The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aschapanboonkua, 2021-03-30 23:25:23

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

195

การตราพระราชกฤษฎกี า
พระราชกฤษฎกี า คือ บทบญั ญตั แิ หง( กฎหมายที่พระมหากษัตรยิ [ทรงตราขึน้ โดยอาศัย อำนาจตาม

รัฐธรรมนญู พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิ หรอื พระราชกำหนด เพือ่ ใชTในการบริหาร
ราชการแผน( ดนิ โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดต์ิ ำ่ กว(ารฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ิ ประมวลกฎหมาย
และพระราชกำหนด

ในการตราพระราชกฤษฎีกา ตามรัฐธรรมนญู ฉบบั ปจY จบุ นั สามารถแบ(งเปน- 3 กรณี คือ
1. พระราชกฤษฎกี าที่รัฐธรรมนูญกำหนดใหตT ราพระราชกฤษฎกี าในกจิ การทสี่ ำคญั อนั เกย่ี วกบั ฝÄาย
บริหารและฝÄายนติ บิ ญั ญัติ ซึ่งจะเปน- การกำหนดรายละเอยี ดปลีกย(อยของกฎหมาย เพื่อใหกT ารปฏิบตั ิตาม

กฎหมายมคี วามชดั เจนเป-นรปู ธรรมมากยงิ่ ขึน้ เช(น พระราชกฤษฎกี าเรยี กประชมุ รัฐสภา พระราชกฤษฎกี ายุบ
สภาผูTแทนราษฎร พระราชกฤษฎีกาใหTมกี ารเลือกตง้ั สมาชกิ วุฒสิ ภา และพระราชกฤษฎกี าว(าดTวยการเลือกต้งั
สมาชิกสภาผแTู ทนราษฎร เป-นตTน

2. พระราชกฤษฎีกา ที่ออกมาเพื่อใชTกบั ฝาÄ ยบรหิ ารเพยี งอย(างเดยี วไม(บังคบั ใชกT ับประชาชนทว่ั ไป ซง่ึ
เปน- กรณีที่รฐั บาลเห็นสมควรตราขอT บงั คบั ใชTในการบรหิ ารงานท่ัวไป ในกจิ การของฝÄายบรหิ าร เช(น พระราช
กฤษฎีกาวา( ดTวย เบีย้ ประชมุ กรรมการ พระราชกฤษฎีกาว(าดTวยการเบิกค(าเช(าบTานของขTาราชการ เป-นตนT

3. พระราชกฤษฎีกาท่อี อกโดยอาศยั อำนาจตามกฎหมายแม(บท คอื พระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด
ที่ใหอT ำนาจตราพระราชกฤษฎีกาไดT โดยการวางหลักเกณฑ[ วธิ ีการ เงอ่ื นไข หรือการจัดระเบยี บการบริหาร
ราชการไวT เช(น พระราชบัญญัตจิ ฬุ าลงกรณม[ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2522 กำหนดวา( การใหTปรญิ ญาใด ๆ ใน

จุฬาลงกรณม[ หาวทิ ยาลยั ตอT งตราเป-นพระราชกฤษฎีกา กรณนี ก้ี ฎหมายแมบ( ทจะกำหนดแต(หลักสาระสำคญั ไวT
สว( นรายละเอียดใหอT อกเปน- พระราชกฤษฎีกา หรือใหอT อกเป-นกฎกระทรวง
การตราพระราชกฤษฎีกา รัฐมนตรีซึ่งมีหนTาที่เกี่ยวขTองจะอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ

หรือพระราชกำหนดนั้นๆ เสนอรา( ง พระราชกฤษฎีกาต(อคณะรัฐมนตรีใหTพจิ ารณา โดย รา( ง
พระราชกฤษฎีกานั้นจะตTองไม(ขัดต(อรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดที่เกี่ยวขTอง
เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาแลTวจะตTองนำร(างพระราชกฤษฎีกาขึ้นทูลเกลTาฯถวายพระมหากษัตริย[เพื่อทรง

ตราพระราชกฤษฎีกานั้นๆ นายกรัฐมนตรี จะเป-นผูTรับสนองพระบรมราชโองการ จากนั้นจึงนำไปประกาศในราช
กจิ จานเุ บกษา บังคบั ใชตT (อไป
กฎกระทรวง

กฎกระทรวง เป-นกฎหมายลายลักษณ[อักษรประเภทหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว(าการกระทรวง
ตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห(งพระราชบัญญัติ หรือแห(งกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน เป-นตTนว(า
ประมวลกฎหมาย พระราชกำหนด กฎกระทรวงนน้ั เดมิ เรียกวา( กฎเสนาบดี

196

การตรากฎกระทรวง

รัฐมนตรีว(าการกระทรวงผูTรักษาอำนาจตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนดซึ่งใหTอำนาจรัฐมนตรี
กระทรวงนั้น ๆ ออกกฎกระทรวง จะเป-นผูTเสนอร(างกฎกระทรวงต(อคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
แลTว รัฐมนตรีว(าการกระทรวงนั้นประกาศใชTร(างกฎกระทรวงนั้นเป-นกฎหมายไดT โดยจะมีผลใชTบังคับเมื่อไดT
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลTว
อTางอิง : กำธร พันธุ[ลาภ. (2526). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (เล(ม 1 : ก-กลาก
เหล็ก). (พิมพ[คร้งั ทีส่ าม). กรงุ เทฯ : ไพศาลศิลปÂการพมิ พ[. หนาT 27-38.

ข`อบญั ญัติทอ` งถิน่

กฎหมายที่องค[การบริหารส(วนทTองถิ่นตราขึ้นเพื่อใชTบังคับในเขตขององค[การบริหารส(วนทTองถิ่นนั้น ๆ
เช(น ขTอบัญญตั จิ งั หวดั ขTอบญั ญัตกิ รุงเทพมหานคร ขTอบญั ญัตเิ มืองพทั ยา

1. ตTองมกี ฎหมายแมบ( ทใหอT ำนาจไวT
2. ออกขอT บญั ญตั ิทTองถิ่นเกนิ กวา( อำนาจทก่ี ฎหมายแมบ( ทใหไT วไT ม(ไดT
3. ตอT งออกตามขั้นตอนท่ีกฎหมายกำหนด
4. หลกั “ไม(มีกฎหมายไมม( คี วามผิด”
(อาT งองิ :ศูนยบ[ ริหารกฎหมายสาธารณสขุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ .)

การปฏริ ูปการศกึ ษา

การปฏิรูป คือ การทำใหTสิ่งที่เป-นปYญหา หรือผิดไปจากสภาพที่เหมาะสม มาจัดรูปแบบใหม( ดังนั้นการ
ปฏริ ปู การศึกษา หมายถงึ การเปล่ยี นแปลงโครงสราT งของระบบการศึกษา

การปฏิรปู การศึกษาหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ 2547 มีจำนวน 4 ครัง้
ครั้งท่ี 1 การปฏิรปู การศกึ ษาในป‹ พ.ศ 2517 เปน- การศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม

สาเหตขุ องการปฏิรปู คณะกรรมการการวางพ้ืนฐานเพอ่ื ปฏริ ูปการศึกษา เห็นว(าควรมีการปฏริ ปู
ดTวยสาเหตดุ ังนี้

1. ปYญหาอันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทางสงั คมและสง่ิ แวดลอT ม
2. ปญY หาอันเกิดจากการการเปลยี่ นแปลงทางความคิด
3. ปYญหาอันเกดิ จากระบบการศกึ ษา
ครงั้ ที่ 2 การปฏริ ปู การศึกษาในป‹ พ.ศ.2537 การศกึ ษาเพอื่ นำทางส(ูสงั คมแห(งปญY ญาและการเรยี นรูT
เป-นการปฏิรูปการศึกษาโดยภาคเอกชน นำโดยนายบัณฑูร ล่ำซำ กรรมการผูTจัดการธนาคาร
กสิกรไทย โดยจัดตั้ง คณะศึกษาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน[ เพื่อศึกษาและเสนอแนะการปฏิรูป
การศึกษา โดยธนาคารกสิกรไทยเป-นผูTสนับสนุน คณะศึกษาฯประกอบไปดTวยผูTที่มีประสบการณ[
ภาคเอกชน ภาครัฐ ภาคราชการ ภาคประชาชน ฯลฯ น(วมกันทำงานนี้ โดยไดTวางยุทธศาสตร[ไวT 4
ขนั้ ตอนคือ

197

1. จดุ ประกาย
2. ขายความคิด
3. พิชิตความเปลยี่ นแปลง
4. ออกแรงผลักดนั สคู( วามสำเร็จ
ครั้งที่ 3 “ปฏิรูปการศึกษา” ไม(ใช(คำใหม(ที่ไม(คุTนชิน แต(กลับเป-นคำคุTนเคยอยู(คู(กับการศึกษาไทยมา
ยาวนานถึง 20 ป‹ หากจะเริ่มนับจากการปฏิรูปการศึกษาในป‹ พ.ศ.2542 ปฏิเสธไม(ไดTว(า การศึกษาไทย
ติดหล(ม กับคำว(า ลTาหลังและลTมเหลว มาเป-นหTวงเวลานาน ประสิทธิผลทางการศึกษาของไทย ไม(ว(าจะ
ผลลัพธ[หรือผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต(างมีปYญหา ตัวเลขชี้วัดการทดสอบต(างๆ สะทTอนปYญหาการคิด
วิเคราะห[ของเด็กไทย หรือแมTแต(ตัวเลขชี้วัดคุณภาพทางการศึกษาไม(ไดTสะทTอนผลที่แทTจริงออกมา ดTวย
ปYจจัยหลากหลายที่ส(งผลเกี่ยวโยงกัน เป-นปYญหาใหญ(ที่ฝYงรากลึก จนทำใหTการศึกษาไทยกTาวไม(ทันกับ
การพัฒนาประเทศใหTเทยี บเทา( สากล
การปฏิรูปการศึกษา เมื่อป‹ 2542 มีหลักการจัดการศึกษาที่สำคัญ คือ การกระจายอำนาจ การมีส(วนร(วมของ
ทุกฝÄาย การยึดมาตรฐาน และการยึดผูTเรียนเป-นสำคัญ นำมาสู( พ.ร.บ.การศึกษาแห(งชาติ ป‹ พ.ศ. 2542 มีการ
ปรับเปลี่ยนเชิงโครงสรTางของกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากหลากหลายองค[กรมีปYญหาและบริหารจัดการไดTไม(
คล(องตัว จึงเปลี่ยนจาก 14 กรม มาเป-น 5 องค[กรหลัก อีกทั้งยังเกิดการปฏิรูปองค[ประกอบต(าง ๆ ที่เกี่ยวขTองกับ
การจดั การศกึ ษาใน 7 ดาT น คือ

1.หลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู`

การศึกษาในระบบ โดยทั่วไปแลTวจัดการเรียนการสอนโดยครูวิชาชีพอย(างเป-นระบบ ซึ่งมักเป-นการจัดการ
เรียนการสอนในระดับโรงเรียน วิทยาลัย และในระดับมหาวิทยาลัย องค[การเพื่อความร(วมมือทางเศรษฐกิจและ
การพัฒนาไดTจัดการศึกษาในระบบเป-น 1 ใน 3 รูปแบบทางการศึกษา ซึ่งประกอบไปดTวย การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สำหรับการศึกษาในระบบนั้นเป-นการศึกษาที่มีการกำหนด
จุดมุ(งหมาย วิธีการศึกษา ระยะเวลาในการศึกษา การวัดประเมินผล หลักสูตรและเงื่อนไขการศึกษาที่แน(นอน
โดยในประเทศไทยแบ(งการศึกษาในระบบออกเป-น 2 รูปแบบคือการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
การศึกษาในระดบั อดุ มศกึ ษา (พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง( ชาติ พ.ศ.2542)

การศึกษานอกระบบ หรือการศึกษานอกระบบโรงเรียนเป-นการศึกษาที่มีการจัดหลักสูตร ระยะเวลาในการ
เรียนและการวัดและประเมินผลยืดหยุ(นสอดคลTองกับสภาพและความตTองการของผูTเรียน โดยไม(เป-นการจำกัด
อายุ รูปแบบการเรียนการสอนหรือสถานที่สำหรับประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบการศึกษานอก
โรงเรียนอยู(เป-นจำนวนมาก โดยนิยมจัดตั้งศูนย[การเรียนรูTชุมชนหรือศูนย[การเรียนรูTนอกระบบโรงเรียน เพื่อใหT
ประชาชนเขTามาเรียนรูTไดT โดยภายในศูนย[จะมีอาจารย[ประจำและอาจารย[อาสาสมัครเป-นผูTจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน สำหรับการศึกษารูปแบบนี้เป-นหนึ่งในรูปแบบการศึกษาหนึ่งในสามรูปแบบหลักตามการจัดขององค[การ
เพือ่ ความรว( มมือทางเศรษฐกิจและการพฒั นา (พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง( ชาติ พ.ศ.2542

การศึกษาตามอัธยาศัย เป-นการศึกษาที่ไม(มีรูปแบบตายตัว ไม(มีหลักสูตรและระยะเวลาในการเรียนที่แน(นอน
โดยการจัดการศึกษาในรูปแบบนี้เป-นการศึกษาองค[ความรูTต(าง ๆ ผ(านประสบการณ[ตรงที่ไดTประสบใน

198

ชีวิตประจำวัน โดยการศึกษาตามอัธยาศัยจะกลายเป-นรากฐานสำคัญของการศึกษาตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห(งชาติ พ.ศ.2542)

2. ครู คณาจารยEและบคุ ลากรทางการศึกษา

ใหTกระทรวงส(งเสริมใหTมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครูคณาจารย[ และบุคลากรทางการศึกษาใหT
มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป-นวิชาชีพชั้นสูง โดยการกำกับและประสานใหTสถาบันที่ทำหนTาที่ผลิต
และพัฒนา ครู คณาจารย[ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาใหTมีความพรTอมและมีความเขTมแข็งในการเตรียม
บุคลากรใหม(และการพัฒนาบุคลากรประจำการอย(างต(อเนื่องและเพิ่มหลักสูตรผลิตครูจาก 4 ป‹เป-น5ป‹ โดยที่ครู
ผTูบรหิ าร นเิ ทศศกึ ษา ตTองมใี บอนุญาต (พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห(งชาติ พ.ศ.2542)

3. ระบบสือ่ และเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา

มีการพัฒนาในการเรียนการสอนโดยการใชTสื่อและเทคโนโลยีต(างๆ เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการ
เรียนรูT เชน( คล่ืนวิทยุเพื่อการศึกษา DLT TV เปน- ตนT

4. โครงสร`างการบริหารและการจัดการ

มีการปรับเปลี่ยนโครงสรTางการบริหารและการจัดการโดยการเปลี่ยนจาก 14 องค[กร เหลือเพียง 5
สำนัก ไดTแก( สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง( ชาติ พ.ศ.2542)

5. ระบบตรวจสอบประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา

มาตรฐานที่ 1 ดTานคุณภาพผูTเรียน ผลการเรียนรูTที่เป-นคุณภาพของผูTเรียนทั้งดTานผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
ประกอบดTวย ความสามารถในการอ(าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ การคิดประเภทต(าง ๆ การสรTาง
นวัตกรรมการใชTเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตราตรฐานการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน (สำนกั ทดสอบทางการศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป-นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษามีการกำหนดเปžาหมายวิสัยทัศน[และพันธกิจอย(างชัดเจนสามารถดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนTน
คุณภาพผูTเรียนรอบดTานตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุ(มเปžาหมายจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรใหTมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนTนผูTเรียนเป-นสำคัญ เป-นกระบวนการจัดการเรียน
การสอนตามศักยภาพของผูTเรียนแต(ละบุคคลตามที่ระบุไวTในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคลTองกับ
หลักสูตรของสถานศกึ ษาสรTางโอกาสใหTผTูเรยี นมสี (วนรว( มในการเรยี นรTผู า( นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ
การประเมินคณุ ภาพ (สำนักทดสอบทางการศกึ ษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 2561)

การประกันคุณภาพภายนอก เป-นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อใหTมีการติดตามและ
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุ(งหมาย หลักการ และแนวการจัด

199

การศึกษาในแต(ละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค[การ
มหาชน) หรือเรียกชื่อย(อว(า“สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแห(งชาติ พ.ศ.2542 แกTไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.
2454 ไดTกำหนดใหTสถานศึกษาทุกแห(งตTองไดTรับการประเมินคุณภาพภายนอกอย(างนTอย 1 ครั้ง ในทุกรอบ 5
ป‹ นับตั้งแต(การประเมินครั้งสุดทTาย และเสนอผลการประเมินต(อหน(วยงานที่เกี่ยวขTองและสาธารณชน (สำนัก
ทดสอบทางการศกึ ษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 2561)

การประเมินภายใน คือการที่สถานศึกษาประเมินตนเอง และหน(วยงานตTนสังกัดเขTามาประเมิน โดยมี
จุดมุ(งหมายที่จะประเมินผลการดำเนินงานของตนเอง หรือหน(วยงานในสังกัดว(ามีคุณภาพระดับใด มีปYญหาท่ี
ตTองการการแกTไขหรือความช(วยเหลือตรงไหน ทั้งนี้เพื่อใหTเกิดการพัฒนาอย(างยั่งยืนและต(อเนื่อง (สำนักทดสอบ
ทางการศกึ ษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2561)

6. ระบบงบประมาณและทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา

มีการระดมทุนเพื่อมาใชTในเรื่องของการศึกษา ไม(ว(าจะเป-น โครงการเรียนฟรี 15 ป‹ หรือกองทุนกูTยืมเพ่ือ
การศึกษาท้ังภาครฐั และเอกชน

7. การมสี *วนร*วมของสงั คมในการจัดการศึกษา

สังคมมีส(วนร(วมในการจัดการศึกษา ไม(ว(าจะเป-นสื่อตัวนำและโครงสรTางพื้นฐานอื่นที่จำเป-นต(อการส(ง
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน[ วิทยุโทรคมนาคม หรือ ศูนย[การศึกษานอกสถานที่ และการสื่อสารในรูปอื่น เพ่ือ
ใชTประโยชน[สำหรบั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ( พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ติ
การศกึ ษาแห(งชาติ พ.ศ.2542)
คร้ังที่ 4 การปฏิรปู การศกึ ษาในป‹ พ.ศ. 2562 เพอ่ื พัฒนาประเทศไทย 4.0 ตามยุทธศาสตร[ ชาติ 20 ป‹

ดTวยรัฐธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย พ.ศ 2560 มาตรา 258 จ.โดยสรุป ไดTบัญญัติใหTมีการดำเนินการ
ปฏิรูปประเทศดTานการศึกษา ทั้งนี้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฯ มาตรา 261 กำหนดใหTการปฏิรูปตามมาตรา
258 จ. ดTานการศึกษา มีคณะกรรมการที่มีความเป-นอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแต(งตั้ง (คณะกรรมการอิสระ
เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ)) ดำเนินการศึกษาและจัดทำขTอเสนอและร(างกฎหมายที่เกี่ยวขTองใหTบรรลุ
เปžาหมายเพ่อื เสนอคณะรฐั มนตรีดำเนินการตอ( ไป

กอปศ ไดสT รปุ ปYญหาและความทาT ทายของระบบการศกึ ษาของไทยไวT 7 เรอื่ ง ไดTแก(
1. ปYญหาของระบบการศกึ ษาของไทยมีความซับซTอนสงู
2. คณุ ภาพของการศกึ ษาต่ำ
3. ความเหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษาสงู
4. ปญY หาของระบบการศึกษาเปน- อปุ สรรคอยา( งยิง่ ตอ( การขดี ความสามารถในการแขง( ขนั ระดับประเทศ
5. การใชTทรัพยากรทางการศกึ ษายังไมม( ปี ระสิทธิภาพ
6. การกำกับดูแลและการบริหารจัดการระบบการศึกษาของภาครัฐในดTานธรรมาภิบาลเป-นอุปสรรค

สำคญั ทบ่ี นั่ ทอนประสิทธิผลของการนำประเด็นการปฏิรปู การศึกษาส(ูการปฏบิ ัติ
7. บรบิ ทของประเทศและของโลกกำลังเปล่ียนแปลงอยา( งรวดเร็ว

200

กอปศ. ไดTกำหนดแผนงานเพื่อการปฏิรูปไวTดTวย 7 เรื่อง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค[ของการปฏิรูปการศึกษา
ไวTดังนี้

1. การปฏริ ูประบบการศึกษาและการเรยี นรูTโดยรวมของประเทศ โดย พรบ.การศกึ ษาแหง( ชาติฉบับใหม(
และกฎหมายลำดับรอง

