศภุ นคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรชั ญาจีน (Chinese Philosophy). E-book. [ออนไลน][ ,
เขTาถึงไดจT าก : http://old-book.ru.ac.th/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=PY225
(คTนหาขอT มลู 2564, 20 กุมภาพันธ[)

57

ผจญ คำชูสงั ข[. (2549). ลักษณะทัว่ ไปของปรชั ญาตะวันตก – ปรชั ญาตะวันออก. [ออนไลน][ , Available :
pirun.ku.ac.th › ~fhumpjk › word387512. (คนT หาขTอมูล 2564, 17 กุมภาพนั ธ[)

พนายุทธ เชยบาล, เอกสารประกอบการสอน “หลกั การและปรัชญาการศึกษา Principle and Educational
Philosophy” คณะครุศาสตร[ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี; 2560 (หนาT 32-51)

พระไตรปฎ- ก เลม( ท่ี 9 พระสุตตนั ตป-ฎก เลม( ท่ี 1 ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค กฏู ทันตสูตร. พระไตรปฎ- กฉบบั
สยามรฐั . [ออนไลน[], เขาT ถึงไดจT าก :

https://th.wikipedia.org/wiki/%.(คนT หา ขTอมูล 2564, 18 กุมภาพันธ[)

พระมหามฆวนิ ทร[ ปรุ สิ ุตตฺ โม. มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย . ปรัชญาสากล : วเิ คราะห?และวจิ ารณ?
พิพธิ ภัณฑสถานแห(งชาติ มหาวรี วงศ[ นครราชสีมา. เครื่องหมายหยิน – หยาง. [ออนไลน][ , เขTาถงึ ไดTจาก :

http://www.finearts.go.th/mahavirawongmuseum/view/12432- (คนT หาขอT มูล 2564,
25 กุมภาพนั ธ)[
ภวศิ า พงษ[เลก็ , เอกสารประกอบการสอน“หลกั การและปรชั ญาการศึกษา Principle and Educational
Philosophy” คณะครุศาสตร[ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี; 2560 (หนTา 5)

มหาภารตะ (Mahabharata). [ออนไลน[], เขTาถึงไดจT าก :
https://tidtipt2012.wordpress.com/2013/08/21/มหาภารตะ-mahabharata/ (คTนหาขอT มูล
2564, 20 กุมภาพันธ)[

รายการประวัติศาสตร[นอกตำรา. (สจุ ติ ต[ วงษ[เทศ). รามายณะ มหาภารตะ ในอษุ าคเนย? ประวตั ิศาสตรน? อก
ตำรา. [ออนไลน[], เขTาถงึ ไดจT าก :
https://www.youtube.com/watch?v=yiwUBJ1TXPg&feature=share&fbclid=IwAR0tMbtT
QRa1bqQuZ73V0uCmROdyDfqQPJJTaf9Kup6wTtKJw6GiyNrKdqM (คTนหาขTอมลู 2564,
20 กุมภาพนั ธ)[

รายการแฟนพันธแุ[ ทT 2014_11 เม.ย. 57. มหาภารตะ. [ออนไลน][ , เขาT ถึงไดจT าก :
https://www.youtube.com/watch?v=_vlt2kzstyk (คนT หาขอT มลู 2564, 20 กุมภาพันธ)[

เรอื่ งยXอมหาภารตะ. [ออนไลน][ , เขาT ถงึ ไดจT าก :
https://www.youtube.com/watch?v=5IQeSNvWxE0&list=PLgHq_97HaPvlAcJd1OOCC7r
oRJr0fpdMz (คนT หาขอT มูล 2564, 20 กมุ ภาพนั ธ)[

สมหมาย ปวะบตุ ร.“ตำราหลกั การศกึ ษา”คณะครศุ าสตร[ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา; 2558 (หนาT 19-36)

หนงั สอื ปรชั ญากรีกบ(อเกดิ ภูมปิ ญY ญาตะวนั ตก พระราชวรมนุ ี (ประยูร ธมุมจติ โุ ต) บรรณาธิการ :
เซน นคร สำนกั พมิ พ[ศยาม

58

อ.วีระธรี ภัทรเลาX มหากาพยม? หาภารตะ. [ออนไลน[], เขาT ถึงไดTจาก :
http://septimustidbits.blogspot.com/2013/02/blog-post_5.html?m=1 (คนT หาขอT มูล 2564,

24 กมุ ภาพนั ธ)[

เอนก สวุ รรณบณั ฑติ . (2558). เอกสารประกอบการสอนวชิ าปรัชญาศกึ ษา. บณั ฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราช ภฏั สวนสุนนั ทา.

59

บทท่ี 3
อภิปรชั ญา

ความหมายของอภปิ รัชญา

คำว(า “อภิปรัชญา” เป-นศัพท[ที่พระเจTาวรวงศ[เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ[ประพันธ[ ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใชTคู(
กบั คำภาษาองั กฤษวา( “Metaphysics” เป-นคำมาจากรากศพั ท[ภาษาสนั สกฤต 3 คำคือ

อภิ : ยิง่
ปรฺ : ประเสรฐิ
ชญฺ า : ความรูT, ร,Tู เขาT ใจ
เมื่อรวมกันแลTว เป-น “อภิปฺรชฺญา” (อภิปรัชญา) แปลว(า ความรูTอันประเสริฐที่ยิ่งใหญ( เป-นวิชาที่ว(าดTวย
ความแทTจริงของสรรพสิ่ง คำว(า “อภิปรัชญา” ตรงกับคำภาษาบาลีว(า “ปรมัตถ[” ซึ่งมีรากศัพท[มาจาก ปรม
(อยา( งยงิ่ , ลกึ ซึง้ ) + อัตถ (เนื้อความ) เมื่อรวมกนั แลวT แปลว(า ความรTูทมี่ เี นื้อความท่ลี ึกซงึ้
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดTนิยามความหมายของคำว(า “อภิปรัชญา” เอาไวTว(า
“สาขาหนึ่งของปรัชญา ว(าดTวยความแทTจริง ซึ่งเป-นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา”อภิปรัชญา เป-นปรัชญาบริสุทธิ์
สาขาหนึ่ง มีลักษณะเป-นการศึกษาคTนหาความจริงที่สิ้นสุด เดิมทีเรียกว(า “ปฐมปรัชญา” (First Philosophy)
หรอื ปรชั ญาเริ่มแรก (Primary Philosophy)
ผลงานของ อริสโตเติ้ล (Aristotle) อีกอย(างหนึ่ง เหตุที่เรียกวิชาอภิปรัชญานี้ว(า First Philosophy
เนื่องจากว(าเป-นวิชาที่เกี่ยวเนื่อง ดTวยหลักพื้นฐานที่แทTจริงของจักรวาลและเป-นวิชาที่ควรศึกษาเป-นอันดับแรก
ส(วนวิชาการต(าง ๆ ในสมัยแรก ๆ นั้น ก็รวมอยู(ในปฐมปรัชญาทั้งนั้น เพราะหลักการของปฐมปรัชญาสามารถใชT
อธิบายวิชาอื่น ๆ ไดTทุกวิชา จึงเป-นศาสตร[ตTนตอแห(งศาสตร[ทั้งปวง หรือเป-นศาสตร[ที่ทำใหTเกิดศาสตร[ต(างๆ
(อดศิ กั ดิ์ ทองบุญ, 2526)
สเตจ (W.T. Stace) ไดTชี้แจงไวT คือเมื่อแอนโดรนิคุส (Andronicus) จัดพิมพ[งานของ อริสโตเต้ิล
(Aristotle) เขTาเป-นรูปเล(มสมบูรณ[ ในการจัดพิมพ[ครั้งนี้ไดTนำเอาตำราปฐมปรัชญาไปพิมพ[ไวTหลังฟ-สิกส[ ดTวยคำ
ที่ว(า “Metaphysics” (เมตาฟ-สิกส[) จึงมีความหมายว(า “มาหลังฟ-สิกส[” “ล(วงพTนฟ-สิกส[” (After Physics)
กล(าวคอื เป-นเรื่องทเี่ ก่ยี วกบั สง่ิ นอกเหนือฟส- ิกส[
คำว(า “Metaphysics” ในภาษากรีกซึ่งเป-นภาษาดั้งเดิมของอภิปรัชญาใชTคำว(า “Meta ta Physika”
หรอื ท่ภี าษาอังกฤษใชวT (า Metaphysics มรี ากศัพทม[ าจากคำ 2 คำคอื
1. Meta : After, Above (หลงั , เบ้ืองหลงั , ล(วงเลย)
2. Physika : Physics = Nature (ส่งิ ทส่ี ัมผสั ไดTดTวยประสาทสัมผสั , สงิ่ ทีส่ ัมผสั ไดTดวT ยอินทรยี )[
เมื่อเป-นเช(นนี้ คำว(า “Metaphysics” จึงหมายถึง “After Physics” แปลว(า “สิ่งที่อยู(เหนือประสาท
สัมผัส, สิ่งทอ่ี ย(ูหลังฟส- กิ ส,[ ส่ิงทอี่ ยูเ( บือ้ งหลงั วัตถุ หรือวิชาที่วา( ดวT ยส่ิงที่อยูเ( บือ้ งหลงั สง่ิ ท่รี ูTสึกทางประสาทสมั ผสั ”

60

จากความหมายดังกล(าวนี้ มีนักปราชญ[ของไทยบางท(าน ไดTบัญญัติศัพท[ขึ้นใชTอีกศัพท[หนึ่งคือ “อตินทรีย[
วิทยา”

(อติ + อินทรีย[ = ล(วงเลยอินทรีย[ หรือล(วงเลยประสาทสัมผัส) ดังนั้น เราจึงสรุปไดTว(า คำว(า
“อภิปรชั ญา” มีไวพจนท[ ใี่ ชTอยู( 4 อย(างไดTแก( อภปิ รัชญา, ความรูขT ้ันปรมตั ถ[, Meta ta physika และ อติ
นทรยี ว[ ทิ ย (อดิศกั ด์ิ ทองบญุ , 2526 ,น 3-4)

ทม่ี าของอภิปรัชญา

ดังที่ทราบมาแลTวว(า คำว(า “อภิปรัชญา” (ปรัชญาอันยิ่งใหญ(, ความรูTอันประเสริฐที่ยิ่งใหญ() มาจาก
ภาษาอังกฤษว(า “Metaphysics” ซึ่งมีรากศัพท[มาจาก Meta + Physics รวมกันแลTวแปลว(า “สภาวะที่อยู(เหนือ
การสมั ผสั ” นนั่ หมายถงึ วา( อภปิ รชั ญา เป-นปรชั ญาทเ่ี กีย่ วกบั สง่ิ ทอี่ ยเู( หนือการรเูT ห็นท่ัวไป

พระเจTาวรวงศ[เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ[ประพันธ[ ไดTอธิบายไวTว(า การใหTความหมายหรือการแปลศัพท[
ของคำว(า Metaphysics น้นั จะแปลตามมูลศพั ท[ไม(ไดT เพราะวา( คำนี้เกดิ ข้ึนมาจากความบังเอญิ

Aristotle Plato
หลังจากที่เพลโตT (Plato) และอริสโตเติ้ล (Aristotle) ไดTทำใหTวิชา Philosophy เจริญขึ้น เพลโตTถือว(า
วิชานี้เป-นวิชาที่เกี่ยวกับความจริงที่ไม(เปลี่ยนแปลง แต(อริสโตเติ้ล (Aristotle) มีความคิดเป-นวิทยาศาสตร[

ในหนังสือที่อริสโตเติ้ล แปลและเรียบเรียงข้ึนเล(มหนึ่งไดTนำเอาเรื่อง First Philosophy มาเรียงไวTในตอนทTายๆ
ซึ่งต(อมาจากเรื่องฟ-สิกส[ หรือปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) ในหนังสือดังกล(าว ไดTจัดเรียงลำดับไวT
ดังน้ี

1. คณติ ศาสตร[ (Mathematics)
2. กายภาพของโลก (Physics)
3. ปฐมปรชั ญา (First Philosophy)

4. ตรรกศาสตร[ (Logic) (อดิศกั ด์ิ ทองบญุ , 2526, น.3-4)
5. จติ วทิ ยา (Psychology)
6. จรยิ ศาสตร[ (Ethics) (อดศิ กั ด์ิ ทองบญุ , 2526)

61

W.T. Stace
สเตจ (W.T. Stace) ไดTชี้แจงไวTว(า คำว(า Metaphysics เป-นคำที่ไดTมาโดยบังเอิญ คือประมาณ พ.ศ.
480 เมื่อแอนโดรนิคัส (Andronicus) รวบรวมผลงานของอริสโตเติ้ลเขTาเป-นรูปเล(มสมบูรณ[ ในการจัดพิมพ[ครั้งน้ี
ไดTนำเอาตำราปฐมปรัชญาไปพิมพ[ไวTหลังฟ-สิกส[ คือเรียง First Philosophy ไวTหลังปรัชญาธรรมชาติ (Natural
Philosophy หรือPhysics) และนีโคลาอุส (Nicolaus) แห(งดามัสกัส เป-นคนแรกที่เรียก First Philosophy โดย
ใชTภาษากรีกว(าTa meta ta Physika แลวT เรยี กส(วนน้ีว(า “หลงั ฟส- ิกส”[ (After Physics)
กล(าวคือเป-นเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งนอกเหนือฟ-สิกส[ ภาษากรีกที่ว(า Meta ta Physika หมายความว(า
“งานท่ีทำนอกเหนอื หรือล(วงพTนจากทางรา( งกาย, โลกเบอื้ งหลงั กายภาพ, ส่ิงทอ่ี ยเ(ู บอ้ื งหลังฟ-สิกส”[
คำว(า Meta (After, Above) แปลว(า “หลัง เหนือกว(า เบื้องหลัง เลยออกไป” เมื่อรวมกับ Physics
จึงหมายถึงสิ่งที่อยู(นอกขอบเขตการรับรูTดTวยประสาทสัมผัส หรือสิ่งที่นอกเหนือไปจากสสารและพลังงาน หรือสิ่ง
ทงั้ หลายทไ่ี มอ( าจจะรหูT รือเขาT ถึงไดTดวT ยอาศัยประสาทสมั ผัส ดังนน้ั อภปิ รชั ญา จงึ เปน- วิชาท่ศี ึกษาถงึ เบอ้ื งหลังหรือ
เนอ้ื แทTของสง่ิ ตา( ง ๆ ในเอกภพ ซงึ่ ไม(สามารถพสิ ูจนแ[ ละทดสอบดวT ยประสาทสมั ผสั ไดT
นักปรัชญาชาวเยอรมันชื่อ โบเอทิอุส (A.M.S.Boethius) ไดTเปลี่ยนมาใชTเป-นภาษาลาตินเพียงคำเดียวว(า
metaphysica ต(อมาจึงไดTกลายมาเป-น metaphysics อย(างที่นิยมใชTกันอยู(ในปYจจุบันนี้คำว(า “metaphysics”
แต(เดมิ มีความหมายเพยี ง “หลงั ฟ-สิกส”[ (อดศิ กั ด์ิ ทองบุญ, 2526)
คำว(า “ฟ-สิกส[” เดิมหมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต(าง ๆ ในธรรมชาติหรือในโลก ต(อมาในตอนหลัง ไดTมี
การแปลความหมายกวTางขวางออกไปอีกเป-นว(า Physics หมายถึง กายภาพ, ความรูTที่อยู(ในขอบเขตของประสาท
สัมผสั , สงิ่ ท่ีเราสามารถรบั รูไT ดTดTวยอายตนะ หรอื ประสาทสัมผัสทงั้ 5 กล(าวคือสสารและพลังงาน
จะเห็นไดTว(า คำว(า อภิปรัชญา (Metaphysics) เป-นคำที่นำมาใชTในสาขาปรัชญาสาขาหนึ่ง นำมาใชTคร้ัง
แรกประมาณ พ.ศ. 480 หรือในศตวรรษที่ 1 ก(อนคริสต[กาล ปรัชญาเมธีอริสโตเติ้ล (Aristotle) ไดTเรียกปรัชญา
สาขาที่สำคัญที่สุดนี้ว(า “ปฐมปรัชญา” (The First Philosophy) ซึ่งเป-นสาขาที่ว(าดTวยความแทTจริง หรือความมี
อยข(ู องสรรพสง่ิ ซ่งึ ไมจ( ำเปน- จะตTองรTูไดTดTวยประสาทสมั ผัส
ในปรัชญาสมัยกลาง (Medieval Period) อภิปรัชญามีความสำคัญนTอยกว(าเทววิทยา (Theology)
เพราะเทววิทยาไดTรับการยอมรับและศึกษากันอย(างกวTางขวาง เป-นยุคมืดของวงการปรัชญา นักปรัชญาส(วนมาก

62

เป-นพระนักบวชในคริสต[ศาสนา จึงเนTนเฉพาะคำสอนเกี่ยวกับคริสต[ศาสนาอย(างเดียว ต(อมาประมาณ
คริสต[ศตวรรษที่ 16 เป-นตTนมา ซึ่งเขTาสู(ปรัชญาสมัยใหม( (Modern Period) อภิปรัชญา ไดTมีความสำคัญเท(ากัน
กบั เทววิทยา จนกระทงั่ ถึงปจY จุบนั (อดิศกั ดิ์ ทองบญุ , 2526)

ลกั ษณะและขอบเขตของอภิปรัชญา

อภิปรัชญาไดTทำหนTาที่เพื่อคTนควTาหาความจริง หรือการพยายามตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งต(าง ๆ ดังน้ัน
เนื้อหาที่สำคัญของอภิปรัชญาก็คือ ความแทTจริงนั่นเอง เกี่ยวกับเรื่องความแทTจริงนี้ นักปรัชญาพยายามที่จะใหT
คำตอบตั้งแต(สมัยนักปรัชญาสมัยกรีกโบราณ จนกระทั่งถึงนักปรัชญาสมัยปYจจุบัน ทั้งที่เป-นนักปรัชญาตะวันตก
และนักปรชั ญาตะวันออก เร่อื งทถี่ กเถยี งกนั หาคำตอบนน้ั มีประเดน็ ใหญๆ( อยู( 3 อยา( ง คือ

1. What is Reality? ความแทTจริงคืออะไร สาขาของปรัชญาที่ใหTคำตอบเกี่ยวกับเรื่องนี้คือ อภิปรัชญา
(Metaphysics)

2. How to know Reality? เรารูTความแทTจริงไดTอย(างไร สาขาของปรัชญาที่ใหTคำตอบเกี่ยวกับเรื่องนี้คือ
ญาณวิทยา (Epistemology)

3. How to act according to Reality? เราควรจะทำตัวอย(างไร ใหTเหมาะสมกับความแทTจริง สาขา
ของปรัชญาที่ใหTคำตอบเกย่ี วกบั เรอื่ งนีค้ ือ จรยิ ศาสตร[ (Ethics)

อภิปรัชญาไดTทำหนTาที่ในการตอบปYญหาเกี่ยวกับความเป-นจริงของสรรพสิ่ง รวมทั้งกระบวนการของ
ความเป-นไปของสรรพสิ่งดTวย นั่นหมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับเอกภพ (Cosmogony) จักรวาล (Universe) โลก
(World) มนุษย[(Man) จิต (Mind) หรือวิญญาณ (Soul) ชีวิต (Life) สสาร (Matter) ธรรมชาติ(Nature) พระเจTา
(God) หรอื ส่งิ สัมบรู ณ[(Absolute) ตลอดถงึ ส่ิงท่ีเกยี่ วขTองกบั สิ่งเหล(าน้ี

อภิปรัชญามุ(งใหTศึกษาคTนควTาถึงสัจธรรมหรือความเป-นจริงของเอกภพ หรือความเป-นจริงของสรรพส่ิง
เท(าที่มีอยู( ไม(ว(าสิ่งนั้นจะเป-นอยู(ในลักษณะใดก็ตาม ทั้งที่เป-นรูปธรรมทั้งที่เป-นนามธรรม ทั้งที่สัมผัสไดTทั้งที่สัมผัส
ไม(ไดT อภิปรัชญาพยายามคTนควTาถึงความแทTจริงของสรรพสิ่ง หรือเรียกอีกอย(างหนึ่งว(า ภววิทยา (Ontology) คือ
วชิ าทศี่ กึ ษาถงึ ความมีอย(ูเปน- อยขู( องสรรพส่ิงในโลก (อดศิ ักดิ์ ทองบญุ , 2526).

