The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aschapanboonkua, 2021-03-30 23:25:23

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

145

บทบาทในแตล* ะชว* งของคุรสุ ภา

พ.ศ.2434 กำเนดิ “วทิ ยาทานสถาน” โดยเจา# พระยาภาสกรวงศ? (พร บุนนาค)
มีการก(อต้งั “วทิ ยาทานสถาน” โดยเจTาพระยาภาสกรวงศ[ (พร บนุ นาค) เสนาบดีคนแรก ต้งั อย(ูทีส่ ่กี ๊กั

พระยาศรี ใกลหT Tางแอลยรี ิกนั ดี เปด- เปน- หอT งสมุดและสโมสรสำหรบั ประชาชน
โดยมีท้งั หนังสอื ไทยและตา( งประเทศ อีกท้งั จดั ใหTมีการชุมนุมเชอื้ เชญิ ผTูมคี วามรูมT าบรรยายเรอ่ื งต(างๆ ใหTแกค( รู
ต(อมาไดTยาT ยไปตง้ั ทโี่ รงเล้ยี งเดก็ หรือโรงเรยี นสายสวลสี ัณฐานคาร (ทมี่ า:สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา)
พ.ศ.2438 มีการเปด¨ อบรมครคู รั้งแรกที่ “วิทยาทานสถาน”

มกี ารจดั อบรมครู เพอ่ื เพ่ิมพนู ความรูใT หมๆ( ใหTแกค( รู มีการควบคมุ และรักษามาตรฐานการ
ประกอบวชิ าชีพครูของไทย โดยผอTู บรมครคู นแรก คือ เจTาพระยาธรรมศกั ดมิ์ นตรี (นายสนัน่ เทพหัสดิน
ณ อยธุ ยา) (ทมี่ า:สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา)
พ.ศ.2443 มีการจัดตงั้ สภาสำหรับอบรมและประชุมครู

ท่ีวัดใหม(วนิ ยั ชำนาญ แขวงบางกอกนTอย จังหวัดธนบุรี ใชTช่อื วา( “สภาไทยาจารย”[ เป-ดทำการสอนครู
ทกุ วนั พระ (ท่ีมา:สำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา.48ป‹ สำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พค[ รุ ุ
สภาลาดพราT ว.2536).16)
พ.ศ.2445 กรมศกึ ษาธกิ ารจดั ตั้ง “สามคั ยาจารย?สโมสรสถาน”

เพือ่ ใชเT ป-นที่ประชุมอบรมและสอนครูขึ้นที่โรงเรียนทวธี าภเิ ษก โดยมีเจTาพระยาพระเสด็จสเุ รน-
ทราธบิ ดี (ม.ร.ว.เป‹ย มาลากลุ ) เปน- นายกสภาคนแรก (ทม่ี า:สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา.48ป‹ สำนกั งานเลขาธิการ
คุรสุ ภา (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พค[ ุรสุ ภาลาดพรTาว.2536).16)
พ.ศ. 2447 สามัคยาจารย?สโมสรสถานยกฐานะเปQนสมาคม ใชช# ่อื วXา “สามัคยาจารย?สมาคม” (ท่มี า:
สำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา.48ป‹ สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ[คุรุสภาลาดพรTาว.
2536).16)
พ.ศ.2488 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลTาเจTาอย(ูหัว มพี ระมหากรุณาธคิ ณุ ทรงรบั “สามคั ยาจารยส[ มาคม” เขTา
ไวTในพระบรมราชปู ถมั ภ[ ไดมT ีการตราพระราชบญั ญตั คิ รู มีสาระเกย่ี วกับจริยธรรมครูหรอื จรรยาบรรณแหง( วิชาชพี
ครู (ทมี่ า:สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา)
16 มกราคม 2488 ประกาศใช# พระราชบัญญัตคิ รู พทุ ธศกั ราช 2488

ใหมT สี ภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกวา( “ครุ สุ ภา” (ทีม่ า:สำนักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา)
2 มนี าคม 2488 กำเนดิ “สำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา”

คณะกรรมการอำนวยการครุ ุสภา ไดTประชมุ และมมี ตแิ ต(งตง้ั ขTาราชการประจำของกระทรวงศึกษาธิการ
มารกั ษาการในตำแหน(งเลขาธิการ และหัวหนาT แผนกต(างๆ ชดุ แรก จำนวน 9 คน เพื่อเปน- เจาT หนาT ท่ผี Tปู ฏิบัตงิ าน
ตง้ั แตว( นั ท่ี 2 มีนาคม 2488 มพี ระยาจนิ ดารักษ[ (อธบิ ดกี รมพลศึกษา) รักษาการในตำแหนง( เลขาธิการคุรุสภา จึง

146

ถอื เอาวันท่ี 2 มีนาคม 2488 เปน- วันสถาปนาสำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา (ที่มา:สำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา)
พ.ศ.2506 คุรสุ ภา ไดTกำหนดระเบียบคุรุสภาวา( ดวT ยจรรยามารยาทตามระเบียบประเพณคี รู ข้ึนมา 2 ฉบบั
(ทมี่ า:สำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา)
พ.ศ.2523 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห(งชาติ ไดTจดั สมั มนาวา( ดTวยจรรยาบรรณสำหรับครขู นึ้

ทำใหTไดTจรรยาบรรณครอู กี ฉบับหนึ่ง เรียกวา( “จรรยาครู สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห(งชาติ
สำนกั งานคณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2523” มี 4 หมวด (ไม(ไดTมกี ารประกาศใชอT ย(างเปน- ทางการ)
พ.ศ.2526 เกดิ การหลอมรวมกันของระเบียบคุรสุ ภา 2 ฉบับ ใน พ.ศ.2506 และจรรยาบรรณวิชาชพี ครขู อง
คณะกรรมการการศึกษาแหง( ชาติเปน- จรรยามารยาทและวนิ ยั ตามระเบียบประเพณี พ.ศ.2526
พ.ศ.2539 ไดTประกาศใชTระเบียบครุ ุสภา ว(าดTวย จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539 แทนระเบียบคุรสุ ภาวา( ดวT ยจรรยา
มารยาทและวนิ ยั ตามระเบยี บประเพณี พ.ศ.2526
12 มถิ นุ ายน 2546 ประกาศใช# พ.ร.บ.สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546

ป‹ พ.ศ.2546 ไดTมีการตราพระราชบัญญตั สิ ภาครูและบุคลากรทางการศึกษาขึ้น เพ่อื ปรบั ปรุงคุรสุ ภาเดิม
ตามพระราชบัญญัตคิ รู พทุ ธศกั ราช 2488 เป-น 2 องค[กร คือ 1) สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เรยี กชอ่ื
เหมือนเดมิ วา( “ครุ สุ ภา” มีฐานะเปน- นติ บิ คุ คลอยูใ( นกำกับของกระทรวงศึกษาธกิ าร และ 2) สำนักงาน
คณะกรรมการสง( เสรมิ สวสั ดกิ ารและสวัสดิภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เรยี กวา( “สกสค.” มฐี านะเปน- นติ ิ
บคุ คล อย(ใู นกำกับกระทรวงศกึ ษาธิการ (ทมี่ า:สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา)
พ.ศ. 2548 คณะกรรมการคุรุสภาออกขTอบังคบั ครุ สุ ภาวา( ดTวยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี
พ.ศ.2556 เกิดการยกเลกิ ขอT บังคับคุรุสภาวา( ดTวยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ.2548
แบง( เป-น 5 หมวด 9 ขTอ
พ.ศ.2562 มีการเปลยี่ นแปลงมาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัตติ น (ยังคงเดมิ ) จรรยาบรรณวิชาชพี
5 ดTาน 9 ขอT (เหมอื นเดมิ ) (สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา.(2541). แบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ.
2539.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค[ ุรสุ ภาลาดพราT ว)

147

“สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา”
เปน- หนว( ยงานหลกั ในการขับเคล่ือนการปฏิรปู การศึกษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห(งชาติ พ.ศ.
2542 จดั ทำแผนการศกึ ษาแหง( ชาติ จดั ทำมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ และจดั ทำกรอบทิศทางการพัฒนา
การศึกษาแหง( ชาติ ระยะ 5 ป‹ ที่สอดคลอT งกับแผนการศึกษาแห(งชาตแิ ละแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห(งชาติ
เพือ่ ใหหT นว( ยงานท่ีเก่ยี วขTองใชTเป-นกรอบแนวทางในการจดั การศกึ ษาต(อไป (ที่มา:สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา)

ความแตกตาX งของสภาการศึกษาและครุ สุ ภา (ที่มา:สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา)

อำนาจหน#าทีส่ ภาการศึกษา อำนาจหน#าที่ครุ สุ ภา

-จดั ทำแผนการศึกษาแห(งชาตทิ ีบ่ รู ณาการศาสนา ศิลปะ -กำหนด ควบคมุ มาตรฐาน และจรรยาบรรณวชิ าชพี
วฒั นธรรมและกีฬากับการศึกษาทุกระดบั รวมทัง้ จดั ทำ - ออก พักใชT และเพิกถอนใบอนุญาต
ขTอเสนอนโยบายและแผนในการสนบั สนนุ ทรพั ยากร - สนบั สนุน สง( เสรมิ วชิ าชีพ
ดาT นการศึกษาของชาติ - รบั รองปริญญา ความรูTและประสบการณ[ทางวิชาชีพ
-ประสานการจดั ทำขTอเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐาน - สง( เสรมิ การศกึ ษาและอำนาจหนTาทีค่ รุ สุ ภา
การศึกษาของชาติ - ออกขTอบังคับครุ สุ ภา
-วิจัยและประสาน ส(งเสรมิ สนบั สนนุ การวจิ ยั และพัฒนา - ใหTคำปรกึ ษา คำแนะนำตอ( คณะรัฐมนตรี
การศึกษา การพัฒนาเครอื ข(ายการเรยี นรแTู ละภูมิปญY ญา
ของชาติ ตลอดจนรวบรวมและพัฒนาระบบเครอื ขา( ย
ขTอมูลสารสนเทศเพอื่ การพฒั นานโยบายและแผนการ
ศึกษาชองชาติ
-ดำเนนิ การเกีย่ วกับการประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาตาม
แผนการศกึ ษาแหง( ชาติ
-ดำเนนิ การเกย่ี วกบั การใหTความเห็นหรอื คำแนะนำในเรอ่ื ง
กฎหมายทเี่ ก่ียวกับการศึกษา
-ปฏบิ ัติงานอืน่ ใดทก่ี ฎหมายกำหนดใหTเป-นอำนาจหนTาท่ี
และความรับผดิ ชอบ

148

จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความหมายของจรรยาบรรณ คำวา( “จรรยาบรรณ” ประกอบดวT ย คำ 2 คำ คอื จรรยา หมายถึง

ความประพฤติ บรรณ หมายถึง หนงั สือ เมื่อนำมารวมกนั แลTว “จรรยาบรรณ” จึงหมายถงึ หนงั สอื หรอื เอกสาร
ท่กี ล(าวถึง สิ่งท่ผี อูT ยู(ในอาชพี นั้นควรประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพ่ือรกั ษาชือ่ เสยี ง เกยี รตยิ ศ และฐานะของวิชาชีพนน้ั ๆ
(ท่ีมา:ราชกิจจานเุ บกษา หนาT 72-73 ขTอบังคบั ครุ ุสภาว(าดTวยจรรยาบรรณวชิ าชีพ ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2556)
ความเปนQ มาของจรรยาบรรณครไู ทย

อาชพี ทกุ สาขาตTองมจี รรยาบรรณแหง( วชิ าชีพของตนกาหนดไวT เช(นเดยี วกับอาชีพครู แต(ในสมัยโบราณ
อาชพี ครูไทยยงั ไม(มจี รรยาบรรณเป-นลาย

ลกั ษณอ[ ักษร ครไู ทยจะยึดถอื เอาแนวคำสอนตามพระพทุ ธศาสนาเปน- หลกั ปฏบิ ตั ิต(อๆมา จนกระท่ัง
ใน พ.ศ. 2506 ม.ล.ปÆ-น มาลากลุ ซงึ่ เปน- รฐั มนตรีวา( การกระทรวงศกึ ษาธิการ และประธานกรรมการอำนวยการ
ครุ สุ ภาในสมัยนน้ั ไดTออกระเบียบจรรยาบรรณสาหรบั ครูไทยขึน้ มา 2 ฉบับพรTอมกันเปน- คร้ังแรก

จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบับที่ 1)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบับท่ี 2)
ตอ( มาจรรยาบรรณทั้ง 2 ฉบบั น้ไี ดถT ูกยกเลกิ เนอื่ งจากจรรยาบรรณ พ.ศ. 2506 น้ีมิไดTประกาศใชTอย(าง
เป-น ทางการ ครุ ุสภาเกรงว(าครอู าจารย[จะเกดิ ความสับสนในทางปฏบิ ัติ ดงั นน้ั คุรุสภาจงึ ไดTปรับปรุงจรรยาบรรณ
ครูขนึ้ ใหม(และประกาศใชTในพ.ศ. 2526 (ท่มี า:ขอT บังคบั ครุ สุ ภาวา( ดTวยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกจิ จานุเบกษา. เลม( ท่ี 136 ตอนพเิ ศษ 68. หนาT 3)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2526 จรรยามารยาทและวินัยตามระเบียบประเพณี ของครู ของคุรสุ ภา พ.ศ.
2526
จรรยาบรรณฉบับนไ้ี ดT ใชตT ิดต(อกันมาถึง 12 ป‹ ประกอบกบั สภาพสงั คม เศรษฐกจิ ตลอดจนความ
เจริญกTาวหนาT ทางวทิ ยาศาสตร[และเทคโนโลยีไดTเปลย่ี นแปลงไปมาก จึงมมี ตใิ หTแกไT ขปรบั ปรุงจรรยาบรรณครูเพอ่ื
กำหนดระเบยี บวา( ดวT ยจรรยามารยาทและวินัยเพื่อใหคT รูยึดถอื เป-นแนวปฏบิ ตั แิ ละประพฤตติ นสืบไป
จรรยาบรรณสำหรบั ครูฉบบั พ.ศ. 2539
จรรยาบรรณสาหรับครูฉบับ พ.ศ. 2539 คุรสุ ภา (สานักงานเลขาธิการครุ ุสภา, 2554 :1) ไดTประกาศใชT
ระเบียบคุรสุ ภาวา( ดTวย จรรยาบรรณครู (ที่มา:ขอT บังคับครุ ุสภาวา( ดวT ยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกิจจานเุ บกษา.เลม( ที่ 136 ตอนพิเศษ 68. หนาT 3)
พ.ศ. 2539 แทนระเบียบคุรุสภาว(าดTวยจรรยามารยาทและวินัยตามระเบียบประเพณคี รู พ.ศ. 2526
อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 6(20) และมาตรา 28 แหง( พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 คณะกรรมการ
อำนวยการคุรสุ ภา จงึ ไดTวางระเบยี บไวเT ปน- จรรยาบรรณครู เพอื่ เป-นหลกั ปฏบิ ตั ิ ในการประกอบวชิ าชพี ครู
(สำนกั งานเลขาธิการ
คุรุสภา, 2554 : 1)

149

จรรยาบรรณครู ฉบบั พ.ศ. 2539 นคี้ ณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาไดวT างระเบียบ ปฏบิ ตั โิ ดยมีลกั ษณะ
มง(ุ เนนT ความเปน- ครใู นดTานบทบาทหนาT ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบท่พี ง่ึ มตี อ( ศษิ ยเ[ ปน- สำคัญ ขTอสงั เกตของจรรยาบรรณ
ครู ฉบบั นม้ี ี 2 ประการ คอื