2. การพฒั นาเดก็ เลก็ และเด็กกอ( นวัยเรียน
3. เพ่อื ลดความเหลอื่ มลำ้ ทางการศึกษา
4. การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ คดั กรอง และพัฒนาผปTู ระกอบวิชาชีพครูและอาจารย[
5. การปฏิรูปการจัดการเรยี นการสอนเพือ่ ตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
6. การปรับโครงสรTางของหน(วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเปžาหมายในการปรับปรุงการจัดการ

เรียนการสอนและยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศกึ ษา
7. การปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรยี นรูTโดยการพลิกโฉมดวT ยระบบดจิ ิทัล
การบรรลผุ ลของการปฏริ ปู การศกึ ษาตามแผนขาT งตนT จะแบง( เป-น 3 ระยะ คือ

1. ระยะเรง( ดว( นหรือภายในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ซึ่งครบวาระการทำงานของ กอปศ.
2. ระยะส้นั หรอื ภายใน 3 ป‹
3. ระยะกลาง-ระยะยาว หรือภายใน 5-10 ป‹

โทษบุคคลากรทางการศกึ ษา
1.โทษทางวนิ ัยของครู

วินัยมีลักษณะเปน- ขอT บญั ญัตเิ พื่อควบคุมและสง( เสริมใหขT าT ราชการอยใู( นกรอบแหง( ความประพฤตอิ นั
ดงี าม ระเบยี บวินัยโดยทั่วไปมีไวT เพ่อื ใหTบุคคลในสังคมปฏิบตั ริ ว( มกันในทศิ ทางและแนวทางเดียวกนั
เพอ่ื ใหสT ามารถอยูร( (วมกนั ไดT อยา( งสงบ สนั ติ เคารพในสิทธิและหนาT ทีข่ องกันและกัน

วนิ ัยขาT ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา หมายถึง ขTอบัญญตั ิที่กาํ หนดเป-นขTอหาT ม และขTอปฏิบัติ
ตามหมวด 6 แห(งพระราชบัญญตั ริ ะเบียบขาT ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 มาตรา 82
– มาตรา 97

การพิจารณากำหนดโทษ

การกำหนดโทษ คือ การกำหนดระดบั โทษผTูกระทำความผิดใหTเปน- ไปตามการปรับบทความผิดว(าเป-น
ความผิดตามมาตราใดของบทบัญญตั ิทางวนิ ัย ตามหมวด 6 ( มาตรา 96 ) ไดTกำหนดโทษทางวนิ ัยไวT 5 สถาน
แบง( ออกเป-น 2 ประเภท ไดแT ก(

201

1.รบิ ทรพั ย?สนิ โทษ 5 สถาน
2.ปรบั 4.จำคุก
3.กักขัง 5.ประหารชีวิต

ความผดิ ไมXร#ายแรง วธิ ีพจิ ารณากฏหมายไมบ( ังคับใหTตอT งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ผบTู งั คบั บญั ชา
ลงโทษไดเT อง เพียงใหTผูTถูกกล(าวหาไดชT ้แี จงแกขT Tอหาก็ลงโทษไดT

ความผิดร#ายแรง วิธพี จิ ารณาแต(งต้ังคณะกรรมการขึน้ ทำการสอบสวน เสนอ อนกุ รรมการขาT ราชการ
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.) พิจารณามีมติใหลT งโทษเสยี ก(อน ผบูT ังคบั บญั ชาจงึ สั่งลงโทษไดขT TอยกเวTนท่ี
ไมต( Tองสอบสวน ใหTถTอยคำรบั สารภาพเป-นหนงั สือต(อผูTบังคบั บัญชาจึงสั่งลงโทษหรอื ตอ( คณะกรรมการสอบสวน

1. การสอบสวนทางวนิ ยั
1.1 การสอบสวนทางวนิ ยั ไมร( าT ยแรง การสอบสวนประเภทนี้หัวหนTาสถานศึกษา มีอำนาจ แตง( ตั้ง

กรรมการสอบสวน
2. การสอบสวนทางวนิ ยั ราT ยแรง หัวหนาT สถานศกึ ษาไม(มอี ำนาจแตง( ตัง้ กรรมการสอบสวน ผTูมีอำนาจ
ไดTแก(

2.1. ระดับจังหวดั คอื ผูTว(าราชการจงั หวัด
2.2. ระดบั กรม คือ อธิบดีกรมสามญั ศึกษา

การส่งั ลงโทษ

1. ตTองออกเปน- คำส่ัง
2. ในคำส่งั ใหแT สดงว(าผTูถกู ลงโทษกระทำความในกรณใี ด ตามมาตราใด

อำนาจการสงั่ ลงโทษของหัวหน`าสถานศึกษา

1. ผTอู ำนวยการโรงเรยี นและอาจารย[ใหญ( ลงโทษขาT ราชการครใู นบงั คับบัญชาดังนี้
1.1. ภาคทัณฑ[
1.2. ตัดเงินเดอื นครงั้ หนึ่งไมเ( กนิ 10% เปน- เวลาไมเ( กนิ 2 เดือน

2. โทษทางจรรยาบรรณครู

ในส(วนมาตรฐานวิชาชีพการปฏิบัติตน มีขTอกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติตนของผูTประกอบวิชาชีพหาก
ผูTประกอบวิชาชีพผูTใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทำใหTเกิดความเสียหายแก(บุคคลอื่นจนไดTรับการ
รTองเรยี นถงึ ครุ สุ ภาแลวT ผTูน้ันอาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี วินจิ ฉัย ช้ีขาดอย(างใดอย(างหนง่ึ

202

โทษ 5 สถาน

1. ยกข#อกลาX วหา 4. พักใชใ# บอนุญาตมีกำหนดเวลาตามท่ี
เหน็ สมควรแตไX มXเกนิ 5 ป|

2. ตกั เตอื น 5.เพิกถอนใบอนุญาต

3. ภาคทัณฑ?

(การครุ ุสภาครั้งท่ี 6/2548, ออนไลน[)

3. โทษทางอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา กล(าววา( ผูTกระทำการใดๆท่กี ฎหมายกำหนดวา( เปน- ความผดิ จะตอT งรบั ผิดทาง
อาญา ตอ( เม่อื ไดTกระทำโดยเจตนาเทา( นัน้ (มาตรา 59)

3.1 เหตุยกเวนT โทษทางอาญา ถอื ว(ายังเปน- ความผดิ แตไ( ม(ตอT งรบั โทษ
3.2. การกระทำความผิดดวT ยความจำเป-น
3.3. การกระทำความผดิ เพราะความบกพรอ( งทางจติ
3.4. การกระทำความผดิ เพราะความมนึ เมา
3.5. การกระทำตามคำส่งั ของเจTาพนักงาน
3.6. สามี ภริยา กระทำความผดิ ต(อกนั ในเรือ่ งทรัพย[
3.7. เด็กอายไุ ม(เกนิ 14 ป‹ กระทำความผดิ
(ทวีเกียรติ มนี ะกนษิ ฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อTางองิ , ออนไลน[)

กฎหมายอืน่ ทเี่ ก่ยี วข`องกับการศกึ ษา

สทิ ธเิ ดก็

ความหมายของสทิ ธเิ ด็กไดรT บั การรับรองโดยองค[การสหประชาชาติ ซึง่ ตอ( มาไดTพัฒนานำ
หลักการต(างๆ มารวบรวมไวTเป-นกฎหมายระหวา( งประเทศในรูปของอนสุ ญั ญาคือ อนสุ ญั ญาวา( ดวT ยสิทธเิ ดก็
(Convention on the Rights of the Child = CRC) เป-นสัญญาดTานสทิ ธิมนุษยชนระหวา( งประเทศท่ี
สหประชาชาติโดยเฉพาะองค[การกองทนุ เพ่อื เดก็ แหง( สหประชาชาติไดTรา( งขน้ึ โดยมปี ระเทศเขาT เป-นภาคีสมาชกิ
195 ประเทศ ยกเวTนประเทศโซมาเลยี และ สหรัฐอเมริกา

“เด็ก” ตามพระราชบญั ญตั คิ ุTมครองเด็ก พ.ศ. 2546 “เดก็ ” หมายความวา( บคุ คลซึง่ มีอายุตำ่ กว(าสิบ
แปดปบ‹ ริบรู ณ[ แต(ไม(รวมถงึ ผูTทบ่ี รรลุนิตภิ าวะดวT ยการสมรส

“สทิ ธ”ิ (Right) หมายถึง ส่ิงนั้นเป-นส่ิงที่คนผTูนัน้ พงึ มีพึงไดTอย(างถูกตTอง คนอื่นตTองยอมรับจะขัดขวาง
หรอื ลดิ รอนไม(ไดT (วีระ สมบรู ณ,[ 2545)

“สทิ ธ”ิ ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน แปลวา( อำนาจอันชอบธรรม (ราชบณั ฑติ ยสถาน,
2525)

203

“สิทธเิ ด็ก” หมายถงึ บุคคลซงึ่ มีอายุต่ำกวา( สบิ แปดปบ‹ รบิ รู ณ[ แต(ไม(รวมถงึ ผTูที่บรรลุนิติภาวะดTวยการ
สมรส มีอำนาจอันชอบธรรมที่จะกระทำการใด ๆ ไดอT ยา( งอิสระ โดยไดTรับการรบั รองคTมุ ครองจากกฎหมาย

สทิ ธิพืน้ ฐานตามอนุสัญญาวา* ด`วยสิทธเิ ด็ก

อนุสัญญาว(าดTวยสิทธิเด็ก มีสาระสำคัญที่มุ(งคุTมครองสิทธิเด็กทุกคนไม(ว(าจะเป-นเด็กที่ดTอยโอกาส
ในลักษณะใดก็ตาม เช(น เด็กพิการ เด็ก ที่ถูกทอดทิ้ง เด็กเร(ร(อน เด็กถูกทารุณกรรม เด็กที่ถูกใชTแรงงานอย(างผิด
กฎหมาย โดยเดก็ ทกุ คนจะไดรT ับสิทธิพน้ื ฐาน 4 ประการ คือ

1. สิทธิการมีชีวิตอยู(รอด (Right of Survival) สิทธิการมีชีวิตอยู(รอด หมายถึง สิทธิของเด็กที่คลอดออก
มาแลTวจะตTองมีชีวิตอยู(รอดอย(างปลอดภัย เมื่อทุกคนเกิดมาแลTวจะมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู(ไม(ว(าจะเกิดมามีร(างกายท่ี
สมบูรณ[หรือไม(ก็ตาม โดยเด็กที่เกิดมาตTองไดTรับการจดทะเบียนการเกิดรวมทั้งมีสิทธิตามความจำเป-น ขั้นพื้นฐาน
ในการดำรงชีวิต เช(น ไดTรับการอบรมเลี้ยงดูจากพ(อแม(บุคคลในครอบครัว ไดTรับการส(งเสริมสุขภาพ ไดTรับการ
สรTางเสริมภูมิคุTมกันโรค รวมทั้งไดTรับการรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานมีที่อยู(อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ และอยู(ใน
ส่ิงแวดลอT มท่ไี ม(เปน- อันตรายต(อสุขภาพกายและจิตใจ

2. สิทธิในการพัฒนา (Right of Development) สิทธิในการพัฒนา หมายถึง การไดTรับโอกาสในการ
พัฒนาอย(างเต็มตามศักยภาพ เมื่อเด็กเจริญเติบโตขึ้นมีสิทธิที่จะไดTรับพัฒนาการ ทางดTานร(างกาย จิตใจ
ความรูTสึกนึกคิด ศีลธรรม รวมทั้งสิ่งที่เด็กตTองการเพื่อบรรลุเปžาหมายตามความสามารถ เช(น ไดTรับการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานไมน( อT ยกวา( 12 ปท‹ ร่ี ัฐจะตTองจัดใหโT ดยไมเ( กบ็ ค(าใชจT (าย

3. สิทธิในการไดTรับการคุTมครอง (Right of Protection) สิทธิในการไดTรับการคุTมครอง หมายถึง การ
ไดTรับการคุTมครองจากการเลือกปฏิบัติการล(วงละเมิดการถูกกลั่นแกลTงการถูกทอดทิ้งการกระทำทารุณหรือการใชT
แรงงานเด็ก โดยรัฐมีนโยบายคุTมครองเด็กจัดใหTมีกองทุนคุTมครองเด็กและคณะกรรมการคุTมครองเด็กแห(งชาติผูTใด
พบเห็นเด็กที่ถูกปฏิบัติโดยมิชอบจะตTองใหTการช(วยเหลือเบื้องตTน และตTองแจTงต(อเจTาหนTาที่เกี่ยวขTอง โดยเร(งด(วน
ผูTปกครองตTองดูแลและคุTมครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู(ในความปกครองของตนมิใหTตกอยู(ใน สถานการณ[ที่จะเกิด
อนั ตรายต(อร(างกายและจิตใจ

4. สิทธิในการมีส(วนร(วม (Right of Participation) สิทธิในการมีส(วนร(วม หมายถึง การใหTเด็กไดTรับ
บทบาทที่สำคัญในชุมชน เด็กมีสิทธิที่จะมีส(วนร(วมในกิจกรรมในสังคมมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่มี
ผลกระทบต(อชีวิตของตนเอง และไดTรบั โอกาสในการเขTารว( มกจิ กรรมท่ีเปน- ประโยชนต[ อ( สังคมเมอ่ื เตบิ โตขึ้น
ท่ีมา : ฟาž ดาว ออ( นกล่นั .(2535). สิทธเิ ด็กตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู

ความรบั ผิดของเดก็ ในการทำผิดทางอาญา

โดยทั่วไปแลTวเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาข้ึน กฎหมายเห็นว(าพวกเขาเหล(านี้อาจมีความรูTสึก
ผิดชอบอย(างจํากัดไม(เหมือนกับกรณีที่ผูTใหญ(เป-นผูTกระทำความผิด ดังนั้นกฎหมายอาญาจึงกำหนดเรื่อง ความรับ
ผิดทางอาญาของเด็กไวTแบง( กลมุ( อายุของเด็กท่ีกระทำความผดิ ไวTดงั นี้

1. เด็กอายุไม(เกิน 12 ป‹ สามารถกระทำความผิดทางอาญาไดTเช(นเดียวกับผูTใหญ( ซึ่งถือว(าเด็กนั้นเป-น
ผูTกระทำความผิดไดTแต(กฎหมายยกเวTนโทษแก(เด็กนั้น โดยหTามมิใหTลงโทษแก(เด็กนั้นเลยแต(ทั้งนี้ หมายความว(า
การกระทำของเด็กอายุไม(เกิน 12 ป‹นั้น ยังเป-นความผิดกฎหมายอาญาอยู( เพียงแต(กฎหมายไม(เอาโทษเท(านั้น ใหT

204

พนักงานสอบสวนส(งตัวเด็กนั้นใหTพนักงานเจTาหนTาที่ตามกฎหมายว(าดTวยการคุTมครองเด็ก เพื่อดำเนินการคุTมครอง
สวสั ดภิ าพตามกฎหมายว(าดTวยการนนั้

2. เด็กอายุ 12 ป‹ไม(เกิน 15 ป‹ กระทำความผิดอาญาไดTเช(นเดียวกับผูTใหญ( โดยถือว(าเด็กนั้นอาจเป-น
ผูTกระทำความผิดไดTแต(อย(างไรก็ตาม เด็กในวัยนี้กฎหมายก็ยังถือว(ามีความรูTสึกผิดชอบชั่วดีอย(างจํากัด
เช(นเดียวกัน จึงใหTมีการยกเวTนโทษแก(เด็กที่กระทำความผิด โดยหTามมิใหTลงโทษทางอาญาแก(เด็กนั้นเลย แต( ทั้งนี้
หมายความว(า การกระทำของเด็กนั้นยังเป-นความผิดกฎหมายอาญาอยู( เพียงแต(กฎหมายไม(เอาโทษเท(านั้น
อย(างไรก็ตามสำหรับเด็กอายุ 10 ป‹ไม(เกิน 15 ป‹ที่กระทำความผิดนี้กฎหมายก็เป-ดช(องใหTศาลใชTดุลพินิจที่จะ ใชT
"วิธีการสำหรับเด็ก" ไดTซึ่งจะเป-นเครื่องมือสำหรับปรับปรุงเด็กใหTเป-นคนดีและไม(กระทำความผิดขึ้นอีกในอนาคต
วธิ ีการสำหรับเดก็ ตามทีก่ ฎหมายกำหนดไวT ไดแT ก(

1. การว(ากล(าวตักเตือนแก(เด็กที่กระทำความผิด หรือแก(บิดา มารดา ผูTปกครอง หรือบุคคล ท่ี
เด็กอาศัยอย(ู

2. การเรียกบิดามารดา ผูTปกครอง หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู(มาทำทัณฑ[บนว(าจะระวังไม(ใหT เด็ก
กอ( เหตุราT ยขึ้นอกี

3. การใชTวธิ ีการคมุ ประพฤติสำหรบั เดก็ โดยมพี นักงานคมุ ประพฤติคอยควบคมุ สอดสอ( ง
4. ส(งตัวไปอยกู( ับบุคคลหรือองคก[ รทีย่ อมรับเดก็ เพ่ือส่งั สอนอบรม
5. สง( ตัวไปโรงเรยี นหรือสถานฝ¡กและอบรม หรือสถานท่ีตงั้ ขึ้นเพ่ือฝ¡กและอบรมเด็ก (แต( ไมใ( หT
อย(ูจนอายุเกนิ 18 ป)‹
3. เด็กอายุ 15 ป‹ไมเ( กนิ 18 ป‹ กระทำความผดิ กฎหมายถือว(ามคี วามรTสู กึ ผดิ ชอบตามสมควร แลวT แต(ก็
ไม(อาจถือวา( มคี วามรสTู ึกผิดชอบอยา( งเตม็ ท่ี เช(น กรณผี ใูT หญ(กระทำความผดิ กฎหมายจึงเป-ดโอกาสใหTศาลใชT
ดลุ พนิ ิจไดTโดยศาลที่พิจารณาคดีอาจเลอื กลงโทษทางอาญาแก(เดก็ น้นั เช(นเดียวกับกรณีคนทัว่ ไป (แตใ( หTลดโทษลง
กึ่งหนึ่งของโทษทกี่ ฎหมายกำหนดไวกT (อน) หรือศาลอาจจะเลอื กใชT "วธิ ีการสำหรับเด็ก" อยา( งทใ่ี ชT กบั เด็กอายุ 12
ปไ‹ ม(เกนิ 15 ปก‹ ไ็ ดT ท้งั นก้ี ารทศี่ าลจะใชดT ุจพนิ ิจลงโทษเด็กน้นั หรอื เลอื กใชT "วธิ กี ารสำหรับเด็ก" ศาลตTองพิจารณา
ถึง "ความรTผู ดิ ชอบและส่งิ อื่นท้งั ปวง เก่ยี วกบั ผTูน้ัน" เพือ่ พิจารณาวา( สมควรจะเลอื กใชTวธิ ใี ดระหว(างการลงโทษทาง
อาญากบั การใชTวธิ ีการสำหรับเด็ก และถาT ศาลเหน็ สมควรลงโทษทางอาญาศาลก็ตTองลดโทษลงกึ่งหนึ่งของโทษที่
กฎหมายกำหนดไวกT อ( นดวT ย
4. เด็กอายุ 18 ปไ‹ มเ( กนิ 20 ป‹โดยปกตแิ ลTวผTกู ระทำความผดิ ท่มี อี ายุ 18 ป‹ไมเ( กนิ 20 ป‹ จะตอT งรับโทษ
ทางอาญาเชน( เดียวกับผูใT หญ( แตศ( าลอาจใชTพินจิ ลดโทษใหTหนง่ึ ในสาม หรอื กงึ่ หน่ึงของโทษทกี่ ฎหมายกำหนดไวT
ก(อนก็ไดTหากศาลพิจารณาแลวT เหน็ ว(าความรสTู ึกผิดชอบของเขายังมีไมเ( ต็มท่ี ซง่ึ เปน- เหตุทีพ่ จิ ารณาจากตวั เดก็ ที่
กระทำความผดิ น้นั เอง (ที่มา : จิตติ ติงศภัทิย.[ (2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรงุ เทพมหานคร. เนติบณั ฑติ ย
สภา.)