คำทั้งสองนี้บางครั้งใชTร(วมกัน แต(ก็มีการศึกษาที่แตกต(างกัน คือ อภิปรัชญาเนTนศึกษาถึงสภาวะที่ไม(อาจรTู
ไดโT ดยประสาทสัมผัสเป-นภาวะทอ่ี ยเู( หนือประสาทสมั ผัสทง้ั หาT ซงึ่ เปน- เร่อื งทีเ่ ก่ียวกบั นามธรรม

ส(วนภววิทยาจะศึกษาถึงสิ่งที่มีอยู(เป-นอยู(ในจักรวาลทั้งส(วนที่สัมผัสไดTและสัมผัสไม(ไดT กล(าวคือภววิทยา
จะศึกษาท้งั สิ่งที่เป-นนามธรรมและรูปธรรม

63

1.1 จิตนิยมเป-นอภิปรัชญาสุดโต(งดTานหนึ่งของธรรมชาติ ที่เกี่ยวกับสภาวะที่เป-นนามธรรม ซึ่งนักปรัชญา
ยอมรับและเชื่อว(า สรรพสิ่งในจักรวาลนี้ เมื่อคTนหาความจริงถึงที่สุด จะมีสภาพเป-นจิต หรือนามธรรม เป-นสภาวะ
ท่ีจับตTองไม(ไดT มองกไ็ ม(เหน็ คอื รไTู มไ( ดทT างประสาทสัมผสั ทั้ง 5 ของคนธรรมดา

ทฤษฎีแบบของเพลโต สิ่งเหล(านี้เราไม(สมารถจะมองเห็นไดT หรือสัมผัสไดT แต(ก็มีอยู(ในธรรมชาติ คือ
ปรากฏอย(ใู นโลกนใี้ นฐานะท่ีเปน- นามธรรม มิใชส( สาร

1.2 สสารนิยมในทางอภิปรัชญาเป-นดTานรูปธรรม หรือดTานวัตถุ ซึ่งเป-นสภาวะที่เห็นได,T ฟYงไดT, สูดกลิ่น
ไดT, ลมิ้ รสไดT, ไดรT บั สัมผสั ทางกายไดT

1.3 ธรรมชาตินิยมเชื่อในความมากมายหลากหลายในจักรวาล แต(สิ่งเหล(านี้ มีความจริงอยู(ในตัวมันเอง
ไดTแก(ความเชื่อว(า สิ่งและเหตุการณ[ทั้งหลาย มีมูลเหตุมาจากรรรมชาติ มากกว(ามูลเหตุเหนือธรรมชาติ จักรวาลมี
มูลกำเนิดมาจากธรรมชาติ มากกวา( มาจากภาวะเหนือธรรมชาติ (อดศิ ักดิ์ ทองบุญ, 2526)

2. อภิปรชั ญาวา* ดว` ยจิตหรอื วิญญาณ (Mind , Soul or Spirit)

จิต (mind) หลักฐานทางพระพุทธศาสนายืนยันว(า มนุษย[เรานั้นมีวิญญาณ ไม(เฉพาะมนุษย[เท(าน้ัน
มวี ิญญาณ สัตว[ดริ จั ฉานต้งั แต(เลก็ ท่สี ดุ ถงึ ใหญท( ่สี ดุ ก็มวี ญิ ญาณเหมือนกัน

เป-นการศึกษาถึงลักษณะกำเนิดจุดหมายปลายทางของวิญญาณ และสัมพันธภาพระหว(างวิญญาณกับ
ร(างกาย อภิปรัชญาจะทำหนTาที่คTนควTาเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติของวิญญาณ กำเนิดของวิญญาณ จุดหมาย
ปลายทางของวิญญาณ และความสมั พนั ธ[ ระหว(างวิญญาณกับร(างกาย

นักปรัชญาพยายามศึกษาเพื่อท่ีจะตอบคำถามที่ว(า จิตของมนุษย[เราคืออะไร มีลักษณะเป-นอย(างไร
มนุษย[มีอิสระในการคิดในการหาคำตอบหรือไม( หรือมนุษย[มีเสรีภาพในการตัดสินใจ และการเลือกกระทำหรือไม(
มากนTอยเพียงใด จะเป-นการศึกษาเพื่อพิจารณาดูเกี่ยวกับวิญญาณ อัตตา และจิต ว(าเป-นสิ่งเดียวกันหรือไม( หรือ
เปน- คนละอย(างกัน

3. อภปิ รชั ญาว*าด`วยพระเจา` หรอื ปรชั ญาเทวะ (God or Absolute and Ontology)

คือการคTนควTาหาสัจภาวะเรื่อง พระเจTา หรือสิ่งที่มีอำนาจเหนือมนุษย[ ซึ่งเป-นสิ่งที่มีอิทธิพลมาตั้งแต(
บรรพกาล เป-นลัทธิเทวนิยม “เทวนิยม" ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ต. 2525 หมายถึงลัทธิที่เชื่อ
ว(า มีพระเจTาผูTยิ่งใหญ(พระองค[เดียว พระเจTานั้นทรงมีอำนาจครอบครองโลก และสามารถดลบันดาลความ
เปน- ไปในโลก

เทวนยิ มทางอภิปรัชญา จะเนTนว(า พระเจTามีอย(ูจรงิ ถือเปน- ภาวะที่มีอยู(อย(างเทยี่ งแทTถาวร ไม(ใช(เปน- เพียง
อุดมคติ อย(างที่นักปรัชญาธรรมชาติบางพวกเขTาใจ เพราะนักปรัชญาธรรมชาตินิยม นำเอาคำว(า พระเจTา (God)
ไปใชT เพยี งหมายถงึ มโนภาพอย(างหนึ่ง (concept)

นักปรัชญาเทวนิยม มีหนTาที่สำคัญ คือ หาเหตุผล และขTอเท็จจริงมาประกอบการพิสูจน[ใหTเป-นจริงว(า
พระเจTามีอยู(จริง ขTอพิสูจน[ของพวกเทวนิยมอาศัยขTออTางทางศาสนา คือหลักศรัทธา และมีอยู(จำนวนไม(นTอยที่
อาศัยขอT อTางทางปรชั ญา คอื หลักเหตผุ ลและประสบการณ[ของมนษุ ย[ (อดศิ กั ดิ์ ทองบญุ , 2526)

64

อภิปรัชญา (Metaphysics) จึงเป-นการศึกษาถึงความแทTจริงของสรรพสิ่งในโลก ไม(ว(าจะเป-นเรื่องของ
ธรรมชาติ เรื่องของจิตหรือวิญญาณ เรื่องของพระเจTาหรือสิ่งสัมบูรณ[ โดยศึกษาว(าสิ่งเหล(านี้มีจริงหรือไม( มี
ลักษณะเป-นอย(างไร มีการดำรงอยู(อย(างไร เราสามารถที่จะรูTจักสิ่งเหล(านั้นไดTอย(างไร หรือการมีอยู(ของส่ิง
เหลา( น้นั แตกต(างกัน

นักปรัชญาฝÄายอภิปรัชญา ไดTพยายามใหTคำตอบเกี่ยวกับสิ่งเหล(านี้ โดยพยายามศึกษาปรัชญาสาขาต(างๆ
ที่ใหTทัศนะเกี่ยวกับโลกแห(งผัสสะ และโลกเหนือผัสสะ ไม(ว(าจะเป-นเรื่องใดก็ตาม และพยายามชี้ใหTเห็นถึงปYญหา
ที่เกิดข้ึนวา( มีบอ( เกิดอย(างไร ทำไมตTองเกดิ มปี ญY หาอย(างน้ันขน้ึ

หนNาทขี่ องอภิปรัชญา

นักปรัชญาเริ่มตTนแนวความคิดของตนเกี่ยวกับปรากฏการณ[ทางธรรมชาติ หรือสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติ
อันเกิดจากความสงสัย หรือความประหลาดใจในสิ่งต(าง ๆ ที่เกิดขึ้น และพยายามตอบขTอสงสัยในสิ่งเหล(านั้นดTวย
เหตุผล แนวความคิดของนักปรัชญาลักษณะเช(นนี้ คือแนวความคิดเกี่ยวกับปรากฏการณ[ทางธรรมชาติ เป-น
แนวความคดิ ทางอภิปรชั ญา (ปย- ะฤทธ์ิ พลายมณี ,2556)

ธาเลส (Thales) บิดาแห(งปรัชญากรีกมีความสงสัยว(า โลกเกิดขึ้นมาจากอะไร มีอะไรเป-นบ(อเกิดของโลก
เขาจึงพยายามคิดคTนหาคำตอบ โดยไดTคำตอบว(า น้ำ เป-นบ(อเกิดของโลก หรือเป-นปฐมธาตุของโลก ซ่ึงเขาใหT
เหตุผลว(า สิ่งที่มีชีวิตที่อยู(ในโลกลTวนตTองการน้ำ โดยเฉพาะอย(างยิ่ง มนุษย[หากขาดน้ำแลTวไม(สามารถจะมีชีวิตอยู(
ไดT

แต(การสืบคTนหรือการแสวงหาความจริงดังกล(าวนั้น จะตTองประกอบดTวยเหตุผล เพราะจุดมุ(งหมายของ
การศึกษาอภิปรัชญาที่สำคัญ ก็คือ เพื่อใหTมนุษย[เป-นตัวของตัวเอง มีความคิดเป-นอิสระ รูTจักวิพากษ[วิจารณ[ปYญหา
ปรัชญาตามหลักของเหตผุ ล(ผศ.วธิ าน สุชวี คปุ ต[ ,2561)

ดังนั้นหนTาที่ของอภิปรัชญาคือ การสืบคTนหาอันติมสัจ คือ ความเป-นจริงขั้นสูงสุด สัจจะ คือ ความจริง
เพราะฉะนั้น อันติมสัจ คือ ความจริงที่สิ้นสุด ซึ่งอยู(เหนือความจริงที่ปรากฏแก(ประสาทสัมผัส เป-นความจริงที่
ครอบคลมุ สิง่ ทง้ั ปวงไดT

ความเปนf จริงท่ีครอบคลมุ

ขTอเทจ็ จริง : คอื ปรากฏการณข[ องแตล( ะสิ่งทเี่ กิดขึน้ ความจริงทป่ี ระจกั ษช[ ัด เหตกุ ารณท[ ่เี ป-นจริง
ความจริง : คือ คณุ สมบัติของขTอความทีม่ ลี ักษณะพิเศษอย(างใดอยา( งหน่ึง
ความเปน- จริง : คือ ส่งิ ที่มอี ย(จู รงิ เปน- อยจ(ู ริง
ความเป-นจรงิ สูงสดุ : นพิ พานความจริงสูงสุด เปน- ความดีสูงสุด เปน- สภาวะทีส่ มบูรณ[

65

ความสมั พนั ธขM องอภิปรัชญากับศาสตรMอ่นื

อภิปรัชญา (Metaphysics) เป-นปรัชญาบริสุทธิ์สาขาหนึ่งของปรัชญาที่ว(าดTวยเรื่องความเป-นจริงและ
ความจริงแทT(Reality) เกี่ยวกับโลกและจักรวาล ตลอดจนธรรมชาติของมนุษย[ว(ามีความเป-นจริงอย(างไร ความ
เป-นจริงที่แสวงหานั้นเป-นความจริงสุดทTายหรือความจริงสูงสุดที่เรียกว(า ความจริงอันติมะ (Ultimate Reality)
อันเป-นพื้นฐานที่มาของความจริงอื่น ๆ ดังนั้น จึงทำใหTปรัชญาสาขานี้ มีความสัมพันธ[กับศาสตร[อื่น ซึ่งศาสตร[ท่ี
สำคญั จะมี 3 ศาสตร[ ดังน้ี (อดศิ ักดิ์ ทองบุญ, (2526).

1. อภปิ รัชญากบั ศาสนา (Metaphysics and Religion)

ระหว(างอภิปรัชญากับศาสนามีทั้งที่คลTายคลึงกันและแตกต(างกัน ส(วนที่คลTายคลึงกันมีลักษณะท่ี
สำคัญดังน้ี อภิปรัชญาและศาสนา มีวัตถุประสงค[ขั้นตTนเหมือนกัน นั่นคือเพื่อศึกษาเบื้องหลังของโลกหรือ
จักรวาล ทั้งอภิปรัชญาและศาสนา พยายามที่จะกTาวไปใหTพTนปรากฏการณ[ในปYจจุบัน เพื่อใหTมองเห็นความ
แทTจริง ทั้งอภิปรัชญาและศาสนาเนTนการฝ¡กจิต ว(าเป-นวิธีที่เขTาถึงความแทTจริงไดT ยกเวTนอภิปรัชญาฝÄายสสาร
นิยม ทั้งอภิปรัชญาและศาสนา เชื่อในความสามารถของจิตมนุษย[ว(าสามารถสัมผัสความแทTจริงไดT ยกเวTน
อภปิ รชั ญาฝÄายสสารนยิ ม

อภปิ รชั ญาและศาสนา (เทวนยิ ม) มลี ักษณะท่แี ตกตา( งกนั ดังนี้

• อภิปรัชญาใชTเครื่องมือทางวิทยาศาสตร[มาพิจารณาสภาพธรรมที่เป-นโลกุตตระ ส(วน ดTานศาสนา
ใชTวธิ มี อบกายถวายชีวติ ต(อสภาพธรรมนนั้

• อภิปรัชญาใชTเหตุผลในการเขTาถึงความแทTจริง ส(วนศาสนาใชTความภักดีและศรัทธาในพระเจTาในการ
เขาT ถึงสจั ธรรม

• อภิปรัชญาไม(เริ่มตTนศรัทธาในสง่ิ ที่จะศึกษาคTนควTา แต(เริ่มตTนดTวยความสงสัย ส(วนศาสนาเริ่มตTนดTวย
ศรัทธา

• อภิปรัชญามีขอบเขตที่จะตTองศึกษากวTางกว(าศาสนา คือว(าดTวยความแทTจริงเกี่ยวกับโลกทั้งมวล
ส(วนศาสนาว(าดTวยเรื่องพระเจTาในส(วนที่สัมพันธ[กับมนุษย[เท(านั้นอภิปรัชญาศึกษาเพื่อความรูTจริง
เท(าน้นั สว( นศาสนามง(ุ ปฏบิ ัตใิ หTเขTาถงึ ความจริง

66

2. อภิปรัชญากับวิทยาศาสตรE (Metaphysics and Science) ความสัมพันธ[ระหว(าง

อภิปรัชญากับวิทยาศาสตร[ที่จะพึงศึกษา คืออภิปรัชญาเป-นการคาดคะเนความจริงก(อนวิทยาศาสตร[
แนวความคิดทางอภิปรัชญา เช(น ธาเลส (Thales) บอกว(า “น้ำ เป-นปฐมธาตุของโลก หรือสรรพสิ่ง
มาจากน้ำ” หรือ เฮราคลิตุส (Heraclitus) บอกว(า “ไฟ เป-นปฐมธาตุของโลก หรือสรรพสิ่งมาจาก
ไฟ” เหล(านี้เป-นตTน ถือว(าเป-นการคาดคะเน ซึ่งการคาดคะเนเช(นนี้ถือว(าเป-นเรื่องของอภิปรัชญา
ต(อมาเรื่องโครงสรTางของเอกภพกายภาพก็ดี เรื่องของส(วนประกอบของสิ่งทั้งหลายก็ดี เป-นหนTาท่ี
ของวิทยาศาสตร[ เช(น ฟ-สิกส[ ดาราศาสตร[ เป-นตTน ที่จะตTองใหTคำตอบโดยใชT วิธีการทดสอบ ทดลอง
ซ่ึงเปน- เรื่องของวิทยาศาสตร[

3. อภปิ รัชญากับญาณวิทยา (Metaphysics and Epistemology)

อภิปรัชญากับญาณวิทยาเป-น 2 สาขาของปรัชญา โดยอภิปรัชญานั้น เป-นการคTนควTาถึงธรรมชาติของ
ความแทTจริงสุดทTาย ส(วนญาณวิทยา เป-นการคTนควTาถึงธรรมชาติของความรูTกับปYญหา ระหว(าง
อภิปรัชญากับญาณวิทยา อะไรสำคัญกว(ากัน ยังเป-นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู( นักปรัชญาบางกลุ(ม เห็นว(า
ญาณวิทยามาก(อน เพราะการตรวจสอบถึงความเป-นไปไดTและขอบเขตของความรูTนั้นเป-นสิ่งสำคัญ อัน
เป-นพื้นฐานในการแสวงหาและคันควTาถึงธรรมชาติของความแทTจริงสุดทTาย แต(นักปรัชญาบางกลุ(มก็ไดT
เริ่มตTนปรัชญาของเขาดTวยอภิปรัชญา และถือว(าญาณวิทยาตTองสอดคลTองหรือคลTอยตามอภิปรัชญา โดย
ทศั นะดงั กลา( วแลวT ทัง้ ญาณวิทยาและอภปิ รชั ญา ต(างก็เป-นสาขาของตัวเองตา( งหากไมเ( กยี่ วเน่อื งกัน

อภิปรัชญา (Metaphysics) จึงเป-นวิชาที่ว(าดTวยความแทTจริงของสรรพสิ่ง เรียกอีกอย(าง

หนึ่งว(า ภววิทยา (Ontology) ซึ่งเป-นศาสตร[ที่ว(าดTวยความมีอยู( ความเป-นอยู(ของสรรพสิ่ง ความมีอยู(ของ
สรรพสิ่งก็คือความแทTจริงของสรรพสิ่ง ความแทTจริงของสรรพสิ่งย(อมเป-นความมีอยู(ของสรรพสิ่ง ทั้ง 2
คำ จึงเป-นอันเดียวกันต(างแต(ว(า Ontology ใชTมาก(อน Metaphysics ใชTทีหลัง กล(าวคือ อภิปรัชญา
ศึกษาเรื่องธรรมชาติที่แทTจริงเกี่ยวกับโลก วิญญาณหรือจิต และพระผูTเป-นเจTา การที่เราจะเขTาใจเกี่ยวกับ
ธรรมชาติที่แทTจริงของโลก วิญญาณหรือจิต และพระผูTเป-นเจาT นั้น ตTองอาศัยญาณวิทยาเป-นเครื่องมือใน
การพสิ จู นค[ วามจรงิ เกี่ยวกบั ส่ิงเหลา( น้ี

67

ญาณวิทยา (Epistemology) คือทฤษฎีความรูT เป-นวิชาที่ศึกษาคTนควTาหาความรูT

ธรรมชาติและเหตุแห(งความรูTที่แทTจริง ซึ่งเป-นการศึกษาถึงรายละเอียดของความรูTทั้งหมด เพื่อใหTเห็น
ความเป-นไป และตัดสินไดTว(าอะไรเป-นความจริงแทT ซึ่งเกิดจากความรูTที่แทTจริง เป-นการศึกษาสภาพ ทั่ว
ๆ ไปของความรูTอย(างกวTาง ๆ อภิปรัชญาจะตTองใชTญาณวิทยาเป-นเครื่องมือในการคTนควTาธรรมชาติท่ี
แทTจริงของสิ่งที่มีอย(ู กล(าวคือญาณวิทยา เป-นพื้นฐานหรือมูลฐานที่ทำใหTเกิดปรัชญานั้น ความจริงญาณ
วิทยาและอภิปรัชญามีความสัมพันธ[กันอย(างใกลTชิด ซึ่งสิ่งหนึ่งจะปราศจากอีกสิ่งหนึ่ง ย(อมเป-นไปไม(ไดT
ทฤษฎีว(าดTวยความรูTนำไปสู(ความรูTสิ่งต(าง ๆ จะอย(างไรก็ตาม ทั้งอภิปรัชญาและญาณวิทยาต(างก็มีวิธีการ
อธิบายสิ่งเดียวกัน นั่นคือธรรมชาติที่แทTจริง และทั้งสองอย(างต(างก็อาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อคTนหาความ
จริงของสิ่งทัง้ หลายอยา( งถกู ตอT ง (อดศิ ักด์ิ ทองบญุ ,2546, น 92-95)

ทฤษฎีทางอภปิ รชั ญา

นับตั้งแต(มนุษย[เกิดมาพรTอมกับความคิดต(าง ๆ ไม(ว(าจะเป-นเรื่องของธรรมชาติ หรือเรื่องปรากฏการณ[ทาง
ธรรมชาติ เพราะมนุษย[เริ่มสนใจสิ่งที่อยู(ใกลTตัวเพิ่มมากขึ้น เนื่องมาจากการเสื่อมศรัทธาในเรื่องพระเจTา ดังนั้น
พวกเขาจึงเกิดความสงสัยขึ้นว(า ในเมื่อพระเจTาไม(ไดTเป-นปฐมธาตุของสรรพสิ่ง หรือไม(ไดTเป-นบ(อเกิดของโลกแลTว
อะไรเป-นปฐมธาตุของโลก หรืออะไรเป-นบ(อเกิดอันที่แทTจริงของโลก ลักษณะแนวคิดเช(นนี้มีมาตั้งแต(สมัยโบราณ
จนกระทัง่ ถึงปจY จบุ นั แนวความคิดเหล(านีล้ Tวนแตเ( ป-นแนวคิดเก่ียวกบั อภิปรัชญาทง้ั นนั้