ประการท่ีหนึง่ จรรยาบรรณครู ไม(ใชก( ฎหมายและไมไ( ดTเปน- กฎกระทรวงศึกษาธิการ แตเ( ปน- ระเบยี บที่
คณะกรรมการอำนวยการ ครุ ุสภากำหนดไวTเพ่ือใชTเป-นหลกั ปฏบิ ัตขิ องสมาชิกคุรสุ ภา ท่ีเป-นครอู าจารย[เท(านนั้
กรณีครูอาจารย[ ที่เป-นสมาชิกของคุรสุ ภาละเมิดจรรยาบรรณครูขาT งตTนไม(มีบทลงโทษแต(อย(างใด แมT
คณะกรรมการครุ สุ ภาไม(มอี ำนาจลงโทษครูอาจารยโ[ ดยตรง

ประการท่สี อง จรรยาบรรณครู ฉบบั นเี้ ป-นฉบบั ที่ถกู นำไปใชTในทกุ สถานศึกษา ท้งั นั้นอาจเป-นเพราะ
ครุ ุสภาในฐานะเปน- องคก[ รวชิ าชีพครูเป-นผูอT อกจรรยาบรรณครู ซ่ึงมกี ฎหมายรองรับอยา( งเปน- ทางการ คอื
พระราชบญั ญตั ิครูพ.ศ. 2488 ความแตกตา( งของจรรยาบรรณครูฉบับนก้ี ับจรรยาบรรณของครูในอดีต คือ บง(
บอกถึงจรรยาบรรณของ ครูโดยตรงและโดยรวม มิไดจT ำแนกเปน- จรรยามารยาท จารีตประเพณี
หรอื วินัยของครู (ทม่ี า:ขอT บงั คบั ครุ ุสภาว(าดTวยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกิจจานเุ บกษา.
เล(มท่ี 136 ตอนพิเศษ 68. หนTา 3)

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู พ.ศ. 2556
คุรุสภาไดTออกขอT บงั คับคุรสุ ภาวา( ดวT ยจรรยาบรรณวชิ าชพี พ.ศ. 2556 อาศยั อำนาจตาม มาตรา 9
วรรคหนง่ึ (1) (11) (จ) และมาตรา 50 แห(ง พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกบั
มติคณะกรรมการครุ ุสภาโดยความเหน็ ชอบของรฐั มนตรีว(าการกระทรวงศึกษาธกิ ารขณะน้ัน โดยมีสาระสำคญั คือ
การกำหนดจรรยาบรรณวชิ าชพี ของผTปู ระกอบ วิชาชีพทางการศกึ ษา ทง้ั ตอ( ตนเองผรTู บั บริการผรTู ว( มประกอบ
วชิ าชพี และสงั คม ซึ่งมผี ลบังคับใชT ภายหลังประกาศลงในราชกจิ จานเุ บกษาแลTวโดยขอT บังคับดงั กลา( วไดTใหTนิยาม
“ผูTประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา”ว(า หมายถึง ครู ผบTู รหิ ารสถานศกึ ษา ผูบT ริหารการศึกษา และบุคลาการทาง
การศกึ ษาอืน่
ซง่ึ ไดรT บั ใบอนุญาตเปน- ผTปู ระกอบวชิ าชีพตามพระราชบัญญตั ิสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
ขอT บงั คบั คุรสุ ภาว(าดวT ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556 มีสาระสำคญั 5 หมวด (ที่มา:ขTอบังคบั คุรุสภาวา( ดTวย
มาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกิจจานุเบกษา. เลม( ท่ี 136 ตอนพิเศษ 68. หนาT 3)
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู พ.ศ.2562 มกี ารเปล่ยี นแปลงมาตรฐานวชิ าชพี มาตรฐานการปฏบิ ัติตน
ยังคงเดมิ จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ดTาน 9 ขอT เหมือนเดิม มีดังนี้
จรรยาบรรณวชิ าชพี ในป:จจุบนั
จรรยาบรรณวชิ าชีพ หมายความวา( มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ีกาหนดขึน้ เปน- แบบแผนในการ
ประพฤติตน ซึง่ ผปTู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาตTองปฏิบตั ิตาม เพือ่ รกั ษาและส(งเสรมิ เกยี รติคณุ ชอ่ื เสยี งและ
ฐานะของผูTประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาใหTเปน- ท่ีเชื่อถอื ศรัทธาแก(ผTรู ับบรกิ ารและสังคมอันจะนำมาซง่ึ เกียรติ
และศักด์ิศรแี ห(งวิชาชพี

150

ด#านท่ี1 จรรยาบรรณตอX ตนเอง
ขอ# ท่ี 1 ผปTู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองมวี ินยั ในตนเอง พัฒนาตนเองดาT นวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ และวิสยั ทัศน[
ใหทT นั ต(อการพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยเู( สมอ
ดา# นที่2 จรรยาบรรณตอX วชิ าชพี
ข#อที่ 2 ผูTประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตTองรกั ศรัทธา ซื่อสัตย[สจุ ริตรับผิดชอบต(อวิชาชีพ และเปน- สมาชกิ ท่ีดี
ขององคก[ รวิชาชีพ
ดา# นที่3 จรรยาบรรณตXอผู#รบั บรกิ าร
ข#อท่ี 3 ผปTู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองรกั เมตตา เอาใจใส( ช(วยเหลือ ส(งเสรมิ ใหกT ำลังใจแก(ศิษย[ และ
ผTูรับบริการ ตามบทบาทหนาT ที่โดยเสมอหนTา
ขอ# ที่ 4 ผูTประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตTองสง( เสริมใหTเกดิ การเรยี นรูT ทกั ษะ และนสิ ัยท่ีถูกตTองดงี ามแกศ( ษิ ย[
และผูTรับบริการ ตามบทบาทหนTาทอ่ี ย(างเต็มความสามารถ ดTวยความบรสิ ุทธ์ใิ จ
ข#อท่ี 5 ผูปT ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตTองประพฤติปฏบิ ตั ติ นเป-นแบบอยา( งที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ
ข#อท่ี 6 ผูTประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตTองไม(กระทาตนเป-นปฏิปYกษต[ อ( ความเจริญทางกาย สตปิ ญY ญา จิตใจ อา
รมณและสังคมของศษิ ย[ และผTรู ับบรกิ าร
ข#อท่ี 7 ผปูT ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตTองใหบT ริการดTวยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ( รียกรบั หรอื ยอมรับ
ผลประโยชนจ[ ากการใชตT ำแหน(งหนาT ท่โี ดยมชิ อบ
ด#านที่4 จรรยาบรรณตอX ผู#รวX มประกอบวิชาชพี
ขอ# ที่ 8 ผTปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พงึ ชว( ยเหลอื เกือ้ กูลซึง่ กันและกนั อย(างสราT งสรรค[ โดยยดึ ม่ันในระบบ
คณุ ธรรม สราT งความสามคั คใี นหม(คู ณะ
ด#านที่5 จรรยาบรรณตอX สงั คม
ขอ# ท่ี 9 ผูTประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา พึงประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน- ผนTู ำในการอนุรกั ษ[และพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม
ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ปิ Yญญา สิง่ แวดลอT มรกั ษาผลประโยชน[ของส(วนรวม และยดึ ม่ันในการปกครอ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ [ทรงเปน- ประมุข (สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา.(2541). แบบแผนพฤตกิ รรมตาม
จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค[ ุรุสภาลาดพราT ว)

151

การประพฤติผดิ จรรยาบรรณวชิ าชพี มาตรา 54 (คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี )
1.ยกขอT กลา( วหา
2.ตกั เตือน
3.ภาคทัณฑ[
4.พักใชTใบอนญุ าตมกี ำหนดเวลาตามทีเ่ ห็นสมควร แต(ไม(เกิน 5 ป‹
5.เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชพี 5 ป‹ (มาตรา 54) (ท่มี า:หนงั สือเตรยี มสอบครูผTชู (วย สังกดั สพฐ.

ฉบับปรบั ปรงุ ใหม( อัปเดตครง้ั ที่ 5)

มาตรฐานวิชาชีพ แบ(งออกเปน- 3 มาตรฐาน
1. มาตรฐานความรTู และประสบการณ[วชิ าชีพ หมายความว(า ขอT กำหนดเกย่ี วกับความรTแู ละ

ประสบการณ[ในการจดั การเรียนรูT หรือการจัดการศึกษา ซง่ึ ผูปT ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา รวมทง้ั ผูตT Tองการ
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอT งมเี พียงพอทสี่ ามารถนำไปใชใT นการประกอบวิชาชพี ไดT

2. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน หมายความวา( ขTอกำหนดเก่ียวกบั คุณลักษณะ หรอื การแสดงพฤติกรรมการ
ปฏิบัตงิ านและการพัฒนางาน ซึง่ ผTปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมท้งั ผูTตอT งการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ตอT งปฏบิ ัติตาม เพ่อื ใหTเกิดผลตามวัตถปุ ระสงค[ และเปาž หมายการเรียนรูT หรือการจัดการศึกษา รวมท้งั ตอT งฝก¡ ฝน
พัฒนาตนเองใหTมที กั ษะ หรือความชำนาญสงู ข้ึนอยา( งตอ( เน่ือง

3. มาตรฐานการปฏิบตั ิตน หมายความวา( จรรยาบรรณของวิชาชีพท่ีกำหนดขน้ึ เปน- แบบแผนในการ
ประพฤตปิ ฏิบัติตน ซึ่งผTูประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา รวมทัง้ ผตูT อT งการประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา
ตTองยึดถอื ปฏบิ ตั ติ าม เพือ่ รักษาและสง( เสรมิ เกยี รติคุณชอื่ เสยี ง และฐานะของผTูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ใหT
เป-นทีเ่ ชื่อถอื ศรทั ธาแก(ผรTู บั บริการและสงั คม อันจะนำมาซึ่งเกียรติ และศกั ด์ศิ รแี หง( วชิ าชพี ” (ทม่ี า : ขอT บงั คับคุรุ
สภาวา( ดTวยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2548, น 40)

มาตรฐานวิชาชีพ แบ(งออกเป-น 3 ฉบับ ไดแT ก(
1. ขTอบังคับคุรุสภาวา( ดวT ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548
2. ขTอบังคบั คุรสุ ภาวา( ดTวยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. 2556
3. ขอT บังคบั ครุ ุสภาวา( ดวT ยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2562 (ปYจจุบัน)

มาตรฐานวชิ าชีพของผ#ูบริหารการศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรูTและประสบการณ[วิชาชพี ผูปT ระกอบวชิ าชพี ผูTบรหิ ารการศึกษา ตTองมคี ุณวุฒิไม(ต่ำ

กว(าปรญิ ญาตรีทางการบริหารการศกึ ษา หรือเทียบเท(า หรอื มคี ุณวฒุ ิอน่ื ที่ครุ ุสภารบั รอง โดยมมี าตรฐานความรTู
และประสบการณ[ วชิ าชีพ ดังตอ( ไปนี้

152

(ก) มาตรฐานความรTูประกอบดวT ยความรTู ดงั ต(อไปนี้

1. การพฒั นาวิชาชพี

2. ความเป-นผนTู ำทางวชิ าการ

3. การบรหิ ารการศึกษา

4. การสง( เสรมิ คุณภาพการศกึ ษา

5. การประกันคุณภาพการศึกษา

6. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ

(ข) มาตรฐานประสบการณว[ ชิ าชีพ ดงั ต(อไปนี้
1. มีประสบการณด[ Tานปฏบิ ัติการสอนมาแลTวไม(นTอยกวา( แปดป‹ หรือ
2. มปี ระสบการณ[ในตำแหน(งผูTบรหิ ารสถานศึกษามาแลTวไมน( Tอยกว(าหTาป‹ หรอื
3. มีประสบการณ[ในตำแหนง( ผบูT ริหารนอกสถานศึกษาท่ีไม(ต่ำกว(าระดับกองหรอื เทียบเท(ากอง
มาแลTวไมน( Tอยกวา( หTาป‹ หรอื
4. มีประสบการณ[ในตำแหน(งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวงมาแลวT ไม(
นอT ยกวา( หTาป‹ หรือ
5. มปี ระสบการณด[ าT นปฏบิ ตั กิ ารสอน และมีประสบการณใ[ นตำแหน(งผูบT รหิ ารสถานศกึ ษา หรอื
ผบูT ริหารนอกสถานศกึ ษา หรอื บคุ ลากรทางการศึกษาอืน่ ตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวงรวมกัน
มาแลวT ไมน( อT ยกวา( สิบป‹
2. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ผูTประกอบวิชาชพี ผบูT รหิ ารการศึกษา ตอT งมีมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน
ดงั ต(อไปน้ี
1. ปฏบิ ัติกิจกรรมทางวชิ าการเพือ่ พฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษา เพ่ือใหเT กดิ การพฒั นาวิชาชพี ทาง
การศกึ ษาอยา( งสมำ่ เสมอ
2. ตัดสนิ ใจปฏิบัตกิ ิจกรรมการนเิ ทศการศึกษา โดยคำนงึ ถงึ ผลที่จะเกิดแก(ผTรู ับการนิเทศ
3. ม(ุงมนั่ พฒั นาผTรู ับการนเิ ทศใหลT งมอื ปฏบิ ตั ิกิจกรรมจนเกิดผลตอ( การพฒั นาอยา( งมคี ณุ ภาพ
เต็มศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนเิ ทศใหTมีคณุ ภาพสงู สามารถปฏบิ ตั ใิ หเT กดิ ผลไดจT ริง
5. พัฒนาและใชTนวตั กรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มคี ณุ ภาพสงู ขน้ึ เปน- ลำดบั
6. จดั กิจกรรมการนิเทศการศกึ ษาโดยเนนT ผลถาวรทีเ่ กิดแกผ( รูT ับการนเิ ทศ
7. ดำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศึกษาใหTมคี ุณภาพสูงไดTอยา( งเป-นระบบ
8. ปฏิบตั ติ นเป-นแบบอย(างที่ดี
9. ร(วมพฒั นางานกับผูTอ่นื อยา( งสราT งสรรค[

153

10. แสวงหาและใชขT Tอมูลขา( วสารในการพฒั นา
11. เปน- ผูTนำและสราT งผูTนำทางวชิ าการ
12. สราT งโอกาสในการพฒั นางานไดTทกุ สถานการณ[
3. มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (ขอT บงั คบั ครุ สุ ภาวา( ดวT ยมาตรฐานวชิ าชพี ,2562.)
1. จรรยาบรรณต(อตนเอง

- ผTปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตTองมีวนิ ัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาT นวิชาชพี บุคลิกภาพ
และวิสัยทัศน[ ใหทT ันต(อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ สังคมและการเมืองอยู(เสมอ

2. จรรยาบรรณต(อวชิ าชีพ
- ผTูประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตTองรกั ศรัทธา ซื่อสัตย[สจุ ริต และรบั ผดิ ชอบต(อวิชาชพี

เป-นสมาชกิ ท่ีดีขององคก[ รวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ( ผูTรบั บรกิ าร
– ผTูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตTองรัก เมตตา เอาใจใส( ชว( ยเหลอื ส(งเสรมิ ใหกT ำลังใจแก(

ศิษย[ และผTูรบั บริการตามบทบาทหนTาทีโ่ ดยเสมอหนาT
– ผูปT ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตTองสง( เสริมใหเT กิดการเรียนรTู ทกั ษะ และนิสัยที่ถกู ตอT งดี

งามแกศิษย[และผรูT บั บรกิ าร ตามหนาT ทีอ่ ยา( งเตม็ ความสามารถดวT ยความบริสทุ ธิใ์ จ
– ผTูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองประพฤตปิ ฏิบัตติ นเปน- แบบอย(างทด่ี ี ทงั้ ทางกาย

วาจาและจติ ใจ
– ผปูT ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอT งไมก( ระทำตนเปน- ปฏิปกY ษต[ (อความเจริญ ทางกาย