205

ผปู` กครอง

กฎหมายกำหนดหนTาที่ของพ(อแม( และผูTปกครองไวTว(าตTองใหTการอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน
และพัฒนาเด็กที่อยู(ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก(ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมแห(ง
ทTองถิ่น และตTองคุTมครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู(ในความปกครองดูแลของตนมิใหTตกอยู(ในภาวะอันน(าจะเกิดอันตราย
แกร( า( งกายหรือจติ ใจ โดยผปูT กครองตTองไม(กระทำการดงั ตอ( ไปน้ี

- ทอดทิ้งเด็กไวTในสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือสถานพยาบาล หรือไวTกับบุคคลที่รับจTางเลี้ยงเด็ก หรือท่ี
สาธารณะ หรอื สถานท่ใี ด โดยเจตนาที่จะไม(รบั เดก็ กลบั คนื

- ละท้ิงเดก็ ไวT ณ สถานทใ่ี ด ๆ โดยไมจ( ัดใหมT ีการปžองกัน ดูแลสวัสดภิ าพ หรอื ใหTการเล้ียงดทู ่เี หมาะสม
- จงใจหรือละเลยไม(ใหTสิ่งที่จำเป-นแก(การดำรงชีวิต หรือสุขภาพอนามัยจนน(าจะเกิดอันตรายแก(ร(างกาย
หรอื จติ ใจของเด็ก
- ปฏิบัติต(อเดก็ ในลกั ษณะท่ีเปน- การขดั ขวางการเจรญิ เตบิ โต หรือพัฒนาการของเด็ก
- ปฏิบัตติ (อเดก็ ในลกั ษณะทเี่ ปน- การเลยี้ งดโู ดยมิชอบ
ซง่ึ หากเดก็ มีพฤติกรรมเสีย่ งตอ( การกระทำผดิ ตามท่กี ฎหมายทกี่ ำหนดคอื
1. เด็กที่ประพฤติตนไม(สมควร ไดTแก( ประพฤติตนเกเรหรือข(มเหงรังแกผูTอื่น, มั่วสุมในลักษณะที่ก(อความ
เดือดรTอนรำคาญแก(ผูTอื่น, เล(นการพนันหรือมั่วสุมในวงการพนัน, เสพสุรา สูบบุหรี่ เสพยาเสพติดใหTโทษ, ซื้อหรือ
ขายบรกิ ารทางเพศ, ไมเ( ขาT เรยี นในโรงเรยี น หรอื สถานศกึ ษาตามกฎหมายว(าดวT ยการศึกษาภาคบังคับ

2. เด็กทป่ี ระกอบอาชีพท่ีน(าจะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมายหรือขดั ต(อศลี ธรรมอนั ดี ไดแT ก(
ประกอบอาชีพหรือกระทำการใดอันเป-นการแสวงหาประโยชน[โดยมิชอบดTวยกฎหมาย, เด็กที่คบหาสมาคมกับ
บคุ คลที่นา( จะชักนำไปในทางกระทำผดิ กฎหมาย หรือขัดต(อศีลธรรม

3. เด็กที่อยู(ในสภาพแวดลTอมหรือสถานที่อันอาจชักนำไปในทางเสียหาย ไดTแก( เด็กที่อยู(ใน
สภาพแวดลTอมหรือสถานที่เกี่ยวขTองกับยาเสพติดใหTโทษ หรือใหTบริการทางเพศ (ที่มา : ฟžาดาว อ(อนกลั่น.(2535).
สิทธเิ ดก็ ตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนูญ)

ดังนั้น หากเด็กมีพฤติการณ[อย(างหนึ่งอย(างใดตามที่กำหนดในกฎกระทรวงย(อมเป-นกรณี “เด็กที่เสี่ยงต(อ
การกระทำความผิด” ตามพระราชบัญญัติคุTมครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 4 แลTวและเมื่อพิจารณาตาม นิยาม
ของคำว(า “เด็กที่เสี่ยงต(อการกระทำความผิด”จะเห็นไดTว(ากรณีที่ “เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต(อการ กระท าผิด”
ตามพระราชบัญญัติคุTมครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3) อันนำไปสู(ความรับผิดและลงโทษ ผูTปกครองตาม
มาตรา ๗๘ ที่มีอัตราโทษ “จำคุกไม(เกินสามเดือน หรือปรับไม(เกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้ง ปรับ”ความรับผิด
และการลงโทษนัน้ นำไปใชกT ับผTูปกครองทุกกรณที เ่ี ดก็ มีความประพฤตเิ สีย่ งต(อการกระทำผิด
(ที่มา : ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกับการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน)

206

ครู

จากระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา( ดวT ยการลงโทษนักเรียนและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548 ไดใT หTความหมาย
“กระทำความผิด” หมายความว(า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝÄาฝÈนระเบียบ ขTอบังคับของสถานศึกษา
หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว(าดTวยความประพฤติของนักเรียน และนักศึกษา“การลงโทษ”
หมายความว(า การลงโทษนกั เรยี นหรือนักศึกษาท่กี ระทำความผดิ โดยมคี วามมุ(งหมาย เพอ่ื การอบรมสงั่ สอน

โทษทจี่ ะลงโทษแกน* กั เรียนหรอื นกั ศกึ ษาทก่ี ระทำความผิด มี 4 สถาน ดังน้ี

1. ว(ากลา( วตักเตือน ใช(ในกรณนี ักเรียนหรือนักศกึ ษากระทำความผดิ ไม(ราT ยแรง
2. ทำทัณฑ[บน ใช(ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม(เหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือ
นักศึกษา ตามกฎกระทรวงว(าดTวยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทำใหTเสื่อมเสียชื่อเสียงและ
เกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝÄาฝÈนระเบียบของสถานศึกษา หรือไดTรับโทษว(ากล(าว ตักเตือนแลTว แตย( ังไม(เข็ด
หลาบ การทำทัณฑ[บนใหTทำเป-นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผTูปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด และ
รบั รองการทาํ ทัณฑบ[ น
3. ตัดคะแนนความประพฤติ ใหTเป-นไปตามระเบียบปฏิบัติว(าดTวยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน
และนักศกึ ษาของแต(ละสถานศึกษากาํ หนด และใหTทาํ บนั ทึกขTอมูลไวเT ปน- หลักฐาน
4. ทํากิจกรรมเพื่อใหTปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใชTในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทําความผิด ที่สมควร
ตTองปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมใหTเป-นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด หTามลงโทษ
นักเรียนและนักศึกษาดTวยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกลTงหรือลงโทษ ดTวยความโกรธ หรือดTวยความพยาบาท โดย
ใหTคํานึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความรTายแรงของพฤติการณ[ประกอบการลงโทษดTวย การลงโทษ
นักเรียนหรือนักศึกษาใหTเป-นไปเพื่อเจตนาที่จะแกTนิสัยและความประพฤติไม(ดี ของนักเรียนหรือนักศึกษาใหTรูT
สํานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต(อไปใหTผTูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผูTที่ผTูบริหาร
โรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เป-นผูTมีอํานาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ที่มา : ราชกิจจานุเบกษา ,
เลม( 122 ตอนพิเศษ 35 ง ,หนTา 18

กฎหมายต*างประเทศดา` นการศกึ ษา
กฎหมายด`านการศึกษาของประเทศไทย

กฎหมายเกีย่ วกบั การศึกษา ประกอบดTวย พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง และ
อ่นื ๆซ่งึ จัดหมวดหม(ูไดT 12 หมวด ดงั นี้

1. โครงสราT งการบริหาร
2. การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
3. อาชวี ศกึ ษา
4. การศึกษาเอกชน
5. การสง( เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
6. อุดมศึกษา

207

7. อดุ มศึกษาเอกชน
8. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
9. วิทยาศาสตรแ[ ละเทคโนโลยี
10. เด็ก เยาวชน คนพิการ ผูTสูงอายุ
11. ภาษกี ารศกึ ษา
12. อน่ื ๆ
ท้ังนี้ มีรายละเอยี ดขTอมูลดังน้ี

1. โครงสรา` งการบริหาร
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบัญญัติการศึกษาแหง( ชาติ พ.ศ. 2524
- พระราชบญั ญัติการศึกษาแห(งชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545
- พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง( ชาติ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553
- พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงแบง( ส(วนราชการสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบง( สว( นราชการสำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงแบง( สว( นราชการสำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ(งสว( นราชการสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบง( ส(วนราชการสำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ(งสว( นราชการสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ ารพ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ[ และวิธีสรรหา การเลือก
คณะกรรมการ วาระการดำรงตำแหน(งและการพTนจากตำแหน(งของกรรมการในคณะกรรมการสภา
การศกึ ษา พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑก[ ารแบ(งสว( นราชการภายในส านักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา พ.ศ 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ[ และวธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน(งและการพTนจากตำแหน(งของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงว(าดTวยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกว(าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ[ และวธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธาน

208

กรรมการและกรรมการ วาระการด ารงตำแหน(งและการพTนจากตำแหน(งของคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติหลักเกณฑ[ และวิธกี ารสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน(งและการพTนจากตำแหน(งของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ[ และวิธกี ารสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง( และการพนT จากตำแหน(งของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลักเกณฑ[ และวิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง( และการพนT จากตำแหน(งของคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ[การแบง( ส(วนราชการภายในสถานศึกษา ทจ่ี ัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
หรอื สว( นราชการท่ีเรียกชื่ออยา( งอืน่ พ.ศ. 2547

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ[ วิธีการ และลกั ษณะของงานทจี่ ะใหTส านกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
เปน- ผรTู บั ผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านเฉพาะอยา( งแทนสถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและ สว( นราชการทเ่ี รียกชอ่ื
อย(างอนื่ พ.ศ.2547

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ[และวิธกี ารประเมนิ ความพรTอมในการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของ
องค[กรปกครองส(วนทอT งถิ่น พ.ศ. 2547

- กฎกระทรวงว(าดTวยการบริหารงานบุคคลของขTาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ[ และวธิ ีการไดTมาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตำพ้ืนท่ีการศึกษา พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลกั เกณฑ[ และวธิ กี ารไดมT าของคณะกรรมการส(งเสริมการศึกษาพิเศษ
พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลกั เกณฑ[ และวธิ กี ารไดมT าของคณะกรรมการส(งเสริมสนบั สนนุ และ
ประสานความร(วมมอื การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ[ และวิธีการไดมT าของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผล การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ[ ละวิธีการประเมินความพรอT มในการจัดการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานของ
องค[กรปกครองสว( นทTองถน่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2549

ประกาศกระทรวง

- ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง มาตรฐานสถาบันอดุ มศกึ ษา พ.ศ.2554

209

2. การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545

พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฎีกาจดั ตัง้ โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ[ พ.ศ.2543

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงก าหนดหลกั เกณฑ[และวธิ ีการนับอายุเด็กเพ่อื เขาT รับการศึกษาภาคบงั คับ พ.ศ.2545
- กฎกระทรวงวา( ดวT ยการแบ(งระดับและประเภทการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงว(าดวT ยระบบ หลักเกณฑ[ และวิธปี ระกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาระดบั
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงวา( ดTวยสิทธิในการจดั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานโดยครอบครัว พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงว(าดวT ยสทิ ธขิ องสถานประกอบการในการจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย[การเรียน พ.ศ.
2547
- กฎกระทรวงว(าดTวยสทิ ธิในการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานโดยสถาบันพระพทุ ธศาสนา พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงวา( ดวT ยสิทธขิ ององคก[ รวชิ าชพี ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในศูนยก[ ารเรยี น พ.ศ. 2554
- กฎกระทรวงว(าดวT ยสิทธขิ ององค[กรเอกชนในการจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในศูนยก[ ารเรียนรTู พ.ศ. 2555

3. อาชีวศึกษา
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญัตกิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ.2551

4. การศึกษาเอกชน
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญตั ิโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั โิ รงเรียนเอกชน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว(าดวT ยการกำหนดคุณสมบตั แิ ละลักษณะตTองหาT มของผบูT รหิ ารโรงเรียนนอกระบบ
พ.ศ.2553

- กฎกระทรวงกำหนดค(าธรรมเนยี มสำหรบั การประกอบกจิ การโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2553

5. การส*งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญตั สิ ง( เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ2551

210

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงวา( ดTวยการแบ(งระดบั และการเทียบระดับการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั
พ.ศ.2546

6. อุดมศกึ ษา
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยราชภฎั พ.ศ. 2547
- พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขาT ราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2547
- พระราชบญั ญตั ิสถาบันเทคโนโลยปี ทมุ วนั พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญัติสถาบนั การพลศกึ ษา พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลัยนราธิวาสราชนครินทร[ พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ.2548
- พระราชบัญญตั ิการบริหารสว( นงานภายในของสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2550
- พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ.2550
- พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาT พระนครเหนือ พ.ศ.2550
- พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ.2550
- พระราชบัญญัตจิ ฬุ าภรณ[มหาวทิ ยาลัย พ.ศ.2551
- พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม( พ.ศ.2551
- พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั พะเยา พ.ศ.2553
- พระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลัยกรงุ เทพมหานคร พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว(าดTวยระบบ หลกั เกณฑ[ และวธิ ีประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2546

- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว( นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบรุ ี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตงั้ ส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาฬสินธุ[ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส(วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส(วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548

211

- กฎกระทรวงจัดตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม( กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครพนม กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้ังส(วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค[ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏบาT นสมเดจ็ เจTาพระยา กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย[ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ
2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ[ ในพระบรมราชูปถัมภ[

กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548

- กฎกระทรวงจัดตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ[ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเกต็ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร[ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว( นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอT ยเอด็ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั ศรีสะเกษ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส(วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส(วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548

212

- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส(วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตงั้ สว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร[ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏสุรนิ ทร[ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏหม(ูบาT นจอมบงึ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว( นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ต้ังสว( นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ[ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส(วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548

7. อดุ มศกึ ษาเอกชน
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญตั ิสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญตั ิสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2550

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดลกั ษณะของมหาวทิ ยาลัย สถาบนั และวทิ ยาลัยของสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน
พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ[ วธิ ีการ และเง่อื นไขในการขอรบั ใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต
ใหTจดั ตั้งสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดลกั ษณะและเน้อื ทีด่ ินท่ีจะใชTเป-นทจ่ี ดั สถาบนั อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงว(าดวT ยหลกั เกณฑ[ใหTอนปุ ริญญาสำหรบั ผูทT ่สี อนไวTไดTครบทกุ ลกั ษณะวิชา ตามหลกั สูตร
ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2549
- กฎกระทรวงกำหนดชนั้ สาขาของปริญญา และหลักเกณฑ[การใหปT รญิ ญากติ ตมิ ศักดิ์ของ
สถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงก าหนดลกั ษณะ ชนดิ ประเภท และส(วนประกอบของครยุ วิทยฐานะ และเข็มวิทย -
ฐานะของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงว(าดTวยการคมTุ ครองการท างานและผลประโยชน[ตอบแทนของผูปT ฏิบัติงานใน
สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549

8. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
พระราชบัญญัติ

- พระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติบำเหนจ็ บ านาญขTาราชการ (ฉบบั ท่ี 22) พ.ศ. 2547
- พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขาT ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547

213

- พระราชบัญญัติเงินเดือน เงนิ วิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน(งขาT ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ.2547

- พระราชบัญญตั ิเงินเดือนและเงนิ ประจำตำแหน(ง (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขTาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญตั ิระเบียบขาT ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553

พระราชกฤษฎีกา

- พระราชกฤษฎกี าการปรับอตั ราเงนิ เดอื นขาT ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2549
- พระราชกฤษฎกี าการปรับอตั ราเงนิ เดอื นขTาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ.2550
- พระราชกฤษฎีกาการไดรT ับเงนิ ประจำตำแหนง( ของขาT ราชการ และผดTู ำรงตำแหนง( ผTูบริหาร ซ่ึงไมเ( ปน-
ขาT ราชการ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2547
- พระราชกฤษฎีกาการไดรT ับเงนิ ประจำตำแหน(งของขาT ราชการ และผดTู ำรงตำแหนง( ผูTบรหิ าร ซงึ่ ไม(เป-น
ขาT ราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ.2549

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงการประกอบวชิ าชีพควบคมุ พ.ศ.2549

9. วทิ ยาศาสตรEและเทคโนโลยี
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญตั สิ ถาบนั สง( เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ[ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2548
- พระราชบัญญตั วิ (าดTวยวทิ ยาศาสตร[ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห(งชาติ พ.ศ.2551

10. เดก็ เยาวชน คนพิการ ผ`สู งู อายุ
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบัญญัตคิ Tุมครองเดก็ พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญตั ผิ สูT งู อายุ พ.ศ.2546
- พระราชบัญญัติส(งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง( ชาติ พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญัตกิ ารจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ[ ละวธิ กี ารใหTคนพิการมีสิทธิไดTรับสง่ิ อำนวยความสะดวก ส่อื บริการ
และความช(วยเหลอื อน่ื ใดทางการศึกษา พ.ศ.2550

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ[และวิธกี ารจดั สรรงบประมาณทางการศกึ ษา สำหรับคนพิการ
พ.ศ 2545

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณ[และวธิ กี ารใหคT นพิการมสี ิทธไิ ดTรบั สง่ิ อ านวยความสะดวก ส่อื บรกิ าร
และความช(วยเหลอื อ่ืนใดทางการศกึ ษา พ.ศ. 2550

214

11. ภาษกี ารศึกษา
พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว(าดTวยการยกเวTนรษั ฎากร (ฉบับท่ี 284)
พ.ศ. 2538

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรว(าดวT ยกำหนดกิจการทไ่ี ดTรับยกเวTนภาษีธรุ กจิ
เฉพาะกจิ (ฉบับที่ 386) พ.ศ.2544

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวา( ดวT ยการยกเวTนรัษฎากร (ฉบับที่ 420)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฎากรว(าดวT ยการยกเวTนภาษีมลู คา( เพิ่ม (ฉบับที่ 422)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรว(าดวT ยการยกเวนT รษั ฎากร (ฉบับท่ี 427)
พ.ศ. 2548

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรษั ฏากร วา( ดวT ยการยกเวนT รษั ฏากร (ฉบบั ที่437) พ.ศ.
2548

- พระราชกฤษฏอี อกตามความในประมวลรษั ฎากรว(าดวT ยการยกเวTนรษั ฎากร (ฉบับที่ 476) พ.ศ. 2551
- พระราชกฤษฏีออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา( ดTวยการยกเวTนรัษฎากร (ฉบบั ที่ 256) พ.ศ. 2554

12. อนื่ ๆ
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญตั ลิ ูกเสือ พ.ศ.2551

พระราชกฤษฎีกา

- พระราชกฤษฎกี าจัดตง้ั ส านกั งานบรหิ ารและพฒั นาองค[ความรTู (องค[กรมหาชน) พ.ศ. 2547
- พระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง( ชาติ (องค[การมหาชน) พ.ศ. 2548

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว(าดวT ยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงว(าดTวยระบบ หลักเกณฑ[ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพทางการศกึ ษา พ.ศ.2553
(อาT งอิง : นายวชญิ [ รตั นสทุ ธกิ ลุ วทิ ยากรช านาญการและ นางสาวสริ ินทรา ขวัญสง(า. (2546). กฎหมายดา) น
การศกึ ษา และทเี่ กีย่ วข)อง. สบื คTนเมอ่ื วนั ท่ี 9 มีานคม 2564.)