แนวความคิดเกี่ยวกับอภิปรัชญาจึงมีวิวัฒนาการมาเป-นเวลานาน และนักปรัชญาจำนวนมากพยายามคิด
หาคำตอบใหTแก(ตนเอง ซึ่งต(างคนก็ต(างมีแนวความคิดไปคนละอย(าง บางทัศนะก็มีนักปรัชญาเห็นพTองตTองกัน
หลายคน จึงไดTรวมกลุ(มกันเกิดเป-นลัทธิหรือทฤษฎีทางอภิปรัชญาขึ้น ทฤษฎีแต(ละทฤษฎีพยายามที่จะคTนหาความ
จริงทางอภิปรัชญาหรือเกี่ยวกับเอกภพ เกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับจิตวิญญาณ หรือแมTแต(เกี่ยวกับพระผูTเป-นเจTา ใน
ปYจจบุ นั นี้ ทฤษฎีทางอภปิ รัชญา มี 5 ทฤษฎี คอื

ทฤษฎสี สารนยิ ม

ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า สสารและปรากฏการณ[ของ
สสารเท(านั้นเป-นความแทTจริง จิตเป-นเพียงปรากฏการณ[ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกลTวนแต(เป-นสสาร
ทฤษฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจไดTแก(แนวความคิดทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว(าธรรมชาตินิยม เพราะถือว(า สสาร
เป-นความแทTจริง ชีวิตคือพลังงานทางฟ-สิกส[และเคมีที่ซับซTอน ส(วนจิตคือปรากฏการณ[ทางสมองลักษณะของ
สสารนิยม จึงเป-นความพยายามที่จะหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องสสารโดยเฉพาะ แนวความคิดเกี่ยวกับสสารนิยม จึง
แพร(หลายมาตั้งแต(สมัยกรีกโบราณ และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สำคัญที่สุดไดTแก( ทฤษฎีจักรกลนิยม
(Mechanicism) ก(อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส[ (Thomas Hobbes) นักสสารนิยมชาวอังกฤษ ถือว(า ชีวิตและความคิด
ทุกอย(างเกิดขึ้นตามกฎกลศาสตร[ที่ตายตัว โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบดTวยสสารและพลังงาน
ดงั นั้น สสารจึงเปน- ความแทTจริง สว( นจิตคอื การทำหนาT ทขี่ องสมอง

68

2. ทฤษฎีจิตนิยม(IDEALISM)

ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า จิตเท(านั้นเป-นความแทTจริง สสารเป-นเพียงปรากฏการณ[
ของจิตเท(านั้น ชาวจิตนิยมเชื่อว(า จิต เป-นอมตะ ไม(สูญสลาย ร(างกายของมนุษย[เป-นเพียงปรากฏการณ[ช่ัว
ขณะหนึ่งของจิต เปน- ทอ่ี าศยั ชวั่ คราวของจิต เมอ่ื ร(างกายดับลง จติ กย็ งั คงอย(ู ไมแ( ตกดับไปตามรา( งกาย

3. ทฤษฎีเอกนยิ ม (Monism)

ทฤษฎีเอกนิยม (Monism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า ความแทTจริงของสรรพสิ่งมีเพียงสิ่งเดียว จะเป-นรูปธรรม
(สสาร) หรือนามธรรม (จิต) ก็ไดT แสดงใหTเห็นว(า ความจริงจะตTองมีเพียงสิ่งเดียวเท(านั้น กล(าวคือเอกนิยม เป-น
วิธีการทางปรัชญาที่พยายามที่จะตอบปYญหาเกี่ยวกับความจริงที่ตั้งอยู(บนพื้นฐานที่ว(า ความจริงมีเพียงหนึ่ง
เท(าน้ันทอี่ ยเ(ู บื้องหลังของสรรพสง่ิ และสิ่งมชี วี ิตท้ังหลาย

4. ทฤษฎีทวนิ ิยม (Dualism)

ทฤษฎีทวินิยม (Dualism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า ความแทTจริงของสรรพสิ่งมี 2 อย(างเป-นของคู(กัน คือเป-น
ทั้งรูปธรรม (สสาร) และนามธรรม (จิต) มีนักปรัชญาจำนวนมากที่พยายามใหTคำตอบเกี่ยวกับเรื่องของทวินิยม
เพราะเชอ่ื ว(ามนษุ ย[เรามที ้งั ร(างกายและจติ วิญญาณอยู(ค(ูกัน ทฤษฎีทวินิยม แบ(งออกไปอกี ไดT 2 ทฤษฎี คอื

4.1 ทฤษฎีรังสรรค[นิยม (Creationism) เป-นที่ยอมรับกันว(า ทฤษฎีทวินิยม คือทฤษฎีที่ยอมรับว(าความ
จริงมี 2 อย(างไดTแก( จิตกับร(างกาย จิต เป-นสภาวะที่ใหญ(กว(าร(างกาย เพราะเป-นผูTสรTางสสาร เรียกว(า พระผูTสรTาง
(The Creation) หลังจากที่สรTางแลTวก็ปล(อยใหTสสารอยู(ดTวยตัวเอง พระผูTสรTางมีอำนาจในการควบคุมและทำลาย
สสาร พระผูTสรTางนี้ เป-นความแทTจริงสูงสุด เป-นอมตะ เป-นพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส(วนจิตวิญญาณที่อยู(กับสสาร
เป-นจิตวิญญาณของมนุษย[ พระวิญญาณบริสุทธิ์ ทำหนTาที่จัดระบบสสาร เพราะสสารเป-นวัตถุ วิญญาณเป-นแบบ
ดังน้ัน พระเจาT จงึ ไมใ( ช(สสาร แต(เป-นแบบ

4.2 ทฤษฎีชีวสสารนิยม (Hylozoism) เรียกอีกอย(างหนึ่งว(า ทฤษฎีจิตสสารนิยม เพราะเป-นทฤษฎีที่ถอื
วา( จติ กับสสารเปน- ของค(กู ัน จติ ควบคุมสสารไดT

5. ทฤษฎพี หนุ ิยม (Pluralism)

ทฤษฎีพหุนิยม (Pluralism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า ความแทTจริงของปฐมธาตุมีจำนวนมากมาย อาจจะเป-น
รูปธรรม (สสาร) หรอื นามธรรม (จิต) กไ็ ดT นน่ั คือความจรงิ แทขT องสรรพสิง่ ไมข( ้ึนอยู(แก(กนั ต(างก็เปน- อิสระในตัวเอง
ดังนั้น สรรพสิ่งที่มีจำนวนมากมายจึงไม(สามารถจะลดหรือทอนลงใหTเหลือเพียงสิ่งเดียวไดT ทฤษฎีพหุนิยมนี้ท่ี
ยอมรับกนั อย(างกวTางขวาง แบง( ออกไดTเป-น 2 ทฤษฎีไดแT ก(

5.1 ทฤษฎีพหุนิยมฝÄายจิต (Idealistic Pluralism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า ความแทTจริงของปฐมธาตุมี
มากมาย แต(มลี กั ษณะเปน- นามธรรม (จติ ) เช(น ปรัชญาเก่ียวกบั โมนาด (Monad) ของไลบ[นิซ (Leibniz) เปน- ตนT

5.2 ทฤษฎีพหุนิยมฝÄายสสาร (Materialistic Pluralism) ไดTแก(พวกที่ถือว(า ความแทTจริงของปฐมธาตุมี
มากมาย แต(มีลักษณะเป-นรูปธรรม (สสาร) เช(น ปรัชญาเกี่ยวกับปรมาณูนิยม (Atomism) ของเดโมคริตุส

69

(Democritus) ถือว(า ปฐมธาตุของโลกคือ “ปรมาณู” ปรมาณู เป-นบ(อเกิดของสรรพสิ่ง สรรพสิ่งเกิดมาจาก
ปรมาณู และจะกลายเป-นปรมาณูอีก กล(าวคือสรรพสิ่งในโลกประกอบดTวย ปรมาณู 4 อย(างคือ ดิน น้ำ ไฟ ลม
(พระมหาปพน กตสาโร, 2561)

ลทั ธิทางอภิปรชั ญา

จติ นยิ ม หรือมโนคติวิทยา (Idealism)

ลัทธิจิตนิยม (Idialism) เป-นลัทธิปรัชญาที่เก(าแก(ที่สุดในบรรดาปรัชญาต(างๆมีกำเนิดพรTอมกับการเริ่มตTน
ของปรัชญา ปรัชญาลัทธินี้ถือเรื่องจิตเป-นสิ่งสำคัญ มีความเชื่อว(าสิ่งที่เป-นจริงสูงสุดนั้นไม(ใช(วัตถุหรือตัวตน แต(เป-น
เรื่องของความคิดซึ่งอยู(ในจิต (Mine) สิ่งที่เราเห็นหรือจับตTองไดTนั้น ยังไม(ความจริงที่แทT ความจริงที่แทTจะมีอยู(ใน
โลกของจิต (The world of mind) เท(านั้น ผูTที่ไดTชื่อว(าเป-นบิดาของแนวความคิดลัทธิปรัชญานี้ คือ พลาโต
(Plato) นักปรัชญาเมธีชาวกรีก ซึ่งมีความเชื่อว(าการศึกษา คือ การพัฒนาจิตใจมากกว(าอย(างอื่น (อุดมศักดิ์ มีสุข
, 2552)

เป-นลัทธิปรัชญาที่เก(าแก(ที่สุดในบรรดาปรัชญาต(างๆมีกำเนิดพรTอมกับการเริ่มตTนของปรัชญา ปรัชญา
ลัทธินี้ถือเรื่องจิตเป-นสิ่งสำคัญ มีความเชื่อว(าสิ่งที่เป-นจริงสูงสุดนั้นไม(ใช(วัตถุหรือตัวตน แต(เป-นเรื่องของความคิด
ซึ่งอยู(ในจิต (Mine) สิ่งที่เราเห็นหรือจับตTองไดTนั้น ยังไม(ความจริงที่แทTความจริงที่แทTจะมีอยู(ในโลกของจิต (The
world of mind) เท(านั้น ผูTที่ไดTชื่อว(าเป-นบิดาของแนวความคิดลัทธิปรัชญานี้ คือ พลาโต (Plato) นักปรัชญาเมธี
ชาวกรีก ซงึ่ มีความเชื่อวา( การศกึ ษา คอื การพัฒนาจิตใจมากกว(าอยา( งอื่น
ถTาพจิ ารณาลัทธปิ รัชญาลทั ธจิ ิตนยิ มในแง(สาขาของปรัชญา แต(ละสาขาจะไดดT ังนี้

1.1 อภปิ รัชญา ถือเป-นจริงสูงสุดเป-นนามธรรมมากกวา( รปู ธรรม ตTองพฒั นาคนในดTานจติ ใจมากกว(าวตั ถุ
1.2 ญาณวิทยา ถือว(าความรูTเกิดจากความคิดหาเหตุผล และการวิเคราะห[แลTวสรTางเป-นความคิดในจิตใจ
สว( นความรTูท่ไี ดจT ากการสมั ผัสดวT ยประสาททง้ั 5 ไม(ใชค( วามรูทT แี่ ทTจรงิ
1.3 คุณวิทยา ถือว(าคุณค(าความดีความงามมีลักษณะตายตัวคงทนถาวรไม(เปลี่ยนแปลง
ในดTานจริยศาสตร[ ศีลธรรม จริยธรรมจะไม(เปลี่ยนแปลง ส(วนสุนทรียศาสตร[นั้น การถ(ายทอดความงาม เกิดจาก
ความคิดสราT งสรรคแ[ ละอดุ มการณ[อันสงู สง(
สรุปว(า ปรัชญาลัทธิจิตนิยมเป-นการพัฒนาดTานจิตใจ ส(งเสริมการพัฒนาทางดTานคุณธรรม จริยธรรม
ศิลปะต(างๆ การจัดการศึกษาตามแนวจิตนิยมจึงเนTนในดTานอักษรศาสตร[และศิลปะศาสตร[ เป-นผูTมีความรอบรูT
โดยเฉพาะตำรา การเรยี นการสอนมักจะใชหT อT งสมุดเปน- แหลง( คTนควาT และถ(ายทอดเนือ้ หาวชิ าสบื ตอ( กันไป

สจั นยิ ม หรือวัตถุนยิ ม (Realism)

ลัทธิวัถุนิยม หรือสัจนิยม (Realism) เป-นลัทธิปรัชญาที่มีความเชื่อในโลกแห(งวัตถุ (The world of
things) มีความเชื่อในแสวงหาความจริงโดยจิตตามแนวคิดของจิตนิยมอย(างเดียวไม(พอ ตTองพิจารณาขTอเท็จจริง
ตามธรรมชาติดTวย ความจริงที่แทTคือ วัตถุที่ปรากฏต(อสายตา สามารถสัมผัสไดT สิ่งเหล(านี้เป-นพื้นฐานของ
การศึกษาทางดTานวิทยาศาสตร[ บิดาของลัทธินี้คือ อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญ[ชาวกรีกลัทธิปรัชญาสาขาน้ี
เป-นตนT กำเนิดของการศึกษาทางงดTานวทิ ยาศาสตร[

70

ถTาพิจารณาปรัชญาลัทธวิ ตั ถนุ ิยมในแง(สาขาของปรชั ญา (อดุ มศักด์ิ มีสุข, 2552) จะไดดT งั น้ี
2.1 อภิปรัชญามีความเชื่อว(า ความจริงมาจากธรรมชาติ ซึ่งประกอบสิ่งที่เป-นวัตถุสามารถสัมผัสจับตTอง

ไดT และพิสูจน[ไดTดTวยวิธวี ิทยาศาสตร[
2.2 ญาณวิทยา เชื่อว(าธรรมชาติเป-นบ(อเกิดของความรูTทั้งมวลความรูTไดTมาจากการไดTเห็นไดTสัมผัสดTวย

ประสาทสมั ผัส ถTาสังเกตไมไ( ดTมองไม(เหน็ กไ็ ม(เห็นว(าเปน- ความรทTู แ่ี ทTจริง
2.3 คุณวิทยา เชื่อว(าธรรมชาติสรTางทุกสิ่งทุกอย(างมาดีแลTว ในดTานจริยศาสตร[ก็ควรประพฤติปฏิบัติตาม

กฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติก็คือศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งใชTควบคุมพฤติกรรมมนุษย[ ส(วนสุนทรี
ศาสตรเ[ ป-นเร่อื งของความงดงามตามธรรมชาตสิ ะทTอนความงามตามธรรมชาตอิ อกมา

สรุปว(า ปรัชญาลัทธิจิตนิยม เนTนความเป-นจริงตามธรรมชาติ การศึกษาหาความจริงไดTจากการสังเกต
สัมผัสจับตTอง และเชื่อในกฎเกณฑ[ของธรรมชาติ การศึกษาในแนวลัทธิจิตนิยมเนTนวิธีการทางวิทยาศาสตร[ เป-น
ตTนกำเนิดของวชิ าวิทยาศาสตร[

โทมสั นยิ มใหม* (Neo-Thomism)

ปรัชญาโทมัสนิยมใหม( มีแนวคิดเกี่ยวกับโลกและจักรวาล ว(าเป-น “โลกแห(งเหตุผล และการมีอยู(ของ
พระผูTเป-นเจTา” (The World of Reason, Being/God) และมีแนวคิดว(าความรูTที่แทTจริง คือ “ความรูTที่เป-นไป
ตามหลักเหตุผล และเป-นการหยั่งรูT” (Truth as reason and intuition) แนวคิดเกี่ยวกับความดี หรือจริยธรรม
ของนักปรัชญากลุ(มโทมัสนิยมใหม( คือ “จริยธรรมเป-นการกระทำอย(างมีเหตุผล” แนวคิดเกี่ยวกับความงาม
หรือสุนทรียภาพ คือ “สุนทรียะ เป-นสิ่งที่ก(อใหTเกิดการหยั่งรูTเชิงสรTางสรรค[ โดยอาศัยพุทธิปYญญา” นักปรัชญาคน
สำคัญ คือ Saint Thomas Aquinas (ภวศิ า พงษ[เลก็ , 2560)

ประสบการณยิ ม หรือ ปฏบิ ัตินยิ ม (Experitalism)

ลัทธิประสบการณ[นิยม (Experimentalism) เป-นปรัชญาที่มีชื่ออีกอย(างหนึ่งว(า ปฏิบัตินิยม
(Pragmatism) ปรัชญากลุ(มนี้มีความสนใจในโลกแห(งประสบการณ[ ฝÄายวัตถุนิยมจะเชื่อในความเป-นจริงเฉพาะสิ่ง
ที่มนุษย[พบเห็นไดTเป-นธรรมชาติที่ปราศจากการปรุงแต(งเป-นธรรมชาติบริสุทธิ์ ส(วนประสบการณ[นิยมมิไดTหมายถึง
สิ่งที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันเท(านั้น แต(หมายรวมถึงสิ่งที่มนุษย[กระทำ คิด และรูTสึก รวมถึงการคิดอย(าง
ใคร(ครวญและการลงมือกระทำ ทำใหTเกิดการเปลี่ยนแปลงในผูTกระทำ กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นครบถTวนแลTว
จึงเรียกว(าเป-น ประสบการณ[ ความเป-นจริงหรือประสบการณ[สามารถเปลี่ยนแปลงไดTตามเงื่อนไขแห(ง
ประสบการณ[ บุคคลที่เป-นผูTนำของความคิดนี้ คือ วิลเลียม เจมส[ (William,James) และจอห[น ดิวอิ้ (John
Dewey ชาวอเมริกัน วิลเลียม เจมส[ มีความเห็นว(าประสบการณ[และการปฏิบัติเป-นสิ่งสำคัญส(วนจอห[น ดิวอิ้ เช่ือ
ว(ามนษุ ย[จะไดTรบั ความรูTเก่ียวกบั สง่ิ ตา( งๆจากประสบการณเ[ ท(าน้นั (ภวศิ า พงษเ[ ล็ก, 2560)

เป-นปรัชญาที่มีชื่ออีกอย(างหนึ่งว(า ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ปรัชญากลุ(มนี้มีความสนใจในโลกแห(ง
ประสบการณ[ ฝÄายวัตถุนิยมจะเชื่อในความเป-นจริงเฉพาะสิ่งที่มนุษย[พบเห็นไดTเป-นธรรมชาติที่ปราศจากการปรุง
แต(งเป-นธรรมชาติบริสุทธิ์ ส(วนประสบการณ[นิยมมิไดTหมายถึงส่ิงที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันเท(านั้น แต(หมาย
รวมถึงสิ่งที่มนุษย[กระทำ คิด และรูTสึก รวมถึงการคิดอย(างใคร(ครวญและการลงมือกระทำ ทำใหTเกิดการ

71

เปลี่ยนแปลงในผูTกระทำ กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นครบถTวนแลTว จึงเรียกว(าเป-น ประสบการณ[ ความเป-นจริง
หรือประสบการณ[สามารถเปลี่ยนแปลงไดTตามเงื่อนไขแห(งประสบการณ[ บุคคลที่เป-นผูTนำของความคิดนี้ คือ วิ
ลเลียม เจมส[(William, James) และจอห[น ดิวอิ้ (John Dewey) ชาวอเมริกัน วิลเลียม เจมส[ มีความเห็นว(า
ประสบการณ[และการปฏิบัติเป-นสิ่งสำคัญส(วนจอห[น ดิวอิ้ เชื่อว(ามนุษย[จะไดTรับความรTูเกี่ยวกับสิ่งต(างๆจาก
ประสบการณเ[ ทา( น้ัน
ถาT พจิ ารณาปรัชญาลทั ธิประสบการณน[ ิยมในแงข( องสาขาของปรชั ญาจะไดดT งั นี้

3.1 อภิปรัชญา เชื่อว(าความจริงเป-นโลกแห(งประสบการณ[ สิ่งใดที่ทำใหTสามารถไดTรับประสบการณ[ไดT ส่ิง
น้ันคือความจรงิ

3.2 ญาณวิทยา เชื่อว(าความรูTจะเกิดขึ้นไดTก็ดTวยการลงมือปฏิบัติ กระบวนการแสวงหาความรูTก็ดTวย
วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร[ (Scientific method)

3.3 คุณวิทยา เชื่อว(าความนิยมจะเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติทางดTานศีลธรรม จรรยาเป-นสิ่งที่มนุษย[
สรTางและกำหนดขึ้นมาเอง และสามารถเปลี่ยนแปลงไดT ส(วนสุนทรียศาสตร[ เป-นเรื่องของความตTองการและ
รสนยิ มทค่ี นส(วนใหญ(ยอมรับกัน

สรุปว(า ปรัชญาลัทธิประสบการณ[นิยม เนTนใหTคนอาศัยประสบการณ[ในการแสวงหาความเป-นจริงและ
ความรูTต(าง ๆ ไดTมาจากประสบการณ[ การศึกษาในแนวลัทธิปรัชญานี้เนTนการลงมือกระทำเพื่อหาความจริงดTวย
คำตอบของตนเอง

อตั ถิภาวนยิ ม หรืออตั ภาวะนิยม (Existentialism)