สติปญY ญา จติ ใจ อารมณ[และสังคมของศษิ ยแ[ ละผรTู ับบรกิ าร
– ผปูT ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอT งใหTบริการดTวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ( รยี ก

รับหรอื ยอมรับผลประโยชน[จากการใชT ตำแหน(งหนTาทโี่ ดยมชิ อบ
4. จรรยาบรรณตอ( ผูรT (วมประกอบวิชาชีพ
- ผูTประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช(วยเหลือเก้อื กลู ซึ่งกนั และกนั อย(างสรTางสรรค[ โดยยึด

ม่นั ในระบบคุณธรรม สราT งความสามคั คใี นหมู(คณะ
5. จรรยาบรรณต(อสังคม
- ผปูT ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏิบัตติ น เป-นผูนT ำในการอนรุ ักษ[ และพัฒนา

เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปYญญา สงิ่ แวดลอT มรกั ษาผลประโยชน[ ของส(วนรวมและยึด
ม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ [ทรงเปน- ประมุข (ที่มา : ขอT บังคับคุรุสภา
ว(าดTวยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2556)

154

มาตรฐานวิชาชีพของผบู# ริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรูTและประสบการณว[ ชิ าชีพ ผูTประกอบวชิ าชีพผบTู รหิ ารสถานศึกษา ตTองมคี ุณวุฒไิ ม(ตำ่

กวา( ปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรอื เทยี บเทา( หรอื มคี ณุ วฒุ อิ นื่ ท่คี รุ ุสภารบั รอง โดยมีมาตรฐานความรูT
และประสบการณ[ วชิ าชีพ ดงั ตอ( ไปน้ี

ก) มาตรฐานความรTูประกอบดวT ยความรTู ดังต(อไปน้ี

1. การพัฒนาวชิ าชพี

2. ความเป-นผูนT ำทางวชิ าการ

3. การบริหารสถานศกึ ษา

4. หลักสูตร การสอน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูT

5. กจิ การและกจิ กรรมนักเรียน

6. การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา

7. คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ

ข) มาตรฐานประสบการณ[วิชาชพี ดงั ตอ( ไปนี้
1. มีประสบการณ[ดTานปฏบิ ัตกิ ารสอนมาแลวT ไม(นTอยกวา( หTาป‹ หรือ
2. มปี ระสบการณ[ดาT นปฏิบตั ิการสอนและตอT งมปี ระสบการณใ[ นตำแหน(ง

หวั หนาT หมวด หรอื หวั หนTาสาย หรือหวั หนTางาน หรอื ตำแหนง( บริหารอนื่ ๆ ในสถานศึกษามาแลวT ไมj
นTอยกว(าสองป‹
2. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ผูปT ระกอบวิชาชพี ผบTู ริหารสถานศึกษา ตTองมมี าตรฐานการปฏิบัตงิ าน
ดงั ต(อไปนี้

1. ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวชิ าการเพือ่ พฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษา เพ่ือใหTเกดิ การพัฒนาวชิ าชีพทาง
การศกึ ษาอย(างสม่ำเสมอ

2. ตดั สินใจปฏิบตั กิ จิ กรรมการนิเทศการศกึ ษา โดยคำนึงถึงผลท่จี ะเกิดแกผ( ูTรับการนเิ ทศ
3. มุง( มนั่ พัฒนาผTรู บั การนเิ ทศใหTลงมือปฏบิ ัตกิ ิจกรรมจนเกดิ ผลตอ( การพัฒนาอย(างมคี ณุ ภาพ
เตม็ ศักยภาพ
4. พฒั นาแผนการนเิ ทศใหมT คี ณุ ภาพสูง สามารถปฏิบตั ใิ หเT กิดผลไดTจริง
5. พฒั นาและใชนT วัตกรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มคี ุณภาพสูงขึ้นเป-นลำดับ
6. จัดกจิ กรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยเนTนผลถาวรที่เกดิ แก(ผTรู บั การนเิ ทศ
7. ดำเนนิ การและรายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาใหมT คี ุณภาพสงู ไดอT ยา( งเป-นระบบ
8. ปฏบิ ตั ิตนเปน- แบบอยา( งทดี่ ี
9. ร(วมพฒั นางานกับผอูT ืน่ อย(างสราT งสรรค[

155

10. แสวงหาและใชTขTอมลู ข(าวสารในการพฒั นา
11. เป-นผTูนำและสราT งผนTู ำทางวชิ าการ
12. สรTางโอกาสในการพัฒนางานไดทT ุกสถานการณ[
3. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน ไดแT ก(
1. จรรยาบรรณตอ( ตนเอง

- ผTปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอT งมีวนิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองดTานวชิ าชีพ บุคลิกภาพ
และวสิ ัยทัศน[ ใหทT ันต(อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งอย(เู สมอ

2. จรรยาบรรณตอ( วิชาชีพ
- ผTูประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอT งรกั ศรัทธา ซื่อสัตยส[ ุจริต และรับผิดชอบตอ( วชิ าชพี เป-น
สมาชกิ ท่ดี ขี ององค[กรวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ( ผTรู บั บริการ
– ผูTประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอT งรัก เมตตา เอาใจใส( ช(วยเหลอื สง( เสรมิ ใหกT ำลงั ใจแก(
ศิษย[ และผTรู บั บรกิ ารตามบทบาทหนTาท่โี ดยเสมอหนาT
– ผTปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอT งส(งเสรมิ ใหเT กิดการเรยี นรTู ทกั ษะ และนสิ ยั ที่ถกู ตTองดี
งามแกศษิ ย[และผรTู ับบริการ ตามหนาT ท่อี ย(างเต็มความสามารถดวT ยความบรสิ ุทธ์ิใจ
– ผูปT ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตTองประพฤติปฏิบตั ิตนเปน- แบบอยา( งทด่ี ี ทง้ั ทางกาย วาจา
และจติ ใจ
– ผปูT ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอT งไมก( ระทำตนเปน- ปฏิปกY ษต[ (อความเจรญิ ทางกาย
สตปิ ญY ญา จติ ใจ อารมณแ[ ละสังคมของศิษยแ[ ละผTรู บั บรกิ าร
– ผTปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอT งใหTบรกิ ารดวT ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ( รียกรับ
หรือยอมรบั ผลประโยชน[จากการใชT ตำแหน(งหนTาทีโ่ ดยมชิ อบ
4. จรรยาบรรณตอ( ผTรู ว( มประกอบวิชาชพี
- ผTปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาพงึ ช(วยเหลือเกอ้ื กลู ซง่ึ กันและกันอย(างสราT งสรรค[ โดยยดึ มน่ั
ในระบบคณุ ธรรม สรTางความสามัคคีในหมู(คณะ
5. จรรยาบรรณต(อสงั คม
- ผูปT ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พึงประพฤติปฏบิ ตั ิตน เปน- ผนTู ำในการอนรุ กั ษ[ และพฒั นา
เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปญY ญา ส่ิงแวดลTอมรกั ษาผลประโยชน[ ของส(วนรวม
และยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท[ รงเป-นประมุข (ขTอบังคับคุรุ
สภาว(าดTวยมาตรฐานวิชาชพี ,2562.)

156

มาตรฐานวชิ าชพี ของครู พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรแูT ละประสบการณว[ ชิ าชีพ ผูปT ระกอบวิชาชีพครู ตอT งมีคุณวฒุ ิไม(ตำ่ กวา( ปรญิ ญาตรที าง

การศึกษา หรอื เทียบเท(า หรือมคี ณุ วุฒอิ ืน่ ทีค่ ุรุสภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรูTและประสบการณ[วชิ าชพี
ดงั ตอ( ไปน้ี

(ก) มาตรฐานความรูT ตอT งมีความรอบรTแู ละเขTาใจในเร่อื ง ดังตอ( ไปน้ี
1. การเปล่ยี นแปลงบรบิ ทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2. จติ วิทยา พฒั นาการ จติ วทิ ยาการศึกษา และจติ วิทยาใหTคำปรกึ ษา ในการวิเคราะหแ[ ละ
พฒั นาผTเู รียนตามศกั ยภาพ
3. เน้ือหาวิชาท่สี อน หลักสูตร ศาสตรก[ ารสอน และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการจัดการเรยี นรTู
4. การวดั ประเมินผลการเรยี นรTู และการวจิ ัยเพ่ือแกปT ญY หาและพัฒนาผูเT รยี น
5. การใชTภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร และการใชเT ทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการศึกษา
6. การออกแบบและการดำเนินการเก่ียวกบั งานประกันคุณภาพการศึกษา

(ข) มาตรฐานประสบการณว[ ิชาชพี ผ(านการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทาง
การศึกษาเปน- เวลาไมน( อยกว(าหนึง่ ป‹ และผา( นเกณฑ[การประเมนิ ปฏิบัติการสอน ตามหลักเกณฑ[ วิธีการ
และเง่ือนไขที่คณะกรรมการคุรสุ ภากำหนด ดังตอ( ไปนี้

1. การฝ¡กปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี ระหว(างเรียน
2. การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
2. มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ผปูT ระกอบวชิ าชีพครู ตTองมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังน้ี
(ก) การปฏิบตั ิหนาT ทค่ี รู
1. มง(ุ ม่นั พัฒนาผTเู รียน ดTวยจิตวญิ ญาณความเปน- ครู
2. ประพฤตตนเป-นแบบอย(างท่ดี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามเปน- พลเมอื งทีเ่ ขมT แข็ง
3. ส(งเสริมการเรียนรTู เอาใจใส( และยอมรับความแตกต(างของผเูT รียนแตล( ะบุคคล
4. สราT งแรงบันดาลใจผเูT รียนใหTเปน- ผใูT ฝเÄ รยี นรTู และผTูสราT งนวัตกรรม
5. พฒั นาตนเองใหTมคี วามรอบรูT ทนั สมยั และทนั ต(อการเปลย่ี นแปลง
(ข) การจดั การเรยี นรTู
1. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา การจดั การเรียนรTู สือ่ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรTู
2. บรู ณาการความรTู และศาสตร[การสอน ในการวางแผนและจดั การเรียนรูทT ่สี ามารถพฒั นา
ผTูเรียนใหมT ีปญY ญารคูT ิด และมคี วามเป-นนวตั กรรม
3. ดแู ล ช(วยเหลือ และพฒั นาผูTเรยี นเป-นรายบคุ คลตามศกั ยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนา
คณุ ภาพผเTู รยี นไดTอย(างเปน- ระบบ

157

4. จดั กิจกรรมและสราT งบรรยากาศการเรียนรูT ใหผT เูT รียนมีความสขุ ในการเรียน โดยตระหนกั ถงึ
สขุ ภาวะของผูTเรยี น
5. วิจัย สราT งนวัตกรรม และประยุกตใ[ ชTเทคโนโลยีดจิ ิทลั ใหเT กดิ ประโยชนต[ (อการเรียนรขTู อง
ผูเT รียน
6. ปฏบิ ัติงานร(วมกบั ผอTู นื่ อย(างสราT งสรรคแ[ ละมีส(วนรว( มในกิจกรรมการพฒั นาวิชาชีพ
(ค) ความสัมพนั ธ[กบั ผปTู กครองและชมุ ชน
1. รว( มมือกับผTูปกครองในการพัฒนาและแกTปYญหาผูTเรยี นใหTมีคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค[
2. สรTางเครอื ขา( ยความรว( มมือกบั ผปTู กครองและชุมชน เพ่ือสนับสนุนการเรียนรูทT ่มี ีคุณภาพของ
ผูTเรียน
3. ศึกษา เขTาถงึ บรบิ ทของชุมชน และสามารถอยู(รว( มกนั บนพ้นื ฐานความแตกต(างทาง
วฒั นธรรม
4. ส(งเสริม อนุรกั ษว[ ัฒนธรรม และภูมปิ ญY ญาทอT งถิ่น
3. มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (ขTอบงั คบั ครุ ุสภาวา( ดTวยมาตรฐานวิชาชีพ,2562.)
1. จรรยาบรรณตXอตนเอง
- ผTูประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตTองมีวนิ ัยในตนเอง พฒั นาตนเองดTานวิชาชพี บุคลกิ ภาพ
และวิสยั ทัศน[ ใหทT นั ตอ( การพฒั นาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมอื งอยเู( สมอ
2. จรรยาบรรณตXอวิชาชีพ
- ผปูT ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตTองรัก ศรทั ธา ซอื่ สตั ย[สจุ ริต และรบั ผิดชอบต(อวิชาชีพ เปน-
สมาชิกท่ดี ีขององคก[ รวชิ าชีพ
3. จรรยาบรรณตXอผู#รับบรกิ าร
– ผTูประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตTองรกั เมตตา เอาใจใส( ช(วยเหลอื สง( เสรมิ ใหTกำลังใจแก(
ศิษย[ และผTรู ับบรกิ ารตามบทบาทหนาT ทโี่ ดยเสมอหนาT
– ผูTประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตTองส(งเสริมใหเT กดิ การเรยี นรTู ทักษะ และนิสยั ทีถ่ กู ตTองดีงาม
แกศษิ ย[และผูรT บั บริการ ตามหนTาทอ่ี ยา( งเต็มความสามารถดวT ยความบริสทุ ธิ์ใจ
– ผูปT ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาตTองประพฤติปฏิบัติตนเป-นแบบอยา( งท่ีดีทัง้ ทางกาย วาจา ใจ
– ผปTู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตTองไมก( ระทำตนเป-นปฏิปYกษต[ (อความเจรญิ ทางกาย
สติปYญญา จติ ใจ อารมณ[และสงั คมของศิษยแ[ ละผTรู ับบริการ
– ผปูT ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตTองใหบT รกิ ารดTวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม(เรยี กรับ
หรือยอมรบั ผลประโยชน[จากการใชT ตำแหนง( หนาT ทีโ่ ดยมิชอบ

158

4. จรรยาบรรณตอX ผรู# วX มประกอบวิชาชีพ
- ผูTประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาพงึ ชว( ยเหลือเกอ้ื กลู ซึ่งกันและกนั อย(างสราT งสรรค[ โดยยดึ มัน่ ใน
ระบบคณุ ธรรม สราT งความสามัคคีในหม(ูคณะ

5. จรรยาบรรณตXอสังคม
- ผTปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตน เปน- ผนTู ำในการอนรุ กั ษ[ และพัฒนา

เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภมู ปิ ญY ญา สง่ิ แวดลอT มรกั ษาผลประโยชน[ ของส(วนรวมและ
ยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท[ รงเปน- ประมุข (ทมี่ า : ขอT บงั คับครุ ุ
สภาว(าดวT ยมาตรฐานวชิ าชพี ,2562.)
มาตรฐานวชิ าชีพของศกึ ษานิเทศก? พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรูแT ละประสบการณว[ ชิ าชพี ผTูประกอบวิชาชพี ศกึ ษานเิ ทศก[ ตอT งมคี ณุ วุฒไิ มต( ำ่ กว(า
ปริญญาโททางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเทา( หรอื มคี ณุ วุฒิอ่ืนท่คี รุ สุ ภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรTแู ละ
ประสบการณ[ วชิ าชพี ดงั ต(อไปนี้
(ก) มาตรฐานความรTูประกอบดวT ยความรTู ดังตอ( ไปน้ี