กฎหมายด`านการศึกษาของประเทศฟ•นแลนดE

กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจดั กฎหมายการศึกษาเปน- 7 กล(ุมครอบคลมุ ทกุ ช(วงวัย ระดบั และประเภท
การศกึ ษา และผูเT กีย่ วขTอง แตล( ะกลมุ( มีกฎหมาย 2 ระดับ ทกุ กลุ(มมีสาระหลกั ลกั ษณะดังน้ี

Act เทยี บไดTกับ พระราชบญั ญตั เิ พือ่ เขยี นจุดมง(ุ หมาย แนวทาง หลักสตู ร การจัดการเรียนการสอน การ
วดั ผล ประเมนิ ผล สทิ ธิ หนTาท่ี ความรับผดิ ชอบ และ กฎหมายรอง Decree เพอ่ื กำหนดแนวทางการจดั การ

215

ภาคปฏบิ ตั ิ เช(น การจดั เวลาเรยี น การวางแผนจัดการเรียนการสอน การแนะแนว ชวั่ โมงเรยี น และรายละเอียด
อนื่ ๆ

กฎหมายการศึกษาของฟน• แลนดE 7 กลุม*

1. การศกึ ษากอ( นประถมศึกษาและขน้ั พืน้ ฐาน
2. การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายและการสอบวัดผล
3. การศึกษาศิลปะขั้นพื้นฐาน
4. งานการศึกษาฟรี
5. การจดั หาเงินทุนของกจิ กรรมการศกึ ษาและวัฒนธรรม
6. การบรหิ ารการศึกษาของรัฐและเอกชน
7. ขอT กำหนดคุณสมบัตขิ องอาจารย[ผสูT อน

กฎหมายสำคัญเกีย่ วกับการศกึ ษา

หนงั สือกฎหมาย. ภาพ: OKMไซตน[ ีม้ ีรายการลงิ ก[ไปยงั กฎหมายและขอT บังคับดาT นการศึกษาทส่ี ำคญั
หากเปน- ไปไดลT ิงกจ[ ะนำคุณไปยงั กฎหมายทีเ่ ปน- ปYจจุบนั ของ Finlex Legislative Database โดยตรงซ่ึง
รวมถึงการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนกับกฎหมายหรอื ขอT บงั คับดTวย

1.การศึกษาก*อนประถมศึกษาและขั้นพน้ื ฐาน

พระราชบัญญัติการศึกษาขั้นพื้นฐาน (628/1998) กฎหมายควบคุมการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษา
ภาคบังคับการศกึ ษากอ( นวยั เรยี นการศึกษาเสริมการศกึ ษาก(อนประถมศกึ ษาและกิจกรรมในช(วงเชTาและบา( ย

ระเบียบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (852/1998) ขTอบังคับใหTเช(น เวลาในการสอนและการทำงานการประเมิน
การคTุมครองทางกฎหมายและการอนุญาตใหTจัดฝ¡กอบรม

พระราชกฤษฎีการัฐบาลว(าดTวยวัตถุประสงค[แห(งชาติสำหรับการสอนที่อTางถึงในพระราชบัญญัติ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและการกระจายชั่วโมงในการศึกษาขั้นพื้นฐาน (422/2555) ระเบียบดังกล(าวกำหนด
เปาž หมายทวั่ ไปของการสอนระดับชาติและการแบ(งชั่วโมง

2.การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายและการสอบวัดผล

กฎหมายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (714/2018)
พระราชบัญญัติโรงเรียนมัธยมในอดีต(629/1998) ใหTใชTบังคับในช(วงเปลี่ยนผ(านตามขอบเขตที่กำหนดไวT
ในบทเฉพาะกาล กฎหมายกำหนดเช(น วัตถุประสงค[ของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการจัดการศึกษา
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการสมัครและการเขTาศึกษาในสถาบันการศึกษาสิทธิและหนTาที่ของ
นักเรียนการสำเร็จหลักสูตรและการประเมินนักเรียนและสภาพแวดลTอมการเรียนที่ปลอดภัย พระราชกฤษฎีกา
การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (810/2018)
โรงเรียนมัธยมก(อนหนTา(810/1998)เ( และพระราชกฤษฎีการัฐบาลว(าดTวยเปžาหมายระดับชาติทั่วไปและ
การแบ(งช่วั โมงในการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (242/2557)( ใหใT ชบT ังคับในช(วงเปลี่ยนผ(านตามขอบเขตที่
กำหนดไวTในบทเฉพาะกาล

216

กฎระเบียบดังกล(าวกำหนดวัตถุประสงค[ทั่วไปของประเทศสำหรับการศึกษาความรูTและทักษะการเรียนรTู
ตลอดชีวิตวัตถุประสงค[ของการศึกษาเตรียมอุดมศึกษาวัตถุประสงค[เฉพาะของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายสำหรับผูTใหญ(การขอใบอนุญาตเงื่อนไขในการมอบรางวัลการฝ¡กอบรมพิเศษ การมอบหมายเกรดขนาดและ
โครงสรTางของการศึกษา

กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักเกณฑ[การคัดเลือกบุคคลเขTาศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (856/2549) มีการแกTไข(948/2007), (820/2018)

พระราชบัญญัตกิ ารสอบการบวช (๕๐๒/๒๐๑๙)
กฎหมายก(อนหนTาว(าดTวยการจัดสอบการบวช (672/2005) ใหTใชTบังคับในช(วงเปลี่ยนผ(านตามขอบเขตที่
กำหนดไวTในบทเฉพาะกาล
กฎหมายกำหนดเช(น คณะกรรมการการสอบการบวช, องค[กรของการสอบ, การสอบสำหรับการสอบ,
การลงทะเบียนสำหรับการสอบ, เงอื่ นไขการเขTาร(วมในการสอบ, การเตรียมการพเิ ศษและการเสร็จสนิ้ ของ
การสอบ
พระราชกฤษฎกี าการสอบคัดเลือกของรฐั บาล (612/2019)
ระเบียบการสอบการบวชก(อนหนTานี้(915/2005) ใหTใชTบังคับในช(วงเปลี่ยนผ(านตามขอบเขตที่กำหนดไวTในบท
เฉพาะกาล ขTอบังคับใหTเช(น การแต(งตั้งคณะกรรมการการสอบการบวชกฎเกณฑ[ของคณะกรรมการการสอบการ
เตรยี มการสอบและผลการเรยี น

3.การศกึ ษาศิลปะขัน้ พ้ืนฐาน

พระราชบัญญัติการศึกษาศิลปะขั้นพื้นฐาน (633/1998) กฎหมายกำหนดเช(น ผูTจัดงานและองค[กรของ
การศกึ ษาศิลปะข้นั พ้ืนฐานหลักสูตรการรบั สมคั รการประเมินบคุ ลากรการบรจิ าคของรฐั และค(าธรรมเนียม

อนุบัญญัติศิลปศึกษาขั้นพื้นฐาน (813/1998) ระเบียบดังกล(าวกำหนดหลักสูตรปริมาณการสอนการต(อ
อายแุ ละการแกไT ขการประเมนิ และการขอใบอนุญาตจดั การศกึ ษา

4.งานการศกึ ษาฟรี

กฎหมายเกี่ยวกับงานการศึกษาฟรี (632/1998) และกฎระเบียบ (805/1998) กฎหมายกำหนดเช(น ผูTจัด
งานและองค[กรของงานการศึกษาฟรีใบอนุญาตบำรุงรักษาของสถาบันการศึกษาบุคลากรส(วนแบ(งของค(าใชTจ(าย
ในการดำเนนิ งานและเงินอุดหนนุ จากรัฐ

5.การจดั หาเงนิ ทนุ ของกจิ กรรมการศกึ ษาและวฒั นธรรม

พระราชบัญญัติการจัดหาเงินทุนของกิจกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม (1705/2009) กฎหมายกำหนด
เชน( การบริจาคของรฐั และเงินช(วยเหลอื สำหรบั กิจกรรมทอี่ Tางถงึ ในพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (VM)

พระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุนสำหรับกิจกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม
(1766/2009)

217

พระราชบัญญัติการมีส(วนร(วมของรัฐในการบริการขั้นพื้นฐานของเทศบาล (1704/2009) กฎหมายบังคับ
ใชTกับส(วนแบ(งที่รัฐมอบใหTสำหรับตTนทุนการดำเนินงานเช(น งานของเทศบาลตามที่กำหนดไวTในพระราชบัญญัติ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐานและพระราชบัญญัติศลิ ปะการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (VM)

พระราชบัญญตั คิ วามช(วยเหลือของรัฐ (688/2011)
กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ[และขั้นตอนที่ตTองปฏิบัติเมื่อใหTทุนสนับสนุนเพื่อช(วยเหลือกิจกรรมหรือ
โครงการ (VM)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องค(าธรรมเนียมบางประการที่เรียกเก็บจากนักเรียนและนักศึกษา
(1323/2544)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมเรื่องการจ(ายค(าบริการของคณะกรรมการสอบนักเรียน
(908/2553)
การตัดสินใจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับบริการชำระค(าธรรมเนียมของสถาบันการศึกษาของรัฐบาง
แห(ง (1097/1998)

6.การบรหิ ารการศกึ ษาของรัฐและเอกชน

กฎหมายว(าดTวยการบริหารการศึกษาของรัฐและเอกชน (634/1998) กฎหมายกำหนดเช(น
คณะกรรมการหลักขTอบังคับการใหTทุนและการบริจาคการควบคุมความชอบดTวยกฎหมายและการฝ¡กอบรม
เกี่ยวกับการใชTพระราชบัญญตั วิ ิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง

พระราชบัญญัตินักเรียนและสวัสดิการนักศึกษา (1287/2556) กฎหมายกำหนดเช(น สิทธิของนักเรียนใน
ระดับก(อนประถมศกึ ษาและประถมศกึ ษาและนกั เรียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายในการดูแลการศกึ ษา

พระราชกฤษฎีกาการประเมินผลการศึกษาของรัฐบาล (1061/2552)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการและวฒั นธรรมเร่ืองคณะกรรมการสถานศกึ ษาของรัฐบางแหง( (410/2554)

พระราชกฤษฎีกาวา( ดวT ยระบบสภาการศึกษา (882/2553)
พระราชกฤษฎกี ารฐั บาลว(าดวT ยการสมัครเรียนรว( มอาชีวศึกษาและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (30/2561)

7.ขอ` กำหนดคณุ สมบตั ิของอาจารยผE `ูสอน

ระเบียบเกี่ยวกับขTอกำหนดคุณสมบัติของอาจารย[ผูTสอน (986/1998) ขTอบังคับใหTเช(น ขTอกำหนด
คุณสมบัติสำหรับบุคลากรดTานการสอนเช(นครูก(อนวัยเรียนครูใหญ(ครูและอาจารย[ที่อTางถึงในพระราชบัญญัติ
การศึกษาขั้นพื้นฐานพระราชบัญญัติโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายพระราชบัญญัติการศึกษาฟรีและ
พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาศิลปะข้นั พื้นฐาน

ขTอบงั คบั เกยี่ วกับความสามารถในการสอนของครูศิลปะบางประเภท (941/1998)
พระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลเกี่ยวกับคุณสมบัติของการศึกษาบางอย(างที่เสร็จสมบูรณ[ที่
มหาวิทยาลยั Oulu สำหรบั การสอนงานดTานเทคนคิ (780/2001)
พระราชบัญญัติกำหนดประวัติอาชญากรรมของผูTที่ทำงานกับเด็ก (504/2002)กฎหมายบังคับใชTเช(น
สำหรับการไดTมาซ่ึงกิจกรรมในชว( งเชาT และชว( งบา( ยท่ีอTางถงึ ในพระราชบัญญัติการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

218

พระราชบัญญัติคุTมครองเด็ก (417/2550)( กฎหมายมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการคุTมครองเด็กเฉพาะเด็กและ
ครอบครัวและการคุTมครองเด็กเชิงปžองกัน กฎหมายกำหนดใหTมีการพัฒนาบริการเพื่อสนับสนุนการศึกษา
พระราชบัญญัติสวัสดิภาพเด็กกำหนดภาระหนTาที่ในการดูแลสังคมและสุขภาพกิจกรรมของโรงเรียนและ
หนว( ยงานอ่นื ๆ ในการจัดทำรายงานการคมTุ ครองเด็กและอาชญากรรม (STM)

พระราชบัญญตั ิเงินบำนาญบางอย(างในภาคการศึกษา (662/1998) (VM)
(อTางอิง : กระทรวงศกึ ษาธิการและวฒั นธรรม. (2549). กฎหมายสำคญั เก่ยี วกบั การศกึ ษา
. สืบคนT เมอ่ื วันท่ี 9 มาี นคม 2564.)

กฎหมายดา` นการศกึ ษาของประเทศญีป่ นุž

พระราชบัญญตั ิการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พระราชบัญญตั ฉิ บับท่ี 120 วนั ท่ี 22 ธันวาคม 2549)
บทที่ 1 จดุ ม(งุ หมายและหลักการศึกษา
บทท่ี 2 ความรพTู ื้นฐานเกย่ี วกบั การจดั การศึกษา
บทที่ 3 การบรหิ ารการศึกษา
บทที่ 4 การตรากฎหมายและขอT บงั คบั

ชาวญี่ปุÄนปรารถนาที่จะพัฒนารัฐประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่เราสรTางขึ้นดTวยความพยายามอย(างไม(
รจูT ักเหนด็ เหนอื่ ยนอกจากน้ยี ังหวังว(าจะมสี (วนรว( มในสันติภาพของโลกและเพ่ือพฒั นาสวัสดิภาพของมนษุ ยชาติ

เพื่อใหTตระหนักถึงอุดมคติเหล(านี้เราจะดำเนินการศึกษาที่ใหTความสำคัญกับศักดิ์ศรีของแต(ละบุคคลที่
พยายามปลูกฝYงคนที่ร่ำรวยดTวยความเป-นมนุษย[และความคิดสรTางสรรค[ที่ปรารถนาความจริงและความยุติธรรม
และผทTู ่ีใหTเกยี รตจิ ติ วญิ ญาณสาธารณะทีส่ ง( ตอ( ประเพณีและมจี ดุ ม(ุงหมายเพอ่ื สราT งวฒั นธรรมใหม(

เราจึงออกพระราชบัญญัตนิ ี้ตามเจตนารมณ[ของรฐั ธรรมนูญของญี่ปÄุนเพอ่ื สรTางรากฐานของการศึกษา
และส(งเสรมิ การศึกษาทเี่ ป-ดทางไปสู(อนาคตของประเทศของเรา

บทท่ี 1 จดุ มงุ* หมายและหลักการศึกษา
จุดมุ*งหมายของการศึกษา

มาตรา 1 การศกึ ษาตอT งจดั ใหมT ีจุดมงุ( หมายในการพัฒนาคณุ ลักษณะของแตล( ะบคุ คลอยา( งเต็มทีใ่ นขณะที่
เราพยายามปลูกฝYงคนที่มีจิตใจและร(างกายที่ดีและเต็มไปดTวยคุณสมบัติที่จำเป-นสำหรับคนที่ประกอบกันเป-น
ประเทศท่ีสงบสขุ และเปน- ประชาธิปไตยและ สงั คม.

วตั ถุประสงคEของการศึกษา

ขTอ 2 เพื่อใหTบรรลุจุดมุ(งหมายดังกล(าวการศึกษาจะตTองจัดใหTมีขึ้นในลักษณะที่จะบรรลุวัตถุประสงค[
ดงั ตอ( ไปนใ้ี นขณะทเ่ี คารพเสรภี าพทางวิชาการ

1. ใหTนักเรียนไดTรับความรูTและวัฒนธรรมที่หลากหลายส(งเสริมคุณค(าของการแสวงหาความจริงและ
ปลูกฝYงความมีสตสิ ัมปชญั ญะและความสำนกึ ในคุณธรรมตลอดจนการเสรมิ สราT งสขุ ภาพรา( งกาย

219

2. การพัฒนาความสามารถของแต(ละบุคคลการปลูกฝYงความคิดสรTางสรรค[และการเสริมสรTางจิต
วิญญาณแห(งความเป-นอิสระและความเป-นอิสระโดยเคารพในคุณค(าของแต(ละบุคคลรวมทั้งเนTนความสัมพันธ[
ระหว(างอาชีพการงานกบั ชวี ิตประจำวนั ของตนและส(งเสรมิ คณุ คา( ของการเคารพการทำงานหนัก

3. ส(งเสริมคุณค(าของการเคารพความยุติธรรมความรับผิดชอบความเสมอภาคระหว(างชายและหญิงการ
เคารพและความร(วมมือซึ่งกันและกันตลอดจนคุณค(าของการมีส(วนร(วมอย(างแข็งขันในการสรTางสังคมของเราและ
มสี ว( นในการพฒั นาในจติ วญิ ญาณสาธารณะ

4. ส(งเสริมคุณค(าของการเคารพชีวิตห(วงใยธรรมชาติและปรารถนาที่จะมีส(วนร(วมในการรักษา
ส่ิงแวดลTอม และ

5. ส(งเสริมคุณค(าของการเคารพประเพณีและวัฒนธรรมและความรักของประเทศและภูมิภาคที่เลี้ยงดู
เราตลอดจนคุณค(าของการเคารพประเทศอื่น ๆ และความปรารถนาที่จะมีส(วนร(วมในสันติภาพของโลกและการ
พัฒนาของประชาคมระหวา( งประเทศ

แนวคดิ การเรยี นร#ตู ลอดชีวติ
ขTอ 3 สังคมจะตTองถูกนำมาสู(การเป-นที่ซึ่งผูTคนสามารถเรียนรูTต(อไปไดTตลอดชีวิตในทุกโอกาสและทุก

สถานที่และพวกเขาสามารถประยุกต[ใชTผลลัพธ[ของการเรียนรูTตลอดชีวิตเพื่อขัดเกลาตนเองและนำไปสู(ชีวิตที่เติม
เตม็ ไดอT ย(างเหมาะสม

โอกาสทเ่ี ทาX เทียมกันในการศกึ ษา
ขTอ 4 ประชาชนจะตTองไดTรับโอกาสที่เท(าเทียมกันในการไดTรับการศึกษาที่เหมาะสมกับความสามารถของ

ตนและจะตTองไม(ถูกเลือกปฏิบัติในการศึกษาเนื่องจากเชื้อชาติความเชื่อเพศสถานะทางสังคมฐานะทางเศรษฐกิจ
หรือทีม่ าของครอบครวั

1. รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองใหTการสนับสนุนดTานการศึกษาท่ีจำเป-นเพื่อใหTแน(ใจว(าคน
พิการไดรT บั การศกึ ษาท่ีเพียงพอตามระดบั ความพกิ ารของพวกเขา

2. รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองดำเนินมาตรการเพื่อใหTความช(วยเหลือทางการเงินแก(ผูTที่
แมTจะมีความสามารถ แต(กป็ ระสบปญY หาในการไดรT ับการศึกษาดTวยเหตุผลทางเศรษฐกิจ

บทท่ี 2 ความรู`พ้ืนฐานเกี่ยวกบั การจัดการศกึ ษา
การศกึ ษาภาคบังคับ

มาตรา 5 ประชาชนมีหนTาที่ตTองใหTเด็กที่อยู(ภายใตTการคุTมครองของพวกเขาไดTรับการศึกษาทั่วไปตาม
บทบัญญัตขิ องพระราชบญั ญตั อิ ่นื ๆ

1. การศึกษาทั่วไปที่จัดใหTมีขึ้นในรูปแบบของการศึกษาภาคบังคับมีวัตถุประสงค[เพื่อปลูกฝYงรากฐาน
สำหรับชีวิตที่เป-นอิสระในสังคมในขณะที่พัฒนาความสามารถของแต(ละคนและยังมีจุดมุ(งหมายเพื่อส(งเสริม
คุณสมบตั ิพื้นฐาน ท่ีจำเปน- สำหรับคนทป่ี ระกอบกันเปน- ประเทศและสงั คมของเรา

2. เพื่อประกันโอกาสในการศึกษาภาคบังคับและใหTมีมาตรฐานที่เพียงพอรัฐบาลระดับชาติและทTองถิ่นมี
หนTาที่รับผิดชอบในการดำเนินการจัดการศึกษาภาคบังคับผ(านการแบ(งปYนบทบาทที่เหมาะสมและความร(วมมือซ่ึง
กันและกนั

220

3. ไม(มีการเรียกเก็บค(าเล(าเรียนสำหรับการศึกษาภาคบังคับในโรงเรียนที่จัดตั้งโดยรัฐบาลระดับชาติและ
ระดบั ทTองถน่ิ

การศกึ ษาในโรงเรยี น

ขTอ 6 โรงเรียนที่กฎหมายกำหนดมีลักษณะเป-นสาธารณะและมีเพียงรัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถ่ิน
และคณะนติ ิศาสตร[ทก่ี ฎหมายกำหนดเทา( นัน้ ที่จะจัดตั้งไดT

1. เพื่อใหTบรรลุวัตถุประสงค[ของการศึกษาโรงเรียนที่อTางถึงในวรรคก(อนหนTาจะตTองจัดการศึกษาอย(าง
มีแบบแผนในรูปแบบที่เป-นระบบระเบียบที่เหมาะสมกับพัฒนาการทางจิตใจและร(างกายของผูTไดTรับการศึกษานั้น
ในการนี้การศึกษาจะตTองไดTรับการปลูกฝYงความเคารพในระเบียบวินัยที่จำเป-นในการจัดการชีวิตในโรงเรียนของผTู
ท่ไี ดรT ับการศกึ ษาน้ันและเนTนใหTพวกเขาเสริมสราT งแรงจูงใจในการเรยี น

มหาวิทยาลัย

ขTอ 7 มหาวิทยาลัยในฐานะแกนกลางของกิจกรรมทางวิชาการคือการมีส(วนร(วมในการพัฒนาสังคมโดย
การปลูกฝYงความรูTขั้นสูงและทักษะเฉพาะทางสอบถามความจริงอย(างลึกซึ้งเพื่อสรTางความรูTใหม(และเสนอผลของ
ความพยายามเหลา( นีใ้ หกT ับสังคมในวงกวาT ง

1. ความเป-นอิสระของมหาวิทยาลัยความเป-นอิสระและลักษณะเฉพาะอื่น ๆ ของการศึกษาและการวิจัย
ของมหาวิทยาลยั ตอT งไดTรับการเคารพ

โรงเรยี นเอกชน

มาตรา 8 โดยคำนึงถึงลักษณะสาธารณะของโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นโดยเอกชนและบทบาทสำคัญใน
การศึกษาของโรงเรียนรัฐบาลทั้งในระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองพยายามส(งเสริมการศึกษาในโรงเรียน
เอกชนดTวยเงินอดุ หนนุ และวธิ ีการอนื่ ๆ ทเ่ี หมาะสมในขณะที่เคารพในความเป-นอสิ ระของโรงเรียน

ครู

ขTอ 9 ครขู องโรงเรยี นท่กี ฎหมายกำหนดจะตอT งพยายามทำหนาT ทข่ี องตนใหสT ำเรจ็ ในขณะทย่ี ังคงตระหนัก
ถึงธรรมชาติอนั สงู สง( ของการเรียกรอT งของพวกเขาและอุทศิ ตนใหTกับการคTนควาT และพัฒนาตนเองอย(างตอ( เนื่อง

1. ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการเรียกรTองและหนTาที่ของครูที่อTางถึงในย(อหนTาก(อนหนTาน้ี
สถานะของครูจะตTองไดTรับการเคารพการปฏิบัติที่เป-นธรรมและเหมาะสมของพวกเขาและตTองใชTมาตรการเพื่อ
ปรบั ปรงุ การศกึ ษาและการฝก¡ อบรมของพวกเขา .