ลัทธิอัตถิภาวะนิยม (Existentialism) เป-นลัทธิปรัชญาที่เกิดหลังสุด มีแนวความคิดที่น(าสนใจและทTา
ทายต(อการแสวงหาของนักปรัชญาในปYจจุบัน เล็งเห็นว(าแก(นแทTหรือสารัตถะของมนุษย[ คือ เสรีภาพ ซึ่ง
หมายความว(า มนุษย[เกิดมาโดยไม(มีอะไรเป-นสมบัติติดตัวมา แก(นแทT หรือสารัตถะของมนุษย[ คือ การไม(มีอะไร
เลยมาแต(เกิดที่จะเรียกไดTว(าความเป-นมนุษย[ ถTายอมเรียกความไม(มีหรือสุญตานี้ว(าสารัตถะไดT ก็ใหTเรียกต(อไป แต(
ถTาถือว(าเป-นคำพูดที่ไรTสาระ ก็ขอใหTพูดใหม(ว(ามนุษย[ไม(มีสารัตถะ แต(มีเพียงความมีอยู( หรืออัตถิภาวะ
(Existence) อย(างบริสุทธิ์ ซึ่งทำใหTมนุษย[แต(ละคนตTองสรTางตัวเองขึ้นมาจากการไม(มีอะไรเลยในขณะแรกเกิด
ตามลำดับโดยการตัดสินใจเลือก ผูTใหTกำเนิดแนวความคิดใหม( ไดTแก( ซอเร็น คีร[เคอร[การ[ด (Soren Kierkegard),
ฌ็อง ปอล ซาร[ต (Jean Paul Sartre) (วารญี า ภวภูตานนท[ ณ มหาสารคาม, 2547)

เป-นลัทธิปรัชญาที่เกิดหลังสุด มีแนวความคิดที่น(าสนใจและทTาทายต(อการแสวงหาของนักปรัชญาใน
ปYจจุบัน (กีรติ บุญเจือ 2522) Existentialism มีความหมายตามศัพท[ คือ Exist แปลว(าการมีอยู( เช(น ปYจจุบัน มี
มนุษย[อยู(ก็เรียกว(า การมีมนุษย[อยู(หรือ Exist ส(วนไดโนเสาร[ไม(มีแลTว ก็เรียกว(ามันไม( Exist คำว(า
Existentialism จึงหมายความว(า มีความเชื่อในสิ่งที่มีอยู(จริงๆ เท(านั้น (The world of existing)หลักสำคัญ
ปรัชญาลัทธินี้มีอยู(ว(า การมีอยู(ของมนุษย[มีมาก(อนลักษณะของมนุษย[(Existence precedes essence) ซึ่งความ
เชื่อดังกล(าวขัดกับหลักศาสนาคริสต[ ซึ่งมีแนวความคิดว(าพระเจTาทรงสรTางมนุษย[และสรรพสิ่งในโลก ก(อนที่จะลง
มือสรTางมนุษย[พระเจTามีความคิดอยู(แลTวว(ามนุษย[ควรจะเป-นอย(างไร ควรจะมีลักษณะอย(างไร ควรจะประพฤติ
ปฏิบัติอย(างไร ทั้งหมดเป-นเนื้อหาหรือสาระ ลักษณะของมนุษย[มีมาก(อนการเกิดของมนุษย[ มนุษย[จะตTองอยู(ใน

72

ภาวะจำยอมที่จะตTองปฏิบัติตามพระประสงค[ของพระเจTา หมดเสรีภาพที่จะเลือกกระทำตามความตTองการของ
ตนเองปรัชญาลัทธิอัตถิภาวะนิยมไม(ยอมรับแนวคิดดังกล(าว มีความเชื่อเบื้องตTนว(า มนุษย[เกิดมาพรTอมกับความ
ว(างเปล(า ไม(มีลักษณะใด ๆ ติดตัวมา ทุกคนมีหนTาที่เลือกลักษณะหรือสาระต(างๆใหTกับตัวเอง การมีอยู(ของมนุษย[
(เกิด) จึงมีมาก(อนลักษณะของมนุษย[หลักสำคัญของปรัชญานี้จะใหTความสำคัญแก(มนุษย[มากที่สุด มนุษย[มี
เสรภี าพในการกระทำส่ิงตา( งๆไดตT ามความพอใจและจะตTองรับผดิ ชอบในสิ่งท่ีเลอื ก
ถาT พิจารณาลัทธิอตั ถิภาวนยิ มในแงส( าขาของปรัชญาจะไดดT ังน้ี

4.1 อภิปรัชญา ความจริงเป-นอย(างไร ขึ้นอยู(กับแต(ละบุคคลจะพิจารณา และกำหนดว(าอะไร
คอื ความจริง

4.2 ญาณวิทยา การแสวงหาความรูTขนึ้ อย(กู ับแต(ละบุคคลทีจ่ ะเลอื กสรรเพอ่ื ใหสT ามารถดำรงชวี ิตอย(ไู ดT
4.3 คุณวิทยา ทุกคนมีเสรีภาพที่จะเลือกค(านิยมที่ตนเองพอใจดTวยความสมัครใจส(วนความงามนั้นบุคคล
จะเปน- ผูTเลือกและกำหนดเอง โดยไมจ( ำเปน- จะตอT งใหTผูอT ่นื เขTาใจ
สรุปว(า ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม เป-นปรัชญาที่ใหTความสำคัญแก(มนุษย[ว(ามีความสำคัญสูงสุด มีความ
เป-นตัวของตัวเอง สามารถเลือกกระทำสิ่งใดๆไดTตามความพอใจ แต(จะตTองรับผิดชอบในสิ่งที่กระทำ การศึกษาใน
แนวลัทธิปรัชญานี้จะใหTผูTเรียนมีอิสระในการแสวงหาความรูT เลือกสิ่งต(างๆไดTอย(างเสรี มีการกำหนดระเบียบ
กฎเกณฑข[ น้ึ มาเอง แตต( Tองรับผิดชอบต(อตนเองและสังคม

73

สรปุ
อภปิ รชั ญา

จากการศึกษาเรื่องของปรัชญา จะเห็นไดTว(าปรัชญามีบ(อเกิดมาจากความสงสัย หรือความประหลาดใจ
เริ่มตTนตั้งแต(สมัยกรีกโบราณ ซึ่งมีความสงสัยเกี่ยวกับปฐมธาตุของโลก ต(างคนต(างพยายามหาคำตอบเกี่ยวกับ
คำถามท่ีว(า อะไรเปน- ปฐมธาตขุ องโลก หรืออะไรเป-นบ(อเกดิ ของโลก บางคนบอกวา( นำ้ เป-นปฐมธาตุของโลก บาง
คนบอกวา( ดิน เปน- ปฐมธาตขุ องโลก เหล(าน้ีเปน- ตนT การยึดถอื แนวความคดิ อยา( งนี้ลวT นแลวT แตเ( กิดขึ้นมาจากความ
สงสยั เพือ่ ตTองการคTนหา หรือสบื คนT ความแทจT ริงของโลก

นักปรัชญาอินเดียโบราณ ก็มีความสงสัยเกี่ยวกับปรากฏการณ[ทางธรรมชาติ เช(น ดวงอาทิตย[ ดวงจันทร[
ฝนตก เป-นตTน ท(านเหล(านั้นคิดว(าเหตุที่เป-นเช(นนั้น อาจจะเป-นเพราะมีเทพเจTาสิงอยู( อาจจะเป-นเพราะมีพระผูT
เป-นเจTาผูTสรTาง มีลักษณะการสรTาง การควบคุมดูแล และการทำลาย ใช(หรือไม( จึงพยายามคTนหาความเป-นจริง
ของโลก
ต(อมานักปรัชญาตะวันตกสมัยใหม( ก็มีความสงสัยเกี่ยวกับสิ่งใกลTตัวนั่นคือสงสัยเกี่ยวกับตัวตน เกี่ยวกับวิญญาณ
เกี่ยวกับพระเจTา แลTวพยายามสืบคTน หาหลักฐานอTางอิงเพื่อหาความจริงของสิ่งเหล(านี้ เมื่อเป-นเช(นนี้ ความสงสัย
จึงเป-นบ(อเกิดแห(งปรัชญา เพราะเป-นบ(อเกิดแห(งความคิด และการคิดก็ก(อใหTเกดิ การคิดหาเหตุผล การวิเคราะห[
วจิ ารณต[ (อมา

เราจะสังเกตเห็นว(า แนวคิดเรื่องแรกที่นักปรัชญาคTนคิดก็คือเรื่องเกี่ยวกับโลก หรือปรากฏการณ[ทาง
ธรรมชาติ เช(น อะไรเป-นปฐมธาตุของโลก ฝนตก ฟžารTอง เหล(านี้เกิดมาจากอะไร เป-นสิ่งที่มีอยู(อย(างแทTจริงหรือไม(
ลักษณะการคิดเช(นนี้ เป-นการคิดเกี่ยวกับสาขาของปรัชญาสาขาหนึ่ง ซึ่งเรียกว(า “อภิปรัชญา” (Metaphysics )
นนั่ เอง

74

อาN งอิง

ปย- ะฤทธ์ิ พลายมณ.ี (2556). พระพทุ ธศาสนากับปญ: หาทางอภิปรชั ญา.
ผศ.วธิ าน สชุ วี คปุ ต.[ (2561). อภปิ รัชญา,11,สำนกั พิมพ:[ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
พระมหาปพน กตสาโร. (2561). การวิเคราะห?อภิปรัชญาทป่ี รากฏในสารตั ถะแหXงคัมภีรม? ลิ นิ ทปญ: หา
(หนาT 44-45), มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณร[ าชวิทยาลัย. สบื คTน 3 มนี าคม 2564 จาก
http://202.28.52.4/userfiles/file
ภวศิ า พงษ[เล็ก. (2560). หลกั การและปรัชญาการศกึ ษา. อุดรธาน.ี
วารญี า ภวภูตานนท[ ณ มหาสารคาม. 2547. ปรัชญาอตั ถิภาวะนิยม.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2546).คXมู ืออภปิ รัชญา.กรงุ เทพมหานคร: ราชบณั ฑติ ยสถาน.
สบื คTน 20 กมุ ภาพนั ธ[ 2564 จาก https://www.car.chula.ac.th
อดศิ กั ดิ์ ทองบญุ , (2526). คXมู ืออภปิ รชั ญา. กรุงเทพมหานคร :สำนักพมิ พ[ประยูรวงศ[ จำกัด.
สบื คนT 22 กมุ ภาพนั ธ[ 2564 จาก http://www.homebankstore.com
อดุ มศักด์ิ มสี ขุ . (2552). ปรชั ญาและปรชั ญาการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร.

75

บทที่ 4

ญาณวิทยาและคุณวทิ ยา

ความหมายและความสำคัญของญาณวทิ ยา

ญาณวิทยา (Epistemology) เป-นการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของความรูTหรือการรับรูTสิ่งต(าง ๆ
ของบุคคล พัฒนาความรูTเกี่ยวกับความจริงดTวยการคิด จากการสังเกตและจากตรรกวิทยา ดTวยการหาเหตุผลแบบ
นิรนัย (deductive) (อันเป-นการหาความจริงโดยอTางว(าสิ่งหนึ่งเป-นความจริง เพราะสอดคลTอง
กับสิ่งที่เราทราบว(าเป-นจริงและถือเป-นหลักอยู(แลTว) และแบบอุปนัย (inductive) (อันเป-นการหาความจริง
โดยนำเอาความจริงหรือประสบการณ[ย(อยหลาย ๆ ประสบการณ[ มาสรุปเป-นความจริงหลัก) นอกจากนี้ คนเรา
ยังพัฒนาความรูTโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร[ การหยั่งรูT (intuition) และการสัมผัส (senses)
(padveewp. 2563)

ญาณวิทยา เป-นการอธิบายถึงสิ่งที่เกี่ยวขTองกับความรูT การรับรูTซึ่งจะส(งผลต(อวิธีการสอน
และการเรียนรูT หากครูเชื่อว(าสรรพสิ่งดำรงอยู(โดยมีโครงสรTางเป-นลำดับชัดเจนก็จะมีการสอนที่เป-นระบบ
มีลำดับขั้น เพื่อที่จะเป-นตTนแบบใหTสำหรับนักเรียน ครูเหล(านี้จะใชTเนื้อหาวิชาที่ถ(ายทอดแนวคิดเกี่ยวกับ
ความเป-นจริงสู(นักเรียน ในทางตรงกันขTาม ถTาครูเชื่อว(ากระบวนการที่เราเรียนรูT มีความสำคัญอย(างย่ิง
ครกู จ็ ะสนบั สนุนใหTกำลังใจนักเรยี นในการหาวธิ ีเพือ่ แกTปYญหา(padveewp. 2563)

ญาณวิทยา (epistemology) เป-นสาขาใหญ(อีกสาขาหนึ่งของปรัชญา ซึ่งเกี่ยวกับการสืบถาม
ถึงกำเนิดของความรูT โครงสรTางของความรูT วิธีการของความรูTและความเที่ยงตรงถูกตTองของความรูT
ดังนั้น ญาณวิทยาจึงเป-นเรื่องทฤษฎีของความรูT (theory of knowledge) ซึ่งมุ(งในเรื่องปYญหาของความรูTว(า
“มนุษย[รูTไดTอย(างไรว(าอะไรเป-นความแทTจริง” “มนุษย[มีความรูTไดTอย(างไร” “เราแน(ใจไดTอย(างไรว(าความรูT
ต(าง ๆ เป-นจรงิ ไมผ( ดิ พลาด” เหลา( นี้เป-นตนT (padveewp. 2563)

ญาณวิทยาไม(เหมือนวิทยาศาสตร[หรือศาสตร[แขนงอื่น เพราะญาณวิทยาจะสนใจในเรื่อง
มโนทัศน[ (concept) มากกว(าจะสนใจเรื่องขTอเท็จจริง (fact) เช(น งานของนักจิตวิทยาก็เพื่อจะคTนหา
ว( าบุ คคลมี ความคิ ดและรู T สึ กอย( างไร ส( วนงานของนักญาณวิทยานั้นจะมุ(งพิจารณาว(า
มโนทัศน[ของฝÄายจิตวิทยาแต(ละอย(างนั้นหมายถึงอะไร เช(น มโนทัศน[จากคำว(าความรูTสึก (feeling)
การกำหนดรูTหรือสัญฐาน (perception) การเรียนรูT (learning) และการเสริมแรง (reinforcement)
เป-นตTน นอกจากนี้ยังตัดสินหรือชี้ว(านักจิตวิทยาไดTใชTมโนทัศน[เหล(านั้นถูกตTองหรือไม( ถTาไม(ถูกตTอง
ก็หมายถึงว(านักจิตวิทยาไดTบรรยายขTอเท็จจริงผิดพลาดไปความคิดเห็นของครูที่จะไดTประโยชน[ที่สำคัญจากญาณ
วทิ ยาก็คอื จะทำใหTครมู องเหน็ ความแตกต(างของความรูปT ระเภทต(าง ๆ ไดT (padveewp. 2563)

76

วธิ ีการรับรู#
เนื่องจากการศึกษาเป-นเรื่องของการถ(ายทอดความรูT ปรัชญาแขนงนี้จึงมีส(วนสัมพันธ[กับการศึกษา

อยู(มาก โดยเฉพาะอย(างยิ่งในส(วนที่เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอน ญาณวิทยาไดTใหTพื้นฐานความเขTาใจเกี่ยวกับ
ความรูTใน 2 ลักษณะ คือ แบบต(าง ๆ ของการรูT (เรารูTไดTอย(างไร) และประเภทต(าง ๆ ของความรูTวิธีการ
ท่จี ะชว( ยใหTเรารTูส่ิงต(าง ๆ น้นั มอี ย(หู ลายวธิ ี แตว( ิธีทจี่ ะใหTความรTูที่แทTจริงมากทสี่ ดุ น้นั มีอยู( 5 วธิ คี อื

1. การรูTโดยขTอมูลทางผัสสะ (Sense Data) ผัสสะ หมายถึง การรูTหรือการรับรTู
จากการใชTประสาทสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ทางใดทางหนึ่งหรือหลาย ๆ ทางพรTอมกัน ขTอมูลทางผัสสะ
เป-นวิธีการหนึ่งของการรบั รูเT พือ่ นำไปส(ูความรTทู เ่ี ชอ่ื ถือไดT

2. การรูTโดยสามัญสำนึก (Common Sense) สามัญสำนึก หมายถึงความรูTสึก
หรือการรับรูTของคนแต(ละคนที่มีร(วมกับคนอื่น โดยที่ไม(จำเป-นตTองมาคิดคTนไตร(ตรองเสียก(อน มนุษย[เมื่อเผชิญกับ
เหตุการณ[หรือสถานการณ[บางอย(างสามารถตัดสินไดTว(าอะไรผิด อะไรถูก อะไรควร อะไรไม(ควรไดTทันที
โดยอาศัยสามัญสำนกึ

3. การรูTโดยตรรกวิธี (Logic) ตรรกวิธีหรือตรรกวิทยา เป-นวิธีการสำคัญที่นักปรัชญา
ใชTในการตัดสินความถูกตTองของความรูTความจริง เป-นวิธีการที่อาศัยหลักของเหตุผล ความน(าเชื่อถือ
อย(ทู ี่เหตผุ ล

4. การรูTโดยการหยั่งรูT หรือญาณทัศน[ (Intuition) การรูTโดยการหยั่งรูTหรือญาณทัศน[เป-นการรูT
โดยอาศัยความคิดหรือจินตนาการที่อาศัยสติปYญญาเป-นหลัก การหยั่งรูTของมนุษย[นั้นมีหลายระดับ
ขึ้นอยู(กับระดับความคิดและสติปYญญาของแต(ละคน ในระดับสูงสุดของการหยั่งรูTโดยใชTสมาธิและปYญญาก็คือ การ
ตรสั รูTอย(างทีเ่ กิดขึน้ กับพระพทุ ธเจาT มาแลวT

5. การรูTโดยวิธีวิทยาศาสตร[ (Scientific Method) การรูTโดยวิธีวิทยาศาสตร[ เป-นการรูTโดย
อาศัยการสังเกตและการทดลองเพื่อพิสูจน[ว(าความรูTที่ไดTจากการสังเกตหรือการสัมผัสเป-นความรูTที่ถูกตTอง เมื่อมี
การทดลองซ้ำ ๆ จนไดTคำตอบไม(เปลี่ยนแปลงไดT ก็ถือไดTว(าเป-นความรูTที่แทTจริงตราบเท(าที่ผลการพิสูจน[ยังไม(เป-น
อย(างอื่น ปรัชญาโดยปกติจะไม(ใชTวิธีวิทยาศาสตร[เพื่อผลิตความรTู แต(อาจจะใชTวิธีวิทยาศาสตร[เพื่อทดสอบความ
ถูกตTองของความคิดหรือประสบการณ[ อีกลักษณะหนึ่งของญาณวิทยาคือ การจำแนกประเภทของความรูTโดย
อาศยั แหลง( ท่มี าและวิธีการไดมT าซ่งึ ความรูT ออกเปน- 5 ประเภทคอื

1. ความรูTประเภทคัมภีร[ (Revealed Knowledge) ซึ่งเป-นความรูTที่พระผูTเป-นเจTาประทาน
ใหTแก(ศาสดา เพื่อนำไปเผยแพร(แก(มวลมนุษย[ ส(วนมากจะเป-นความรูTที่ประมวลไวTในพระคัมภีร[ทางศาสนา
หลักสูตรและการสอนในโรงเรียนและสถานศึกษามักจะมีการนำเอาความรูTประเภทนี้บรรจุไวTใน
หลกั สตู ร โดยเฉพาะอย(างย่งิ ในสว( นที่เก่ยี วกับการใชTความรเTู พ่อื การพัฒนาจติ ใจ

2. ความรูTประเภทตำรา (Authoritative Knowledge) เป-นความรูTที่ไดTจากการบอกเล(า
บันทึก หรือการถ(ายทอดจากผูTคงแก(เรียน หรือผูTรูTในเรื่องต(าง ๆ ถือตัวผูTที่เป-นปราชญ[หรือผูTเชี่ยวชาญนั้น ๆ เป-น
แหล(งของความรูT ผลงานของผูTรูTที่เขียนเป-นคำมาไวTจึงเป-นประเภทหนึ่งของความรูTที่ใชTอTางอิงกันโดยทั่วไป

77

แหล(งความรูTประเภทนี้อาจจะสมบูรณ[ถูกตTองหรือไม(ถูกตTองทั้งหมดก็ไดT ขึ้นอยู(กับความเชื่อถือและการพิสูจน[โดย
วธิ กี ารอืน่ ๆ

3. ความรูTประเภทญาณทัศน[ (Intuitive Knowledge) เป-นความรูTที่เกิดจากการหยั่งรูTโดย
ญาณ การหยั่งรูTอาจจะเกิดจากการครุ(นคิดไตร(ตรองเพื่อหาคำตอบเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อใหTพTนสงสัยแต(คิดไม(ออก
หรือหาคำตอบไม(ไดT แต(จู( ๆ ก็เกิดความรูTในเรื่องนั้นผุดขึ้นมาในความคิดและไดTคำตอบโดยไม(คาดฝYน ในบางกรณี
เมื่อมีแรงดลใจหรือจินตนาการบางอย(างก็เกิดการหยั่งรูTขึ้น ความรูTที่ไดTจากญาณทัศน[นี้เป-นจุดกำเนิดของความรTู
เชงิ ปรชั ญา ทฤษฎที างวิทยาศาสตร[ หรืองานสราT งสรรค[ทางดTานศลิ ปกรรมและวรรณกรรม