1. การพฒั นาวชิ าชพี
2. การนเิ ทศการศกึ ษา
3. แผนและกิจกรรมการนิเทศ
4. การพัฒนาหลักสูตรและการจดั การเรยี นรTู
5. การวิจยั ทางการศึกษา
6. นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา
7. การประกนั คณุ ภาพการศึกษา
8. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
(ข) มาตรฐานประสบการณว[ ชิ าชพี ดังต(อไปน้ี
1. มปี ระสบการณด[ าT นปฏบิ ัติการสอนมาแลวT ไม(นTอยกว(าหาT ป‹ หรือ มีประสบการณด[ าT น
ปฏบิ ตั ิการสอนและมีประสบการณใ[ นตำแหน(งผบTู รหิ ารสถานศึกษา หรอื ผTบู รหิ ารการศกึ ษารวมกนั มาแลวT ไม(นอT ย
กวา( หาT ป‹
2. มผี ลงานทางวชิ าการทมี่ ีคณุ ภาพและมกี ารเผยแพร(
2. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ผTูประกอบวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก[ ตอT งมีมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ดงั ตอ( ไปน้ี
(ขอT บังคับคุรสุ ภาวา( ดวT ยมาตรฐานวิชาชีพ,2556.)
1. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางวิชาการเพอ่ื พฒั นาการนเิ ทศการศกึ ษา เพอ่ื ใหเT กดิ การพฒั นาวิชาชพี ทาง
การศึกษาอย(างสมำ่ เสมอ

159

2. ตัดสนิ ใจปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการนเิ ทศการศึกษา โดยคำนึงถึงผลท่จี ะเกิดแก(ผูTรับการนเิ ทศ
3. ม(งุ มนั่ พฒั นาผูTรบั การนิเทศใหTลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมจนเกิดผลตอ( การพฒั นาอยา( งมคี ุณภาพ
เตม็ ศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนิเทศใหTมคี ณุ ภาพสงู สามารถปฏิบัตใิ หTเกิดผลไดTจริง
5. พัฒนาและใชนT วตั กรรมการนิเทศการศกึ ษาจนเกดิ ผลงานที่มีคณุ ภาพสงู ขึน้ เปน- ลำดบั
6. จัดกิจกรรมการนิเทศการศกึ ษาโดยเนTนผลถาวรที่เกดิ แกผ( รTู บั การนเิ ทศ
7. ดำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศกึ ษาใหTมคี ุณภาพสงู ไดTอยา( งเป-นระบบ
8. ปฏิบตั ิตนเปน- แบบอยา( งทด่ี ี
9. ร(วมพฒั นางานกับผTอู ืน่ อย(างสราT งสรรค[
10. แสวงหาและใชขT อT มูลข(าวสารในการพฒั นา
11. เป-นผTนู ำและสราT งผTูนำทางวชิ าการ
12. สราT งโอกาสในการพฒั นางานไดTทุกสถานการณ[
3. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน (ขอT บังคับครุ ุสภาว(าดTวยมาตรฐานวชิ าชีพ,2562.)
1. จรรยาบรรณตอ( ตนเอง

- ผTูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอT งมวี นิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองดTานวชิ าชพี บุคลิกภาพ
และวิสัยทศั น[ ใหทT ันตอ( การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคมและการเมอื งอยูเ( สมอ

2. จรรยาบรรณต(อวิชาชพี
- ผTปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอT งรกั ศรัทธา ซื่อสัตย[สจุ รติ และรบั ผิดชอบต(อวิชาชพี

เป-นสมาชกิ ทดี่ ขี ององคก[ รวชิ าชพี
3. จรรยาบรรณต(อผรTู ับบรกิ าร
– ผูTประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตTองรกั เมตตา เอาใจใส( ชว( ยเหลอื ส(งเสรมิ ใหกT ำลงั ใจแก(

ศษิ ย[ และผรTู ับบริการตามบทบาทหนาT ท่โี ดยเสมอหนTา
– ผูTประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตTองสง( เสริมใหTเกดิ การเรยี นรูT ทกั ษะ และนิสัยทีถ่ ูกตอT งดี

งามแกศษิ ยแ[ ละผูรT ับบรกิ าร ตามหนาT ท่อี ย(างเต็มความสามารถดTวยความบริสุทธใ์ิ จ
– ผปูT ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตTองประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน- แบบอย(างทดี่ ี ทั้งทางกาย

วาจาและจติ ใจ
– ผปูT ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตTองไมก( ระทำตนเป-นปฏิปYกษต[ อ( ความเจรญิ ทางกาย

สติปYญญา จิตใจ อารมณ[และสังคมของศษิ ยแ[ ละผูTรับบรกิ าร
– ผปTู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตTองใหบT ริการดTวยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ( รยี ก

รบั หรอื ยอมรับผลประโยชน[จากการใชT ตำแหน(งหนTาทีโ่ ดยมิชอบ

160

4. จรรยาบรรณต(อผูTรว( มประกอบวิชาชพี
- ผปูT ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาพงึ ชว( ยเหลือเก้ือกลู ซึ่งกันและกนั อยา( งสรTางสรรค[ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม
สราT งความสามคั คีในหม(ูคณะ

5. จรรยาบรรณตอ( สงั คม
- ผปTู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา พงึ ประพฤติปฏิบัตติ น เปน- ผูนT ำในการอนุรกั ษ[ และพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม
ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญY ญา สง่ิ แวดลTอมรกั ษาผลประโยชน[ ของส(วนรวมและยึดมน่ั ในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท[ รงเป-นประมขุ (ที่มา : ขอT บังคับครุ สุ ภาวา( ดวT ยมาตรฐานวิชาชพี และ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556)

แนวโนมN จรรยาบรรณครใู นบริบทโลก

ผูปT ระกอบวชิ าชพี ครจู ำเปน- ตTองพัฒนาตนเพ่อื ใหเT ท(าทนั กบั การเปล่ียนแปลงที่เป-นไปอยา( งต(อเนอื่ ง
โดยมีทักษะการเปลี่ยนแปลงท่ีสำคญั คือ การสรTางบรรยากาศใหTเกดิ ความรTูสึก หรือทศั นคติทางบวกในการ
จดั การกบั การเปลีย่ นแปลง การแสวงหาความรูเT ก่ยี วกบั การเปล่ยี นแปลงตนเอง และการปรบั ปรุงตนเอง
โดยแสวงหาการสนับสนนุ จากบคุ คลในอาชพี เดยี วกนั จดุ เร่มิ ตTนของการพฒั นาตนของผTปู ระกอบวิชาชีพครู คือ
การประเมนิ ความสามารถของตนเอง เพอื่ นำไปส(ูการวางแผนการพฒั นาอยา( งรอบดTาน ทั้งน้ีปYจจยั ท่ีเก่ยี วขTองกบั
การพัฒนาก็เป-นสิ่งสำคัญยิง่ ที่จะม(ุงใหเT กดิ ความสำเร็จในทกุ ข้ันตอนของการพัฒนาตน ซง่ึ ไดTแก( วัฒนธรรมการ
สนับสนุน บรบิ ทของสถานศกึ ษา ระดับการพฒั นาของสถานศึกษา เวลา งบประมาณ ขนั้ ตอนในการพัฒนา
วิชาชพี การใชเT ทคโนโลยเี พอ่ื การสอน และบทบาทขององคก[ ารดาT นวิชาชพี ซ่งึ ปYจจัยดงั กลา( วจะสง( ผลสำคญั ตอ(
การพัฒนาตนทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและความยง่ั ยืนของผูTประกอบวิชาชีพครู

การพฒั นาครใู นศตวรรษท่ี 21 มีการเปลยี่ นแปลง ในดTานตา( งๆ อยา( งมากมาย โดยเฉพาะอยา( งยง่ิ ดTาน
เทคโนโลยที ่มี กี ารเปล่ยี นแปลงแบบกTาวกระโดด สง( ผลใหกT ารจดั การศกึ ษาเนTนการเรยี นรTทู ผ่ี เTู รยี นเปน- ศูนย[กลาง
ดวT ยการ พัฒนาใหผT ูTเรียนรูTจกั กระบวนการสรTางองคค[ วามรดTู วT ยตนเอง จากปYญหาซบั ซTอนท่เี กิดจากการ
เปล่ียนแปลงของโลก การเปน- ครทู ด่ี ีควรพัฒนาการเรยี นรทูT ี่เนนT ทกั ษะกระบวนการคิดทีส่ ามารถเนTนใหผT ูเT รียน
สามารถแกTไขปญY หาไดTอยา( งสราT งสรรค[เพื่อตอบโจทยข[ องการเปลยี่ นแปลงของยุคสมยั

ในขณะเดยี วกันความรูเT รอื่ งจรรยาบรรณวิชาชีพครกู ารพัฒนาคุณธรรมและจรยิ ธรรม
ก็เปน- สิง่ ทผ่ี ูปT ระกอบวิชาชพี ครูควรมีควบค(ูกันไป มีการพฒั นากระบวนการแกปT ญY หา อยา( งสราT งสรรค[ เรอ่ื ง
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครเู พ่อื ชว( ยในการพัฒนาครูรุ(นใหม(ใหTมีกระบวนการทาง ความคดิ ในการแกTปYญหาจาก
ความคดิ สรTางสรรค[ท่ีส(งเสริมกันอยา( งเหมาะสม

161

การพฒั นานักศึกษาครูตามหลกั จิตตป6ญญาศึกษา

จติ ตปญY ญาศึกษา เปน- กระบวนการเรียนรดTู วT ยใจอยา( งใครค( รวญ เนนT การพฒั นาความคดิ จิตใจ อารมณ[
ภายในตนเองอย(างแทจT ริงเพอ่ื ใหเT กิดการตระหนกั รูTในตนเอง รคTู ณุ คา( ของส่งิ ตา( ง ๆ โดยปราศจากอคติ เกดิ ความ
รักความเมตตาอ(อนนTอมตอ( ธรรมชาตมิ ีจิตสำนึกตอ( สว( นรวม และสามารถประยกุ ต[เช่ือมโยงกับศาสตรต[ า( ง ๆ ใน
การดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ไดอT ยา( งสมดลุ และมีคณุ ค(า ดวT ยเหตนุ ้ี จิตตปญY ญาศกึ ษาจึงเป-นทง้ั แนวคิดและแนวปฏบิ ตั ิ
ที่มีจดุ มง(ุ หมายใหเT กดิ การเรียนรเTู พอ่ื การเปล่ียนแปลงในระดบั ตา( ง ๆ ไดTแก( การเปลย่ี นแปลงภายในตน การ
เปลย่ี นแปลงภายในองค[กร และการเปลี่ยนแปลงภายในสงั คม โดยท่ีการเปล่ยี นแปลงดงั กลา( ว ไมใ( ชเ( ปน- การ
เปล่ยี นแปลงเล็ก ๆ นTอย ๆ แต(เปน- การเปลี่ยนแปลงขั้นพ้นื ฐานอยา( งลกึ ซงึ้

โดยจิตตปYญญาศึกษาเปน- แนวคดิ และแนวปฏบิ ตั ิ ส(วนการเรียนรTูสูก( ารเปล่ียนแปลงเป-นเปาž หมายโดยเปน-
การขยายจิตสำนึกโดยผ(านกระบวนการเปลยี่ นมุมมองของเรือ่ งราวต(าง ๆ ในการสมั ผัสไดถT ึงความรสTู กึ ใตTจติ สำนกึ
เพือ่ พฒั นามนษุ ย[ ซึง่ กระบวนการต(าง ๆ น้ี จดั เปน- การศึกษาสำหรบั ศตวรรษที่ 21 ท่เี ปน- ยคุ แห(งการเปลย่ี นแปลง
เพ่อื โยงจติ ตปYญญาศกึ ษาส(ู transformative education เพอื่ พัฒนามนษุ ย[

จติ ตปญY ญาศึกษา สามารถสราT งเสรมิ ใหTนกั ศกึ ษามคี ุณลกั ษณะความเป-นครู เปน- กระบวนการ การจัดการ
เรยี นรูT ซง่ึ เนTนการทำสมาธิ เหตุการณ[กระตTุนผTูเรียนซ่งึ เนนT การฟYงอยา( งลึกซงึ้ สนุ ทรียสนทนา การนTอมสูใ( จอย(าง
ใคร(ครวญ และการบนั ทกึ การเรียนรูT ตามแนวจติ ตวิทยาศึกษา ดงั ท่ี ประเวศ วะสี (2549) ไดTกล(าวไววT า( จติ ต
ปYญญาศึกษาเปน- การเรียนรภTู ายใน การศกึ ษาดาT นใน เพ่ือใหTเกดิ ความสมบรู ณ[ เกดิ การพัฒนาอย(างแทTจริง โดยมี
การจดั กิจกรรมการพัฒนาดงั ตอ( ไปน้ี

1. การเขา# ถงึ โลกและชวี ิต เรามองโลก มองธรรมชาติอย(างไร หากเราเขาT ถงึ ความ
จรงิ จะพบความงามในนนั้ เสมอ เม่ือเราเขTาถึงความเป-นธรรมชาติกจ็ ะเขาT ถงึ ความเปน- อสิ ระ

2. กิจกรรมตาX งๆ เชนX กจิ กรรมที่เก่ียวขอ# งกบั ชมุ ชน ดนตรี ศิลปะ กิจกรรมอาสาสมคั ร
สุนทรียสนทนา เปน- กจิ กรรมทก่ี อ( ใหTเกดิ การพฒั นาตนเอง พัฒนาจิตใจ

3. การปลกี วเิ วกไปอยูกX บั ธรรมชาติ สัมผัสธรรมชาติ ไดรT Tจู ักตนเอง เมื่อจิตสงบ ความเช่อื มโยงเป-นหน่ึง
เดยี วกับธรรมชาติจะเกดิ ปรากฏการณต[ า( งๆขน้ึ

4. การทำสมาธิ ทงั้ นโ้ี ดยอยูบ( นหลักการทเี่ ป-นองค[ประกอบพืน้ ฐานในการจัดกระบวนการหรือ
การเรยี นรแTู นวจิตตปYญญาศึกษา คอื หลกั การพจิ ารณาดTวยใจอยา( งใคร(ครวญ หลกั ความรักความเมตตา หลักการ
เชอ่ื มโยงสมั พนั ธ[ หลักการเผชญิ หนาT กบั ความจรงิ หลักความตอ( เนื่อง หลักความมงุ( มนั่ และหลกั ชมุ ชนแหง( การ
เรียนรูT เรยี กว(า “หลกั จิตตปญY ญาศึกษา 7” หรอื เรียกในชื่อยอ( ๆภาษาองั กฤษวา( 7C’s (ธนา นิลชยั โกวทิ ยแ[ ละ
คณะ. 2550) กระบวนการเรยี นรผTู า( นการปฏบิ ตั ทิ เ่ี หมาะสมจะนำไปส(คู วามเขTาใจตนเอง มีสัมพนั ธภาพทีด่ ีกับผูTอืน่

162

เพราะเขTาใจและสามารถตระหนักถึงความเป-นส(วนหน่งึ ที่สมั พันธเ[ ชื่อมโยงกนั โดยการวจิ ัยเรือ่ งผลการใชTจติ ต
ปYญญาศึกษาเพือ่ สราT งเสรมิ คุณลักษณะความเปน- ครูเปน- การสรTางเสรมิ ค(านิยมทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของ
วชิ าชพี ครูผ(านการฝก¡ ปฏิบตั ิจนกลายเปน- คณุ ลกั ษณะส(วนหน่งึ ของชวี ติ หรอื พฒั นาใหเT ปน- ผทูT ่มี ีบคุ ลกิ ลักษณะทพี่ ึง
ประสงค[