การศกึ ษาในครอบครัว

มาตรา 10 มารดาบิดาและผูTปกครองคนอื่น ๆ ซึ่งมีหนTาที่หลักในการศึกษาของบุตรหลานของตนจะตTอง
พยายามสอนนิสัยที่จำเป-นสำหรับชีวิตใหTพวกเขาส(งเสริมใหTมีจิตวิญญาณแห(งความเป-นอิสระและดูแลพัฒนาการ
ทสี่ มดุลของรา( งกายและจิตใจของพวกเขา

1. รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะพยายามดำเนินมาตรการที่จำเป-นเพื่อสนับสนุนการศึกษาใน
ครอบครัวเช(นการใหTโอกาสผูTปกครองของเด็กในการเรียนรูTและรับขTอมูลในขณะที่เคารพความเป-นอิสระใน
การศึกษาของครอบครวั

221

การศึกษาปฐมวัย

มาตรา 11 ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการศึกษาปฐมวัยเป-นพื้นฐานในการสรTางตัวละครตลอด
ชีวิตรัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะพยายามส(งเสริมการศึกษาดังกล(าวโดยจัดใหTมีสภาพแวดลTอมท่ี
เออ้ื อำนวยตอ( การเติบโตอย(างมสี ุขภาพดขี องเด็กเล็กและโดย วธิ ีการอน่ื ทเ่ี หมาะสม

การศึกษาทางสงั คม

มาตรา 12 รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองส(งเสริมการศึกษาที่เกิดขึ้นภายในชุมชนและสังคม
เพอื่ ตอบสนองตอ( ความตTองการของบุคคลและของชุมชนและสังคมโดยรวม

(2) รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะพยายามส(งเสริมการศึกษาทางสังคมโดยการจัดตั้งหTองสมุด
พิพิธภัณฑ[หTองโถงชุมชนและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ สำหรับการศึกษาทางสังคมโดยใชTสิ่งอำนวยความ
สะดวกของโรงเรียนโดยใหTโอกาสในการเรียนรTูและขTอมูลทเ่ี ก่ียวขอT งและในรูปแบบอ่ืน ๆ ที่เหมาะสม
(ความรว( มมอื และความรว( มมือระหวา( งโรงเรยี นครอบครัวและผูTอยู(อาศัยในทอT งถ่ิน)

มาตรา 13 โรงเรียนครอบครัวผูTอยู(อาศัยในทTองถิ่นและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวขTองจะตTองรักษาความ
ตระหนักในบทบาทและความรับผิดชอบของแต(ละฝÄายเกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพยายามพัฒนาความร(วมมือ
ระหว(างกนั และร(วมมอื กนั

การศกึ ษาทางการเมือง

มาตรา 14 ความรูTทางการเมืองที่จำเป-นสำหรับการเป-นพลเมืองที่สมเหตุสมผลตTองไดTรับการประเมินค(า
ในการศกึ ษา

1. โรงเรียนที่กฎหมายกำหนดจะตTองละเวTนจากการศึกษาทางการเมืองเพื่อสนับสนุนหรือต(อตTานพรรค
การเมืองใด ๆ และจากกิจกรรมทางการเมืองอ่นื ๆ

การศกึ ษาศาสนา

มาตรา 15 ความอดทนทางศาสนาความรูTทั่วไปเกี่ยวกับศาสนาและจุดยืนของศาสนาในชีวิตทางสังคม
จะตอT งมคี ณุ ค(าในการศกึ ษา

1. โรงเรียนที่จัดตั้งโดยรัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองละเวTนจากการศึกษาทางศาสนาเพ่ือ
สนบั สนนุ ศาสนาใดศาสนาหนึง่ และจากกิจกรรมทางศาสนาอ่ืน ๆ

บทท่ี 3 การบริหารการศกึ ษา
การบรหิ ารการศกึ ษา

มาตรา 16 การศึกษาตTองไม(อยู(ภายใตTการควบคุมที่ไม(เหมาะสมและจะตTองจัดใหTเป-นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติอื่น ๆ การบริหารการศึกษาตTองดำเนินไปอย(างยุติธรรมและเหมาะสมผ(าน
การแบ(งปYนบทบาทและความร(วมมอื ท่เี หมาะสมระหวา( งรัฐบาลระดับชาติและระดับทอT งถนิ่

1. รัฐบาลแห(งชาติจะตTองกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาอย(างครอบคลุมเพื่อใหTมีโอกาสที่
เท(าเทียมกนั ทางการศึกษาและเพือ่ รักษาและเพิม่ มาตรฐานการศึกษาท่ัวประเทศ

222

2. รัฐบาลทTองถิ่นจะกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาที่สอดคลTองกับสถานการณ[ในภูมิภาค
เพ่ือส(งเสริมการศึกษาในภมู ิภาคของตน

3. รัฐบาลระดับชาติและระดับทTองถิ่นจะตTองดำเนินมาตรการทางการคลังที่จำเป-นเพื่อใหTแน(ใจว(ามีการ
จัดการศึกษาอย(างราบร่ืนและตอ( เนอ่ื ง
แผนพื้นฐานสง( เสริมการศึกษา

มาตรา 18 เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินนโยบายส(งเสริมการศึกษาอย(างครอบคลุมและเป-น
ระบบรัฐบาลตTองจัดทำแผนขั้นพื้นฐานที่ครอบคลุมหลักการพื้นฐานมาตรการที่ตTองดำเนินการและรายละเอียดอ่ืน
ใดทจ่ี ำเป-นของนโยบายส(งเสริมการศึกษาและจะตTองรายงานเร่ืองนี้ วางแผนที่จะไดเอทและเป-ดเผยต(อสาธารณะ

1. รัฐบาลทTองถิ่นจะปรึกษาแผนที่กำหนดไวTในย(อหนTาก(อนหนTานี้และพยายามจัดทำแผนพื้นฐานท่ี
สอดคลอT งกบั สถานการณ[ในภูมิภาคสำหรบั นโยบายส(งเสรมิ การศกึ ษา

บทท่ี 4 การตรากฎหมายและขอ` บังคับ

มาตรา 18 ตอT งตรากฎหมายและขTอบังคับท่ีจำเปน- ในการดำเนินการตามบทบญั ญตั ิทีก่ ำหนดไวTใน
พระราชบัญญัตนิ ี้ (กองวางแผนและประสานงานนโยบายสำนักนโยบายการเรยี นรูTตลอดชีวิต)
(อาT งอิง : กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวัฒนธรรม. (2549). พระราชบญั ญัติการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พระราชบญั ญัติ
ฉบับท่ี 120 วันท่ี 22 ธนั วาคม 2549). สบื คนT เมื่อวันที่ 1 มีานคม 2564.)

223

สรปุ
กฎหมายการศึกษา

พระราชบญั ญัตฉิ บบั นี้ตราขึน้ เมอ่ื เพ่ือมง(ุ คุTมครองสิทธิใหTแกเ( ดก็ หรอื เยาวชนในดTานการศกึ ษา โดยเด็ก ทกุ
คนจะตTองไดTรับการศึกษาตามหลักสูตรที่กระทรวงกำหนดไวTเป-นมาตรฐาน โดยผูTปกครองตTองเป-น ผูTรับผิดชอบ
ดูแลหรือในกรณีที่เด็กไม(มีผูTปกครองเจTาหนTาที่จะตTองดูแล หากปล(อยปะละเลยจะมีบทลงโทษแก(ผูT นั้น นับว(าเป-น
พระราชบัญญัติฉบับหนึ่งของไทยที่คุTมครองและส(งเสริมสิทธิในดTานการศึกษาอย(างเต็มที่ เนื่อง ดTวยเด็ก
เปรียบเสมือนเป-นกำลังสำคัญของชาติที่จะตTองเติมโตไปเป-นผูTใหญ(ที่ดี หากไม(ไดTรับการศึกษาอย(าง ถูกตTอง เด็กก็
จะไม(มคี วามรTูเพื่อน าไปพฒั นาประเทศชาติและเลย้ี งตนเอง

กฎหมายว(าดTวยการศึกษาแห(งชาติ ไดTกำหนดกรอบการบริหารและการจัดการศึกษาของ เอกชนใหTมี
ความเป-นอิสระ โดยมีการกำกับ ติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ เพื่อใหT สถานศึกษา
ของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาดำเนินกิจการไดTโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่
เป-นของตนเอง มีความคล(องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการและอยู(ภายใตTการกำกับดูแลของ สภาสถานศึกษา และไดT
กำหนดใหTมีคณะกรรมการอุดมศึกษา เพื่อทำหนTาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการ
อุดมศึกษาของรัฐและเอกชนรวมทั้งเพื่อเป-นการสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหTธำรง รักษามาตรฐาน
การศึกษาใหTเหมาะสมยิ่งขึ้น มีความมั่นคงและเอื้ออำนวยต(อการขยายกิจการในการจัดการ อุดมศึกษาไดTอย(างมี
ประสิทธภิ าพ

224

เอกสารอาN งองิ

ภาษาไทย
หนังสือ
การครุ ุสภาครงั้ ที่ 6/2548 วนั ท่ี 18 เมษายน 2548
กำธร พันธุล[ าภ. (2562). "กฎกระทรวง". สารานกุ รมไทยฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน, (เล(ม 2 : ก-กลากเหลก็ ).

(พิมพ[ครั้งท่สี าม). กรงุ เทฯ : ไพศาลศิลปÂการพิมพ.[ หนาT 27-38.
จิตติ ติงศภทั ยิ [.(2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร. เนตบิ ัณฑติ ยสภา.
ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกบั การกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน
บวรศักด์ิ อุวรรณโณ,กฎหมายมหาชน เล(ม 3 ท่มี าและนิตวิ ิธี,กรุงเทพ,สำนักพิมพ[นิติธรรม,พมิ พ[ครงั้ ท1่ี ,2538
ใจจรงิ , ณัฐพล (2556). ขอฝYนใฝใÄ นฝนY อนั เหลือเช่ือ: ความเคลอื่ นไหวของขบวนการปฏิปYกษ[ปฏวิ ัติสยาม (พ.ศ.

2475-2500) (1 ed.). ฟžาเดยี วกัน.

ปรีดี หงษ[สตTน. “เชือดไก(ใหลT งิ ดู: รัฐไทยกบั การทำลายศัตรดู วT ยนาฏกรรม.” วารสารประวตั ิศาสตร[
ธรรมศาสตร[ 1, 2 (ต.ค. 2557-มี.ค. 2558), หนTา 43-99.

ฟžาดาว อ(อนกลนั่ .(2535). สิทธิเดก็ ตามบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู
ราชกิจจานุเบกษา ,เล(ม 122 ตอนพเิ ศษ 35 ง ,หนTา 18
เวบ็ ไซต?
กระทรวงศึกษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). กฎหมายสำคัญเก่ียวกบั การศกึ ษา. สบื คTนเม่ือวนั ท่ี 9 มาี นคม

2564. จากเว็บไซต:[ https://minedu.fi/yleissivistava-koulutus-lainsaadanto
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). พระราชบัญญัติการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พระราชบัญญัตฉิ บบั ที่ 120

วันที่ 22 ธันวาคม 2549). สบื คTนเม่ือวนั ท่ี 9 มาี นคม 2564. จาก
เวบ็ ไซต[: https://www.mext.go.jp/en/policy/education/lawandplan/title01/detail01/137
3798.htm
คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรปู การศกึ ษา, ป‹ 2562, แผนการปฏิรูปประเทศดTานการศกึ ษา. (ออนไลน[). จาก
เว็บไซต:[ http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1699-file.pdf
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อาT งองิ . https://nisaratpalm.wordpress.com/
รวมความเห็นนักวชิ าการ คดหี มนิ่ ฯ ร.4.จาก
เวบ็ ไซต[: https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/e1473343066.pdf
รศ.ดร.ไพศาล ไกรสิทธ,์ิ ป‹ 2562, การปฏริ ปู การศกึ ษาเปนU อยVางไร (ออนไลน)X .จากเวบ็ ไซต[
: https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/blog-post_12.html
รศ.ดร.ไพศาล ไกรสิทธ,ิ์ ป‹ 2562, การปฏริ ปู การศึกษาไทยปY พ.ศ. 2517. (ออนไลนX),
จากเว็บไซต[ https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/2517.html

225

สปิ ปนนต[ เกตุทัต, (2545). จากอดีตและปจY จุบัน สู(อนาคตการปฏิรปู การศกึ ษาไทยส(ูสังคมแห(งปYญญาและการ
เรยี นรูT. วารสารราชภัฏเพชรบรุ .ี 10. หนาT 45-56
จากเวบ็ ไซต[ : https://lib.dpu.ac.th//upload/content/file/pdf_file/10_2_2544.pdf

วชิญ[ รตั นสทุ ธกิ ลุ วทิ ยากรชำนาญการและ สิรินทรา ขวญั สง(า. (2546). กฎหมายด)านการศกึ ษา และท่ี
เกย่ี วข)อง. สบื คนT เมื่อวนั ที่ 9 มีานคม 2564. จาก
เว็บไซต:[ https://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/edu/download/article/article
_20141126092444.pdf

วนิ ัยและจรรยาบรรณวชิ าชพี คร.ู สืบคนT เมื่อวันที่ 4 มนี าคม 2564. จากเว็บไซต[ :
http://1.179.134.197/TEPE/A23/subject03/content4/index.php

ศนู ย[บริหารกฎหมายสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข . จากเวบ็ ไซต[ :
http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm

226

บทท่ี 9

การเปน: แบบอยาX งทดี่ ี มคี ุณธรรม จริยธรรม เปน: พลเมอื งทเ่ี ขมN แขง็ ดำรงตนใหเN ป:นที่
เคารพศรทั ธาของผNเู รยี นและสมาชิกในชมุ ชน

ความหมายคุณธรรม

พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหคT วามหมายว(า คุณธรรม หมายถึง"สภาพคุณงามความดี"
พระธรรมป-ฎก (ป.อ.ยุตโต) (2540:14) ไดTกล(าวว(าคุณธรรมเป-น ภาพของจิตใจกล(าวคือคุณสมบัติท่ี

เสริมสรTางจติ ใจใหดT ีงาม ใหTเปน- จิตใจทส่ี งู ประณีตและประเสรฐิ เช(น เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา จาคะ
พระเมธีธรรมาภรณ[ (ประยูร ธมมจิตโต)(2538:15-16) กล(าวว(า คุณธรรมคือคุณสมบัติที่ดีของจิตใจ ถTา

ปลกู ฝYงเรือ่ งคณุ ธรรมไดTจะเปน- พ้ืนฐานจรรยาบรรณ
วศิน อินทสระ (2541: 106,113) กล(าวตามหลักจริยศาสตร[ว(า คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยู(

ในดวงจิต อุปนิสยั อันนี้ไดTมาจากความพยายามและความประพฤตติ ดิ ต(อกนั มาเปน- เวลานาน
พระวิจิตรธรรมาภรณ[ (2558) กล(าวว(า คุณธรรม คือ ความดีงามที่ถูกปลูกฝYงขึ้นในจิตใจ มีความกตัญÔู

ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย[ สามัคคี มีวินัย มีน้ำใจ และ เป-นสุภาพชน เป-นตTน จนเกิดจิตสำนึกที่ดี รูTสึกรับผิดชอบ ชั่ว
ดี เกรงกลัวต(อการกระทำความชั่ว โดยประการต(างๆ เมื่อจิตเกิดคุณธรรมขึ้นแลTว จะทำใหTเป-นผูTมีจิตใจดี และคิด
แตส( ิ่งทดี่ ี จึงไดชT อ่ื วา( "เปน- ผTูมคี ณุ ธรรม"

จะเห็นว(าคุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกตTองในการแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ
ของแต(ละบุคคลซึ่งยึดมั่นไวTเป-นการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป-นนิสัยซ่ึงอาจส(งผลใหTการอยู(ร(วมกันในสังคมอย(างมี
ความสขุ จะทำใหเT กดิ ประโยชน[ตอ( ตนเองและสังคม

คุณธรรม (Morality /Virtue)และจริยธรรม (Ethic) เป-นคำศัพท[ที่มีความหมายใกลTเคียงกันทั้งใน
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามที่บญั ญตั ไิ วTใน (พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน,2552)
"คุณธรรม" หมายถึง สภาพคุณงามความดี เป-นสภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ ซึ่งสามารถแยก
ออกเปน- 2 ความหมาย คือ

1. ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน[สุขแก(ตนและสังคม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา
คา( นยิ มทางวฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ

2. การรูTจักไตร(ตรองว(าอะไรควรทำ ไม(ควรทำ และอาจกล(าวไดTว(า คุณธรรม คือจริยธรรมแต(ละขTอที่
นำมาปฏบิ ัตจิ นเปน- นสิ ยั เช(น เป-นคนช่อื สัตย[ เสียสละ อดทน มคี วามรับผิดชอบ

นอกจากน้ี ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว(าดTวยการส(งเสริมคุณธรรมแห(งชาติ พ.ศ.2550 ลงวันท่ี 13
กรกฎาคม พ.ศ.2550 " ซึ่งไดTประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒5 กรกฎาคม 2550 ไดTกำหนดความหมาย
ของ "คุณธรรม" ว(า หมายถึง สิ่งที่มีคุณค(า มีประโยชน[ เป-นความดีงาม เป-นมโนธรรม เป-นเครื่องประคับประคอง

227

ใจใหTเกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝÄความดี เป-นเครื่องกระตุTนผลักดันใหTเกิดความรูTสึกรับผิดชอบ เกิดจิตสำนึกที่ดีมี
ความสงบเยน็ ภายใน เป-นสงิ่ ทต่ี อT งปลูกฝYงโดยเฉพาะเพื่อใหTเกิดข้ึน และเหมาะสมกบั ความตอT งการในสังคมไทย

สุทัศน[พงษ[ กุลบุตร. (2550) กระทวงศึกษาธิการ ไดTประกาศนโยบายเร(งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยืด
คุณธรรมนำความรูT สรTางความตระหนักสำนึกในคุณคำของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท[ สันติวิธี วิถี
ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใชTคุณธรรมเป-นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรูTที่เชื่อมโยง ความร(วมมือของสถาบัน
ครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบนั การศกึ ษา โดยมีจุดเนTนเพอื่ พัฒนาเยาวชนใหTเปน- คนดี มีความรTู และ
อยู(ดีมสี ขุ

ดังนั้น เพื่อใหTการขับเคลื่อนดังกล(าวมีความชัดเจน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนำไปสู(การ
ปฏิบตั ไิ ดอT ย(างเปน- รูปธรรมดTวย "คุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ" ที่ควรเร(งปลูกฝงY แกผ( Tูเรียน ดงั นี้

1. ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทำหนTาที่การงานอย(างต(อเนื่อง สม่ำเสมอ อดทนไม(ทTอถอยเมื่อพบ
อุปสรรค ความขยันตTองควบคู(กับการใชTปYญญา แกTปYญหาจนเกิดผลสำเร็จตามความมุ(งหมายผูTที่มีความขยัน คือ
ผูTที่ตั้งใจทำอย(างจริงจังต(อ เนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควร เป-นคนสูTงาน มีความพยายาม ไม(ทTอถอย กลTาเผชิญอุปสรรค
รักงานท่ที ำ ตง้ั ใจทำหนาT ทอ่ี ยา( งจริงจัง

2. ประหยัด คือ การรูTจักเก็บออม ถนอมใชTทรัพย[สิน สิ่งของใหTเกิดประโยชน[คุTมค(า ไม(ฟุÄมเฟÈอยฟุžงเฟžอ ผTู
ที่มีความประหยัด คือ ผูTที่ดำเนินชีวิตเรียบง(าย รูTจักฐานะการเงินของตน คิดก(อนใชT คิดก(อนซื้อ เก็บออม ถนอมใชT
ทรัพย[สินส่ิงของอย(างคุTมค(า รูTจักทำบัญชีรายรบั -รายจา( ยของตนเองอย(เู สมอ