4. ความรูTประเภทเหตุผล (Rational Knowledge) เป-นความรูTที่ไดTมาจากการใชT หลักของ
เหตุผล ซึ่งเป-นวิธีการทางตรรกวิทยา ส(วนใหญ(จะเป-นความรูTที่เกิดจากการอTางอิงความจริงหรือความรูTที่มีอยู(แลTว
เพื่อนำไปสู(ความรTใู หม(

5. ความรูTเชิงประจักษ[ (Empirical Knowledge) เป-นความรูTที่ไดTจากวิธีการทางวิทยาศาสตร[
และผัสสะประกอบกัน การสังเกต การทดลอง การพิสูจน[ความจริงดTวยวิธีการที่เหมาะสมโดยมีการเก็บรวบรวม
วิเคราะห[ และแปลความหมายของขTอมูลดTวยวิธีการเชิงวิทยาศาสตร[ เป-นแหล(งที่มาของความรูTประเภทนี้ ซึ่งเป-น
รากฐานของการวจิ ยั คนT ควTาในยคุ ปจY จุบนั (padveewp. 2563)

ความสัมพนั ธขE องญาณวทิ ยากบั ศาสตรEต*างๆ

ภวิศา พงษเ[ ล็ก (2560).ไดอT ธบิ ายความสมั พันธ[ของญาณวิทยากบั ศาสตรต[ (างๆ ไวTดงั น้ี

ญาณวทิ ยากับวิทยาศาสตรEและสามญั สำนึก

โดยทั่วไปความรูTมีอยู( 3 แบบ คือ ความรูTสามัญหรือสามัญสำนึก ความรูTทางวิทยาศาสตร[ และความรูTทาง
ญาณวิทยา ความรูTสามัญอาจเป-นความรูTเรื่องเดียวกับความรูTทางวิทยาศาสตร[และความรูTทางญาณวิทยา แต(
ความรูTสามัญไม(ไดTอาศัยหลักฐานทางวิทยาศาสตร[และการคิดหาเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา จึงเป-นทัศนะ
ที่ยังไม(ชัดเจน ยังไม(มีเหตุผลเพียงพอ สามารถอธิบายความแต(ต(างระหว(างความรูTสามัญกับความรTู
ทางวทิ ยาศาสตร[ดงั ตอ( ไปน้ี

1. ความรูTสามัญเป-นความรูTที่ว(าดTวยขTอเท็จจริงเป-นอย(างๆ ขTอเท็จจริงเหล(าน้ัน
ไม(มีความสัมพันธ[กัน จึงไม(มีลักษณะเป-นสากล ส(วนความรูTทางวิทยาศาสตร[ว(าดTวยลักษณะทั่วๆไป
ของขTอเทจ็ จริง และขอT เทจ็ จริงเหล(านนั้ มีความสัมพันธก[ ันจึงมลี ักษณะเปน- สากล

2. ความรูTสามัญเป-นความรูTที่ไม(แน(นอน ยังมีขTอที่น(าสงสัย เพราะเป-นความคิดเห็นส(วนบุคคล
ส(วนวทิ ยาศาสตร[เปน- ความรทTู แ่ี นน( อน เพราะอาศัยหลักฐานท่มี เี หตผุ ลและไดรT บั การพิสจู นแ[ ละทดลองแลTว

3. ความรูTสามัญเป-นความรูTที่ไม(แม(นตรง เพราะขึ้นอยู(กับการคาดคะเน ส(วนวิทยาศาสตร[
เปน- ความรูทT แ่ี มน( ตรง เพราะอาศัยการสังเกตที่ถูกตTองอาศยั การพิสจู น[ทดลองและอาศยั การวัดปริมาณ

78

4. ความรูTสามัญเป-นความรูTที่ไม(เป-นระบบ ไม(มีวิธีการของตนเอง ส(วนวิทยาศาสตร[เป-นความรูTท่ี
เปน- ระบบและมีวิธกี ารของตนเอง

ความรูTสามัญกับความรูTทางวิทยาศาสตร[จึงไม(แตกต(างกันในเรื่องระดับ กล(าวคือ วิทยาศาสตร[
นำความรูTสามัญมาจัดระบบใหม(ใหTมีเหตุผล ส(วนญาณวิทยานำเอาทั้งความรูTสามัญและความรูTทางวิทยาศาสตร[ไป
จัดระบบใหม(ดTวยการคิดหาเหตุผลอีกต(อหนึ่ง ความรูTสามัญความรูTทางวิทยาศาสตร[ และความรูTทางญาณวิทยาจึง
เปน- ความรTู 3 ระดบั คือ

ระดับต่ำ ไดแT ก( ความรTสู ามัญ
ระดบั กลาง ไดTแก( ความรTทู างวทิ ยาศาสตร[
ระดับสูง ไดTแก( ความรูทT างญาณวิทยา
ความรูTทางวิทยาศาสตร[กับความรูTทางญาณวิทยาเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันแลTวมีทั้งดTานที่เหมือนกันและแตกต(าง
กนั และเกี่ยวขอT งกัน
1. ในดTานที่เหมือนกัน ทั้งวทิ ยาศาสตร[และญาณวิทยาศึกษาคนT ควTาในเรื่องเดียวกนั เชน( เรอ่ื งสสาร เปน-
ความรูทT ม่ี รี ะบบและมีเหตุผลลดหลน่ั กนั
2. ในดTานทีต่ า( งกันมดี ังนี้
2.1 วิทยาศาสตรศ[ กึ ษาเรอ่ื งโลกเป-นส(วนๆและวิทยาศาสตรแ[ บง( ออกเป-นสาขาตา( งๆ แตล( ะสาขา
ศกึ ษาคนT ควาT อยใ(ู นขอบเขตของตน ส(วนญาณวิทยาศกึ ษาเร่ืองโลกทัง้ หมดโดยสว( นรวม
2.2 วทิ ยาศาสตร[ตั้งสมมติฐานและพลงั งาน แลTวยึดถอื สมมติฐานน้นั วา( เปน- ความจรงิ โดยไมต( Tอง
พสิ จู น[ ญาณวทิ ยาไม(มีสมมติฐานแตพ( ิสูจน[ความสมเหตุสมผลของสมมติฐานของวทิ ยาศาสตร[
2.3 วทิ ยาศาสตร[มองโลกในดาT นปริมาณมากกว(าดTานคุณภาพ ญาณวิทยามองโลกในดาT น
คณุ ภาพเท(านั้น
2.4 วทิ ยาศาสตรศ[ ึกษาขอT เทจ็ จริงเป-นอยา( งๆ ญาณวิทยาประเมินค(าขTอเท็จจริง สืบคTนถงึ คณุ ค(า
และความสัมพนั ธ[ระหวา( งคณุ ค(ากบั ขTอเทจ็ จริง
2.5 วธิ ีของวิทยาศาสตร[ ไดแT ก(การสังเกต การทดลอง การจดั ประเภท การอธิบาย
การวิเคราะห[ การสงั เคราะห[ การอนุมาน และการอปุ มาน สวนวธิ ขี องญาณวทิ ยา คือ การคิดหาเหตผุ ลจาก
ประสบการณท[ ั่วไปและประสบการณ[ทางวทิ ยาศาสตร[ ดTานทเ่ี กยี่ วขTองกนั ญาณวิทยานำความรTูทางวทิ ยาศาสตร[
มาคดิ หาเหตผุ ล และจดั ระบบใหม(และวิทยาศาสตร[อาศัยญาณวิทยาไปพิสจู น[สมมตขิ องวทิ ยาศาสตร[ ตลอดจน
อาศยั ญาณวิทยาเป-นหลักการและจุดหมายในการดำเนนิ การ
ญาณวิทยากบั จิตวทิ ยา
จิตวิทยาเป-นศาสตร[ที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตและขบวนการของจิตโดยเฉพาะ เพื่อแสดงใหTเห็นว(าความรูTที่
เจริญงอกงามในจิตของแต(ละคนนั้นเป-นมาอย(างไร เพื่อจะวิเคราะห[ใหTเห็นว(าสภาพและขบวนการที่จิตของคนเรา
ไดTพัฒนาขึ้นจากภาวะเบื้องตTนที่เรียกว(าง(ายที่สุดต(อการเขTาใจ จนถึงภาวะที่สลับซับซTอน เพื่ออธิบายใหTเห็น
ขบวนการตลอดจนสภาพอนั แทTจริงของจติ

79

จิตวิทยาไม(พยายามจะศึกษาคTนควTาไปถึงความรูTที่ถูกตTอง คือศึกษาเพียงวิวัฒนาการของความรูT
และไม(ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและความถูกตTองของความรูT เมื่อจิตไดTแสดงใหTเห็นถึงวิวัฒนาการทางดTานจิตใจ
ของมนษุ ย[ ก็ทำใหTเกิดปYญหาข้ึนมาวา( ความรูTเปน- ไปไดTอยา( งไร แลTวมนษุ ย[จะรสTู ง่ิ ตา( งๆไดTอย(างไร

จิตวิทยาศึกษาคTนควTาขTอเท็จจริงต(างๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย[และสัตว[ ส(วนญาณวิทยา
ศึกษาขTอเท็จจริงต(างๆของโลกมนุษย[ที่เป-นไปไดT จิตวิทยาไดTสมมติสิ่งที่มีอยู(ว(าเป-นจิตและเป-นโลก
และการที่จะมีความรูTเกี่ยวกับโลกก็โดยอาศัยจิตเป-นผูTรูT แต(ว(าญาณวิทยาพยายามที่จะศึกษาคTนควTา
ถึงธรรมชาติ บอ( เกดิ ขอบเขต เหตุปYจจัยท่ีทำใหเT กิดความรTขู น้ึ

ญาณวิทยาเป-นศาสตร[ที่ว(าดTวยความรูTเป-นการศึกษาคTนควTาถึงธรรมชาติ บ(อเกิดขอบเขต เหตุปYจจัย
ท่ีทำใหTเกิดความรูT และพยายามทีจ่ ะอธิบายหรอื ตอบปYญหาต(อไปน้ี

- ความรูเT ป-นส่งิ ท่ีมีอยูจ( ริงหรอื ไม(
- ความรเูT กิดขนึ้ ไดอT ย(างไร
- อะไรเปน- ธรรมชาตทิ ี่แทTจริงของความรTู
- ความรูTมีขอบเขตแคไ( หน เพียงไหน
- ประสบการณ[หรอื การคิดหาเหตุผลเปน- บ(อเกดิ ของความรTู
- ความรูTช(วยใหTเขาT ถึงความแทจT รงิ ไดหT รือไม(
- อะไรเปน- เครือ่ งทดสอบว(าความรูเT ปน- จริงหรือคลาดเคล่ือน
- ความรทูT ่สี มเหตุสมผลมเี ง่ือนไขอย(างไร
- มนษุ ยส[ ามารถรูTโลก วิญญาณ และพระผูTเป-นเจTาไดหT รือไม(
- จติ ทีก่ ำจดั สามารถรูสT ง่ิ ทีไ่ มจ( ำกดั ไดหT รอื ไม(
ญาณวทิ ยากบั อภปิ รชั ญา
ญาณวิทยา ศึกษาเรื่องกำเนิดของความรูT ธรรมชาติของความรูT ความสมเหตุสมผลของความรูT ขอบเขต
และขTอจำกัดของความรูT ซึ่งเป-นการศึกษาสภาพทั่วๆไปของความรูTอย(างกวTางๆ ส(วนอภิปรัชญาศึกษา
เรื่องธรรมชาติที่แทTจริงเกี่ยวกับโลก วิญญาณ หรือพระผูTเป-นเจTา การที่เราเขTาใจเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติ
ที่แทTจริงของโลกวิญญาณ หรือจิตพระผูTเป-นเจTานั้น ตTองอาศัยญาณวิทยาเป-นเครื่องพิสูจน[ความจริงเกี่ยวกับ
สิ่งเหล(านี้ ดังนั้น อภิปรัชญาจะตTองใชTญาณวิทยาเป-นเครื่องมือในการคTนควTาธรรมชาติที่แทTจริงของสิ่งที่มีอยู( ถTา
ถือว(าจะไดTประโยชน[จากการศึกษาคTนควTาธรรมชาติของสิ่งที่มีอยู(จริง ญาณวิทยาย(อมเป-นพื้นฐาน
หรือมลู ฐานท่ที ำใหTเกิดปรชั ญาน้นั
นักปราชญ[ตั้งสมมติฐานขึ้นว(าสัจธรรมมีอยู(จริง แลTวก็พยายามที่จะประมวลทุกสิ่งทุกอย(างในสากล
จักรวาลว(าเป-นสัจธรรม โดยปราศจากการคTนควTาเขTาไปถึงปYญหาที่ว(าสามารถที่จะรูTมันไดTหรือไม(
แต(ก็เป-นการเชื่อถือกันมาชนิดฝYงหัว ถึงแมTว(าญาณวิทยาเป-นสิ่งที่จำเป-น เรียกว(าเป-นขั้นบันไดขั้นแรก
นำไปสู(วิทยาศาสตร[ ดัง จอห[น ลอค นักปรัชญาประจักษนิยมชาวอังกฤษ ไดTกล(าวไวTว(า “ถTาไม(มีญาณวิทยา
เป-นองค[ประกอบแลTว ปรัชญาก็ไม(สมบูรณ[” ความจริงญาณวิทยากับอภิปรัชญามีความสัมพันธ[กันอย(างใกลTชิด ซ่ึง
สิ่งหนึ่งจะปราศจากอีกสิ่งหนึ่งย(อมเป-นไปไม(ไดT ทฤษฎีว(าดTวยความรูTนำไปสู(ความรูTสิ่งต(างๆ

80

ทฤษฎีแต(ละทฤษฎีก็ช(วยใหTเขTาใจเฉพาะสิ่ง ความรูTช(วยใหTเขTาใจสัจธรรม สัจธรรมเป-นสิ่งที่เราไม(สามารถ
จะเขTาใจไดTนอกจากว(าจะมีวิธีการ(ญาณวิทยา) ทำใหTมีความสัมพันธ[กับความรูT ปYญหาเกี่ยวกับความถูกตTอง
และธรรมชาติของความรูT และปYญหาที่เกี่ยวกับธรรมชาติที่แทTจริง ความจริงก็เป-นวิธีการที่อธิบายสิ่งเดียวกัน
ถงึ แมTจะแยกออกเปน- ญาณวทิ ยากับอภิปรัชญากช็ ว( ยใหมT นษุ ย[เขาT ใจสง่ิ ท้ังหลายตามความเป-นจรงิ อย(างมีวิธกี าร

อภิปรัชญาและญาณวิทยาต(างตTองอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อคTนควTาหาความจริงของสิ่งทั้งหลาย
อย(างถูกตอT ง(วรเทพ วอ( งสรรพการ. 2546)

ญาณวิทยากบั ตรรกวิทยา
ญาณวิทยา เป-นการศึกษาถึงกำเนิดธรรมชาติ ขอบเขตและความสมบูรณ[ของความรูT ศึกษาถึงปYจจัย

ท่จี ะใหTเกิดความรอTู ยา( งสมบูรณ[
ตรรกวิทยา หมายถึงศาสตร[แห(งการใชTความคิด (Science of Thinking) การใชTความคิด

ก็เพื่อหาความจริงหรือความรูTมาปžอนจิตและมันสมอง ตรรกวิทยาศึกษาคTนควTาถึงธรรมชาติและความสมบูรณ[แห(ง
การอนมุ าน(Inference) แบบตา( งๆ ทง้ั นริ ภัย (Deduction) และอปุ มัย(Induction)

ตรรกวิทยาหลีกเลี่ยงที่จะแตะตTองอภิปรัชญา แต(ญาณวิทยาจำตTองสืบคTนถึงธรรมชาติของสัจจธรรมซึ่ง
เกี่ยวขTองกับสัจธรรมโดยตรง ดังนั้น ญาณวิทยาจึงมีความสัมพันธ[กับอภิปรัชญาอย(างใกลTชิดมากกว(า
ญาณวิทยาสืบคTนถึงเหตุปYจจัยทั่วๆไปที่ทำใหTเกิดความรูTเท(านั้น มิไดTสืบคTนถึงขบวนการพิสูจน[เพื่อทำใหTหลักฐาน
การพิสูจนส[ มบูรณ[ยงิ่ ขนึ้ (วรเทพ วอ( งสรรพการ. 2546)

ปรัชญาลัทธิกับญาณวทิ ยา

ปรัชญาจิตนิยม (Idealism) ปรัชญาจิตนิยมเป-นปรัชญาสาขาเก(าแก(ที่สุด ตTนกำเนิดปรัชญาอาจยTอนไป
ถึงปรัชญาอินเดียโบราณและกรีกโบราณ ซึ่งมีพลาโต (Plato) ปรัชญาเมธีชาวกรีก เป-นผูTใหTกำเนิด
กลุ(มปรัชญานี้ มีความเชื่อว(า 1) จิตมนุษย[เป-นสิ่งที่มีความสำคัญที่สุดในชีวิต 2) จักรวาลโดยธรรมชาติสูงสุดเป-นส่ิง
ที่ไม(ใชTวัตถุโดยเนื้อแทT ปรัชญากลุ(มนี้จึงมีความสำคัญของจิต สาระสำคัญของปรัชญาจิตนิยม
Callahan and Clark มดี งั น้ี

ญาณวิทยาของจิตนิยม ญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรูTของปรัชญามโนคตินิยมนี้เชื่อว(า
ความรูTเป-นอิสระจากประสบการณ[ และเกิดขึ้นภายในจิตใจ ดังนั้น ความรูTที่เกิดขึ้นอย(างนี้จึงเป-นการหยั่งรูT
(intuition) มนุษย[จะเขTาใจความจริงโดยไม(ตTองใชTการสัมผัสต(าง ๆ และจะรับรูTความจริงโดยการใชTเหตุผล
หรอื การใชTตรรกะจากความคิดขอแตล( ะคน (บTานจอมยุทธ. 2563)

ปรัชญาวัตถุนิยม,สัจจะนิยม,ประจักษ?นิยม (Realism) เป-นปรัชญาที่มีตTนคิดมาจากปรัชญากรีก
ผูTเป-นบิดาของปรัชญาสาขานี้คือ Aristotle ซึ่งมีชีวิตอยู(ระหว(าง 384-322 ป‹ก(อนคริสตกาล สาระสำคัญ
ของกลุม( ปรัชญาน้ี มดี งั น้ี Callahan and ; Ornstein Levine and Gutek,

81

ญาณวิ ทยาของประจั กษ[ นิ ยม ญาณวิ ทยาหรื อทฤษฎี ความรู T ของปรั ชญานี ้ เชื ่ อว( า
มนุษย[เมื่อแรกเกิดจิตจะว(างเปล(า หลังจากนั้นก็จะเกิดการรับรูTต(าง ๆ (sensations) นั่นก็คือ มนุษย[จะเกิดการ
เรียนรูTความรูTจึงมาจากการสัมผัสหรือมีประสบการณ[ (sense experience) ต(อเหตุการณ[หรือสิ่งต(าง ๆ
การเรียนรูTในวิธีนี้คือลักษณะการเรียนรูTเชิงประจักษ[ ใชTกระบวนการทางวิทยาศาสตร[ เพื่อคTนพบธรรมชาติ
อันแทTจริงของโลกภายนอก อย(างไรก็ตาม มนุษย[สามารถใชTประโยชน[จากความรูTโดยใชTเหตุผล
เพื่อคTนหาวัตถุประสงค[และความสัมพันธ[ที่บุคคลไม(สามารถรับรูTไดT ซึ่งเป-นวิธีการที่ไม(ปฏิเสธแนวคิดเชิงเหตุผล
ทง้ั หมด เพราะเมอ่ื ไดคT วามรจTู ากประสบการณ[ก็สามารถนำเหตผุ ลมาพจิ ารณาประกอบ(บาT นจอมยทุ ธ. 2563)

ปรัชญาประสบการณ?นิยม ปรัชญาสาขานี้ไดTตTนเคTาความคิดจากปรัชญาประจักษ[นิยมที่เกิดข้ึน
ในอังกฤษ ในคริสต[ศตวรรษที่ 17 ต(อมาในกลุ(มนักปรัชญาและจิตวิทยาชาวอเมริกัน คือ วิลเลียม เจมส[ (William
James) แ ล ะ จ อ ห [ น ด ิ ว อ ี ้ ( John Dewey) น ำ ห ล ั ก ก า ร ข อ ง ป ร ั ช ญ า ป ร ะ จ ั ก ษ [ น ิ ย ม ไ ป พ ั ฒ น า
ขึ้นเป-นปรัชญาการศึกษา โดยเฉพาะปรัชญานี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ไดTแก( “Experimentalism หรือ Positizism
หรือ Intrumentalism” สาระสำคัญของปรชั ญานีม้ ดี ังนี้