ดังนั้นจะเหน็ ไดTวา( นกั ศึกษาที่เรียนโดยกระบวนการจติ ตปญY ญาศกึ ษา มพี ฤติกรรมความเป-นครูขณะฝก¡
ประสบการณว[ ิชาชพี ท้ัง 3 ดTาน คอื ดTานความรูคT วามเขาT ใจในวชิ าชีพ ดาT นทกั ษะและดTานคุณธรรม ทงั้ นี้
พฤติกรรมความเป-นครทู ี่ประพฤตปิ ฏบิ ัตโิ ดยมี หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษใ[ นระดบั มากท่ีสดุ จากการสัมภาษณอ[ าจารย[
นิเทศ ครูพเ่ี ลี้ยงและนักเรยี น ไดTแก( ทักษะดTานการเปน- ผTนู ำ ทกั ษะการมีมนุษยสัมพนั ธ[ และคณุ ธรรมดาT นการ
ประพฤตติ นเหมาะสมกับสถานภาพ เป-นแบบอย(างทดี่ ี และมจี ติ สาธารณะ การวิเคราะหข[ Tอมูลจากการสมั ภาษณ[
เปน- การใหคT วามสำคญั ของการศึกษาดTวยบรบิ ทและการตัดสินเชงิ คุณภาพ เพราะการเรยี นรดTู Tานในจิตใจ ตอT ง
อาศัยประสบการณ[ของครู อาจารย[ ในการชว( ยช้แี นะตรวจสอบ สอดคลTองกับ สุมน อมร ววิ ัฒน[ (2548) ที่กลา( ว
ว(า การประเมินการเรียนรูTดTานในจิตใจกบั จิตตปญY ญาศึกษานัน้ ขTอมลู สำคัญมักไมไ( ดเT ปน- เชงิ ปรมิ าณ แต(เป-นเรื่อง
ของการเปล่ียนแปลงเชิงโลกทัศน[ท่ผี ูปT ระเมนิ ตTองใชTใจเขาT ไปทำความรจูT ักกับผเูT รียนจงึ จะสามารถประเมนิ ไดTอยา( ง
เหมาะสม

และผลการวิจยั นี้สอดคลอT งกบั การประเมนิ ตนเองในคุณลักษณะความเปน- ครู ซงึ่ แสดงใหเT ห็นวา( นกั ศกึ ษา
คณะครศุ าสตร[ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทเี่ รยี นรูโT ดยกระบวนการจติ ตปญY ญาศกึ ษามคี ุณลักษณะความเปน- ครูทส่ี ง( ผล
ถึงพฤติกรรมความ เปน- ครู โดยสอดคลTองกับงานวิจัยของ นฤมล อเนกวทิ ย[ (2552) ที่พบวา( ผลการวิเคราะห[
เปรียบเทยี บการปฏิบัตกิ ารพยาบาล แบบองค[รวมของนกั ศกึ ษาพยาบาลกล(มุ ทดลองที่เรียนดTวยหลักสตู รจิตต
ปญY ญาศึกษาและกลุ(มควบคมุ แตกต(างกนั อยา( งมี นยั สำคัญท่รี ะดบั .01 โดยคา( มัธยฐานของกล(ุมทดลองสูงกวา(
กลุม( ควบคุม ท้งั การประเมินโดยผTเู รียน ผูTสอน และผูTปวÄ ย นอกจากนีย้ ังมนี กั การศกึ ษาและครูสว( นหนงึ่ ทีส่ นใจนำ
แนวคิดจิตตปญY ญาศกึ ษามาใชใT นการจัดการเรยี นรูT เชน( งานวจิ ัยของโน ซาวา (Nozawa. 2004) ทพ่ี บวา( การนำ
แนวปฏิบตั ิแบบจิตตปYญญาศกึ ษาไปใชใT นชวี ติ ครู สง( ผลต(อ การพัฒนาตัวครูทงั้ ในแง( คณุ ภาพชีวิตส(วนตน และใน
แง(คณุ ภาพการสอน โดยพบว(า ครูทป่ี ฏิบัตสิ มาธแิ บบจิตปญY ญาศกึ ษา มกี ารรับรูTตนเองท่สี ูงขึน้ สอนไดTอยา( งเปน-
ธรรมชาติ

สอดคลอT งกบั งานวจิ ยั ของ กรดศริ [ ชดิ ดี และ ณัฐพร อทุ ัยธรรม (2556) ทกี่ ลา( วสรปุ ถึง จิตตปYญญา
ศึกษาว(า ก(อใหTเกดิ การเปลยี่ นแปลงข้ันพน้ื ฐานในตน มงุ( เนนT การศกึ ษาโลกภายในตนเอง ดวT ยเหตนุ จ้ี ิตตปYญญา
ศกึ ษาจงึ ทำใหบT ุคคลเขาT ใจดาT นในจติ ใจของตนเอง รTูตวั ถึงความเปน- จรงิ เปน- แนวทางท่จี ะทำใหเT ห็นความเช่อื มโยง
ของการ เรียนรTทู ชี่ ดั เจน เชือ่ มโยงทัง้ ความคดิ จิตใจ และนำไปส(กู ารปฏิบตั ทิ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพจากนามธรรมไปส(ู
รูปธรรม โดยเฉพาะ อยา( งย่ิงพฤตกิ รรมความเป-นครูที่ พบวา( ปฏิบัติมากท่สี ดุ ทงั้ ทักษะการเป-นผูTนำทักษะการมี

163

มนษุ ยสมั พนั ธ[ มคี วามประพฤติ ตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป-นแบบอย(างทดี่ ี และมีจติ สาธารณะ ซ่ึงเป-น
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคด[ งั ปรากฏในหลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551
(กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551 : 4) ผลงานวจิ ัยนจ้ี ึงแสดงใหTเห็นถงึ ความสำคญั ของพฤติกรรมความเป-นครูทจ่ี ะ
เชอื่ มโยงส(แู นวทางการจดั การศึกษาทีเ่ ป-นประโยชน[ต(อผTเู รยี นและสอดคลอT งกับ นโยบายตามหลักสูตร
การพฒั นาครตู ามหลกั จติ ตปญ: ญาศึกษา

วิจักข[ พานิช (2549) ใหคT วามหมายของจิตตปYญญาศกึ ษา ว(า กระบวนการเรยี นรูดT วT ยใจอย(างใคร(ครวญ
โดยเนนT ที่ กระบวนการเรยี นรทูT ี่ไดคT วามรTูจากประสบการณ[ เพราะความรูTที่แทจT ริงน้นั คือประสบการณท[ กุ ส่ิงทกุ
อย(างรอบตวั และ เมอ่ื เพม่ิ มติ ขิ องการใคร(ครวญดวT ยใจ จะทำใหTสัมผัสไดถT ึงคณุ ค(าและความงาม ซึ่งการเรยี นรูT
ดวT ยใจอย(างใครค( รวญจะเกิดข้นึ ไดTดTวยส่งิ แวดลอT มทเี่ อ้อื ตอ( การเรยี นรทูT ีเ่ หน็ คณุ ค(าของการเรยี นรูTดาT นใน ทำใหT
เรียนรทูT ่จี ะรัก เรยี นรTทู จี่ ะใหT เรยี นรูทT จ่ี ะยอมรบั ความหลากหลายทางความคดิ มากขึ้น นำไปสค(ู วามตง้ั ใจทจ่ี ะทำ
ประโยชน[เพอ่ื ผูTอนื่
กระบวนการเรียนรปูT ระกอบดTวย 3 ลักษณะ คือ

1. การฟง: อยXางลกึ ซ้ึง (Deep Listening) หมายถึง ฟYงดTวยหัวใจ ดTวยความตงั้ ใจ อยา( งสมั ผสั ไดTถึง
รายละเอยี ดของส่งิ ที่เราฟงY อย(างลึกซงึ้ ดTวยจติ ทตี่ งั้ มน่ั ในท่นี ้ียังหมายถึง การรบั รใTู นทาง อน่ื ๆ ดวT ย เชน( การมอง
การอา( น การสัมผัส ฯลฯ

2. การนอ# มสXใู จอยาX งใครXครวญ (Contemplation) เป-นกระบวนการต(อเน่ืองจากการฟงY อยา( งลกึ ซ้ึง
กอปรกับประสบการณ[ท่ผี (านเขTามาในทางอนื่ ๆ เมอื่ เขาT มาส(ูใจแลTว มกี ารนอT มนำมาคิดใครค( รวญอย(างลกึ ซ้งึ ซึง่
ตอT งอาศยั ความสงบเย็นของจติ ใจเปน- พ้ืนฐาน จากนัน้ กล็ องนำไปปฏิบัติเพื่อใหเT ห็นผลจรงิ กจ็ ะเปน- การพอกพูน
ความรTเู พิ่มข้นึ ในอีกระดบั หนง่ึ การนTอมสูใ( จอยา( งใคร(ครวญ ในภาษาลาติน คือ Contemplali ซ่ึงหมายถึง การ
สงั เกต การพจิ ารณาไตร(ตรอง หรือการจอT งมองอย(างตง้ั ใจ (to observe, consider or gaze attentively)
(Haynes, 2005)

3. การเฝาª มองเหน็ ตามท่ีเปQนจริง (Meditation) การปฏบิ ตั ิธรรมหรือการภาวนา คอื การเฝาž ดู
ธรรมชาตทิ ่แี ทจT รงิ ของจติ นนั่ คอื การเปลี่ยนแปลง และสภาวะของการเปน- กระแสแหง( เหตปุ Yจจัยที่เลอ่ื นไหล
ตอ( เนื่อง การปฏบิ ัติภาวนาฝก¡ สงั เกตธรรมชาตขิ องจิต จะทำใหเT ราเห็นความเช่อื มโยงจากภายในสู(ภายนอก เหน็
ความเปน- จริงท่ีพนT ไปจากอำนาจแหง( ตัวตนของตน ที่หาไดTมอี ยู(จริงตามธรรมชาติ เปน- เพียงการเหน็ ผดิ ไปของจติ
เพยี งเท(าน้ัน

164

การพฒั นาจรรยาบรรณครูของตXางประเทศ

การพัฒนาครขู องประเทศฟน• แลนดE

สำนักงานสภาการศกึ ษา กระทรวงการศกึ ษาฟน- แลนด[ จะกำกบั มาตรฐานคณุ ภาพ การจัดการศึกษาของ
โรงเรียนในระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และจดั บริการฝ¡กอบรมพัฒนาตลอดชวี ิตการเป-นครู ส(วนโรงเรียนจะสง( ครู
ไปฝก¡ อบรมพฒั นาอย(าเปน- ระบบ ท้ังน้ีฟ-นแลนดไ[ ดยT กเลิกการใชTศกึ ษานิเทศก[ ไปแลวT เม่ือ 15 ป‹
ทผี่ (านมา โดยไดเT นTนการสราT งความเขTมแขง็ ขอผTบู ริหารสถานศกึ ษาและครู รวมทัง้ ไดTทุม( เทในการใชเT ทคโนโลยี
คอมพวิ เตอรช[ (วยการจดั การเรยี นการสอน และการศึกษาวจิ ัยเพื่อสราT งฐานขอT มูลและพฒั นานวตั กรรมใหม(

ในเร่ืองการพฒั นาตนเองวิชาชพี หมายถึง การฝ¡กฝนตนใหมT คี วามรูTความสามารถดTวยวิธีการต(าง ๆ ที่
เก่ยี วขอT งกับหนTาทขี่ องครู ศึกษาหาความรTจู ากเอกสาร การเขTาร(วมประชุมสมั มนา เขTารับการอบรมฟงY การ
บรรยาย การเผยแพรผ( ลงานทางวิชาการ มีการพฒั นาในเรือ่ งของทกั ษะวิธีการสอนทสามารถนำไปใชใT นกิจกรรม
การเรียนการสอนใหผT Tูเรยี นบรรลุวัตถุประสงค[ของการเรยี นรTู ความสามารถในการพัฒนาหลักสตู ร แผนการสอน
และนวัตกรรม มีการวิจยั ในชัน เรยี นมคี วามสามารถในการพัฒนาทักษะการวัดและประเมนิ ผล และการนำผล
การประเมนิ มาใชT โดยคำนงึ ถึงความแตกต(างระหว(างบุคคลของผูเT รยี น

ผลการจัดการเรยี นรู`ตามแนวจิตตป6ญญาศกึ ษา

การจัดการเรียนรู# พบวXา
1. กจิ กรรมทีใ่ ชใT นการพฒั นา ทำใหTผูเT ขTารับการอบรมสงบ ผอ( นคลาย เรียนรูTที่จะออกจากพน้ื ที่ที่
ปลอดภัย การใชTสุนทรยี สนทนา การฟYงอย(างลึกซงึ้ เกดิ ความตระหนกั รตTู (อตนเอง เขาT ใจตนเอง เกดิ แรงบนั ดาลใจ
ในการคTนหาความเป-นครูของตนเอง ตระหนักรถูT งึ ความสามารถของนกั เรยี นท่มี คี วามแตกตา( งกัน ยอมรับนักเรียน
ที่มีความสามารถแตกต(างกนั ครเู รียนรTูการบูรณาการการจดั การเรียนรูT
2. ผลการจัดการเรียนรพTู บว(า วธิ ีการและกิจกรรมที่ครใู ชใT นการจดั การเรียนรูT ประกอบดTวย การฝ¡ก
สมาธิ การสะทอT นความคิดหลังการเรียนรูT การผ(อนพักตระหนักรTู การใชTเกม เพลง การระบายสี นิทาน
ความสำเร็จในการนำจิตตปYญญาศึกษามาใชTในการจดั การเรียนรTู นักเรยี นเกดิ การเรยี นรทูT ีด่ ีขน้ึ รว( มแสดงความ
คดิ เหน็ มากกวา( ฟYงครู สามารถฟงY ความคิดเห็นของเพอื่ นไดT มคี วามอดกล้ัน สามารถอยู(ร(วมกับผูอT ่ืนไดT ครมู ีการ
ปรบั เปล่ยี นวธิ ีการจดั การเรียนรTู มคี วามสขุ ในการจัดการเรยี นรูT การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไT ดหT ลากหลาย ฟงY
นักเรียนไดTมากขนึ้ บรรยากาศของการเรยี นรTูมคี วามอบอุ(น กจิ กรรมทำใหTผูTเรียนรจูT ักการคิดวิเคราะห[

165

สรปุ

ความเปfนครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครู เกณฑมE าตรฐานวชิ าชพี และ
แนวโนม` จรรยาบรรณครใู นบริบทโลก

ประวัติของการศึกษาไทย การศกึ ษาไทยในสมยั โบราณมีวดั เป-นศูนยก[ ลางประชาคมกจิ กรรมต(าง ๆ ของ
รฐั และวัดย(อมเปน- การสอนประชาคมไปในตวั วชิ าทเ่ี รยี นคอื ภาษาบาลี ภาษาไทยและวชิ าสามัญข้ันตนT
ยดึ หลกั ปรชั ญาจิตนยิ ม ทเ่ี นนT การพฒั นาดาT นจิตใจเนTนการเขาT ใจชวี ิตส(งเสริมคุณธรรมศีลธรรม ศลิ ปะ ผลติ คนใหT
เป-นนกั อกั ษรศาสตรแ[ ละศิลปศาสตร[ สมยั ปฎริ ูปการศกึ ษามีการวางรากฐานของการศกึ ษาอย(างครบถTวน เร่มิ
ตง้ั แตก( ารสราT งโรงเรยี น การประกาศใชโT ครงการศึกษาแบง( เป-นระดับประถม มัธยม และอาชวี ศกึ ษา
การสราT งหลกั สูตรและแบบเรียน

ความเปQนครู ลักษณะที่ดีของครทู ่ีดี ควรมีความรกั และเมตตาต(อศษิ ย[ มีความเสยี สละหมนั่ เพยี รศกึ ษา
ปรบั ปรงุ วธิ กี ารสอน เพื่อพฒั นาตนเองอย(เู สมอ ตTองมีความเขาT ใจศษิ ย[ทุกคน เป-นกำลงั ใจและช(วยสราT งแรง
บนั ดาลใจใหTกบั ศิษยเ[ พอ่ื ใหเT ขาเปน- คนใฝÄเรยี นรTู เป-นแบบอย(างทีด่ ี มีจรรยาบรรณในวชิ าชีพครู มีจติ วญิ ญาณของ
ความเป-นครู สามารถถา( ยทอดความรูไT ดเT ป-นอยา( งดี มวี ธิ กี ารสอนทห่ี ลากหลาย