3. ซื่อสัตย[ คือ ประพฤติตรง ไม(เอนเอียง ไม(มีเล(ห[เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจากความรูTสึกลำเอียงหรือ
อคติ ผูTที่มีความซื่อสัตย[ คือ ผูTที่มีความประพฤติตรง ทั้งต(อหนTาท่ี ต(อวิชาชีพ ตรงต(อเวลา ไม(ใชTเล(ห[กล คดโกง ทั้ง
ทางตรงและทางอTอม รับรหูT นTาท่ขี องตนเองและปฏิบัติอย(างเต็มท่ถี กู ตTอง

4. มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ขTอบังคับ และขTอปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเองและวินัยต(อ
สังคม ผูTทีม่ วี นิ ัย คือ ผTูท่ีปฏบิ ัตติ นในขอบเขต กฎระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน/องค[กร/สงั คมและประเทศ โดย
ท่ีตนเองยินดีปฏบิ ัตติ ามอย(างเต็มใจและตัง้ ใจ

5. สุภาพ คือ เรียบรTอย อ(อนโยน ละมุนละม(อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ ผูTที่มีความสุภาพ
คือ ผูTที่อ(อนนTอมถ(อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม(กTาวรTาว รุนแรง วางอำนาจข(มผูTอื่น ทั้งโดยวาจาและ
ท(าทาง แต(ในเวลาเดยี วกันยงั คงมคี วามมน่ั ใจในตนเอง เป-นผทTู มี่ มี ารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย

6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมอง ทั้งกาย ใจ และสภาพแวดลTอม ความผ(องใส เป-นที่เจริญตา ทำ
ใหTเกิดความสบายใจแก(ผูTพบเห็น ผูTที่มีความสะอาด คือ ผูTรักษาร(างกาย ที่อยู(อาศัย สิ่งแวดลTอมถูกตTองตาม
สขุ ลักษณะ ฝก¡ ฝนจิตใจมิใหTขุ(นมวั มีความแจ(มใสอยู(เสมอ

7. สามัคคี คือ ความพรTอมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร(วมใจกันปฏิบัติงานใหT
บรรลุผลตามที่ตTอง การเกิดงานการอย(างสรTางสรรค[ ปราศจากกรทะเลาะวิวาท ไม(เอารัดเอาเปรียบกัน เป-นการ
ยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกตา( งหลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชือ้ ชาติ ความกลม
เกลยี วกันในลกั ษณะเชน( น้ี เรียกอีกอยา( งว(า ความสมานฉนั ท[

228
8. มีน้ำใจ คือ ความจริงใจที่ไม(เห็นแก(เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต(เห็นอกเห็นใจ เห็นคุณค(าใน
เพื่อนมนุษย[ มีความเอื้ออาทร เอาใจใส( ใหTความสนใจในความตTองการ ความจำเป-น ความทุกข[สุขของผูTอื่น และ
พรTอมที่จะใหTความชว( ยเหลือเกอ้ื กลู กนั และกนั ผทูT ม่ี นี ้ำใจ คือ ผใTู หTและผอTู าสาช(วยเหลอื สังคม

อาT งอิง : https://www.thaisuprateacher.org

คณุ ธรรมสำหรับครู

คุณธรรม (Virtue หรือ Morality) เป-นสภาพคุณงามความดีที่อยู(ประจำใจของแต(ละคนเป-นความรูTสึกผิด
ชอบชั่วดี ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรูT การวิเคราะห[ พจิ ารณาไตร(ตรองแลวT พบว(าส่งิ ใดดี สิ่งใดไม(ดี สิ่งใดควรปฏิบัติ สิ่ง
ใดไม(ควรปฏิบัติ สิ่งใดถูกตTอง สิ่งใดไม(ถูกตTอง เป-นตTน เมื่อพิจารณาไตร(ตรองแลTวจึงนำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
เพื่อใหTชีวิตดำเนินไปอย(างถูกตTอง มีความสุขและยุติธรรม เรามักพบเสมอว(า คนที่มีคุณธรรมจะรักษาความ
ยุติธรรม และมีเมตตาต(อคนอื่นเสมออาชีพครูไดTรับการยกย(องว(าเป-นวิชาชีพชั้นสูง เช(น เดียวกับผูTที่ประกอบ
อาชีพแพทย[ ทนายความ

ดังนั้น คนเป-นครูคงไม(ใช(เป-นเพียงเรือจTาง มีหนTาที่นำพาศิษย[ ขTามไปสู(ฝYงฝYนอย(างปลอดภัยเท(านั้น (ทำใหT
ศิษย[ซึ่งเป-นผูTที่ไม(รูT ใหTเป-นผูTรูT ผูTตื่น ผูTเบิกบาน) ครูในยุดนี้ตTองเป-นคนที่ทันโลก ทันสมัย ทันเทคโนโลยี และทันการ
เปลี่ยนแปลง เป-นครูอาชีพไม(ใช(อาชีพครู ดังคำกล(าวที่พลเอกเปรม ติณสลานนท[ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
กล(าวว(า"ครูอาชีพ คือ ครูที่เป-นครูดTวยใจรัก เป-นครูดTวยจิตและวิญญาณ มีความเป-นครูทุกลมหายใจตั้งแต(เกิดจน
ตาย เป-นครูที่รักและหวงแหน ห(วงใยอาทรต(อนักเรียน ต(อศิษย[ดุจลูกในไสTของตน จะทำทุกวิถีทางที่จะใหTศิษย[
เป-นคนดี ไม(ยินยอมใหTศิษย[เป-นคนไม(ดีเป-นอันขาด จะติดตามสอดส(องศิษย[ทุกเมื่อเชื่อวันโดยไม(ละทิ้ง และมี
ความสุขมากในการที่ไดTเกิดมาเป-นครู รักเกียรติเทิดทูนสถาบันครูอย(างภาคภูมิใจ ในขณะท่ี อาชีพครู คือคนที่มา
ยึดการเป-นครูอาชีพเพื่อใหTไดTค(าตอบแทน ขาดจิตวิญญาณของความเป-นครู ซึ่งขณะนี้ครูของไทยมีลักษณะอาชีพ
ครูเป-นจำนวนมาก ถTาไม(ไดTรับการแกTไขจะเป-นเงื่อนไขที่จะทำลายความหวังของการปฏิรูปการศึกษา เพราะครูคือ
ความหวงั ท่ีจะนำสคู( วามสำเร็จของการปฏริ ปู การศึกษา"

นอกจากจะตTองเป-นครูอาชีพแลTว ครูตTองมีบทบาทหนTาที่ที่สำคัญในการอบรมสั่งสอนศิษย[ใหTเป-นคนดี
คนเกง( และมีความสขุ บทบาทหนTาท่นี ้ี รองศาสตราจารย[ รังสรรค[ แสงสขุ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลยั รามคำแหง
กล(าวว(า ครูตTองเป-นผูใT หT ผTเู ดิมเตม็ และผมTู ีเมตตา คอื

ครูคือผTูใหT ใหโT อกาส ใหคT วามคดิ ใหชT วี ติ ใหอT ภยั
ครูคือผTูเตมิ เต็ม เตม็ ความรTู เต็มประสบการณ[ เตม็ สตปิ ญY ญา

229

ครูคือผTมู เี มตตา ตอ( ศิษย[ ต(อญาติ ต(อมติ ร ตอ( ศตั รู
ครูที่จะเป-นครูอาชีพ เป-นผูTใหT ผูTเติมเต็ม และผูTมีเมตตา ทำหนTาที่อบรม สั่งสอน ฝ¡กฝนศิษย[ใหTเป-นคนดี
มคี วามรTู อยูใ( นสงั คมไดอT ยา( งมีความสุขน้นั จำเปน- ตอT งมคี ณุ ธรรมประจำตน ในเรือ่ ง คณุ ธรรม ๔ ประการ ฆราวาส
ธรรม สปั ปุริสธรรม 7 และหิริ โอตตัปปะ ดงั น้ี

1. คณุ ธรรม 4 ประการ

ผูTที่ประกอบอาชีพครูตTองนTอมนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวเมื่อคราวเสด็จพระราช
ดำเนินทรงประกอบพระราชพิธีบวงสรงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60
ป‹ เมอ่ื วันท่ี 9 มถิ ุนายน 2445 ความวา(

คุณธรรม ซึ่งเป-นที่ตั้งของความรักความสามัคคี ที่ทำใหTคนไทย เราสามารถร(วมมือร(วมใจกันรักษา และ
พัฒนาชาติบTานเมืองใหTเจริญรุ(งเรืองสืบต(อกันไปไดTตลอดรอดฝYÆง ประการแรก คือการที่ทุกคนคิดพูด ทำ ดTวย
ความเมตตามุ(งดีมุ(งเจริญต(อกัน ประการที่สอง คือการที่แต(ละคนต(างช(วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงาน ประสาน
ประโยชน[กันใหTงานที่ทำสำเร็จผล ทั้งแก(ตน แก(ผูTอื่น และกับประเทศชาติ ประการที่สาม คือ การที่ทุกคน
ประพฤติปฏิบัติคนอยู(ในความสุจริตในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผน โดยเท(าเทียมเสมอกัน ประการที่ส่ี คือ
การที่ต(างคนต(างพยายามทำความคิด ความเห็นของคนใหTถูกตTองเที่ยงตรง และมั่นคงอยู(ในเหตุในผล หาก
ความคิดจิตใจและการประพฤติปฏิบัติที่ลงรอยเดียวกันในทางที่ดี ที่เจริญน้ี ยังมีพรTอมมูลในกายในใจของคนไทย
ก็มั่นใจไดTว(าประเทศชาติไทย จะดำรงมั่นดงอยู(ตลอดไปไดT จึงขอใหTท(านทั้งหลายในมหาสมาคมนี้ทั้งประชาชนชาว
ไทยทุกหมู(เหล(า ไดTรักษาจิตใจและคุณธรรมนี้ไวTใหTเหนียวแน(น และถ(ายทอดความคิดจิตใจนี้กันต(อไปอย(าใหTขาด
สายเพือ่ ใหปT ระเทศชาตขิ องเราดำรงยืนยงอยด(ู วT ยความร(มเยน็ เปน- สุข ทง้ั ในปYจจบุ ันและในภายหนาT "

2. มราวาสธรรม 4

หลักธรรมสำหรับผูTประกอบวิชาชีพครูที่จะไรTยึดถือเป-นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจ ในการครองชีวิต
ครองเรอื นใหTประสบความสุขสมบรู ณ[ และเป-นแบบอยา( งทีด่ ีแกบ( คุ คลทั้งหลายประกอบดTวยธรรม 4 ประการ คือ

2.1 สัจจะ หมายถึง ความซื่อสัตย[ จริงใจต(อกัน ผูTประกอบวิชาชีพดรูจำเป-นตTองอยู(ร(วมกับบุคคลอื่นใน
สังคม การที่จะใหTผูTร(วมงานเกิดความไวTวางใจ และมีไมตรีจิตสนิทต(อกันจำเป-นตTองเป-นคนที่มีความซื่อสัตย[ จริงใจ
ต(อกัน ถTาไม(มีสัจจะเมื่อใดย(อมเป-นเหตุใหTเกิดความหวาตระแวงแคลงใจกันเป-นจุดเริ่มตันแห(งความรTาวฉาน ซ่ึง
ยากนกั ท่ีจะประสานใหTคืนดีไดTดังเดมิ

2.2 ทมะ หมายถึง การรูTจักบังคับควบคุมอารมณ[ ข(มใจระงับความรูTสึกต(อความผิดพลาความบกพรTอง
ของตนเองและผูTอื่น ผูTที่จะเป-นครูที่ดีตTองรูTจักฝ¡กฝน แกTไขขTอบกพร(องปรับปรุงลักษณะนิสัยส(วนตน ไม(เป-นคนดื้อ
ดTานเอาแจและอารมณ[ของตนเองเป-นสำคัญ ถTาผูTที่ประกอบวิชาชีพครูขาดหลักธรรมขTอนี้ จะกลายเป-นคนที่ไม(
สามารถควบคุมตนเองไดT เป-นผูTที่ไม(มีความฉลาดทางอารมณ[ (Emotional quotient) ไม(สามารถจัดการอารมณ[
ความรูTสึกของตนเองทำใหขT าดสัมพันธภาพท่ีดตี (อผรูT (วมงาน

2.3 ขันติ หมายถึง ความอดทน อดกลั้น ต(อความยากลำบาก ความเลวรTายอุปสรรคทั้งปวง ทีเกิดขึ้นทั้ง
ต(อตนเองและการปฏิบัติงานในหนTาที่ การอยู(ร(วมกับคนหมู(มากย(อมมีการกระทบกระทั่งกันบTาง ทั้งเรื่องความคิด
ความเชื่อ ทัศนคติ การกระทำต(าง ๆ มีเหตุล(วงเกินกันอย(างรุนแรง ซึ่งอาจจะเป-นถTอยคำหรือกิริยาอาการ จะโดย

230

ตั้งใจหรือไม(ก็ตาม ก็ตTองรูTจักอดกลั้นระงับใจ ไม(ก(อเหตุใหTเรื่องลุกลามกวTางขยายต(อไป นอกจากน้ี ยังตTองมีความ
อดทนต(อความยากลำบากในการประกอบงานอาชีพ โดยเฉพาะเมื่อเกิดความผิดพลาด ความบกพร(อง ความไม(
เขTาใจไม(กTาวหนTา ก็ตTองไม(ตีโพยตีพาย แต(มีสติอดกลั้น คิดหาอุบาย ใชTปYญญาหาทางแกTไขสถานการณ[เหตุการณ[
ต(าง ๆ ใหลT ลุ ว( งไปดTวยตี

2.4 จาคะ หมายถึง ความเสียสละ มีน้ำใจ เอื้อเฟÈÉอเผื่อแผ( แบ(งปYนกัน การอยู(ร(วมกัน ในสังคมถTาครูมี
ความเห็นแก(ตัว คอยจTองแต(จะเป-นผูTรับ เอาแต(ประโยชน[ใส(ตัวโดยไม(คำนึงถึงคนอื่น ก็จะเป-นคนที่ไม(มีความสุข ไม(
มีเพื่อน ไม(มีคนคบคTาสมาคมดTวย การจะเป-นคนที่ไดTรับการยอมรับ เป-นที่รักของเพื่อน ๆ จะตTองรูTจักความเป-น
ผูTใหTดTวย การใหTมีใช(หมายถึงแต(เพียงการเอื้อเฟÈÉอ เผื่อแผ( แบ(งปYนทรัพย[ สิ่งของซึ่งมองเห็นและเขTาใจไดTง(ายๆ
เทา( น้ัน แตย( ังหมายถึงการใหTน้ำใจแก(กนั และกันดวT ย

3. สปั ปุริสธรรม 7

คุณธรรมนี้เหมาะสำหรับครูเป-นอย(างยิ่ง เพราะจะช(วยใหTเป-นคนสมบูรณ[แบบหรือคนที่สมบูรณ[พรTอม
ส(งผลใหTมีความเชื่อมั่น เป-นผูTนำ สอนสั่งลูกศิษย[ใหTมีชีวิตที่เป-นสุขไดTนอกจากนี้ยังใชTเป-นหลักช(วยในการพิจารณา
วา( บุคคลใดเป-นคนดีหรอื ไมด( ไี ดTอีกดTวย คนดีตอT งมี คุณสมบตั ิ 7 ประการ ดงั นี้

3.1 ธัมมัญÔุตา รูTหลักและรูTจักเหตุ รูTหลักการและกฎเกณฑ[ของสิ่งทั้งหลายที่ตนเขTาไปเกี่ยวขTองในการ
ดำเนินชีวิต ในการปฏิบัติหนTาที่และดำเนินกิจการต(าง ๆ รูTเขTาใจสิ่งที่ตนจะตTองประพฤติปฏิบัติตามเหตุผล เช(น รTู
ว(าตำแหน(ง ฐานะ อาชีพการงานของตนเองเป-นอย(างไร มีหนTาที่และความรับผิดชอบอย(างไร นอกจากนี้ยังตTองรTู
หลักความจริงของธรรมชาติว(า"ของหลักการที่ตนปฏิบัติ เขTาใจวัตถุประสงค[ของานที่ตTองปฏิบัติ รูTว(าสิ่งที่ตนทำอย(ู
ดำเนินชีวิตอยู(นั้น เพื่อประโยชน[อะไร หรือควรจะไดTรับอะไร การทำงานตามหนTาที่ ตำแหน(ง ฐานะการงานอย(าง
นั้น ๆ เขากำหนดวางกันไวTเพื่อความมุ(งหมายอะไร งานที่ตนทำอยู(ขณะนี้เมื่อทำไปแลTวจะบังเกิดผลอะไรบTางเป-น
ผลดหี รอื ผลเสยี อย(างไรเปน- ตTน

3.2 อัตถัญÔุตา รูTจักผล ความรูTจักอรรถ รูTความมุ(งหมาย หรือ รูTจักผล คือ รูTความหมาย รูTความม(ุง
หมาย รูTประโยชน[ที่ประสงค[ รูTจักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป-นไปตามหลัก เช(น รูTว(า
หลักธรรมหรือภาษิตขTอนั้นๆ มีความหมายว(าอย(างไร หลักนั้นๆ มีความมุ(งหมายอย(างไร กำหนดไวTหรือพึงปฏิบัติ
เพื่อประสงค[ประโยชน[อะไร การที่ตนกระทำอยู(มีความมุ(งหมายอย(างไร เมื่อทำไปแลTวจะบังเกิดผลอะไรบTางดังน้ี
เป-นตTน

3.3 อัตตัญÔุตา รูTจักตน ความรูTจักตน คือ รูTว(าตัว เรานั้น ว(ามีสถานภาพเป-นอะไร ฐานะ ภาวะ เพศ
กำลัง ความรูT ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เป-นตTน ว(าขณะนี้ เท(าไร อย(างไร แลTวประพฤติใหTเหมาะสม
และรTูทีจ่ ะแกTไขปรับปรงุ ต(อไป

3.4 มตั ตญั Ôุตา รTจู กั ประมาณ ความรูTจักประมาณ คือ ความพอดี เช(น ภิกษรุ Tจู ักประมาณในการรับและ
บริโภคปYจจัยส่ี คฤหัสถ[รูTจักประมาณในการใชTจ(ายโภคทรัพย[ นักเรียนรูTจักประมาณ กำลังของตนเองในการทำงาน
รัฐบาลรจูT กั ประมาณการเก็บภาษแี ละการใชงT บประมาณในการบรหิ ารประเทศ เปน- ตTน

5. กาลัญÔุตา รูTจักกาล ความรูTจักกาล คือ รูTกาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะตTองใชTในการ
ประกอบกิจ กระทำหนTาท่กี ารงาน เช(น ใหTตรงเวลา ใหเT ปน- เวลา ใหTทันเวลา ใหพT อเวลา ใหTเหมาะเวลา เปน- ตTน

231

6. ปริสัญÔุตา รูTจักชุมชน ความรูTจักบริษัท คือ รูTจักกลุ(มบุคคล รูTจักหมู(คณะ รูTจักชุมชน และรูTจักท่ี
ประชุม รูTกิริยาที่จะประพฤติต(อชุมชนนั้นๆ ว(า ชุมชนนี้เมื่อเขTาไปหา ตTองทำกิริยาหรือปฏิบัติแบบน้ี จะตTองพูด
อย(างไร ชุมชนน้ีควรสงเคราะห[อย(างไร เป-นตTน

7. ปุคคลปโรปรัญÔุตา รูTจักบุคคล ความรูTจักบุคคล คือ ความแตกต(างแห(งบุคคลว(า มีอัธยาศัย มี
ความสามารถ มีคุณธรรม เป-นตTน ผูTใดหยิ่งหรือหย(อนอย(างไร และรูTที่จะปฏิบัติต(อบุคคลนั้นๆ ดTวยดี ว(าควรจะคบ
หรอื ไม( จะใชT จะตำหนิ หรอื ยกยอ( ง และแนะนำสงั่ สอนอย(างไร เปน- ตTน

4. หิริ โอตตัปปะ

หลักธรรมนี้เมื่อผูTที่ประกอบอาชีพครูปฏิบัติแลTว จะช(วยใหTอยู(ร(วมกันในสังคมโลกไดTอย(างสันติสุข ถือว(า
เป-นคุณธรรมที่ใชTค้ำจุน คุTมครองโลกใหTมีความสุขไดTนั่นเอง ก(อนอื่นคงตTองทำความเขTาใจความหมายของคำสอง
คำน้ีกอ( น คือ