ญาณวิทยาของประสบการณ[นิยม ปรัชญานี้ถือว(าความรูTจะเกิด ขึ้นอยู(กับประสบการณ[
ที่ไดTรับ ซึ่งปรากฏการณ[ต(าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงอยู(ตลอดเวลา จึงควรใหTความสนใจกับวิธีที่จะสรTางความรูT
ในโลกทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยตู( ลอดเวลา(พระปรียะพงษค[ ุณปญY ญา. 2557)

ปรัชญาอัตภาวนิยม ปรัชญาสาขานี้มี (Soren Kirtkegaard) เป-นตTนคิด โดยพยายามอธิบายว(า
ความจริงไม(สามารถแยกจาก อยู(เหนือความเขTาใจของมนุษย[ แต(ขึ้นอยู(กับความชอบและประสบการณ[ชีวิต
ของมนษุ ย[ สาระสำคญั ของปรัชญากลุ(มน้ี มีดังนี้

ญาณวิทยาของอัตภาวนิยม บุคคลจะเรียนรูTโดยผ(านประสบการณ[ แต(ประสบการณ[
ก็มีหลายระดับ ระดับที่มีความหมาย คือระดับของการตระหนักรูT และเขTาใจ (awareness) ถึงความคงอยู( ความ
จริง ความสัมพันธ[กับการตัดสินใจของแต(ละคน ความจริงแทTไม(มี แต(ละคนจะเป-นผูTตัดสินใจเองว(า
อะไรเป-นจริงและมีความสำคญั สำหรบั เขา(บาT นจอมยุทธ. 2563)

ปรัชญาสมัยใหมX (Postmodernism) ผูTใหTกำเนิดคือ นักปรัชญาชาวเยอรมัน Friedrich Nietzsche
และ Martin Heidegger เขาใหTความเห็นว(ายุคสมัยใหม(ไดTสิ้นสุดลงแลTว ช(วยนี้คือยุคหลังสมัยใหม(
เขาปฏิเสธแนวคิดแบบอภิปรัชญา เกี่ยวกับความจริงแทTสมบูรณ[และนำเสนอปรัชญาที่เรียกว(า
ปรากฏการณ[นิยม (Phenomenology) ไฮเดคเกอร[ กล(าวว(า มนุษย[สรTางความจริงของตัวเขาเองจากการหยั่งรูT
การรับรูT และการคิดคำนึ่ง เมื่อเขาเผชิญกับปรากฏการณ[ต(าง ๆ แต(ความคิดสมัยใหม(เสนอว(า ไม(มีศูนย[กลางความ
เป-นหนึ่งเดียว และสังคมดำรงอย(ูอย(างแตกต(างหลากหลาย (diversity) ความคิดและแนวคดิ ใด ๆ ทั้งหมด จงึ
เ ป - น เ ร ื ่ อ ง ท ี ่ ไ ด T ร ั บ ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ใ น ร ู ป ภ า ษ า โ ด ย ท ี ่ ภ า ษ า ห ร ื อ จ ะ ใ ช T ภ า ษ า ส ื ่ อ ค ว า ม ห ม า ย น้ั น
ลTวนแลTวแต(เกี่ยวขTองกับความสัมพันธ[ทางอำนาจอันซับซTอน สิ่งสำคัญที่สุดที่กล(าวที่ทำใหTไดTกTาวส(ู
ยุคหลังสมัยใหม( (postmodernism era) คือความคิดที่ว(าสิ่งที่เป-นจริง (the real) กับสิ่งที่ปรากฏ (apparent)
นัน้ อาจไมใ( ช(เรอ่ื งเดยี วกนั (บTานจอมยทุ ธ. 2563)

82

ความหมายและความสำคญั ของคุณวิทยา

นักการศึกษาในสาขาวิชาต(าง ๆ ไดTกำหนดความหมายของคำว(า “ค(านิยม” (value) ไวTต(างๆกัน
Rokeach ไดTใหTความหมายไวTว(า ค(านิยมคือรูปแบบของความเชื่อ (belief) ที่แต(ละคนยึดถือว(าแต(ละคน
ควรจะปฏิบัติตนอย(างไรหรือสิ่งใดที่มีคุณค(า ไม(มีคุณค(า ค(านิยมจะสัมพันธ[กับทุกสิ่งโดยทั่วไปและมีอิทธิพล
ต(อพฤติกรรมของบุคคล ค(านิยมเป-นมาตรฐานในการตัดสินในว(าสิ่งใดเลวหรือดี และใชTในการคัดสินพฤติกรรม
ของแต(ละบุคคลดวT ย(วรเทพ วอ( งสรรพการ. 2546)

ความหมายของค(านิยมในหนังสือเล(มนี้ ถTาใชTเป-นคำนามใหTความหมายเป-น “ค(านิยม”
และถTาเป-นคำกริยาจะใหTความหมายเป-น “คุณค(า” ถTาเป-นคำนาม บางครั้งก็เป-นนามธรรม (abstract)
และบางครั้งก็เป-นนามธรรม (concrete) ถTาเป-นนามธรรมจะเป-นลักษณะค(านิยมหรือเป-นสิ่งที่มีคุณค(า
ในความหมายลักษณะนี้จะใหTความหมายที่หมายถึง มีราคา (worth) หรือความดี (goodness) และในกรณี
ที่เป-นความเลวก็จะหมายถึง ความไม(มีคุณค(า ซึ่งอาจกล(าวไดTว(าเป-นค(านิยมทางลบ (negative value)
แต(ถTาเป-นค(านิยมในทางความดีก็เรียกไดTว(าเป-นค(านิยมทางบวก (positive value) ส(วนค(านิยมที่เป-นรูปธรรม
เป-นไดTทั้งคุณค(าเดียวหรือหลายคุณค(า ซึ่งหมายถึงการที่จิตหรือเจตคติของมนุษย[ตีคุณค(าหรือใหTคุณค(า
ต(อสิ่งต(าง ๆ ดังนั้น ค(านิยมเกี่ยวขTองกับทั้งคุณลักษณะของค(านิยมและกับกระบวนการของการตีคุณค(า
หรือใหTคุณคา(

Good ไดTใหTความหมายของค(านิยมตามแนวของสังคมว(า “ค(านิยมเป-นเรื่องของความสนใจ เช(น ค(านิยม
ในศิลปะก็เป-นความสนใจของผูTซึ่งไดTกลั่นกรองรสนิยมและพัฒนาอำนาจในตัวของเขาต(องานศิลปะ
ต(าง ๆ ถTาผูTที่สนใจเกี่ยวกับช(างไมTก็กำหนดคุณค(าในดTานการใชTประโยชน[ในการใหTความหมายเกี่ยวกับการศึกษา
จ ะ ห ม า ย ถ ึ ง บ ร ร ท ั ด ฐ า น ( norm) ห ร ื อ ม า ต ร ฐ า น ( standard) ข อ ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ภ า ย ใ น
แต(ละวัฒนธรรมของปYจเจกบุคคลที่สัมพันธ[เกี่ยวขTองกับการศึกษาและการวิเคราะห[สิ่งแวดลTอม”
ความเกี่ยวขTองกันระหว(างคุณวิทยากับค(านิยมและลักษณะต(าง ๆ ของค(านิยม (the relevance of axiology
and value and value characteristics) (วรเทพ วอ( งสรรพการ. 2546) Runes ไดTกล(าววา( ปYญหาของคุณวทิ ยา
จะเกย่ี วขอT งกับค(านิยม เปน- 4 กล(มุ ดวT ยกนั คือ

1.ลักษณะของคXานิยม (nature of value) ปYญหาเกี่ยวกับลักษณะค(านิยม เช(น ค(านิยม
เกี่ยวขTองกับสิ่งต(อไปนี้หรือไม( ไดTแก( ความปรารถนา (desire) ความสนุกสนาน (pleasure) ความสนใจ
(interest) ความชอบ (preference) เจตจำนงที่มีเหตุผล (rational will) บุคลิกภาพ (personality) และการ
ปฏบิ ตั ิ (pragmatic) เปน- ตนT

2.รูปแบบของคXานิยม (type of value) ปรัชญาเมธีสาขาคุรวิทยานี้จะแยกค(านิยมออกเป-น 2
แบบ คือ ค(านิยมภายในตัวของมันเอง (intrinsic value) และค(านิยมที่เป-นเครื่องมือ (instrumental value)
ค(านิยมภายในตัวของมันเอง โดยทั่วไปจะกำหนดคุณค(าตามแนวของศีลธรรม หรือตามความจริง ความสวยงาม
และความศักดิ์สิทธิ์ ส(วนค(านิยมที่เป-นเครื่องมือจะสามารถวินิจฉัยคุณค(าโดยอาศัยองค[ประกอบหรือเครื่องมือใน
เรื่องของเศรษฐกิจ สินคTา และเหตุการณ[ต(างๆ ตามธรรมชาติค(านิยมจะเกี่ยวขTองและรับรูTไดTโดยทางร(างกายของ

83

มนุษย[ และการที่มนุษย[รักในสัจจะ (truth) มนุษย[จึงมีค(านิยมดTานความเชื่อในเรื่องต(าง ๆ
เช(นในเรอ่ื งศาสนา โดยหวังจะไดรT ับผลที่ติดตามมาจากความเช่อื เหลา( นนั้

3. เกณฑ?มาตรฐานของคXานิยม (criterion of value) มาตรฐานสำหรับทดสอบค(านิยมนั้น
จะอยู(ภายในหลักของจิตวิทยาและทฤษฎีทางตรรกวิทยา เช(นบางกลุ(มก็เชื่อว(า การมีความสนุกสนานมากนTอย
เพียงใดนั้นย(อมขึ้นอู(กับปYจเจกบุคคล (individual) หรือขึ้นอยู(กับสังคม บางกลุ(มก็ถือว(าการชอบในสิ่งหน่ึง
มากกว(าอีกสิ่งหนึ่งนั้นขึ้นอยู(กับการสำนึกเอง (intuitive) บางกลุ(มก็ถือเอาการปรับตัวเขTากับธรรมชาติ
เปน- มาตรฐานของคา( นยิ ม เชน( กลมุ( ธรรมชาตินยิ ม (naturalism) เป-นตTน

4. สถานภาพทางกายภาพของคXานิยม (physical status of value) อะไรคือความสัมพันธ[
ของค(านิยมกับความจริงของประสบการณ[ของมนุษย[ในเรื่องค(านิยมที่แทTจริงของความเป-นอิสระของมนุษย[ซึ่ง
สามารถสืบหาดวT ยวธิ ีทางธรรมชาตวิ ิทยา มีคำตอบทเ่ี ปน- ไปไดT 3 ประการ คอื

4.1 โดยสราT งความสัมพันธร[ ะหวา( งค(านิยมกบั ประสบการณ[ของมนุษย[ทมี่ ีต(อคา( นิยมนั้น
4.2 โดยอาศัยคุณค(าทางตรรกวิทยา ซึ่งค(านิยมนี้ไม(จำเป-นตTองเห็นหรือมีตัวตนอยู(สิ่งนั้นก็
สามารถมีคุณค(าไดT
4.3 โดยกำหนดคุณค(าของวัตถุโดยใหTสัมพันธ[กับกรกระทำของมนุษย[ ในส(วนที่คุณวิทยาจะ
เกี่ยวขTองกับการศึกษานั้น Kneller ไดTกล(าวไวTว(า คุณวิทยาจะตTองเกี่ยวขTองกับคำถามหลักในการศึกษา
อย(ู 3 คำถามดวT ยกัน คอื
4.3.1 ค(านิยมต(าง ๆ เป-นอัตนัย (subjective) หรือปรนัย (objective) นั่นคือ ค(านิยม
เก่ียวขอT งกับบุคคล (personal) หรือไม(ใชบ( ุคคล (impersonal)
4.3.2 คา( นิยมมกี ารเปลีย่ นแปลงหรือคงท่ี
4.3.3. คา( นยิ มมเี ปน- ลำดับขัน้ หรอื ไม(
คXานิยมตXาง ๆ เปQนปรนัยหรืออัตนัย คXานิยมที่เปQนปรนัย (objective) เป-นค(านิยมที่มีอยู(ในตัว
ของมันเอง โดยไม(เกี่ยวกับความชอบหรือไม(ชอบของมนุษย[ เช(น ความดี สัจจะ และความสวยงาม สิ่งเหล(านี้ถือ
เป-นความแทTจริงอันยิ่งใหญ(และเป-นส(วนธรรมชาติของสรรพสิ่ง ค(านิยมของสรรพสิ่งมีคุณค(าเป-นจริง
ในตัวของมันเองการกระทำมีคุณภาพดีตามเน้ือหาหรือตามธรรมชาติของการกระทำนั้น สรรพสิ่งมีความสวยงาม
ในตัวของมันเอง ดังนั้น ในเรื่องของการศึกษา การศึกษาจึงเป-นค(านิยมปรนัยโดยที่มันมีคุณค(า
ในตัวของมันเอง ไมว( า( ใครจะชอบหรอื ไมช( อบ หรอื คดิ กบั มนั อยา( งไรก็ตามที
คXานิยมที่เปQนอัตนัย (subjective) เป-นค(านิยมที่ขึ้นอยู(กับความชอบหรือไม(ชอบของมนุษย[
โดยนัยนี้ค(านิยม อัตตนัย มนุษย[จะเป-นผูTกำหนดคุณค(าหรือใหTคุณค(ากับมัน อะไรก็ตามที่มีคุณค(า
ค(านิยมอัตนัยนี้จะถือว(า มันมิไดTมีคุณค(าในตัวของมันเองแต(อย(างใด ดังเช(น “การศึกษา” มีคุณค(าก็เพราะมนุษย[
แต(ละคนกำหนดคุณค(าใหTกับมัน และการศึกษาจะไม(มีคุณค(าใด ๆ เลย ถTาบุคคลไม(ไดTใหTคุณค(า
กับการศึกษา หรือไม(เหน็ ความสำคัญหรอื ความจำเป-นใด ๆ เชน( น้เี ปน- ตนT

84

คXานิยมมีการเปลี่ยนแปลงหรือคงท่ี ปYญหาที่ถกเถียงกันว(า ค(านิยมลักษณะแทTจริงตลอดไปหรือไม(
ปYญหานี้เกิดขึ้นเพราะเราไดTพบว(า มีค(านิยมที่มีคุณค(าที่ยอมรับกันมาตั้งแต(อดีตมาจนกระทั่งในปYจจุบัน
คุณค(านั้นก็ยังคงอยู( ไม(ว(าจะเป-นชนชาติใดผิวสีอะไร ก็ยอมรับในค(านิยมนั้น เช(น ความใจบุญสุนทาน (charity)
ซึ่งเป-นค(านิยมท่ีมนุษย[ทั่วไปใหTคุณค(าว(าดีมาตลอดทุกยุคทุกสมัย และเราก็ยังไดTพบว(าค(านิยมเป-นจำนวนมาก
เกี่ยวขTองหรือมีคุณค(าเพราะความปรารถนาของมนุษย[เอง แต(ความปรารถนาของมนุษย[ย(อมเปลี่ยนแปลงไดT
ดังนั้น ค(านิยมที่เกิดขึ้นเพราะความปรารถนาของมนุษย[ก็ย(อมเปลี่ยนไปดTวย การเปล่ียนแปลงเช(นน้ี
อาจเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช(น เงื่อนไขต(าง ๆ ทางประวัติศาสตร[ ลัทธิความเชื่อศาสนาใหม( ๆ
การคTนพบวิทยาศาสตร[ใหม( ๆ ความกTาวหนTาทางเทคโนโลยี ความกTาวหนTาทางการศึกษาและอื่น ๆ
ซ่งึ สงิ่ เหล(าน้ีทำใหเT กิดความเชื่ออย(างมัน่ คงข้นึ ไดT

คXานิยมมีเปQนลำดับขั้นหรือไมX การตอบคำถามนี้ย(อมขึ้นอยู(กับค(านิยมที่แต(ละบุคคลหรือกลุ(มบุคคลยึด
ปรัชญาที่ต(างกัน เช(นฝÄายที่ยึดปรัชญาลัทธิจิตนิยม (idealism) จะมีการลำดับค(านิยมโดยใหTค(านิยม
ทางวิญญาณสูงกว(าทางวัตถุ และเมื่อเป-นเช(นนี้ก็จะเห็นคุณค(าทางศาสนาสูง เพราะถือว(าสานาจะช(วยใหTบุคคล
บรรลุถึงเปžาหมายปลายทางสุดทTาย นั่นคือวิญญาณจะประสบสุข ฝÄายที่ยึดปรัชญาลัทธิ สัจนิยม
ก็จะเชื่อในการการลำดับขั้นของค(านิยม โดยใหTคุณค(าทางเหตุผลและประจักษ[สูงเพราะฝÄายนี้ถือว(าเหตุผล
หรือการประจักษ[จะช(วยมนุษย[ปรับตัวเขTากับจุดมุ(งหมายที่แทTจริง กฎของธรรมชาติและกฎทางตรรกวิทยาไดT
ฝÄายนิยมปรัชญาลัทธิปฏิรูปนิยม จะปฏิเสธว(าไม(มีการลำดับขั้นของค(านิยมที่ตายตัวแน(นอน ฝÄายนี้เชื่อว(ากิจกรรม
อย(างหนึ่งจะดีเท(า ๆ กับกิจกรรมอีกอย(างหนึ่ง ถTากิจกรรมนั้นเป-นที่พอใจและสนองความตTองการ
และนั่นคือคุณค(าของสิ่งนั้นหรือกิจกรรมนั้น และยังเชื่อว(าค(านิยมที่มีคุณค(าพิเศษก็คือการใหTคุณค(า
ทมี่ อี ยู(ดีย่ิงขึ้นไปอีก Butler ไดTสรปุ ลักษณะของคา( นิยมไวเT ป-น 4 ประการดวT ยกันคอื

1. ค(านิยมขึ้นอยู(กับความสนใจของบุคคลซึ่งพอใจในค(านิยมเหล(านั้น กล(าวคือ ค(านิยมจะมีไดTก็
ตอ( เม่อื มนุษยใ[ หTการสนบั สนุนดTวยความสนใจของมนษุ ย[ทีม่ ีต(อสิ่งน้นั (คา( นยิ มเปน- อัตนัยและไม(คงท)่ี

2. ค(านิยมมีอยู(ในตัวของมันเอง คือ เป-นอิสระจากความสนใจและการใหTคุณค(าของมนุษย[
(คา( นยิ มจะเป-นปรนัยและคงท่)ี

3. ค(านิยมที่เกิดขึ้นดTวยความรูTสึกที่มีความสุขในปYจจุบัน และเป-นทางไปสู(ความดีต(าง ๆ ใน
ประสบการณ[ท่จี ะไดใT นอนาคตดวT ย

4. ค(านิยมที่มนุษย[พอใจ และมีความสัมพันธ[กับส(วนต(าง ๆ ของมนุษย[ทั้งหมดรวมทั้งสิ่งแวดลTอม
ดTวย
ปรัชญาแขนงที่มุ(งวิเคราะห[คุณค(าหรือค(านิยมเกี่ยวกับความดีและความงาม มีลักษณะเป-นปรัชญาชีวิต
ที่มุง( ศกึ ษาแนวความคดิ และความเชื่อของมนุษยเ[ ก่ยี วกบั สิ่งทด่ี ีงามและมคี ุณคา( ใน 2 แง( คือ

1. จริยศาสตร[ (Ethics) เป-นเรื่องของความดี ความถูกตTองของแนวทาง ความประพฤติ
ความหมายของชีวิต ชีวิตที่ดีมีลักษณะอย(างไร อะไรคือสิ่งที่น(าพึงปรารถนาที่สุดของชีวิต ความดีคืออะไร
เอาอะไรมาเปน- เกณฑว[ ดั ความดีความชัว่

85

2. สุนทรียศาสตร[ (Aesthetics) เป-นเรื่องของความงาม การาจะตัดสินว(าอะไรสวย อะไรงาม
ใชTเกณฑ[อะไร มีเกณฑ[ที่จะวัดไดTจริงหรือไม( สุนทรียศาสตร[มุ(งศึกษาคุณค(าเกี่ยวกับความงามของศิลปะ
ความไพเราะแหง( ดนตรี ความงามแห(งธรรมชาติ (วรเทพ ว(องสรรพการ. 2546)

ปรัชญาลทั ธกิ บั คุณวทิ ยา

ปรชั ญากลXมุ ลทั ธจิ ิตนยิ ม Butler ไดจT ดั แบง( ทฤษฎีค(านยิ มของลัทธจิ ิต นิยมออกเป-น 3 ลักษณะ คือ
1. ค(านิยมที่มนุษย[มีความปรารถนาและพึงพอใจจะเป-นค(านิยมที่ฝYงราก นั่นคือถือว(าเป-นค(านิยมที่มีอย(ู

โดยแทจT รงิ
2. ค(านิยมเรื่องชีวิตมนุษย[เป-นสิ่งกวTางใหญ( เพราะปYจเจกบุคคลครอบครองค(านิยมและพึงใจในค(านิยม

เหลา( นัน้ ตา( ง ๆ กัน
3. ทางสำคัญทางหนึ่งที่ทำใหTบุคคลรูTค(านิยมก็คือ การปฏิบัติของบุคคลนั้น ๆ ที่เกี่ยวขTองหรือสัมพันธ[กับ