ครุ ุสภา คุรุสภากระทรวงศึกษาธกิ าร มหี นาT ที่ควบคุมออกและเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กำกับ ดแู ลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ และตราพระราชบัญญัติ
สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2546 ข้ึนใหเT ป-นกฎหมายว(าดวT ยสภาครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา หรืออกี ชอ่ื หนึ่งคือ สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาอย(ูในกำกับของสำนกั งานเลขาธกิ ารสภา
การศึกษา ในกระทรวงมีองค[กรหลกั ทเี่ ปน- คณะบคุ คลในรูปสภาหรือคณะกรรรมการจำนวน 4 องค[กร ไดแT ก(
สภาการศึกษาคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาและคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษา เพอื่ พิจารณาใหคT วามเหน็ หรือใหคT ำแนะนำแกร( ฐั มนตรหี รอื คณะรฐั มนตรี

มาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณวิชาชพี มาตรฐานวิชาชีพครู มี 3 ดTาน เป-นขอT กำหนดเก่ยี วกับ
คุณลักษณะและคณุ ภาพท่ีพึงประสงคท[ ่ีตอT งการใหTเกดิ ข้ึนในการประกอบวิชาชพี ครโู ดยผปTู ระกอบวิชาชพี จะตอT ง
นำมาตรฐานวิชาชีพเป-นหลกั เกณฑ[ในประกอบวชิ าชีพคุรุสภาซง่ึ เป-นองค[กรวิชาชพี ครจู รรยาบรรณวชิ าชพี ครมู ี 5
ดาT น 9 ขอT จรรยาบรรณวิชาชีพครู หมายถงึ กฎแห(งความประพฤตทิ ี่องคก[ รวชิ าชีพครกู ำหนดขน้ึ ใหTครปู ระพฤติ
ปฏิบัตติ ามในแนวทางท่ีถกู ตอT ง เพื่อรักษาและส(งเสรมิ เกียรติคณุ ชื่อเสยี งและฐานะของความเป-นครู

แนวโน#มจรรยาบรรณครูในบริบทโลก การพฒั นาครใู นศตวรรษที่ 21 มกี ารเปลย่ี นแปลงในดTานตา( งๆ
โดยเฉพาะอยา( งยิง่ ดาT นเทคโนโลยีสง( ผลใหTการจัดการศกึ ษาเนนT การเรียนรูทT ผี่ เูT รียนเป-นศูนย[กลาง ดTวยการ พัฒนา
ใหผT ูTเรยี นรจTู กั กระบวนการสรTางองค[ความรูดT วT ยตนเอง ผTปู ระกอบวชิ าชพี ครจู ำเป-นตอT งพัฒนาตนเพื่อใหTเท(าทัน
กบั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี ปน- ไปอย(างต(อเนอ่ื งโดยมที ักษะการเปล่ียนแปลงท่ีสำคญั คอื การสราT บรรยากาศใหTเกิด
ความรTูสึก หรือทศั นคตทิ างบวกในการจดั การกับการเปลยี่ นแปลง

166

อNางองิ

ครุ ุสภา. (2558). มาตรฐานวิชาชพี คร.ู (ออนไลน)[ .สบื คTนเมอื่ วันท่ี 2 มีนาคม 2564
แหล(งทีม่ า : https://www.ksp.or.th/ksp2018/

จิตตปญ: ญาศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหิดล. ปาจารยสาร ฉบับสกิ ขาปริทัศน[.คTนเมือ่ 1 มนี าคม 2564,
จาก http://www.semsikkha.org/paca/index.php.option=contenttask&View4id=146&Item

วิจักขณ? พานชิ . (2548). ในกล(มุ จติ ววิ ัฒน[ (บรรณาธกิ าร) จิตผลบิ าน: ออ( นโยนตอ( ชวี ิต อ(อนนTอมต(อธรรมชาติ
การเรียนรดTู Tวยใจอยา( งใคร(ครวญ. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพอ[ มรนิ ทร,[ หนาT 205 – 210.

ประวัตคิ วามเปQนมาและระบบการศกึ ษาไทย. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า การศกึ ษาและความเปน- ครไู ทย.
คนT เมื่อวันท่ี 6 มนี าคม 2564,จาก https://krupasathaimaiake.files.wordpress.com

สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. สารานกุ รมเสรี.คTนเมือ่ 1 มนี าคม 2564,
จาก https://th.wikipedia.org/wiki

หนา# ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของวิชาคร.ู คTนเมื่อ 3 มีนาคม 2564
จาก https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/hnathi-laea-khwam-rab-phid-chxb-

khxng-wicha-khru
ชนัญชิชา กองสขุ . (2556). ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา.(ออนไลน)[ .สืบคTนเม่ือ 2

มนี าคม 2564 แหล(งท่มี า : http://chananchidapresent1.blogspot.com
องคป? ระกอบการคุณภาพภายในสถานศึกษา. นายอรรถพล เรอื งขจร, คTนเมื่อ 1 มนี าคม 2564,
จาก http://auttapontme35851n.blogspot.com/

167

บทที่ 7
จติ วญิ ญาณความเป:นครูและคาX นิยม

ความหมายและแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวญิ ญาณ

ความหมายของจิตวิญญาณ คำว(าจิตวิญญาณ Spiritual หรือ Spirituality มีรากศัพท[มาจากคำว(า
spiritus ในภาษา ลาติน หมายถึง ลมหายใจ และคำว(า enthousiasmos ที่หมายถึง the god within หรือ พลัง
อำนาจ ศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย[. 2549) ส(วน spirit (n) spiritual (adj)
และ spirituality (n) ในพจนานุกรมฉบับอังกฤษ-ไทย ใหTความหมายว(า วิญญาณ จิตใจ เกี่ยวกับใจ
ความองอาจ เจตนา ผTูมีปญY ญา ความอดทน และภูตผีปศ‹ าจ (สอ.เสถบุตร:ฉบับภาษาองั กฤษ-ไทย.2541:562)

สุมน อมรวิวัฒน[ (2542) สรุปจิตวิญญาณไม(ว(าจะมาจากรากฐานความคิดดTานใดก็ลTวนแต( แสดงพลัง
ขับเคลื่อนทางบวก สรTางสรรค[ พัฒนาทั้งทางนามธรรมและรูปธรรม ทางนามธรรมก็คือ เป-นธาตุรูTเป-นความ
ตระหนักรูTคุณค(าของจิตสำนึก ความสุขและความอิ่มเอมทางรูปธรรมก็คือ เป-นพฤติกรรมที่เกิดจากแรงผลัก
ภายในตน แสดงตอ( เนอ่ื งในวิถชี วี ิตเป-นความสงบสบายเช่ือมโยง สัมพนั ธ[กับทุกย(างกาT วของชีวิต

ประเวศ วะสี (2547 : 11-15) ใหTความหมายจิตวิญญาณ หมายถึง จิตขั้นสูงสุดเป-นคุณค(า และจิตสำนึก
แห(งความดี จิตที่ลดความเห็นแก(ตัว เห็นแก(ผูTอื่น จิตที่เกี่ยวกับความยืดมั่น ถือมั่นใน ตัวตน ความดีความชั่วตา( ง ๆ
จิตในส(วนที่จะเขTาถึงสิ่งสูงสุดไดTคือ นิพพานหรือพระผูTเป-นเจTา นอกจากนี้ ประเวศ วะสี ยังไดTกล(าวว(า จิตไม(ไดT
ดำรงอยู(เป-นเอกเทศ กาย จิต สังคม ปYญญา เชื่อมโยง ไปมาถึงกัน การพัฒนาจิตตTองเป-นไปทั่วมิติเชื่อมโยงกัน ทั้ง
ภ ู ม ิ ป Y ญ ญ า ต ะ ว ั น อ อ ก แ ล ะ ต ะ ว ั น ต ก เ ห ็ น ต ร ง กั น ว ( า ก า ร พ ั ฒ น า ค ว ร ม ี ใ น 4 ม ิ ต ิ ไ ด T แ ก(
1) กายพัฒนา 2) จติ พฒั นา 3) สังคมพัฒนา 4) ปYญญา พฒั นา

การพัฒนาทุกมิติมุ(งใหTเกิดความถูกตTองดีงามและการมีจิตใจสูง การมีจิตใจสูง หมายถึง การลดนTอยถอย
ลงของความเห็นแก(ตัว มีความรักเพื่อนมนุษย[และสรรพสิ่ง การเขTาถึงความจริง ความหมาย และความดี
มีสุขภาวะและเป-นไปเพื่อการอยู(ร(วมกันอย(างสันติโดยที่กาย จิต สังคมปYญญา เชื่อมโยงกัน ฉะนั้นการพัฒนา
ที่กล(าวถึงในบางเรื่องอยู(คาบเกี่ยวกันหลายมิติ เช(น โยคะมีทั้งมิติ ทางกายกับจิต ศิลปะมีมิติทางกาย ทางจิต ทาง
สังคม ทางปญY ญา เปน- ตนT

อารยา พรายแยTม และคณะ (2552) ไดTสรุปความหมายของจิตวิญญาณ ว(าเป-นสิ่งที่แสดง ออกเป-นแก(น
แทTหรือสาระ (Essence) ของบางสิ่งหรือของคนบางคน โดยอยู(เหนือการมีสุขภาวะ ทางอารมณ[และจิตใจที่ดีและ
มีความสุข โดยจะบอกถึงการรูTจักตนเอง (เราเป-นใคร) ความเป-นอยู(ของเรา (เรามีปฏิสัมพันธ[
กับคนอย(างไร) และจิตสำนึก (เราอยู(กับตนเองอย(างไรเราแสดงตัวตนของเราอย(างไร เรารับรูTความรูTสึกของตนเอง
และผูTอื่นอย(างไร) และความเป-นจิตวิญญาณ (Spirituality) คือ การมองกลับเขTาไปภายในเพื่อคTนพบเอกลักษณ[ที่
แทTจริงของเรา โดยเป-นการมองเพื่อคTนพบตัวตนคุณค(า ความหมายและเปžาหมายในชีวิต ใหTลึกซึ้งถึงแก(นแทTของ

168

ตัวเรา นอกเหนือจากนั้นยังเชื่อมโยง กับมนุษย[ทุกคน และรับรูTถึงบางสิ่งที่ยิ่งใหญ(กว(าตัวเราเองโดยที่บางคนอาจ
พูดวา( เปน- ประสบการณ[ ของความสงบท่แี สดงออกมาในรปู ของความกรุณา

นงเยาว[ มงคลอิทธิเวช และคณะ (2552) ไดTใหTความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณว(า หมายถึง
สภาวะสงบสุขที่มีความประณีต เป-นความสุขที่แทTจริงที่หลุดพTนจากการยึดติดกับวัตถุ แต(เป-นภาวะที่เป‹ÆยมลTนดTวย
ความป-ติ อิ่มเอิบ อิ่มเต็มจากภายใน มีความอ(อนโยน เบิกบาน จิตใจ สงบนิ่ง ไม(วุ(นวายสับสน
มีพลังในการมีชีวิตอย(างมีคุณค(า มีความหมาย มีเปžาหมายชีวิตที่ชัดเจน พึงพอใจในชีวิต มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
เขTาใจโลกและชีวิตตามความเป-นจริงและมีความสามารถ ในการเผชิญและแกTปYญหาและอุปสรรค[ต(าง ๆ
ในภาวะวกิ ฤตไดTอยา( งเหมาะสม

ดอมเบ็ค และคาร[ล (Dombeck; & Karl. 1987) ใหTความหมายว(า เป-นแรงขับหรือเป-นความปรารถนาที่
ทำใหTบคุ คลมีความหมาย มีความม่นั คงภายในและมคี วามพยายามเพือ่ ความสำเรจ็ ในชีวิต

โบแลนเดอร[ (Bolander, 1994) กล(าวว(า จิตวิญญาณ คือหลักชีวิตที่ส(งผลใหTชีวิตนั้นเป-นชีวิต
ที่บริบรู ณท[ ง้ั สรรี ะ อารมณ[ สตปิ Yญญา ศีลธรรม จรรยา และพลังใจ จติ วญิ ญาณจะใหTคณุ ค(าเกินความเขาT ใจธรรมดา

จากความหมายที่กล(าวขTางตTน สามารถสรุปความหมายของจิตวิญญาณ คือ ลักษณะของ จิตใจหรือ
ความรูTสึกภายในของบุคคล ที่แสดงพฤติกรรมออกมาจากความเชื่อ ความศรัทธาที่เกิดใน ตัวบุคคลนั้นดTวยใจอัน
บรสิ ทุ ธ์ิ

แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกบั จติ วิญญาณ
จากความหมายของคำว(า จิตวิญญาณ ทั้งหมดที่กล(าวมา พบว(า มีการใหTความหมาย ในหลากหลายมิติ
โดยมีผูTพยายามจัดประเภทของการใหTความหมายและรวบรวมลักษณะร(วมใน ความหมายของจิตวิญญาณ รวมท้ัง
มีการเสนอความคิดเกย่ี วกบั การศกึ ษาจติ วญิ ญาณไวใT นลักษณะ ตา( ง ๆ ดงั ต(อไปนี้
ประเวศ วะสี (2552) ไดTเสนอสาระสำคัญเกี่ยวกับจิตวิญญาณและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ที่ปรากฏใน
สาระสำคญั ของการประชมุ ประจำปข‹ องแผนพฒั นาจิตเพอื่ สุขภาพมลู นธิ ิสด ศรีสฤษดิว์ งศ[ ในหลายประเด็น ดงั นี้
1. จิตวิญญาณอยู(ใกลTตัวเรา ทั้งในการทำงานและการดำเนินชีวิต จิตวิญญาณเป-นสิ่งที่ สามารถสรTางใหT
เกิดขึ้นไดในการทำงานประจำวัน ทั้งในงานบริหาร งานพัฒนาคุณภาพ งานใน สถานการณ[ยากลำบาก
งานในชุมชน ลTวนแต(เป-นพื้นที่ใหTมนุษย[ไดTใกลTชิดกับจิตวิญญาณ ผ(านการฝ¡กฝนตนเองร(วมไปกับบทบาท
และหนTาที่ที่ตนเองกำลังปฏิบัติ จิตวิญญาณจะอยู(ร(วมกับชีวิตและส(งเสริมการดำเนินชีวิตประจำวัน
และการใชTชีวติ ครอบครัวใหTมสี ขุ ภาวะทด่ี ขี นึ้ เหน็ คณุ คา( และความหมายของการมชี วี ติ อย(ู
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตวิญญาณเป-นการขTามพTนกรอบความคิดเดิมที่เรายึดติด การเปลี่ยนแปลงทาง
จิตวิญญาณตTองเริ่มตTนที่ตนเอง โดยปลดปล(อยใหTตนเองหลุดจากกรอบและ ความคิดความเชื่อเดิม ๆ เช(น ความ
เชื่อว(าทุกสิ่งตTองเป-นไปตามหลักการหรือทฤษฎีอย(างใดอย(างหนึ่ง ผลจากการเป-นอิสระจากกรอบเดิม ๆ ช(วยทำ

169

ใหTเรามีพลังในการใชTชีวิตและทำงานไดTอย(างสรTางสรรค[ เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น จะทำใหTมนุษย[
เป-นคนธรรมดามากข้นึ สมั ผสั ความเรียบงา( ย และสามารถ มคี วามสขุ ไดมT ากข้นึ

3. สุขภาวะทางจิตวิญญาณเป-นสิ่งที่เชื่อมโยงตนเองกับสิ่งต(าง ๆ รอบดTานสุขภาวะ ทางจิตวิญญาณเป-น
เองที่เกี่ยวขTองการเชื่อมโยงการปฏิสัมพันธ[กับสิ่งต(าง ๆ ทั้งชุมชน สังคม องค[การ ระบบ การทำงาน ครอบครัว
เพื่อนร(วมงาน ความเชื่อมโยงเป-นเรื่องของการพึ่งพิงอาศัยซึ่งกันและกัน ช(วยใหTสามารถเขTาใจความหมายของแต(
ละสิง่ อยา( งรอบดาT น