หริ ิ แปลว(า ความละอายแก(ใจ, ความละอายในการประพฤติช่วั
โอตตัปปะ แปลว(า ความเกรงกลัวต(อผลการทำชั่ว, ความหวาดกลัวต(อผลชั่วไม(กลTาทำเหตุชั่วต(อไปอีก
(เกษม วฒั นชยั ฒ,2549,167) เสนอแนะเง่ือนไขส(ูการมี หริ ิ โอตตปั ปะไวT ดังนี้
1. ตTองรจูT กั แยก "ผิดชอบชั่วดี"
2. ช่อื ในผลของความผดิ -ชว่ั ชอบ-ดี
3. จักเลอื ก "ทางที่ชอบ-ที่ดี" และยดึ ม่นั ปกปžองในความถกู ตTองเท่ียงธรรม
4. ปฏิเสธและไมย( อมรบั "ทางผดิ -ทางช่ัว"
5. หิร-ิ โอตตัปปะเปน- หลักคดิ เป-นแนวทางในการตัดสนิ ใจอย(างมสี ติ
สมศักด์ิ คลประสิทธิ์ (อTางใน ปราชญา กลTาผจัญ, 2549, 41) ไดTเสนอแนะเสTนทางที่จะพัฒนาจิตใจส(ู
คณุ ธรรมอย(างแทจT ริง ไวดT ังน้ี
1. ประกอบอาชีพสุจรติ (เป-นมืออาชพี )
2. ฝ¡กนิสยั การประหยดั อดออม ทัง้ คนจน คนรวย และคนเคยรวย
3. ปรับพฤติกรรมการบริโภค โดยเนTนจิตสำนึกในการใชTทรัพยากรอย(างประหยัด โดยเฉพาะ
สาธารณูปโภค
4. เสยี ภาษี และรว( มกจิ กรรมพัฒนาชุมชนของตนเอง
5. เผยแพรว( ัฒนธรรมไทย เอ้อื เฟÉÈอ และสรTางความประทบั ใจแกผ( Tมู าเยือน
6. อดทน และม(ุงมัน่ ในการประกอบอาชีพอย(างสจุ รติ
7. บริโภคแต(สิ่งทจ่ี ำเปน- ตอ( ร(างกาย และออกกำลงั กายดวT ยการเลน( กีฬาทป่ี ระหยัด
8. ปฏิบตั ติ นใหสT อดคลTองกบั บทบญั ญัติแห(งรัฐธรรมนญู
ดังนั้น การแสดงถึงความเป-นผูTที่มีคุณธรรมของผูTประกอบวิชาชีพครูจึงตTองมีความมุ(งมั่นในการประกอบ
อาชพี อย(างซ่อื สัตย[ สุจริต อดทนอดกล้นั คดิ พิจารณาและตัดสนิ ใจอย(างมีสติ

232

คณุ ธรรมตามหลกั ศาสนา

ศาสนาพทุ ธ
พระพรหมคุณาภรณ[ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2547, น. 21-22) ไดTระบุว(าคนมีศีลธรรมหรือมีมนุษยธรรมที่เรียก

ไดTว(าเป-นอารยชน เป-นผูTมีธรรม 10 ขTอ เรียกว(า กุศลธรรมบถ (ทางทำกรรมดี) หรือธรรมจริยาซึ่งจัดเป-นอารย
ธรรมท่ีครบถวT นสมบรู ณ[โดยทำใหTคนเจริญขึ้นพรอT มทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ

ศาสนาครสิ ต[
หลักคุณธรรมจริยธรรมสําคัญของศาสนาคริสต[ คือ ความรัก ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ ความรักในพระเจTาซึ่ง

เป-นความรักที่แทTจริงสูงสุด และความรักในเพื่อนมนุษย[ การปฏิบัติความรักแทTจะตTองกระทำ (จินตนา ยูนิพันธ[ุ,
2548, น. 360)

ศาสนาอิสลาม
คุณธรรมในศาสนาอิสลาม หมายถึง การที่มนุษย[เคารพภักดีต(ออัลลอฮ[เสมือน หนึ่งว(ามองเห็นพระองค[

การมีคุณธรรมจึงหมายถึงการที่มุสลิมทุกคนจะตTองตระหนักว(าการดําเนินชีวิตของตนทุกอิริยาบถ และทุกการ
กระทําของตนพงึ อยรู( ะหวา( งการภักดี การระลึกถึงพระองค[กระทําไดหT ลายวธิ ี (จินตนา ยนู ิ พันธุ[, 2548, น. 361)

ศาสนาซิกข[
(จินตนา ยูนิพันธุ[, 2548, น. 361)หลักคำสอนที่สำคัญของศาสนาซิกข[เพื่อบรรลุจุดมุ(งหมายสูงสุด คือ

การเขTาถึงสุขอนั เปน- นริ ันด[หรอื นิรวาณ ประกอบดTวยหลัก 5 ประการไดTแก(
1. ธรัมขณั ฑ[ คือ การประกอบกรรมดี
2. คิอานขัณฑ[ คอื การมีปYญญา
3. สรนั ขัณฑ[ คือ ความปต‹ ิอ่มิ เอบิ ใจในธรรม
4. กรัมขณั ฑ[ คอื การมกี ำลงั จติ แนว( แน(ม่นั คงไมห( วาดกลัว
5. สจั ขณั ฑ[ คอื การเขาT ถงึ สจั จะ หรือการหลอมรวมเปน- อนั หนึง่ อนั เดียวกบั พระผTูเป-นเจาT

233

จริยธรรม

ความหมายของจริยธรรม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2556,น.303) ใหTความหมายจริยธรรมไวTว(า จริยธรรม หมายถึง
ธรรมที่เป-นขTอประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ซึ่งก็คือกฎเกณฑ[ความประพฤติของมนุษย[ ซึ่งเกิดขึ้นจาก
ธรรมชาติของมนุษย[เอง ความเป-นผูTมีปรีชาญาณ (ปYญญาและเหตุผล) ทำใหTมนุษย[มีมโนธรรม รูTจักแยกแยะ
ความถูก ผิด ควร ไม(ควร โดยจริยธรรมมีลักษณะ 4 ประการ คอื

1. การตัดสินทางจริยธรรม (Moral Judgement) บุคคลจะมีหลักการของตนเอง เพื่อตัดสินการกระทำ
ของผTอู ่นื

2. หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเป-นความสัมพันธ[ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลก(อนที่จะ
ปฏิบัตกิ ารตา( งๆ ลงไป

3. หลักการทางจริยธรรมเป-นหลักการสากลที่บุคคลใชTตัดสินใจในการกระทำสิ่งต(าง ๆทัศนะเกี่ยวกับ
จริยธรรมไดTมาจากความคิดของบุคคลหรืออุดมคติของสังคมจนเกิดเป-นทัศนะในการดำรงชีวิตของตน และของ
สงั คมท่ตี นอาศัยอย(ู

พจนานุกรมลองแมน (Longman, 2003,น.533) ไดTใหTความหมายของคำว(าจริยธรรม ดังนี้จริยธรรม
(Ethic) คือ ความคิดหรือความเชื่อที่มีอิทธิพลต(อความประพฤติและเจตคติของบุคคล หลักการของความประพฤติ
สำหรบั การตดั สนิ ใจว(าสง่ิ ใดผิดหรือถกู

(ผศ.ดร.ดวงเดือน พินสุวรรณ,2562,น.563-600) ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมที่ใชTในสังคมจึงยังไม(
ชัดเจนตายตัว แต(ก็มีความหมายหลักในแนวทางเดียวกันคือเป-นหลักของการทำดีเพื่อประโยชน[ของผูTปฏิบัติ
ผูTเกี่ยวขTอง และสังคม โดยคุณธรรมเป-นสภาพที่พึงประสงค[ในดTานความดี-ความควรความถูกตTอง ส(วนจริยธรรม
เป-นการปฏิบัติไปสู(สภาพที่พึงประสงค[นั้น คุณธรรมจึงเป-นสภาพทางจิตใจที่จะโนTมนำการกระทำใหTเกิดการ
ประพฤติปฏิบัติสิ่งที่ดี และไม(ประพฤติสิ่งที่ไม(ดี ดังนั้นคุณธรรมจะเป-นปYจจัยเกื้อหนุนใหTเกิดจริยธรรม และ
จริยธรรมเป-นผลของการมีคุณธรรม หรืออีกนัยหนึ่งคุณธรรมเป-นเรื่องของความจริงแทTหรือสัจธรรม ส(วน
จรยิ ธรรมเป-นส่ิงทม่ี นษุ ยท[ ำขึน้ แตง( ขึน้ ตามเหตุผลของมนุษย[ หรอื ตามความตอT งการของมนษุ ย[

จรยิ ธรรมสำหรับครู

ปราชญา กลTาผจัญ. (2549) กล(าวไวTว(า จริยธรรม (Ethics) เป-นเรื่องของความรูTสึก เป-นจิตสำนึกของ
บุคคล เป-นพฤติกรรมที่ถูกตTองดีงาม ทั้งทางกาย วาจา และใจ เป-นปฏิสัมพันธ[ที่เหมาะสมทางสังคม เป-นรากฐาน
ของสันติสุขที่ยั่งยืน คนเป-นครูจึงควรตTองสรTางจิตสำนึกที่ดีงามใหTเกิดขึ้นในตนเอง ในสังคม ตTองซื่อสัตย[สุจริตต(อ
วิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป-นผูTมีธรรมะในใจ และตTองมีพันธสัญญา
(Commitment) ต(อตนเอง ต(อเพื่อนร(วมงาน ต(อหน(วยงานที่สังกัด และต(อประเทศชาติ เช(น มีเมตตากรุณา
ซื่อสตั ยส[ ุจริต เสยี สละ รบั ผิดชอบ ยตุ ิธรรม

234

ความสำคญั ของคุณธรรมจรยิ ธรรมตอ* ครู

1.ความสำคัญต(อการดำรงชีวิตประจำวัน การมีคุณธรรมจริยธรรมช(วยใหTครูมีการดำรงชีวิตที่ดีทั้งการมี
สขุ ภาพทางกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี เช(น

1.1 ดTานสุขภาพทางกาย หลักคุณธรรมจริยธรรมที่สังคมยึดถือนั้นมีขอบข(ายสาระที่ช(วยพัฒนาทั้งร(างกาย
และจิตใจของคน การใชTหลักคุณธรรมจริยธรรมจึงเกิดผลดีทางร(างกาย เช(น ครูที่มีคุณธรรมเกี่ยวกับทางสายกลาง
จะมีพฤติกรรมบริโภคอาหารแต(พอสมควร ครูจึงไม(อTวนเกินควรและไม(เป-นโรคต(าง ๆ อันเนื่องจากการบริโภค ทำ
ใหTสามารถประกอบฮาชีพเลี้ยงตนและครอบครัวไดTเป-นปกติ และมีความแคล(วคล(องในการทำกิจกรรมต(าง ๆ ใน
ชีวิต นอกจากน้ันจะทำใหTครเู ป-นผูTมีบคุ ลิกภาพทด่ี ี เปน- ท่ชี นื่ ชมของบุคลอืน่

1.2 ดTานสุขภาพจิต หากครูดำรงตนในคุณธรรมจริยธรรมแลTว ครูจะเป-นผูTประพฤติในทางที่ดีหลีกเลี่ยง
หรือลดเลิกการประพฤติที่ไม(ดี สามารถใชTคุณธรรมเป-นเครื่องประคับประคองจิตใจและการดำรงชีวิตใหTเป-นไป
ในทางที่เป-นผลดีต(อตน คนอื่น และสังคม เช(น มีการประ กอบอาชีพโตยสุจริต ไม(หลงในลาภยศของตนเองมีการ
คิดการพูดและการกระทำของตนเองที่สอดคลTองกัน ไม(พูดอย(างหนึ่งแต(ทำอีกอย(างหนึ่ง ไม(ทำดีในเรื่องหนึ่งแต(ทำ
ชั่วในอีกเรื่องหนึ่ง นอกจากนั้นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมสามารถเผชิญชีวิตอย(างมีสติปYญญาและสุขภาพจิตที่ดี
รวมท้ังไดรT ับการยอมรบั ยกยอ( งจากบุคคลอื่น

2 ความสำคญั ตอ( การปฏบิ ตั งิ าน ในวิชาชพี
ครูที่มีจริยธรรม จะไดTรับการเคารพจากศิษย[ไดTรับการยอมรับจากผูTปกครอง ไดTรับการสนับสนุนจาก
เพื่อนและผูTบังคับบัญชา ทำใหTมีความกTาวหนTาในการทำงานและการประกอบอาชีพ ซึ่งอาจไดTรับการยกย(อง
ประกาศเกียรติคุณใหTเป-นตัวอย(างที่ดีของบุคลากรในวิชาชีพในดTานภาระงานการเป-นผูTนำของสังคม ครูที่มี
จริยธรรมจะเป-นสมาชิกที่ดีของสังคมที่ตนเป-นสมาชิกอยู(รวมทั้งเป-นเพื่อนมนุษย[ที่ดีของคนในกลุ(มสังคมอื่น เมื่อ
ครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมหลาย ๆ คนมาอยู(ร(วมกัน ซึ่งแมTแต(ละคนจะมีคุณลักษณะและความคิดแตกต(างกันก็ตาม
ครูเหล(านั้นจะมีวิธีการดำเนินงานและวิธีการหาขTอยุติในทางที่เป-นคุณแก(บุคคลและส(วนรวมไดTโดยไม(ตTองมีการ
ขัดแยTงกัน สังคมครูจึงเป-นสังคมที่ดี ครูจึงเป-นตัวแบบที่ดีของสังคม สามารถนำใหTสังคมมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดี
และไดTรับการยกยอ( งใหTเปน- เปน- ผนูT ำท่ดี ขี องสงั คม
3.การยกระดับมาตรฐานวชิ าชพี
การที่ครูมีมาตรฐานการทำงานตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนดไวT ทำใหTครูมีวัฒนธรรมองค[การที่พึง
ประสงค[ องค[การที่รับผิดชอบเกี่ยวขTองกับการพัฒนาวิชาชีพจึงสามารถใชTวิชาการ งบประมาณ และทรัพยากรอ่ืน
ในการยกระดับวชิ าชพี ใหเT กดิ คณุ ประโยชนต[ อ( สังคมมากย่งิ ขนึ้
(ผศ.ดร.ดวงเดือน พินสุวรรณ,2550,น 563-600) จริยธรรม (Ethics) เป-นเรื่องของความรูTสึก เป-น
จิตสำนึกของบุคคล เป-นพฤติกรรมที่ถูกตTองดีงาม ทั้งทางกาย วาจา และใจ เป-นปฏิสัมพันธ[ที่เหมาะสมทางสั่งคม
เป-นรากฐานของสันติสุขที่ยั่งยืน คนเป-นครูจึงควรตTองสรTางจิตสำนึกที่ดีงามใหTเกิดขึ้นในตนเอง ในสังคม ตTอง
ซื่อสัตย[สุจริตต(อวิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป-นผูTมีธรรมะในใจ และตTองมีพันธะ
สัญญา (Commitment) ต(อตนเอง ต(อเพื่อนร(วมงาน ต(อหน(วยงานที่สังกัด และต(อประเทศชาติ เช(น มีเมตตา
กรณุ า ซอ่ื สัตย[สุจริต เสียสละ รับผิดชอบ ยุตธิ รรม

235

การที่ครูแต(ละคนจะมีคุณธรรมจริยธรรมหรือไม( เพียงใด จึงไม(ไดTมีความสำคัญเฉพาะต(อตัวครูเท(านั้น แต(
มีความสำคัญอย(างยิ่งต(อสังคมและวิชาชีพ ผูTเป-นสมาชิกของวิชาชีพจึงตTองไม(ปล(อยปละละเลยการมีคุณธรรม ไม(
ควรพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามความพอใจของตนเอง แต(จะตTองพัฒนาตนใหTเป-นคนที่สมบูรณ[และครูที่สมบูรณ[
เพื่อสรTางนักเรียนที่สมบูรณ[ รวมทั้งการสรTางวิชาชีพที่สมบูรณ[ทั้งดTานภาพลักษณ[ของวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
และศักดศิ์ รีของวิชาชพี

จรยิ ธรรมของผ`ปู ระกอบอาชีพครู

1. จรยิ ธรรมตอ( ตนเอง
ประกอบอาชีพครูตTองปฏิบัติตนเป-นแบบอย(างที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมเป-นหลักยึดประจำตน เช(น รTู

รักสามัคคี ซื่อสัตย[สุจริต เสียสละ มีน้ำใจ เมตตากรุณา ยุติธรรม กตัญÔูกตเวที รักษาระเบียบวินัย มีดวาม
อตุ สาหะ รูจT กั ความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมผี ล มีจติ สำนึกสาธารณะ(Public mind) เป-นตนT

2. จริยธรรมตอ( บุตรธดิ า
บิดามารดามีหนTาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาใหTมีความสุข พอเหมาะกับฐานะของตนเองนอกจากนี้ ยังตTองใหT

การอบรม สั่งสอน ชี้แนะแนวทางที่ถูกที่ควร ที่เหมาะสม เพื่อใหTเป-นคนดีมีคุณธรรมอยู(ในสังคมอย(างมี
ความสขุ

3. จริยธรรมต(อภรยิ าหรือสามี
บุคคลที่ไดTชื่อว(าเป-นภริยา หรือสามีถือว(าเป-นบุคคลคนเดียว ดังนั้น จึงตTองมีความรักใครปรองดอง

กัน ใหTเกียรติซึ่งกันและกัน ภาระงานในบTานก็ไม(ควรเกี่ยงกัน ตTองช(วยกันทำแบ(งเบาภาระซึ่งกันและกัน
ภรรยาก็ไมว( า( หรือนินทาสามี สามีกไ็ ม(นินทาวา( รTายภรรยา ทัง้ ในและนอกบTาน

4. จรยิ ธรรมตอ( บิดามารดา
บิดามารดาเป-นบุพการีผูTใหTกำเนิด บุตรจึงมีหนTาที่ตอบแทนพระคุณท(านในขณะที่มีชีวิตอยู( เช(น

เลี้ยงดูท(านใหTมีความสุขสบาย สมฐานะ ช(วยทำธุรการงานใหTท(านรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บปÄวย พูดคุยพาเที่ยว
เมื่อมีโอกาส ฯลฯ และเมื่อท(านล(วงลับไปแลTวก็ทำบุญอุทิศส(วนกุศลใหTท(านกล(าวถึงพระคุณท(านใหTบุตรหลาน
รบั รูTเปน- ตTน

5.จรยิ ธรรมต(อลูกศิษย[
ครูตTองใหคT วามรักต(อลูกศษิ ย[เหมอื นกบั บตุ รของตนเอง เพราะครูเปรยี บเหมอื นกับบดิ ามารดาคนท่ี

สองของศิษย[ ดังน้ัน ครูตอT งมอบความรกั ใหกT บั ศิษย[ มเี มตตากรุณา มคี วามยตุ ิธรรม ว(ากล(าวตกั เตือนเมือ่
ศษิ ยก[ ระทำผิด ไม(เปด- เผยความลบั ของศษิ ย[ เปน- ตTน

6. จริยธรรมตอ( ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
ครูตTองปฏิบัติตนเป-นพลเมืองดีของชาติ เคารพกฎหมาย ปฏิบัติงานอาชีพดTวยความสุจริต เสียภาษี

อากรอย(างถูกตTอง ไม(มัวเมาหลงใหลในยศ ตำแหน(ง ใชTจ(ายอย(างประหยัดไม(ฟุžงเฟžอ ไม(มัวเมาลุ(มหลงใน
อบายมขุ หรอื ทางท่นี ำไปส(คู วามเสือ่ ม เปน- ตTน (สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา ,2539)

236

ประโยชนขE องจรยิ ธรรม

ปราชญา กลาT ผจัญ (2549). ไดTกลา( วถงึ ประโยชนข[ องจริยธรรมไวดT ังน้ี
1. ดTานตนเอง การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมทำใหTคนเราเป-นคนดี คนดีย(อมมีความสบายใจ อิ่มเอิบใจ

เพราะไดTทำความดี
2. ดTานสังคม คนดีย(อมทำประโยชน[แก(ตนเอง และคนอื่นดTวย การไม(ทำชั่วเป-นการลดภาระของสังคมที่

ไมต( อT งแกปT Yญหา การทำดีจึงเปน- ประโยชนแ[ กส( ังคม และชว( ยใหTสังคมพฒั นาไปส(ูความเจริญ
3 . ดTานการรักษาจริยธรรม จริยธรรมเป-นสิ่งที่ดีมีคุณค(า ทั้งแก(บุคคลและสังคมจะรักษาไวTดTวยการปฏิบัติ

เพราะถTาไมป( ฏิบตั กิ ็จะเปน- เพียงคำพดู หรอื ตวั หนังสือท่ีเขยี นไวT
4. การพัฒนาบาT นเมือง ตTองพัฒนาจิตใจกอ( น หรืออยา( งนอT ยก็ตTองควบค(ูไปกับการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม

และอื่น ๆ ดTวย เพราะการพัฒนาที่ไม(มีจริยธรรมเป-นแกนนำก็จะสูญเปล(าเพราะทำใหTบุคคลลุ(มหลงในวัตถุ และ
อบายมขุ มากข้นึ

5. จริยธรรมชว( ยควบคุมมาตรฐาน รับประกันคณุ ภาพและปริมาณที่ถูกตอT งในการประกอบอาชพี

http://www.bizpromptinfo.com

237

พฤติกรรมท่แี สดงถึงความเปนf ผูม` ีความยึดม่ันในวิชาชีพ

ปราชญา กลTาผจัญ ( 2549, น.70-71) กลา( วไวTว(า พฤติกรรมที่แสดงถงึ ความเป-นผTมู คี วามยึดม่นั ในวชิ าชพี มี
ดังนี้