ส(วนตา( ง ๆ และท้งั หมดของสิ่งแวดลTอม
ค(านิยมที่มนุษย[มีความปรารถนาและพึงพอใจ จะเป-นค(านิยมที่มีอยู(โดยแทTจริงซึ่งชี้ใหTเห็นว(า

การท่ีมนษุ ย[สามารถรูTวา( วตั ถมุ อี ยู(ในโลกนเ้ี ป-นการมอี ยู(ชวั่ คราว และไม(มีคุฯคา( อะไรสำหรับมนษุ ย[
ค(านิยมของปรัชญากลม(ุ ลทั ธสิ ัจนิยม (realism) ลกั ษณะของคา( นยิ มของปรัชญากล(ุมลทั ธินยิ มนี้มีลกั ษณะ

คลTายกบั ค(านิยมของปรชั ญากล(ุมลทั ธจิ ิตนิยมท่ียดึ ถอื วา( ลักษณะความจำเปน- เบ้ืองตTนของคา( นิยมเปน- ความถาวร
เบื้องแรกแต(แตกตา( งในตวั ของมนั เองตามเหตผุ ลของการคดิ ฝาÄ ยลทั ธสิ ัจนยิ มจะเห็นดวT ยกับ Aristotle วา( มกี ฎ
ศลี ธรรมของจกั รวาลอย(แู ละใชTประโยชนไ[ ดTดวT ยการใชเT หตุผลซึง่ ผูกมดั ใหTมนษุ ย[เปน- ส่งิ มีชวี ติ ทมี่ ีเหตผุ ล ฝÄายลัทธิ
สัจนิยมของศาสนาครสิ ต[ยอมรบั วา( มนษุ ยส[ ามารถเขาT ใจกฎศีลธรรมน้ไี ดมT ากโดยการใชTเหตุผลแต(เป-นการเชอ่ื ว(า
กฎต(าง ๆ เหล(าน้นั สรTางขนึ้ โดยพระเจTามอบใหมT นุษย[ปฏิบัตแิ ละยดึ ถือ และโดยท่ีความเช่ือทางศาสนาครสิ ตเ[ ชอ่ื ว(า
มนษุ ยม[ บี าปหรอื มลทินติดมาแตก( ำเนดิ ทีเ่ รยี กวา( “บาปกำเนิด” ดงั นน้ั มนุษย[จึงไม(อาจปฏบิ ตั เิ รอ่ื งคา( นยิ มไดTโดย
ปราศจากการชว( ยเหลือของพระเจTา

ปรัชญาเมธีฝาÄ ยลทั ธิสัจนิยมที่เกยี่ วกับวทิ ยาศาสตร[จะปฏเิ สธคา( นิยมท่กี ล(าวถงึ น้ี โดยไมเ( ชื่อความศกั ดิ์
สิทธทิ ม่ี อี ำนาจเหนือธรรมชาตแิ ต(จะเชือ่ ว(าทง้ั ธรรมชาตขิ องมนษุ ยก[ ับธรรมชาติโดยท่ัวไปของมนษุ ยเ[ ป-นส่ิงคงท่ี
ค(านิยมของส่ิงหนึง่ กบั อกี สิ่งหน่ึงกค็ งทดี่ วT ยมนั เป-นจรงิ เช(นนแ้ี ต(การปฏิบตั จิ ะแตกตา( งกนั ออกไปโดยการพจิ ารณา
ตามส(วนตา( งๆ ของโลก แต(แต(ค(านิยมพน้ื ฐานจะคงอยเ(ู ชน( เดมิ ซง่ึ ทางฝาÄ ยลัทธิจติ นิยมจะถือว(ามนษุ ย[เป-นความ
สมบูรณ[ แต(ฝÄายนกั สัจนยิ มวทิ ยาศาสตร[จะถือว(า มนษุ ยเ[ ป-นอย(างทเ่ี ขาเป-นอยู( และไมส( มบรู ณ[
ปรัชญาประสบการณน? ิยม Butler ไดแT นะแนวทางใหTเหน็ ว(าปรัชญาฝÄายลทั ธปิ ฏบิ ตั ินยิ มจะรบั เอาหลกั การของ
คา( นยิ ม 2 ทางดTวยกนั คอื

1. ทางทแี่ สดงสถานการณ[ ปจY จุบนั ของการเลอื กคา( นยิ ม
2. ทางที่แสดงการเลือกค(านิยมในสถานการณ[ปYจจุบันที่จะนำไปสู(สถานการณ[อนาคตทางท่ี
แสดงสถานการณ[ของการเลือกค(านิยมเกี่ยวขTองกับชนิดของการทำใหTสมประสงค[ในความปรารถนาแต(ไม(มี
ขอบเขตจำกัด ไม(มีความเห็นแก(ตัว เป-นสถานการณ[ที่อยู(ในขอบข(ายของความชอบมากกว(าของความคิดและการ
กระทำของมนุษย[ โดยถือว(าชีวิตมนุษย[อยู(ในสถานการณ[ที่มีปYญหา ความตTองการของมนุษย[จึงขึ้นอยู(กับชนิดของ

86

การแกTปYญหาต(าง ๆ ของสถานการณ[เหล(านี้ใหTหลุดพTน หรือผ(านคลายลง ดังนั้น ค(านิยมของฝÄายนี้จึงมุ(งเรื่องของ
ความจำเป-นเพื่อความปรารถนาใหTชีวิตไดTรับความจำเป-นเพื่อความปรารถนาใหTชีวิตไดTรับความพอใจแต(ก็ถือว(า
สถานการณ[ต(าง ๆ มิไดTมีอยู(ไดTดTวยตัวของมันเองตามลำพัง แต(จะมุ(งที่ค(านิยมที่ก(อใหTเกิดความพอใจในผลที่
ติดตามมาซึ่งไม(ใช(พอใจที่เกิดขึ้นเพราะความเห็นแก(ตัว ค(านิยมในแนวนี้จึงเป-นค(านิยมที่เป-นความพอใจ
(Satisfactory) ต(อสถานการณ[มากกว(าความพอใจต(อบุคคล หรือบุคคลทั่วไป ที่เกี่ยวขTองในสถานการณ[นั้น ๆ(นว
พร ดำแสงสวัสด์ิ,พัชรี รตั นพงษ[, และสุธาสินี เจียประเสรฐิ . 2562)

ปรัชญาอัตภาวนิยม คุณวิทยาของอัตภาวนิยม คุณค(าขึ้นอยู(กับการเลือกและการตัดสินใจของบุคคล
บุคคลจะไม(ยอมตามค(านิยม และบรรทัดฐานของสังคม เพราะจะทำใหTเขาสูญเสียความเป-นมนุษย[ และความจริง
แทTไป เสรีภาพของมนุษย[ คือการที่มนุษย[สามารถตัดสินใจไดTอย(างอิสระ มีความมุ(งหวัง ซึ่งจะทำใหกT ารดำรงอยู(มี
คุณคา( และมคี วามหมายซ่ึงคุณธรรมและความรบั ผิดชอบตอ( สังคม (วรเทพ ว(องสรรพการ. 2546)

87

สรปุ
เรื่องญาณวทิ ยา และคณุ วิทยา

ญาณวิทยา ก็คือ ศึกษาเรื่องกำเนินความรูT เนื้อหาของญาณวิทยา ก็คือ การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ
วิธีการ วัตถุประสงค[ ลักษณะ เงื่อนไข ความมีเหตุผล และความคลาดเคลื่อนของความรูT ทฤษฎีบ(อเกิดความรูTทาง
ญาณวทิ ยา คอื

จติ นยิ ม ความรูอT าศยั จติ ในการหยั่งรTู
สจั นยิ ม ความรTูไดTมาจากการไดเT ห็น ไดสT มั ผสั ดTวยประสาทสมั ผัส
ประสบการณ[นยิ ม ความรูจT ะเกดิ ข้ึนไดดT วT ยการลงมือปฏิบตั ิ
โทมัสนยิ มใหม( ความรูTเปน- ไปตามหลักเหตผุ ล และเป-นการหยงั่ รูT
อัตถภิ าวะนิยม การแสวงหาความรูT ขน้ึ อย(ูกับแต(ละบคุ คล
ปรัชญาคุณวิทยา เป-นเรื่องราวของการสืบหาธรรมชาติและเกณฑ[มาตรฐานของคุณค(าหรือค(านิยม
ซึ่งมีกำเนิดมาจาก ทฤษฎีแห(งแบบหรือทฤษฎีการจินตนาการของ Plato ในเรื่องความคิดเกี่ยวกับความดี ปรัชญา
พื้นฐาน เป-นปรัชญาที่เป-นรากฐานในการกำเนิด ปรัชญาการศึกษา ดังนั้นการศึกษาพื้นฐาน ทำใหTเรามีความ
เขTาใจที่มาแนวคิด ในลักษณะปรัชญาไดTถ(องแทTมากขึ้น ไม(จิตนิยม ที่เนTนจิตเป-นสำคัญ เนTนความเชื่อในโลกแห(ง
วัตถุ และการ สัมผัสประสบการณ[นิยมที่เนTนโลกแห(งประสบการณ[เป-นหลักใหTเรามุ(งทำงาน มากกว(าเรียนแต(
ทฤษฎี อัตถิภาวนิยม เห็นว(า มนุษย[เกิดมาพรTอมกับความว(างเปล(าและใหTความสำคัญของมนุษย[มากปรัชญา
การศึกษาทั้ง 5 ลัทธิดังกล(าว แต(ละปรัชญาจะ มีแนวทางในการนำไปสู(การปฏิบัติที่แตกต(างกัน การนำไปปฏิบัติ
เพื่อใหTเกิดประโยชน[ต(อการศึกษา จะตTองพิจารณาว(าแนวทาง ใด จึงจะดีที่สุด ซึ่งจะตTองสอดคลTองกับสภาพสังคม
เศรษฐกจิ การเมืองและการปกครอง ปรัชญาการศึกษาลทั ธหิ น่งึ อาจจะเหมาะกบั ประเทศหนึ่ง เพราะเป-นประเทศ
เล็ก ๆ ประเทศหนึ่งซึ่งมีลักษณะแตกต(างกัน ตTองใชTลัทธิการศึกษาอีกลัทธิหนึ่ง ประเทศไทยก็ไดTนำเอาปรัชญา
การศกึ ษานนั้ มาประยกุ ต[ใชใT หเT หมาะสม

88

อา` งอิง

ทศิ นา แขมมณี. (2545). ลัทธิวตั ถุนิยมหรือสัจนิยม. ปรัชญาและปรชั ญาการศึกษา.
จาก https://sites.google.com/site/afathplas/

นวพร ดำแสงสวัสดิ์,พัชรี รัตนพงษ[, และสุธาสินี เจียประเสริฐ. (2562). ปรัชญาประสบการณ[นิยม. ปรัชญา
ประสบการณ[นิยม และการพัฒนาส(กู ารจดั การศึกษาพยาบาลในศตวรรษท่ี 21. 62(1). 177.

ปริวตั ร เข่ือนแกวT . (2563). ปรัชญาทางการศกึ ษา. จาก http://wijai48.com

พระปรียะพงษ[คุณปYญญา. (2557). ลัทธิประสบการณ[นิยม. ลัทธิปรัชญา. 57(1).
จากhttp://wwwphilosophy-suansunandha.com

ภวศิ า พงษ[เลก็ . (2560). หลกั การและปรชั ญาการศกึ ษา. คณะครศุ าสตร[ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธาน.ี

วรเทพ ว(องสรรพการ. (2546). การอTางเหตุผลสนับสนุนการมีอยู(ของพระเจTาตามทฤษฎีสหนัยนิยม.
วทิ ยานพิ นธป[ รญิ ญามหาบัณฑติ ภาควชิ าปรัชญา คณะอักษรศาสตร[ จุฬาลงกรณ[มหาวทิ ยาลยั .

ศุภร ศรีแสน. (2526). ปรัชญาการศึกษาเบอื้ งตTน. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

สุ ชาติ บุ ษย[ ชญานนท[ . ( 2563) ญาณวิ ทยากั บการเ รี ยนรู T . จาก http: // cms. pblthai. com
__________. บTานจอมยุทธ. (2563) ญาณวิทยา. จาก http://bannjomyut.com padveewp. (2563)
__________. ปรชั ญาเบื้องตTน บทที่ 4 ญาณวิทยา.จาก http://philosophychicchic.com

__________. ญาณวทิ ยากบั การเรียนร.Tู จาก http://cms.pblthai.com

__________. ปรัชญาตะวันตกกับความสัมพันธ[กับวิทยาศาสตร[และองค[ความรูTต(างๆ. (2561). วัตถุนิยม.
จาก http://www.facebook.com

padveewp. (2563) ปรชั ญาเบอ้ื งตนT บทที่ 4 ญาณวิทยา. จาก http://philosophychicchic.com

89

บทที่ 5
ทฤษฎีการเรยี นรNู

ทฤษฎกี ารเรยี นรูN

การเรียนรูT (Learning) คือกระบวนการที่ทำใหTมนุษย[เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และความคิด ธรรมชาติ
ในการเรียนรูTของมนุษย[นั้นมาจากการรับรูT (perception) แลTวแปลผลดTวยกระบวนการคิด (Thinking) ภายใน
กลไกของสมอง จากความรูTสึกที่ไดTจากสิ่งแวดลTอมรอบตัว ดTวยอวัยวะรับการสัมผัส (sensory organs)
ประกอบดTวยตา (visual) สำหรับการมองเห็น หู (auditory) สำหรับการไดTยิน จมูก (olfactory) สำหรับการดม
กลิ่น ลิ้น (gustatory) สำหรับการชิมรส กาย (skin) สำหรับการสัมผัสทางกาย มนุษย[มีการเรียนรูTตลอดเวลา
กระบวนการเรียนรูTสามารถเกิดขึ้นไดTจากการอ(าน ฟYง สังเกต การอบรม การใชTเทคโนโลยี ฯลฯ การเรียนรูTมี 2
ลักษณะคือ การเรียนรTูดTวยตนเอง (Heuristics) หรือ การเรียนรูTที่มีการสอน (Didactics) การเรียนรูTที่เกิดจากการ
สอนจะเกิดขึ้นจากประสบการณ[ที่ผูTสอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ[ระหว(างผูTสอนและผูTเรียน ผูTสอนจะเป-นผูTท่ี
สรTางบรรยากาศทางจิตวิทยาเอื้ออำนวยต(อการเรียนรูT ที่จะใหTเกิดขึ้นเป-นรูปแบบใดก็ไดTเช(น ความเป-นกันเอง
ความเขTมงวดกวดขันฯ ผูTสอนจะเป-นผูTสรTางเงื่อนไข และสถานการณ[เรียนรูTใหTกับผูTเรียน สิ่งต(างๆ ในกระบวนการ
เรียนรTูสามารถอธบิ ายไดโT ดยอาศัยทฤษฎกี ารเรยี นรูT (Learning – Theory)
ทฤษฎีการเรียนรูTเป-นแนวคิดที่ไดTรับการยอมรับว(าสามารถอธิบายลักษณะการเกิดการเรียนรูT โดยไดTรวบรวมเป-น
องค[รวมเป-นชุดหลักการต(างๆ เพื่ออธิบายเหตุผลการไดTมาขององค[ความรูT การรักษาไวTและการเรียกใชTองค[ความรTู
ในแต(ละบุคคล สิ่งเหล(านี้สามารถเป-นแนวทางช(วยใหTผูTสอนใชTเครื่องมือในการเรียนการสอนรวมถึงเทคนิคและ
วิธีการต(างๆ ที่จะส(งเสริมสนับสนุนการเรียนรูT และทำใหTผูTเรียนบรรลุตามจุดประสงค[ในการเรียนอย(างมี
ประสิทธิภาพ ดังนั้นผูTสอนจะตTองพิจารณาเลือกหรือออกแบบการสอน (Instructional Design) ใหTเหมาะสมกัน
สถานการณ[ เพราะว(าการเรียนรูTของมนุษย[จะแตกต(างกัน เช(นการเรียนรTูของเด็กและผูTใหญ(ก็ไม(เหมือนกัน เด็กจะ
เรียนรTดู วT ยการเรียนในหTอง การซักถาม ผTใู หญม( กั เรียนรTูดTวยประสบการณท[ ม่ี ีอยู( เป-นตTน
ทฤษฎกี ารเรยี นรTขู องนักการศึกษาทนี่ ำมาใชพT ัฒนาดTานการเรียนการสอน

การเรียนรูTเป-นกระบวนการต(อเนื่องซึ่งผูTสอนจะตTองมีการวิเคราะห[ผูTเรียนเนื้อหาและวางแผนจัดลำดับ
เพื่อใหTเกิดการเรียนรูTในผูTเรียนซึ่งนักการศึกษา (บางท(านเป-นนักปรัชญานักสังคมวิทยานักจิตวิทยา)ที่มีความเชื่อ
แตกต(างกันย(อมทำใหTเกิดแนวคิดและวิธีการต(างที่เหมาะสมกับการสอนเนื้อหาหรือกระบวนการมากนTอยต(างกัน
ซึ่งการสอนนั้นเป-นทั้งศาสตร[และศิลปะความหมายของความเป-นศาสตร[นั้นคือการสอนมีกระบวนการมีขั้นตอนที่
ชัดเจนอย(างเป-นลำดับในเชิงระบบส(วนศิลปะนั้นมีหมายความว(าในการเรียนการสอนนั้นผูTสอนควรคำนึงถึง
อารมณ[ความเหมาะสมของสถานการณ[ของบรรยากาศการเรียนคำนึงถึงความรูTสึกของผูTเรียนซึ่งบางครั้งไม(
สามารถประเมินออกมาไดTอย(างเป-นระบบดังนั้นผูTสอนจึงควรทราบถึงเทคนิคการสอนหลักการและทฤษฎีแนวคิด
เกีย่ วกับการคดิ และการเรียนรนTู กั การศกึ ษาไดTประยกุ ต[และพัฒนาพอ (ทม่ี า : วสนั ต[ นายด(าน, 2554)

90

ทฤษฎีกลXุมพฤตกิ รรมนยิ ม

ทฤษฎกี ารเรียนรข#ู องฮลั ล? (HULL)
เป-นนักจิตวิทยา หลักการทดลองของเขา ใหTหลักการคณิตศาสตร[มาสรTางทฤษฎีทางจิตวิทยาอย(างเป-น

ระบบ ซึ่งเป-นแบบ S-R คือการต(อเนื่องระหว(างสิ่งเรTากับการตอบสนอง โดยไดTกล(าวถึงกระบวนการเรียนรูTต(างๆ
ในรปู ของคณติ ศาสตรม[ กี ารวเิ คราะหแ[ ยกแยะระหว(างการจูงใจกับกลไกในการเรียนรูT และกล(าวถึงพื้นฐานของการ
เรียนรูเT กิดจากการเสรมิ แรงมากกว(าการจูงใจ (ชัยวัฒน[ สทุ ธิรตั น.[ , 2552.)
การทดลองเพ่ือสนับสนนุ หลกั การ

การทดลองของวลิ เลียม (Willian 1938)

การทดลองของวิลเลียม เป-นการฝ¡กใหTหนูกดคานโดยแบ(งหนูออกเป-นกลุ(มๆ แต(ละกลุ(มไดTรับการอด
อาหารนานถึง 24 ช่ัวโมงและมีแบบแผนในการเสริมแรงเป-นแบบตายตวั ตัง้ แต( 5-90 กล(าวคอื ตอT งกดคาน 5
ครัง้ จงึ ไดรT ับอาหาร 1 คร้งั เรอ่ื ยๆไป จนตTองกดคาน 90 คร้งั จึงจะไดอT าหาร 1 คร้งั (ชัยวฒั น[ สุทธริ ตั น[., 2552.)
การทดลองของเพอรนิ

เป-นการฝ¡กใหTหนูกดคานเช(นเดียวกัน โดยมีวิธีการทดลองเช(นเดียวกับของวิลเลียมต(างกันตรงที่หนู
ทดลองของเพอรินใหTหนอู ดอาหารเพียง 3 ช่วั โมง
สรุปผลการทดลองท้ังสองคน

การทดลองนี้แสดงใหTเห็นว(า ความเขTมขTนของการแสดงพฤติกรรมการเรียนรูTขึ้นอยู(กับแรงขับ คือความ
หิวของหนูกับอุปนิสัยที่เกิดขึ้นจากการไดTรับการแสดงแรง คืออาหารกับการตอบสนอง การกินอาหารยิ่งอดมาก
ย่งิ สรTางแรงขบั มาก การแสดงพฤติกรรมการเรียนรTู (คอื การกดคาน) ย่งิ เขมT ขTนมากข้นึ เทา( น้นั
กฎการเรียนรู#

กฎแห(งสมรรถภาพในการตอบสนอง หรือการยับยั้งปฏิกิริยา คือ ถTาร(างกายเกิดความเหนื่อยลTา การ
ตอบสนองหรอื การเรียนรจูT ะลดลง
กฎแห(งการลำดับกลุ(มนิสัย เมื่อมีสิ่งเรTามากระตุTน แต(ละคนจะมีการตอบสนองต(างๆกัน ในระยะแรกการ
แสดงออกมีลักษณะง(ายๆแต(เมื่อเรียนรูTมากข้ึนก็สามารถแสดงการตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นหรือถูกตTองตาม

91

มาตรฐานของสังคม กฎแห(งการใกลTจะบรรลุเปžาหมาย เมื่อผูTเรียนยิ่งใกลTเปžาหมายเท(าใดจะมีสมรรถภาพในการ
ตอบสนองมากขน้ึ เท(านนั้ การเสรมิ แรงท่ีใหใT นเวลาใกลTเคยี ง เปาž หมายจะทำใหเT กิดการเรียนรTไู ดดT ที ี่สดุ
ทฤษฎีแรงหนุนกำลงั

แรงหนุนกำลังจะเพิ่มกำลังของการตอบสนองของร(างกายต(อสิ่งเรTาอย(างดอย(างหนึ่งการเรียนรูTจะเกิดขึ้น
เมื่อคนเรามีความตTองการเป-นแรงจูงใจใหTแสดงพฤติกรรมต(างๆ เพื่อตอบสนองความตTองการนั้น เมื่อคTนพบการ
ตอบสนองที่ถูกตTองก็นำไปสัมพันธ[กับสิ่งเรTาที่มาเรTาไดTความสัมพันธ[ระหว(างสิ่งเรTากับการตอบสนองจะดีขึ้นถTามี
แรงหนนุ กำลงั
การเรยี นรู#ในทศั นะของฮลั ล?