4. จิตวิญญาณเป-นคุณค(าสูงสุดทางจิตใจไม(ว(าจะเป-นคำว(า จิตปYญญา จิตตปYญญา สุขภาวะ
ทางปYญญา หัวใจของความเป-นมนุษย[ การพัฒนาจิต ลTวนแต(เป-นสิ่งเดียวกันที่มีความหมายถึง สิ่งที่มี
คุณค(าสูงสุดทางจิตใจ มิติทางจิตวิญญาณเป-นสิ่งที่มนุษย[สามารถสัมผัสไดTถึงความงามอันลึกซ้ึง
ความสุขอนั ประณีต ความอสิ ระทอ่ี ย(ูภายในจิตใจ หรอื ความรักอันไพศาลตอ( เพื่อนมนษุ ย[

5. สติเป-นเครื่องมือสำคัญของการพัฒนาทางจิตวิญญาณ สติเป-นเครื่องมือสำคัญที่ช(วยใหT
มนุษย[เปลี่ยนวิธีคิดไดT สติทำใหTจิตเป-นกลาง เมื่อจิตเป-นกลางก็จะสามารถเปลี่ยนอะไรก็ไดT แมTกระทั่ง
การเปลี่ยนวิธีคิดไปจากเดิม ถTาคนที่ทำงานในอาชีพต(าง ๆ เช(น แพทย[ ครู นักธุรกิจ หันมาเจริญสติ
กันมาก สังคมก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงไดT การพัฒนาทางจิตวิญญาณก็จะเกิดขึ้น ปYจจุบันคนทั่วโลก
หันมาเจริญสติกันมาก เพราะพบว(าการเจริญสติช(วยใหTสุภาพดีขึ้น เยียวยาความเจ็บปวดไดTง(ายข้ึน
เรียนรูTไดTดีขึ้น รวมทั้งมีความสัมพันธ[ที่ดีขึ้นกับคนในครอบครัวและที่ทำงาน สติจึงเป-นเครื่องมือสำคัญ
ของการปฏวิ ัตทิ างจติ วญิ ญาณท่เี ชอ่ื มโยงกบั ทกุ อยา( งในชวี ติ

6. การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถกระทำไดTในทุกศาสนา การพัฒนา จิตวิญญาณต(างมีจุด
ร(วมกันตรงที่การปฏิบัติอย(างเป-นประจำสม่ำเสมออยู(ในชีวิตประจำวัน โดย เริ่มตTนจากการฝ¡กปฏิบัติ
ตามศาสนาที่ตนเองนับถือ เช(น ศาสนาพุทธฝ¡กละอกุศล ทำความดี มีสติอยู( กับปYจจุบันศาสนาอิสลาม
ฝ¡กละหมาดเพื่อระลึกถึงพระเจTาตลอดทั้งวันและคืน ศาสนาคริสต[ฝ¡กชีวิต ฝÄายจิตวิญญาณ ใหTมีความรัก
และศรัทธาในพระเจTาและแสดงออกดTวยการรักเพื่อนมนุษย[ แมTว(าแต(ละศาสนาจะมีหลักปฏิบัติที่แตกต(างกัน
กส็ ามารถพฒั นาจิตวิญญาณไดT เพียงแคม( กี ารปฏิบตั ิเท(านน้ั

7. สขุ ภาวะทางจติ วญิ ญาณสามารถสรTางความสขุ ในการทำงานไดสT ุขภาวะทางจติ วิญญาณ เป-นความสุข
ราคาถูกท่ไี มต( Tองลงทุนมากมาย กส็ ามารถหาความสขุ นไี้ ดในการทำงาน เพ่อื เร่มิ จากการเห็นคณุ ค(าและศรัทธาใน
วชิ าชพี หรอื งานทตี่ นเองทำ รูจT ักชน่ื ชมและใหกT ำลังใจตนเองเปน- รับรคูT วามรTูสึกของผูTอนื่ ตระหนักถึงคณุ คา( อนั
ละเอยี ดอ(อนของชีวิตมนษุ ย[ ฝก¡ ฝนการเจรญิ สติ ในระหว(างการทำงาน คุณลักษณะเหล(านไ้ี มจ( ำเปน- ตอT งหาซือ้ จาก
ที่ใด เพยี งแค(เร่ิมตนT ท่ีตนเองเท(านน้ั กส็ ามารถรับผลอนั เปน- ความสขุ ไดTทนั ทใี นขณะที่กำลงั ทำงาน

8. ชมุ ชนกลั ยาณมิตรเป-นสง่ิ ทส่ี นบั สนนุ ใหสT ุขภาวะทางจิตวิญญาณคงอยช(ู มุ ชนเป-นพ้นื ท่ี ในการดแู ล
จิตใจทข่ี ยายออกไปจากตนเอง ผ(านการส่ือสารกันอย(างเป-นกลั ยาณมิตร มีการรับฟYง กนั อยา( งลกึ ซึง้ การมีเพอ่ื นท่ี

170

สามารถบอกเล(าเรอื่ งราว และแบง( ปYนทกุ ขส[ ุขใหแT กก( ันไดT เปน- ปจY จยั ท่ชี (วย หลอ( เลีย้ งพลังในการทำงาน แมวT (าเรา
จะอย(ูในสถานการณท่ตี ึงเครียด กดดัน หรอื บบี คั้น ยากลำบากกต็ าม สขุ ภาวะทางจิตวญิ ญาณ ในการทำงานก็
ยังคงอย(ู เราสามารถสราT งชุมชนชนกัลยาณมิตร ไดTงา( ยๆ ดวT ยการสรTางพืน้ ที่สรTางเวลา
สราT งโอกาสใหTปลอดภัย พื้นทสี่ ราT งสรรค[ในการทำงานกจ็ ะเกดิ ข้ึนไดT กลา( วโดยสรุปคือ ชุมชนทด่ี จี ะสนับสนุนใหT
สุขภาวะทางจติ วญิ ญาณยงั คงอยต(ู งั้ แตเ( ริม่ ตTน ระหวา( งทางจนเกิดผลงาน ตลอดเสTนทางการทำงาน

9. ผูTนำที่มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณเป-นสิ่งสำคัญในการพัฒนาคุณภาพขององค[การ ผูTนำเป-นผูTที่มีบทบาท
สำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตขององค[การไดTหากผูTนำพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ของตนเองไปดTวย ผูTนำที่
มสี ุขภาวะทางจิตวญิ ญาณประกอบไปดTวยคุณลกั ษณะ 7 ประการ ไดTแก(

9.1 คTนหาและยอมรับในศกั ยภาพเดิมหรือตTนทุนทม่ี อี ยแ(ู ลวT ในองคก[ าร
9.2 สราT งพื้นทใี่ หผT ลงานไดมT โี อกาสงอกเงยและปรากฏใหเT หน็
9.3 ส(งเสริมบคุ ลากรแตล( ะคนไดTมีโอกาสทำงานท่ยี ากและทTาทาย
9.4 มกี ารอาศัยความร(วมมือร(วมใจของบุคลากรทกุ ระดับในองคก[ าร
9.5 มีการทำงานแบบเป-นงานศิลปะท่มี ีสุนทรยี ภาพ
9.6 มีขวญั และกำลงั ใจสนบั สนุนอย(ูเบอื้ งหลัง
9.7 การใสใ( จดแู ลทกุ ข[สุขของบุคลากรทุกคน
10. เมื่อนำจิตวิญญาณเขTาไปใชTในระบบการศึกษา จะสามารถทำใหTระบบการศึกษา มีการเรียนรTูอย(าง
เป-นองค[รวมไดT การนำเอาเรื่องการพัฒนาจิตจนเกิดปYญญาเขTาไปสู(การเรียนการสอน นำการเรียนรTูเขTามาสู(ตัว
ผูTเรียนผูTสอน โดยอาศัยวิธีการเรียนรูTที่เชื่อมโยงเนื้อหาวิชาออกไปส(ูชีวิต ไม(จำกัดการเรียนรูTเฉพาะ
ภายในหTองเรียน มีการเชื่อมโยงชีวิตผูTเรียนไปสู(โลกภายนอกส(ูชุมชนต(าง ๆ เท(าทันต(อเหตุการณ[บTานเมือง
การศึกษาเช(นนี้จะเกิดขึ้นไดTตTองเริ่มจากผูTสอนตTองมีจิตวิญญาณ ตระหนักคุณค(าที่แทTของความเป-นครู
หรือจิตวิญญาณความเป-นครู ในขณะที่นักเรียนเป-นผูTที่ตTอง มีจิตวิญญาณของผูTใฝÄเรียนรูT การเรียนรูTอย(างเป-นองค[
รวมทแี่ ทจT ริงจงึ เกดิ ขนึ้ ไดT
11. สุขภาวะทางจิตวิญญาณเริ่มตTนเมื่อนำชุมชนเป-นศูนย[กลางการมีโอกาสไดTเขTาไปรับรูT ความรูสึกของ
ชุมชนที่เกี่ยวขTองกับตนเองหรือองค[การจะทำใหTเกิดการเห็นทั้งหมดของชีวิตและความหมายของสุขภาวะทางจิต
วิญญาณ มีการบูรณาการนำเอามิติต(าง ๆ เขTามาในชีวิตและการทำงาน ทั้งมิติทางกาย จิต และสังคม การบูรณา
การยอ( มทำใหTเกิดการเหน็ คณุ คา( ในตนเองและ การทำงานมากยงิ่ ข้ึน
ณฏั ฐภรณ[ หลาวทอง และปย- วรรณ วิเศษสวุ รรณภมู ิ (2553) ไดสT รุปแนวคิดจิตวญิ ญาณวา( องค[ประกอบ
ดาT นสุขภาวะทางจติ วญิ ญาณประกอบดวT ยองค[ประกอบทางดTานภายในตวั บคุ คล ไดTแก( การรบั รูT ความเช่อื วธิ ีการ
ปฏิบัติต(อส่ิงตา( ง ๆ องคป[ ระกอบทางดTานสิ่งแวดลอT ม ไดแT ก( การใหคT วามรัก ความปรารถนาดตี อ( ผTอู ่นื การเขTาใจ
บคุ คลอืน่ รวมถึงส่ิงแวดลอT มและธรรมชาติ และองคป[ ระกอบ ทางดาT นความเชือ่ เกยี่ วกบั พระเจาT

171

ธรรมนนั ทิกา แจงT สว(าง, (2554) ไดสT รปุ แนวคิดจติ วญิ ญาณวา( จติ วิญญาณเป-นสิ่งทเ่ี กดิ ขึ้นในสถานการณ[
ตา( ง ๆ ของชวี ติ รวมทัง้ บรบิ ทของการทำงาน มคี วามแตกตา( งกันไปตามบริบทของ สภาพแวดลอT มและวัฒนธรรม
เป-นสว( นสนบั สนุนในการดำเนินชีวิตของบุคคลท้ังบรบิ ททวั่ ไปและ บริบทการทำงาน เป-นพลงั ภายในของบุคคลท่ี
ทำใหTเกดิ ความแข็งแกร(งในการดำเนินชีวติ และ เมื่อเผชญิ ปญY หา การมีจิตวิญญาณคือ จะตTองมคี วามเกยี่ วขอT งกบั
การขTามพTนตนเอง ความเขาT ใจตนเอง เขTาใจความเป-นจรงิ ของสรรพส่ิงและมีเปžาหมายของชีวิต เปน- ความ
เชอื่ มโยงกบั สง่ิ ต(าง ๆ ทัง้ บุคคล สภาพแวดลTอม องคก[ าร มีความเกีย่ วขอT งกับความเชื่อ ความศรัทธาในเรอ่ื งพลงั
เหนือธรรมชาติ หรอื เหนือไปจากการรับรปTู กติ โดยผา( นประสบการณแ[ ละการปฏบิ ตั ทิ างศาสนาหรือ ความเชอื่

โกเมธ และไฟเซอร[ (Gomez and Fisher, 2003, p,2005) วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ โดยใชT
องค[ประกอบดังนี้ คือ ดTานบุคคล ไดTวัดเกี่ยวกับดTานต(าง ๆ ไดTแก( การรูTจักตนเอง การตระหนัก ในตนเอง การมี
ความพึงพอใจในชีวิต ความสงบส(วนตัว และความหมายของชีวิต ดTานส(วนรวม ไดTวัดดTานต(าง ๆ ไดTแก( การรัก
ผูTอื่น การใหTอภัยผูTอื่น การเชื่อผูTอื่น การเคารพผูTอื่นและการดีต(อผูTอื่น ดTานสิ่งแวดลTอม วัดเกี่ยวกับการนึกถึง
ธรรมชาติ การเคารพธรรมชาติ การเป-นส(วนหนึ่งของธรรมชาติ การชื่นชมธรรมชาติ และการเป-นส(วนหนึ่ง
เดยี วกนั กบั ธรรมชาติ และดาT นความเชื่อเกยี่ วกับพระเจTา

จากแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณที่ไดTศึกษาขTางตTน สามารถสรุปแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณไดTว(า
จิตวิญญาณเป-นสิ่งที่มีอยู(ภายในตัวบุคคลที่เชื่อมโยงปฏิสัมพันธ[กับการดำเนินชีวิตโดยการฝ¡กปฏิบัติเพื่อใหTเกิดจิต
วิญญาณ เช(น การใหTความรัก ความปรารถนาดีต(อตนเองและผูTอื่น การเขTาใจ ตนเองและผูTอื่น
และสามารถนำไปประยกุ ต[ใชTในสายวชิ าชีพครู โดยใหTเกดิ จิตวญิ ญาณในตวั บคุ คล นำไปสู(การเป-นครูที่ดี

ความหมายและความสำคญั ของจติ วญิ ญาณความเปนQ ครู
การปฏิบัติหนTาที่ดTวยจิตวิญญาณเป-นการทำหนTาที่ดTวยใจซึ่งทำใหTเกิดความรัก ศรัทธา และยึดม่ัน
ในอุดมการณ[แห(งวิชาชีพ มุ(งมั่น ทุ(มเทในการทำงาน ประพฤติตนเป-นแบบอย(างที่ดี เอาใจใส( ดูแลและหวังดี
ต(อศิษย[ จิตวิญญาณความเป-นครูจึงเป-นสิ่งสำคัญที่ครูทุกคนควรมี ซึ่งจะทำใหTครู สามารถปฏิบัติงานไดT
อย(างมีคุณภาพเปน- ท่ียอมรับของสงั คม ความหมายของจติ วญิ ญาณความเป-นครู
ยนต[ ชุ(มจิต (2524) ใชTคำว(า วิญญาณครู โดยใหTความหมายว(า ความสำนึกในความเป-นครู นั่นคือ รูTถึง
บทบาทหนTาที่และความรับผิดชอบของครูอยู(ตลอดเวลา และไดTปฏิบัติหนTาที่ของครู โดยยึดถืออุดมการณ[ของครู
เปน- แนวทางเสมอ
ธวัชชัย เพ็งพินิจ (2550) ใหTความหมายจิตวิญญาณครูว(า หมายถึง จิตสำนึก ความคิดทัศนคติ พฤติกรรม
การแสดงออกที่ดี ลุ(มลึกสงบเย็น เป-นประโยชน[ตามกรอบของจริยธรรม คุณค(า ค(านิยม
จารีตประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวงั ของสังคม อันเปน- องคร[ วมธาตุแทขT องบคุ คล ผTใู ฝÄรูT คนT หา สราT งสรรค[
ถา( ยทอด ปลกู ฝงY และเป-นแบบอยา( งทดี่ ขี องสังคม ซึ่งมีขน้ึ ไดTในทกุ คน ไมเ( ฉพาะผูทT ่ีประกอบอาชพี ครูเท(าน้ัน