1. ประพฤตติ นดสี มำ่ เสมอ
2. มคี วามละอายต(อบาป
3. มีความอดทนอดกล้นั ตอ( ความยากลำบากต(าง ๆ
4. รักษาช่ือเสียง และค(านิยมของหน(วยงาน
5. มีความสามารถในการสง( เสริมการทำงานเปน- ทีม เป-นหมค(ู ณะไดTดี
6. เสรมิ สราT งความสัมพันธอ[ ันดีระหว(างผTูบังคับบัญชา เพอื่ นรว( มงาน และชมุ ชน
7. วางตนเหมาะสม เขTากบั ชนทกุ ชน้ั ไดดT ี ไมเ( ย(อหย่ิง ไมถ( ือตวั
8. รTจู ักอปุ การะ คอื ทำคุณประ โยชน[แกบ( คุ คลอ่นื
9. ไมม( ีอคตใิ ด ๆ ในการปฏิบตั งิ านกับผูTอื่น

ทีม่ า: http://parichartservice3.blogspot.com

238

พลเมอื งท่เี ขNมแขง็

ความหมาย

ปณิดา ปYตตาทานัง. (2021). พลเมืองที่ดี หมายถึง ผูTที่ปฏิบัติหนTาที่พลเมืองไดTครบถTวน ทั้งกิจที่ตTองทำ
และ กิจที่ควรทำ บุคคลจะเป-นพลเมืองดีของสังคมนั้น ตTองตระหนักถึง บทบาท หนTาที่ ที่จะตTองปฏิบัติสอดคลTอง
กบั หลกั ธรรม วัฒนธรรม ประเพณี และรฐั ธรรมนูญทก่ี ำหนดไวรT วมท้งั บทบาททางสังคมทตี่ นดำรงอยู(

เมื่อสามารถปฏิบัติหนTาที่ไดTอย(างถูกตTองสมบูรณ[ ย(อมเกิดความภาคภูมิใจ และเกิดผลดีทั้งต(อตนเองและ
สังคม การเป-นพลเมืองที่ดีเคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผูTอื่น มีความกระตือรื้อรTน ที่จะเขTามามีส(วน
รว( มในการแกปT ญY หาของชมุ ชนและสงั คม มีคณุ ธรรมจริยธรรมเปน- หลกั ในการดำเนนิ ชีวติ อยา( งสงบสุข

หนา` ทพี่ ลเมอื ง

1.คำนึงถึงประโยชน[ส(วนรวม มากกว(าประโยชน[ส(วนตัว ไดTแก( การลดความเห็นแก(ตัว เสียสละแรงกาย
แรงใจ เพอื่ ทำประโยชนต[ (อสว( นรวม ชว( ยกนั ดูแลทรพั ย[สินท่ีเป-นสาธารณะสมบตั ิ

2.วนิ ัย ไดแT ก( การฝก¡ กาย วาจา และใจใหสT ามารถควบคุมความประพฤติของตนเองใหTอย(ูในระเบียบแบบ
แผนอันดีงาม

3. ความรับผิดชอบต(อหนTาที่ ไดTแก( การเอาใจใส( ตั้งใจ และมุ(งมั่นปฏิบัติหนTาที่ตามบทบาทของตนอย(าง
เต็มความสามารถ

4. ความอดทน ไดTแก( การมีจิตใจหนักแน(น เยือกเย็น ไม(หุนหันพลันแล(น สามารถความคุมอารมณ[ และ
พฤตกิ รรม ใหเT ปน- ปกตเิ มอ่ื ตTองเผชิญกับส่งิ ทเ่ี ปน- ปญY หาหรอื ส่งิ ท่ไี มพ( อใจ

5. รจTู ักประหยัดและอดออม ไดTแก( การรูจT ักใชTจา( ยตามความจำเปน- อย(างคมTุ ค(า และเกดิ ประโยชนส[ ูงสดุ
6. การมีน้ำใจเป-นนกั กีฬา ไดแT ก( การมจี ติ ใจเป-ดเผย รแูT พรT ูTชนะ และใหอT ภยั แกก( ัน
7. ความซื่อสัตย[สุจริต ไดTแก( มีความจริงใจ ไม(อคติ ปฏิบัติตนปฏิบัติงานตรงไปตรงมา ไม(ใชTเล(ห[เลี่ยม
หรอื กลโกง
8. การอนุรักษณ[ความเป-นไทย ไดTแก( มีจิตสำนึกในความเป-นไทย เช(น พูด เขียน และใชTภาษาไทยใหT
ถูกตTอง อนุรักษ[วัฒนธรรม และภูมิปYญญาไทย และนำความเป-นไทยมาใชTใหTเกิดประโยชน[ ตลอดจนถ(ายทอด
ความเป-นไทย ไปสู(คนร(นุ หลงั ไดอT ยา( งถกู ตTองเหมาะสม
พลเมืองที่เขTมแข็ง คือ บุคคลตTนแบบที่ลTวนแต(ก(อเกิดแรงผลักดันในการพัฒนาตนเองและพัฒนาผูTอื่นใหT
เป-นพลเมืองดี มีความรักชาติ รักทTองถิ่น รูTถูกผิด มีจิตสำนึกเป-นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ[
และมีส(วนร(วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเสมอภาค เพื่อการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอT มทย่ี ัง่ ยืนและการอยู(รว( มกนั ในสงั คมไทยและประชาคมโลกอย(างสันติ

239

ตัวอย"างพลเมืองเขมH แขง็

โซโฟคลสิ (Sophocles.495-406 B.C.) โสเครตสี (Socratic) วิลเลย่ี ม วอลลัส (William Wallace)

มหาตมา คานธี (Mohandas เพลโตT (Plato.429-347 B.C.) อรสิ โตเตล้ิ (Aristotle. 384-322 B.C.)
Karamchand Gandhi)

240

ตวั อยา" งพลเมืองเขมH แข็ง

เจน แอ£ดดมั ส[ (Jane Addams.1860-1935) เบอร[ทรนั ด[ รสั เซล (Bertrand Russell.1872-1970)

ปรชั ญาและคุณธรรมสำหรบั ครู และลักษณะครูท่ีดี

ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู และลักษณะครูที่ดี ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู ในความหมายของ
ปรัชญาจัดว(าเป-นแนวอุดมคติในการดำเนินงานใด ๆ โดยใชTปYญญา เพื่อใหTบรรลุเปžาหมายตามที่คาดหวังไวT เม่ือ
บุคคลไดTเกิดความสนใจและใฝหÄ าความรจูT ากวชิ าปรชั ญากย็ อ( มไดTรบั อัตถประโยชนอ[ ยา( งมากมาย พอสรปุ ไดดT งั น้ี

1. ปรัชญาสอนใหTรูTจักความจริงอนั สิ้นสดุ เช(น พระเจาT มีจริงหรอื ไม(
2. ปรชั ญาสอนใหTรTจู ักทฤษฎีแหง( ความรูT เช(น การวิจยั จะนำไปส(ูการคTนหาคำตอบไดT
3. ปรชั ญาสอนใหรT TูจักความดีและความถูกตอT ง เช(น การทำประโยชน[ใหแT กส( งั คมถอื ว(า เปน- ความดี
4. ปรชั ญาสอนใหTรจูT กั ความงาม เชน( การประพฤติปฏิบตั ใิ นส่ิงทเี่ ป-นทช่ี ืน่ ชอบของสงั คม อนั ก(อใหเT กดิ
ความเพลดิ เพลนิ และเป-นสุขใจ
5. ปรชั ญาสอนใหเT กิดอุดมคติในการดำเนินชวี ติ และการปฏบิ ัติหนาT ที่การงาน เช(น สอนใหบT คุ คลเป-นครู
ในอุดมคติ หรือเปน- ครทู ่ีมีอุดมการณท[ ่ีจะช(วยพฒั นาชนบทอย(างแทTจริง
6. ปรัชญาสอนใหรT ูTจกั ประเมินคณุ ค(าในพฤติกรรมของบคุ คลวา( ถูกตอT งและเหมาะสมหรอื ไม( ดงั ไดกT ล(าว
แลTววา( ปรัชญาเปน- แนวอุดมคตใิ นการดำเนนิ งานใด ๆ โดยใชปT Yญญาเพื่อใหบT รรลุเปžาหมายทคี่ าดหวงั เอาไวT
สำหรบั คณุ ธรรมคุณงามความดีของบุคคลท่กี ระทำไปดTวยความสำนึกในจติ ใจ โดยมเี ปาž หมายว(า เปน- การกระทำ
ความดี หรอื เปน- พฤตกิ รรมทด่ี ีซ่งึ เปน- ท่ียอมรับของสังคม

241
ดงั น้นั คุณธรรมสำหรับครู กค็ ือคุณงามความดขี องบคุ คลทีเ่ ป-นครู ซึ่งไดTกระทำไปดTวยความสำนึกในจิตใจ
โดยมเี ปžาหมายวา( เปน- การกระทำความดี หรอื เป-นพฤตกิ รรมทีดซี ง่ึ เป-นท่ยี อมรบั ของสงั คม เชน( ครูทม่ี คี วาม
เสยี สละ ครทู ีม่ นี ้ำใจงาม ครทู ม่ี คี วามเกรงใจ ครทู ่มี คี วามยุตธิ รรม ครทู ่รี ักเดก็ และรกั เพอ่ื นมนุษย[ ครูท่ีมคี วามเหน็
อกเหน็ ใจ ลกู ศิษย[ และครทู ีม่ ีมารยาททง่ี ดงามถือว(าเป-นครูทม่ี คี ณุ ธรรมทงั้ สน้ิ
โดยหลกั การ ครจู ะตTองเปน- ท้งั นกั ปราชญ[ และผTทู รงศลี เพราะสังคมยกย(องใหคT รเู ปน- ปูชนียบุคคล เป-นผTู
ประเสริฐและประสาทความรูT สรTางความเป-นคนและอบรมส่งั สอนเดก็ ใหTเปน- เด็กทีด่ ีของสังคม ความจำเป-นที่
จะตอT งใหคT รเู ป-นทง้ั นักปราชญ[ และผTทู รงศีลดงั กล(าวแลTวชใี้ หเT หน็ ว(า ความเป-นนกั ปราชญข[ องครูน้ัน ครูจะตTองมี
ความดีและถ(ายทอดดี สอนใหเT ดก็ ไดรT บั ความรูTและสนุกมชี ีวติ ชีวา ส(วนความเปน- ผTทู รงศลี ของครู ในฐานะทคี่ รู
เปน- แม(แบบของชาตหิ รอื เปน- ตTนแบบในพฤตกิ รรมทงั้ ปวง จะช(วยใหTครเู ป-นคนดี วางตัวดี เป-นท่ีเคารพและเป-นท่ี
นา( เชอื่ ฟงY ของลูกศิษย[
จงึ กล(าวไดTวา( ครตู อT งมคี ณุ ธรรม หรือคณุ ธรรมสำหรบั ครเู ปน- ส่ิงจำเปน- สำหรบั ครอู ย(างย่งิ ถงึ แมTว(า ครู
จำเป-นตTองมีคุณธรรม แตค( ุณธรรมอย(างเดียวไมเ( พยี งพอครตู อT งเปน- นกั ปรัชญาดวT ย การเปน- นกั ปราชญ[ของครู จะ
ช(วยใหTครูมีความรูTรอบ และรอบรมูT ที ัศนะกวาT งไกลและลกึ มองเห็นชีวิตของตนเองทัง้ ในปYจจุบันและอนาคตอยา( ง
ทะลปุ โุ ปร(ง และชว( ยมองอนาคตของเดก็ ใหTทะลุปุโปรง( ดวT ย เพื่อจะไดTประคบั ประคองสนับสนนุ และสง( เสรมิ ใหT
เดก็ เจรญิ กาT วหนาT อย(างเต็มที่
จงึ สรปุ ไดTวา( ปรัชญาและคณุ ธรรมสำหรับครูเป-นสิง่ จำเปน- สำหรับผทูT ่เี ป-นครูเปรียบเสมอื นกับโลหะธาตุท่ี
มเี น้ือธาตุดี ยอ( มเปน- โลหะที่ดเี ช(นเดียวกัน ถTาครูมปี รชั ญาและคณุ ธรรมก็จะไดTรบั ความยกย(องวา( เป-นครดู ีของ
สังคมไดT (สงวน สุทธเิ์ ลศิ อรุณ, 2536,น.20-21)

ที่มา https://th.lovepik.com

242

การดำรงตนใหNเปน: ทเ่ี คารพศรัทธา

ความหมาย

(พระมหาบุญมี มาลาวชโิ ร, 2550) ไดTกล(าวถึงความหมายการครองตน การครองคนและการครองงานไวT
ดงั น้ี

1. การครองตน การมคี วามประพฤติและปฏบิ ตั ติ น ประกอบไปดวT ยคุณธรรม ควรแก(การยกยอ( ง
2. การครองคน การมีความสามารถในการติดต(อสัมพันธ[กับผูTอื่น สามารถจูงใจใหTเกิดการยอมรับและ
ใหคT วามร(วมมอื
3. การครองงาน การมคี วามสามารถปฏบิ ตั งิ านในหนTาที่และงานทไี่ ดรT ับมอบหมายอยา( งดี

การสราH งความศรทั ธาและเจตคตทิ ่ีดตี อ" วชิ าชีพครู

คือการแสดงออกดTวยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครู ตระหนักว(าอาชีพนี้เป-นอาชีพที่มีเกียรติ มี
ความสำคัญและจำเป-นต(อสังคม ครูพึงปฏิบัตงิ านดวT ยความเตม็ ใจและภมู ใิ จ รวมทง้ั ปกปอž งเกยี รตภิ มู ขิ องอาชพี ครู
และเขTาร(วมกจิ กรรมและสนบั สนนุ องค[กรวชิ าชพี ครู (พรรณอร อุชภุ าพ, 2561)

เจตคติของครทู ่มี ีตอ" วิชาชพี ครู

(พรรณอร อุชุภาพ, 2561)ผTูประกอบอาชพี ครตู อT งมีคณุ ลักษณะ และคณุ สมบัตทิ ี่สำคัญหลายประการ
และมเี จตคติทด่ี ีตอ( วิชาชีพครูจึงจะประสบความสำเรจ็ ในหนTาทก่ี ารงานก(อใหTเกดิ ผลดตี อ( สงั คมและประเทศชาติ

อาT งอิง : https://www.thaipost.net/main/detail/51408

มาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา
ความหมาย

(ไพฑูรย[ สินลารัตน[, 2560) ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพทาง
การศึกษา คือ ขTอกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค[ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผูT
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตTองประพฤติปฏิบัติตามเพื่อใหTเกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสรTาง
ความเชื่อมั่นศรัทธาใหTแก(ผูTรับบริการจากวิชาชีพไดTว(าเป-นบริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมไดTว(าการที่กฎหมายใหT
ความสำคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกำหนดใหTเป-นวิชาชีพควบคุมนั้น เนื่องจากเป-นวิชาชีพที่มี

243

ลักษณะเฉพาะ ตTองใชTความรTู ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กำหนดใหมT ีมาตรฐานวิชาชพี 3 ดาT น ประกอบดวT ย

1. มาตรฐานความรูTและประสบการณ[วิชาชีพ หมายถึง ขTอกำหนดสำหรับผูTที่จะเขTามาประกอบวิชาชีพ
จะตTองมีความรูTและมีประสบการณ[วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพเพื่อใชTเป-นหลักฐานแสดงว(าเป-นบุคคลที่มีความรูTความสามารถ และมีประสบการณ[พรTอมที่จะประกอบ
วชิ าชีพทางการศึกษาไดT

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ขTอกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ใหTเกิดผลเป-นไปตาม
เปžาหมายที่กำหนด พรTอมกับมีการพัฒนาตนเองอย(างต(อเนื่อง เพื่อใหTเกิดความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ ทั้ง
ความชำนาญเฉพาะดTานและความชำนาญตามระดับคุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออย(างนTอยจะตTองมี
การพัฒนาตามเกณฑ[ที่กำหนดว(ามีความรูTความสามารถ และความชำนาญเพียงพอที่จะดำรงสถานภาพของการ
เปน- ผปูT ระกอบวิชาชพี ตอ( ไปไดTหรอื ไม( น่ันกค็ อื การกำหนดใหผT ปTู ระกอบวชิ าชพี จะตอT งตอ( ใบอนุญาตทุก ๆ 5 ป‹

3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ขTอกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติตนของผูTประกอบวิชาชีพ โดยมี
จรรยาบรรณของวิชาชีพเป-นแนวทางและขTอพึงระวังในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อดำรงไวTซึ่งชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ
และศักดิ์ศรีแห(งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะกำหนดเป-นขTอบังคับ
ต(อไป หากผูTประกอบวิชาชีพผูTใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทำใหTเกิดความเสียหายแก(บุคคลอื่นจนไดTรับ
การรอT งเรียนถงึ ครุ ุสภาแลTว ผูนT ัน้ อาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี วินิจฉัยชีข้ าดอย(างใดอย(างหนึง่ ดงั ตอ( ไปน้ี

(1) ยกขอT กล(าวหา
(2) ตักเตอื น
(3) ภาคทณั ฑ[
(4) พักใชใT บอนญุ าตมีกำหนดเวลาตามทเ่ี หน็ สมควร แตไ( มเ( กนิ 5 ป‹
(5) เพิกถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี (มาตรา 54)

จรรยาบรรณวชิ าชพี
ความหมาย

(รศ.ยนต[ ชุม( จิต, 2558) ใหTความหมายของ จรรยาบรรณวชิ าชพี ไวTวา( หมายถึง มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ี
กำหนดขึ้นเปน- แบบแผนในการประพฤติตน ซ่ึงผTปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาตอT งปฏบิ ตั ติ ามเพือ่ รักษา และ
สง( เสรมิ เกยี รตคิ ุณชอ่ื เสยี ง และฐานะของผูTประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา จรรยาบรรณวิชาชพี (มาตรฐานการ
ปฏิบัตติ น) มี 5 ดาT น 9 ขTอ ดงั นี้

1.จรรยาบรรณตอ* ตนเอง

ขอT ที่ 1 ผูปT ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตTองมวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาT นวิชาชีพ บคุ ลิกภาพ และ
วสิ ยั ทศั น[ ใหTทนั ตอ( การพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งอยู(เสมอ

244

2. จรรยาบรรณต*อวชิ าชพี

ขอT ท่ี 2 ผTปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองรัก ศรทั ธา ซอ่ื สัตยส[ ุจรติ รับผดิ ชอบต(อวิชาชีพ และเป-น
สมาชกิ ทด่ี ขี ององคก[ รวิชาชีพ

3.จรรยาบรรณต*อผ`รู บั บริการ

ขTอท่ี 3 ผปTู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอT งรัก เมตตา เอาใจใส( ชว( ยเหลอื ส(งเสรมิ ใหกT ําลังใจแกศ( ษิ ย[
ขอT ท่ี 4 ผTปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตTองสง( เสริมใหTเกดิ การเรยี นรูT ทกั ษะ และนิสยั ทถี่ กู ตอT งดีงามแก(
ศษิ ย[ และผTรู ับบรกิ าร ตามบทบาทหนาT ที่อยา( งเตม็ ความสามารถ ดวT ยความบริสุทธใ์ิ จ
ขTอที่ 5 ผูTประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอT งประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเปน- แบบอย(างท่ีดี ท้งั ทางกาย วาจา และ
จติ ใจ
ขอT ท่ี 6 ผูTประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอT งไม(กระทาํ ตนเปน- ปฏปิ Yกษต[ อ( ความเจรญิ ทางกาย สตปิ ญY ญา
จิตใจ อารมณ[ และสงั คมของศิษย[ และผรTู บั บริการ
ขTอที่ 7 ผูTประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองใหบT รกิ ารดวT ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ( รียกรบั หรอื
ยอมรับผลประโยชน[จากการใชตT าํ แหน(งหนTาท่โี ดยมชิ อบ

4.จรรยาบรรณต"อผูรH ว" มประกอบวิชาชีพ

ขอT ท่ี 8 ผTปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พึงชว( ยเหลือเกอ้ื กูลซ่ึงกนั และกนั อย(างสราT งสรรคโ[ ดยยึดม่ันใน
ระบบคุณธรรม สราT งความสามัคคใี นหม(คู ณะ

5.จรรยาบรรณตอ" สงั คม

ขTอที่ 9 ผูTประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พงึ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป-นผนTู ําในการอนุรกั ษแ[ ละพัฒนา
เศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญY ญา สิ่งแวดลTอม รกั ษาผลประโยชนข[ องส(วนรวม และยึดมน่ั ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ [ทรงเป-นประมขุ


Click to View FlipBook Version