การเรียนรูTเกิดจากการเสริมแรง เป-นการใหTรางวัล ที่ก(อใหTเกิดการลดแรงขับหรือลดความตTองการของ
ผเTู รียนการเสรมิ แรงแยกออกเป-น 2 ประเภท ไดTแก(

การเสริมแรงปฐมภูมิ คือ การเสริมแรงที่จำเป-นต(อร(างกาย เช(น การใหTน้ำ ใหTอาหาร เป-นรางวัลที่สนอง
ความตอT งการพื้นฐานของนกั เรียน

การเสริมแรงทุติยภูมิ คือ การเสริมแรงที่ไม(จำเป-นต(อร(างกายแต(จำเป-นสำหรับจิตใจ เช(น การชมเชย
กลา( วคำชนื่ ชม
การนำหลกั ทฤษฎขี องฮัลลไ? ปใชใ# นการเรยี นการสอน

พยายามจัดการศึกษาโดยคำนึงถงึ ความตอT งการของผเTู รียน
พยายามจัดการศกึ ษาเพื่อตอบสนองความตอT งการของผTูเรยี น
พยายามจัดการเรยี นการสอนโดยคำนึงถงึ ความแตกต(างระหวา( งบคุ คลพ้นื ฐานการเรยี นรขTู องเด็ก พ้นื ฐาน
ในการเรยี น
จัดคาบเวลาเรยี นใหเT หมาะสมกบั วยั ของผเูT รียน
เปลี่ยนกจิ กรรมการสอนเมื่อพบวา( ผTูเรียนเหนอ่ื ยลาT หรือง(วงนอน
ก(อนที่จะสอนบทเรียนพยายามนกถึงความพรTอมของผูTเรียนก(อน แลTวกระตุTนใหTผูTเรียนเกิดความตTองการ
ที่จะเรียน พยายามสรTางแรงเสริมทุกขั้นตอนของบทเรียนจัดการเรียนการสอนจากง(ายไปหายาก (ที่มา : ชัยวัฒน[
สุทธิรัตน[., 2552.)
สรปุ ทฤษฎขี องฮัลล?
หลักการทางจิตวิทยา ทฤษฎีการเรียนรูTของฮัลล[ไดTเขTามามีส(วนสำคัญในกระบวนการจัดการเรียนรูT ของ
ครูผTสู อนฉะน้นั จงึ ถอื ไดวT า( ผสTู อนจะตอT งตระหนักถึงความสำคัญของจติ วทิ ยาการศกึ ษาเป-นอยา( งย่ิง

ทฤษฎีการวางเง่ือนไข (Conditioning theory)

ทฤษฎีการเรียนร#ูแบบคลาสสิค (ClassicalConditioning Theory)
อีวาน เปโตรวิช พาพลอฟ เป-นนักจิตวิทยาและสรีรวิทยา ชาวรัสเซีย-โซเวียตไดTรับรางวัลโนเบสสาขา
สรีรวิทยาหรือการแพทย[ ในป‹ ค.ศ. 1904 จากงานวิจัยเกี่ยวกับระบบย(อยอาหาร นอกจากนี้พาฟลอฟยังเป-นท่ี
รTูจกั จากการอธิบายปรากฏการณ[การวางเงอื่ นไขแบบด้ังเดิม (Classical Conditioning)

92

พาฟลอฟ ไดทT ำการทดลอง ในเรอ่ื งนค้ี อื เขาทำการศกึ ษาทดลองกบั สนุ ขั โดยฝก¡ สนุ ขั ใหยT นื นง่ิ อยใ(ู นทต่ี รงึ
ในหTองทดลอง ที่ขTางแกTมของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ำลาย เขาไดTทำการทดลองโดยการส่ัน
กระดิ่งก(อนที่จะเอาอาหาร (ผงเนื้อ) ใหTแก(สุนัข เวลาระหว(างการสั่นกระดิ่งและใหTผงเนื้อแก(สุนัข จะตTองเป-นเวลา
ที่กระชั้นชิดมาก ประมาณ 0.25 วินาที – 0.50 วินาที ทำซ้ำควบคู(กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดใหTอาหาร
เพียงแต(สั่นกระดิ่ง ก็ปรากฏว(าสุนัขก็ยังคงมีน้ำลายไหลไดTปรากฎการณ[เช(นนี้เรียกว(า พฤติกรรมของสุนัขเกิดการ
เรยี นรแูT บบการวางเงอื่ นไขหรือท่ีเรียกว(าสุนัขเกดิ การเรยี นรูTแบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสคิ

การตอบสนองเพื่อการวางเงื่อนไข (Conditioned Response) หรือ CR เป-นผลการเรียนรูTแบบวาง
เงื่อนไขแบบคลาสสิคการวางเงือนไขเป-นการสรTางความสัมพันธ[ระหว(างสิ่งเรTาที่ตTองวางเงื่อนไข (Conditioned
Stimulus หรือ CS) กับการสนองตอบที่ตTองการใหTเกิดขึ้น โดยการนำเอา CS ควบคู(กับสิ่งเรTาที่ไม(ตTองการวาง
เงอ่ื นไข (Unconditioned Stimulus หรือ UCS) ซ้ำ ๆ กัน หลกั สำคญั ก็คือจะตอT งใหT UCS หลัง CS อยา( งกระชน้ั
ชิดหริอเพียงเสี้ยววินาที (0.25 – 0.50 วินาที) และจะตTองทำซ้ำ ๆ กัน สรุปแลTว ความต(อเนื่องใกลTชิด
(Contiguity) และความถี่ (Frequency) ของสิ่งเรTาเป-นสิ่งที่มีความสำคัญต(อการเรียนรูTแบบวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิค

ผลจากการทดลองของพาฟลอฟ จึงสามารถสรุปหลกั การเรยี นรTูจากการวางเง่ือนไขคลาสสคิ ไดดT งั นค้ี ือ
“เมื่อนำสิ่งเรTาที่เป-นกลางหรือสิ่งเรTาที่ตTองการวางเงื่อนไข (CS) เสนอควบคู(กับสิ่งเรTาที่ไม(ตTองการวางเงื่อนไข
(UCS) ซ้ำ ๆ หลายครั้ง ในที่สุดสิ่งเรTาที่เป-นกลางนั้น จะกลายเป-นสิ่งเรTาที่สามารถกระตุTนใหTเกิดการตอบสนองไดT
ดTวยตัวมันเอง” (ท่ีมา สรุ างค[ โควTตระกูล.,2548.)

จะเห็นไดTว(าพฤติกรรมของสุนัขที่เปลี่ยนไป (คือ น้ำลายไหลเมื่อไดTยินเสียงกระดิ่ง) เกิดจากประสบการณ[
ที่ไดTรบั หรือจากผลกระทำทซ่ี ำ้ ๆ ซาก ๆ ซ่งึ สอดคลอT งกับคำจำกดั ความของการเรยี นรTู ดงั กล(าวมาแลวT ขTางตนT
องคป? ระกอบที่สำคญั ของทฤษฎนี บี้ างประการมีดงั นี้

ปจY จัยสำคัญเพอ่ื ใหกT ารวางเงอ่ื นไขเกิดผลดี
สิ่งเรTาที่เป-นกลางหรือตTองวางเงื่อนไข (CS) จะตTองเสนอก(อนการเสนอสิ่งเรTาที่ไม(ตTองวางเงื่อนไข (UCS)
และช(วงระยะเวลาห(างกันของการเสนอ CS กับ UCS จะตTองสั้นจึงจะมีการตอบสนองที่เขTม หากช(วงเวลาที่เสนอ
ต(างกัน การตอบสนอง เช(น น้ำลายไหล ก็จะไม(เกดิ ขนึ้
สิ่งเรTาที่ตTองการวางเงื่อนไข จะตTองเสนอก(อนการเสนอสิ่งเรTาที่ไม(ตTองการวางเงื่อนไขอย(างสม่ำเสมอ เพื่อใหTมี
คุณค(าเพื่อที่จะทำนายว(าสามารถกระตุTนใหTเกิดการตอบสนองอย(างแน(นอนดังนั้น ในการโฆษณาทางโทรทัศน[ควร
จะเสนอตวั ผลิตภัณฑก[ (อน กอ( นท่ีจะเสนอส่งิ เรTาท่ีไมต( อT งการวางเงอื่ นไขใหTปรากฎ
ทั้งสิ่งที่ตTองการวางเงื่อนไข และสิ่งเรTาที่ไม(ตTองการวางเงื่อนไขจะตTองมีลักษณะเด(นสะดุดตาและมีคุณค(าดึงดูดใจ
มากกว(าสิ่งเรTาอื่นๆ ในสภาพแวดลTอมนั้น ในการโฆษณาทางโทรทัศน[สิ่งเรTาทั้งสองนี้จะตTองเรียกรTองความสนใจ
แก(ผชTู มโทรทัศน[เหนอื โฆษณาของคูแ( ขง( (วไิ ลวรรณ ศรีสงคราม.,2549)
ความเขTมขTนของการตอบสนองนั้น ขึ้นอยู(กับความเขTมขTนของสิ่งเรTาที่ไม(ตTองวางเงื่อนไขหรือสิ่งเรTาที่ตTอง
วางเงอ่ื นไขหรือทัง้ สองอย(างประกอบกัน

93

วัตสัน (Watson 1958) ไดTนำเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาและถือว(าเขาเป-นผูTนำแห(งกลุ(มจิตวิทยา
พฤติกรรมนิยม และทฤษฎีของเขามีลักษณะในการอธิบายเรื่องการเกิดอารมณ[จากการวางเงื่อนไขหลักการเรียนรTู
ของวัตสัน ซึ่งเป-นการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค คือการใชTสิ่งเรTาสองสิ่งคู(กัน สิ่งเรTาที่มีการวางเงื่อนไข (CS) กับส่ิง
เราT ทีไ่ ม(วางเงือ่ นไข (UCS) เพ่ือใหTเกดิ การตอบสนองท่ตี Tองการ คือ การเรยี นรนTู ่นั เองและการทีจ่ ะทราบว(า การวาง
เงื่อนไขแบบคลาสสิคไดTผลหรือไม( ก็คือการตัดสิ่งเรTาที่ไม(วางเงื่อนไข (CS) ถTายังมีการตอบสนองเหมือนเดิมที่ยังมี
สิ่งเรTาที่ไม(วางเงื่อนไขอยู(แสดงว(าการวางเงื่อนไขไดTผลสิ่งที่เพิ่มเติมในหลักการเรียนรูTของวัตสัน คือแทนที่จะ
ทดลองกับสัตว[ เขากลับใชTการทดลองกับคน เพื่อทดลองกับคน ก็มักจะมีอารมณ[มากเกี่ยวขTอง วัตสันกล(าวว(า
อารมณ[ที่เกิดขึ้น เช(น อารมณ[กลัวมีผลต(อสิ่งเรTาบางอย(างตามธรรมชาติอยู(แลTว อาจจะทำใหTกลัวสิ่งเรTาอื่นที่มีอย(ู
รอบ ๆ ต(างกายอีกไดTจากการเงื่อนไขแบบคลาสสิค โดยใหTสิ่งเรTาที่มีความกลัวตามธรรมชาติ เป-นสิ่งเรTาที่ไม(วาง
เงื่อนไข (UCS) กับสิ่งเรTาอื่นที่ตTองการใหTเกิดความกลัว เป-นสิ่งเรTาที่วางเงื่อนไข (CS) มาคู(กันบ(อย เขTาในที่สุดก็จะ
เกิดความกลัวในสิ่งเรTาที่วางเงื่อนไขไดT และเมื่อทำใหTเกิดพฤติกรรมใดไดT วัตสัน เชื่อว(าสามารถลบพฤติกรรมนั้นใหT
หายไปไดT
การทดลอง

การทดลองของวัตสัน วัตสันไดTร(วมกับเรย[เนอร[ (Watson and Rayner 1920) ไดTทดลองวาง
เงื่อนไขเด็กอายุ 11 เดือน ดTวยการนำเอาหนูตะเภาสีขาวเสนอใหTเด็กดูคู(กับการทำเสียงดัง เด็กตกใจจน
รTองไหT เมื่อนำเอาหนูตะเภาสีขาวไปคู(กับเสียงดังเพียงไม(กี่ครั้ง เด็กก็เกิดความกลัวหนูตะเภาสีขาว และ
กลัวสิ่งอื่น ๆ ท่ีมีลักษณะคลTายหนูตะเภาหรือมีลักษณะสีขาว เช(น กระต(าย สุนัข เสื้อขนสัตว[ ซึ่งเป-น
สิ่งเรTาที่คลายคลึงกัน ความคลTายคลึงกันทำใหTกรริยาสะทTอนตกอยู(ภายใตTการควบคุมของสิ่งเรTามากขึ้น
เด็กที่เคยกลัวหมอฟYนใส(เสื้อสีขาว ก็จะกลัวหมอคนอื่นที่แต(งตัวคลTายกันความคลTายคลึงกันก็สามารถทำใหTลดลง
โดยการจำแนกไดTเช(นเดียวกัน เช(นถTาหากตTองการใหTเด็กกลัวเฉพาะอย(าง ก็ไม(เสนอสิ่งเรTาทั้งสองอย(างพรTอมกัน
แตเ( สนอส่ิงเราT ทลี ะอย(างโดยใหสT ่งิ เรTาน้ันเกดิ ความรสTู กึ ในทางผอ( นคลายลง

การนำหลักการเรียนรูTการวางเงื่อนไข ไปใชTในการเรียนการสอน เราสามารถนำหลักการเรียนรTู
มาประยุกต[ใชT โดยสรTางพฤติกรรมที่พึงปรารถนาขึ้นไดT นอกจากนี้กลักการเรียนรูTนำมาปรับพฤติกรรมไดT
ซึ่งทำใหTพฤติกรรมที่ไม(พึงปรารถนานั้นกลายเป-นพฤติกรรมที่พึงปรารถนาไดT ซึ่งมีหลักการนำมาประยุกต[
ไดดT ังน้ี

1. การนำหลักการลดพฤติกรรมมาใชT โดยที่ผูTสอนตTองตระหนักเสมอว(า การใหTผูTเรียนเรียนแต(
อย(างเดียวบ(อย ๆ อาจทำใหTเกิดความเบื่อหน(ายซ้ำซากจำเจ ควรมีการแทรกสิ่งที่เขาขอบไปบTาง เพื่อใหT
เกิดความอยากเรียนซ้ำอีก เป-นการปžองกันมิใหTเกิดการลบพฤติกรรมที่พึงปรารถนาไดT คือ ภายหลังการ
เรียนรูTแลTว การเสนอบทเรียนซึ่งเป-นสิ่งเรTาที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอย(างเดียว จะทำใหTเกิดความเบื่อหน(ายซ้ำซาก
ตอT งแทรกส่ิงท่ผี Tเู รยี นชอบ

2. การนำกฎความคลTายคลึงกันไปใชT ควรพยายามใหTคลTายกับการเรียนรูTครั้งแรกมาอธิบาย
เปรียบเทียบใหTฟYง เพื่อใหTเขTาใจยิ่งขึ้น เช(นการอธิบายมโนทัศน[ หรือความคิดรวบยอดแต(ละคน ใหTมีความ
สัมพันธก[ ับส่งิ ท่คี ลาT ยคลึงกนั

94

3. การนำกฎการจำแนกมาใชT โดยการสอนใหTเขTาใจความหมายของสิ่งที่เรียนครั้งแรกใหTเขTาใจ
แจ(มแจTง แลTวอธิบายความแตกต(างของสิ่งเรTาอื่นว(าแตกต(างจากสิ่งเรTาแรกอย(างใดซึ่งก็เป-นการสอน
มโนทัศน[ หรอื ความคดิ รวบยอดนนั้ เอง (ท่มี า : พรรณี ช.เจนจิต., 2545.)

ทฤษฎกี ารวางเงือ่ นไขแบบตอ* เนอ่ื งของกทั ธี

หลักการเรยี นรขูT องทฤษฎีกทั ธรกี ลา( วว(าการเรียนรTขู องอินทรยี เ[ กดิ จากความสมั พนั ธต[ (อเน่ืองระหว(าง สงิ่
เราT กับการตอบสนอง โดยเกิดจากการกระทำเพยี งครงั้ เดียว (One-trial Learning) มติ อT งลองทำหลาย ๆ คร้ัง เขา
เชื่อว(าเมื่อใดก็ตามที่มีการตอบสนองต(อสิ่งเรTาแสดงว(าอินทรีย[เรียนรูTที่จะตอบสนองต(อสิ่งเรTาที่ปรากฏในขณะน้ัน
ทันที และเป-นการตอบสนองต(อสิ่งเรTาอย(างสมบูรณ[ ไม(จำเป-นตTองฝ¡กหัดอีก กัทธรี กล(าวว(า “สิ่งเรTา ที่ทำใหTเกิด
อาการเคลื่อนไหวเปน- สง่ิ เราT ที่วางเงือ่ นไขท่ีแทTจรงิ ”
การทดลอง

กัทธรีและฮอร[ตัน (Horton) ไดTร(วมกันทดลองการเรียนรูTแบบต(อเนื่อง โดยใชTแมวและสรTางกล(อง
ปYญหาขึ้น ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ มีกลTองถ(ายภาพยนตร[ติดไวTที่กล(องปYญหาดTวย นอกจากนี้ยังมีเสาเล็ก ๆ อยู(
กลางกล(อง และมกี ระจกท่ีประตทู างออก

ในการทดลอง กัทธรีจะปล(อยแมวที่หิวจัดเขTาไปในกล(องปYญหา แมวจะหาทางออกทางประตูหนTา
ซึ่งเป-ดแงTมอยู( โดยมีปลายแซลมอน (Salmon) วางไวTบนโต£ะที่อยู(เบื้องหนTาก(อนแลTว ตลอดเวลาในการทดลอง
กทั ธรจี ะจดบนั ทกึ พฤติกรรมตา( ง ๆ ของแมวตงั้ แต(ถกู ปล(อยเขาT ไปในกล(องปYญหาจนหาทางออกจากกล(องไดT

ผลท่ไี ดTจากการทดลอง สรปุ ไดTดังนี้
1. แมวบางตวั จะกัดเสาหลายครงั้
2. แมวบางตัวจะหนั หลังชนเสาและหนีจากกลอ( งปYญหา
3. แมวบางตัวอาจใชTขาหนาT และขาหลังชนเสาและหมุนรอบ ๆ เสา

กฎการเรยี นรู`

กัทธรีกล(าวว(า พฤติกรรมของมนุษย[มีสิ่งเรTาควบคุม และการเชื่อมโยงระหว(างสิ่งเรTากับการ
ตอบสนองจะเปลี่ยนไปตามกฎเกณฑ[ เขายอมรับว(าพฤติกรรมหลายอย(างมีจุดมุ(งหมาย พฤติกรรมใดที่ทำซ้ำ ๆ
เกดิ จากกล(ุมส่งิ เรTาเดมิ มาทำใหTเกิดพฤติกรรมเชน( น้นั อกี กัทธรจี งึ ไดTสรปุ กฎการเรยี นรTตู า( ง ๆ ไวTดังนี้

1. กฎแห(งความต(อเน่อื ง (Law of Contiguity)
2. กฎของการกระทำคร้ังสุดทTาย (Law of Recency)
3. การเรยี นรเูT กดิ ขน้ึ ไดแT มเT พยี งครง้ั เดยี ว (One trial learning
4. หลกั การจูงใจ (Motivation)


Click to View FlipBook Version