172

ธรรมนันทิกา แจTงสว(าง (2554) ไดTใหTความหมายของจิตวิญญาณความเป-นครูว(า เป-นคุณลักษณะทางจติ
และพฤติกรรมการทำงานที่สะทTอนถึงการเป-นครูที่ดี จิตวิญญาณความเป-นครู ที่ปรากฏเป-นคุณลักษณะทางจิตน้ี
จะเกี่ยวขTองกับความคิดที่มีต(อวิชาชีพครู ประกอบดTวย การเห็นคุณค(าของบทบาทหนTาที่ การมีศรัทธาในวิชาชีพ
และยึดมั่นต(ออุดมการณ[ในการทำงาน เป-นครู มีความเขTาใจทั้งตนเองและผูTอื่น ในขณะที่จิตวิญญาณความเป-นครู
ที่ปรากฏเป-นพฤติกรรม ประกอบดTวยการปฏิบัติต(อนักเรียนดTวยความเมตตา ช(วยเหลือ เสียสละ อดทน การเป-น
แบบอย(างทด่ี ี รวมทั้งการพฒั นาตนเองโดยการแสวงหาความรเู พ่ิมเตมิ

จุมพล พูลภัทรชีวิน (2557) ไดTใหTความหมายของจิตวิญญาณความเป-นครูว(า จิตสำนึก ความคิด ทัศนคติ
พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี ลุ(มลึกสงบเย็น เป-นประโยชน[ ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค(านิยม จารีต
ประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวังของสังคม อันเป-นองค[รวมธาตุแทT ของบุคคลผูTใฝÄรูT คTนหา สรTางสรรค[
ถา( ยทอด ปลกู ฝYง และเป-นแบบอย(างทด่ี ีของสงั คม

จากความหมายที่กล(าวขTางตTน สามารถสรุปความหมายของจิตวิญญาณความเป-นครู หมายถึง การเป-น
ครูทั้งชีวิตจิตใจ รักในความเป-นครู มีความเป-นครูตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกที่ดีของครูที่มีต(อศิษย[
ดTวยรักความเมตตา ความอดทนความรับผิดชอบ และปรารถนาดีต(อ ศิษย[ และเป-นผูTทำประโยชน[และเสียสละ
ใหTแก(ประโยชนส[ (วนรวม

ความสำคัญของจติ วิญญาณความเปQนครู
เนื่องจากอาชีพครูเป-นอาชีพที่สำคัญและไดTรับการยกย(องและนับถือจากสังคม ครูเปรียบเสมือนผTู
ถ(ายทอดพันธุกรรมแห(งความดีไปยังผูTเรียน ซึ่งก็คือลูกศิษย[ที่เป-นเยาวชนและ อนาคตของประเทศชาติ หากครู
เป-นครูดTวยจิตสำนึกและวิญญาณของความเป-นครู อุทิศตนปฏิบัติ หนTาที่ครูดTวยความเมตตาและเสียสละ มีความ
ห(วงใยต(อศิษย[ดุจลูกของตนเอง มีจิตสำนึกและวิญญาณ ของความเป-นครูอย(างแทTจริง รักและปรารถนาดี ต(อศิษย[
ทำตัวเป-นแบบอย(างที่ดีใหTกับศิษย[ แนะนำ แนวทางและทำทุกวิธีที่จะใหTศิษย[เป-นคนดี สิ่งที่ตามมาคือลูกศิษย[ซ่ึง
เป-นเยาวชนที่ดี มีคุณธรรม และ เติบโตไปเป-นผูTใหญ(ที่ดี หากในสังคมมีคนดีเป-นส(วนใหญ(ย(อมก(อใหTเกิดความสงบ
สุขขึ้นในสังคมอย(าง แน(นอน ปYญหาความขัดแยTงที่พบเห็นในสังคมไทยปYจจุบันย(อมไม(เกิดขึ้น และมากไปกว(าน้ัน
หาก ประชาชนส(วนใหญใ( นประเทศเป-นคนดี มีคุณธรรม ประเทศชาติย(อมเจรญิ เติบโตในทางทดี่ อี ีกดวT ย
ในอดีตมีครูจำนวนมากที่มีลักษณะครูอาชีพ เป-นครูดTวยใจรัก เป-นครูดTวยจิตใจและวิญญาณ แต(เมื่อเวลา
ผ(านไปมีกระแสแห(งการเปลี่ยนแปลงดTานต(าง ๆ มากระทบทำใหTมีครูที่เป-นปูชนียบุคคล ลดนTอยลงไปอย(างน(าเป-น
ห(วง อีกทั้งในปYจจุบันอาชีพครูขาดแคลน ทำใหTผูTจบการศึกษาที่ว(างงานเลือก อาชีพครูเพื่อเป-นทางเลือกใหTตนเอง
มีงานทำ กล(าวคือไม(ไดTเป-นครูดTวยใจรัก ไม(มีจิตวิญญาณของความ เป-นครู อันก(อใหTเกิดปYญหาครูกับนักเรียนข้ึน
ในโรงเรียน จะเห็นไดTจากการนำเสนอข(าวในแง(ลบของ ครูที่ประพฤติปฏิบัติตัวผิดต(อวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
ครู กระทั่งผิดกฎหมายก็มีสิ่งเหล(านี้ทำใหT การยกย(องนับถือครูจากสังคมส(วนใหญ(ลดนTอยลง เกิดมุมมองและ

173

ภาพลักษณ[ของครูในทางที่ไม(ดี ทั้งที่จริงแลTวเกิดจากครูเพียงส(วนนTอย แต(ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับครูทั้งหมดที่
เป-นสว( นใหญ(ดTวย

จะเห็นว(าจิตวิญญาณความเป-นครูเป-นเรื่องที่สำคัญ หากครูทุกคนปฏิบัติหนTาที่ครูดTวยใจรัก และมี
วิญญาณของความเป-นครู ย(อมก(อใหTเกิดความสุขในอาชีพครูของตนเองอย(างแน(นอน และมาก ไปกว(านั้นเยาวชน
ซึ่งเป-นอนาคตของประเทศชาติจะตTองเติบโตอย(างมีคุณภาพ และมีคุณธรรม ครอบครัว สังคม และประเทศชาติก็
จะมแี ตค( วามสขุ ความเจรญิ

องคEประกอบและตวั บง* ชี้จิตวิญญาณความเปfนครู

จากการศึกษาเอกสารและผลการวิจัยที่เกี่ยวขTองจิตวิญญาณความเป-นครู มีองค[ประกอบและ ตัวบ(งชี้จิต
วญิ ญาณความเปน- ครู (กลัญÔู เพชราภรณ,[ 2562) ดงั นี้

กิตินันท[ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ[ (2558 : 60-61) ไดTกล(าวถึงองค[ประกอบของ จิตวิญญาณความ
เป-นครู ดังนี้

1. องค[ประกอบดาT นการพฒั นาตนเอง ประกอบดวT ย
1.1 การใฝหÄ าความรTู เพื่อพฒั นาตนเองอย(เู สมอ
1.2 มีความขยันหมน่ั เพียรแสวงหาความรูใT หม(ๆ
1.3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูTกับผูTอื่นเพื่อการพัฒนาตนเองทุกครั้งที่มีโอกาส
1.4 มีการพัฒนาตนเองเพื่อสรTางความกTาวหนTาในวิชาชีพ จนไดTรับอนุมัติใหTมีหรือเลื่อน
วทิ ยฐานะ
1.5 มีความพยายามแสวงหาโอกาสเขTารับการอบรม เพื่อนำความรูTมาพัฒนางานใน
หนาT ที่ ใหเT จริญกTาวหนาT
1.6 มีการพัฒนางานในวิชาชีพหรือไดTรับการยกย(องชมเชย หรือรางวัลที่เกี่ยวกับวิชาชีพ ครู
1.7 มกี ารสรTางสรรค[ผลงานทางวชิ าการเพือ่ บริการสงั คม
1.8 มีความกระตือรือรTนในการคTนควTาหาความรูTเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศิษย[
1.9 มีการพัฒนาตนเองใหTทันต(อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
อย(ูเสมอ
1.10 มีการสำรวจและปรบั ปรงุ แกTไขตนเองอย(ูเสมอ

2. องค[ประกอบดTานความมเี มตตาในการปฏิบัติงาน ประกอบดTวย
2.1 การยอมรบั ความแตกต(างทางวัฒนธรรม ความคิด และความเชือ่
2.2 การสนบั สนนุ ความคิดรเิ รม่ิ ในทางท่ีถกู ตอT งของเพอ่ื นรว( มงาน
2.3 การใชTแนวทางในการแกTปYญหา โดยวิธีการทางปYญญาและสนั ตวิ ิธี

174

2.4 ปฏิบตั งิ านโดยอาศัยหลักแหง( เหตุผล ปราศจากอคติ
2.5 การยอมรบั ผลทเี่ กิดจากการกระทำของตนดTวยความเต็มใจ
2.6 มีความเปน- ประชาธิปไตย
2.7 การใชTหลักการและเหตุผลในการตดั สนิ ใจแกปT Yญหา
2.8 การยอมรับความคิดที่มีเหตุผลโดยคำนึงถึงประโยชน[ส(วนรวมเป-นหลัก
2.9 ปฏิบัติงานโดนไม(เพิกเฉยในเหตุการณ[ที่จะทำใหTเกิดผลเสียต(องานในหนTาท่ี
3. องค[ประกอบดาT นความคดิ ริเร่มิ สรTางสรรค[ ประกอบดTวย
3.1 มกี ารติดตามและประเมินผลผTเู รียนในรปู แบบท่ีหลากหลาย
3.2 การใชTแหล(งเรียนรูTทั้งในและนอกสถานศึกษามาเป-นส(วนหนึ่งในการจัดการเรียน

การสอน
3.3 การแกไT ข ปรบั ปรุง ขTอบกพรอ( งที่เกิดขึน้ จากการเรยี นการสอน
3.4 การใชผT ลการวิเคราะห[ วิจัย เพอ่ื พัฒนางานในหนTาทอ่ี ย(เู สมอ
3.5 การสรTางโอกาสใหTผูTเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูTที่ไดTรับจากการเรียนรูTกับ ประสบการณ[
ชวี ติ จริง
3.6 การคดิ คTนการสราT งสอ่ื นวตั กรรม การเรียนการสอนในรปู แบบใหม(ๆ
3.7 การแสวงหาแนวทาง วธิ ีการปรับปรงุ งานท่รี บั ผดิ ชอบอยเู( สมอ
3.8 มีความกลTาม(ุงมน่ั ในการกระทำส่ิงต(างๆ ดวT ยวธิ กี ารทแ่ี ตกต(างจากเดิม
4. องค[ประกอบดTานการปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวชิ าชีพ ประกอบดTวย
4.1 การใหคT วามรว( มมือในกจิ การของสถาบันเปน- อยา( งดี
4.2 การอทุ ิศตนเพ่ือประโยชนต[ อ( วชิ าชพี ครู
4.3 มคี วามตงั้ ใจปฏิบัตงิ านเพอ่ื ใหTวชิ าชพี ครูเปน- ทย่ี กยอ( ง
4.4 มีความจริงใจในความรบั ผิดชอบตอ( วิชาชีพครู
4.5 การใหเT กียรตแิ ก(ผTูรว( มวชิ าชพี ครู
4.6 การธำรงเกียรติแก(ผTรู ว( มวิชาชีพครู
5. องค[ประกอบดTานวริ ิยะ อุตสาหะ ประกอบดTวย
5.1 มคี วามขยนั ตง้ั ใจในการทำงานทไ่ี ดTรับมอบหมาย
5.2 มีความกระตอื รือรTนในการทำงาน
5.3 มีความเตม็ ใจอุทศิ เวลาในการปฏบิ ตั ิหนาT ที่
5.4 การรจูT ักหนาT ทีแ่ ละปฏิบตั ิหนาT ที่อย(างเตม็ ความสามารถ
5.5 ปฏิบตั ิงานการสอนตรงเวลาเสมอๆ

175

6. องค[ประกอบดTานความเมตตากรณุ า ประกอบดTวย
6.1 มีความปรารถนาดตี (อศิษย[
6.2 มคี วามเอ้อื เฟÉอÈ อาทรต(อศษิ ย[
6.3 มคี วามเมตตาต(อศษิ ย[
6.4 การยดึ มัน่ ในคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามหลกั ศาสนา

7. องคป[ ระกอบดาT นความซ่ือสตั ย[ต(อวชิ าชพี ประกอบดวT ย
7.1 การใหTเกียรติผูTอื่นทางวิชาการ โดยไม(นำผลงงานของผูTใดมาแอบอTางเป-นของตน
7.2 มคี วามตระหนกั ในคณุ คา( ศกั ดศิ์ รีของความเป-นมนษุ ย[ โดยไมค( ำนงึ ถึง เช้ือชาติ ศาสนา
และสถานภาพของบุคคล
7.3 ไมย( อมใหนT ำผลงานทางวิชาการของตนไปใชTในทางทจุ รติ
7.4 ไม(แสวงหาผลประโยชน[จากศิษยใ[ นการปฏิบัตหิ นาT ที่
7.5 ตอT งปฏบิ ัตติ (อศษิ ยท[ กุ คนดTวยความเสมอภาค

8. องค[ประกอบดTานความดี ประกอบดTวย
8.1 มคี วามสุภาพออ( นโยน
8.2 มีความเอือ้ เฟอÉÈ เผื่อแผ( ช(วยเหลือผอTู ่นื
8.3 มีความเสียสละ
8.4 มคี วามเห็นอกเห็นใจผTูอนื่

9. องค[ประกอบดาT นความรัก ศรทั ธาในวชิ าชพี ประกอบดวT ย
9.1 มีความรกั ในวชิ าชพี ครูย่ิงกว(าวิชาชพี ใด
9.2 มีความศรทั ธาในวชิ าชีพครูมากกวา( วิชาชพี อน่ื
9.3 มคี วามมุง( มน่ั ตั้งใจมาเป-นครเู ปน- อนั ดบั แรก

10. องค[ประกอบดาT นการปฏบิ ตั กิ ารสอน ประกอบดวT ย
10.1 การไดTรับการยกย(องนับถือในเชิงภูมิปYญญา และเชาวน[ไหวพริบในดTานการอบรม
สัง่ สอน
10.2 การคิดคนT วิธกี ารจัดการเรียนการสอนใหTมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น
10.3 สามารถประยุกต[ความรูTที่มีอยู(จัดการเรียนการสอนไดTอย(างเหมาะสมกับศักยภาพ
ของผเTู รยี น

ณัฎฐภรณ[ หลาวทอง และป-ยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ (2553 :46-47) ไดTกล(าวเกี่ยวกับ องค[ประกอบของ
จติ วิญญาณความเป-นครู ประกอบดTวย 4 องคป[ ระกอบ ดังน้ี

176

องค?ประกอบที่ 1 การปฏิบัติหนTาที่ครู เป-นการปฏิบัติหนTาที่ที่ไดTรับมอบหมาย
อย(างเต็มความสามารถ ไดTแก( การอบรมสั่งสอนศิษย[โดยคำนึงถึงการพัฒนาศิษย[ไดTอย(างเต็มตามศักยภาพ
และนอกจากนี้ ยังตTองมีความรกั ในอาชพี และปฏิบตั ติ นเปน- แบบอยา( งที่ดแี ก(ผTรู ว( มอาชพี

องค?ประกอบที่ 2 การปฏิบัติต(อศิษย[โดยเสมอภาค เป-นการปฏิบัติต(อศิษย[ทุกคน
อยา( งยตุ ิธรรม และมเี หตุผล โดยไมค( ำนงึ ถึงอามิสสนิ จTาง หรอื ความสมั พันธส[ ว( นบุคคล

องค?ประกอบที่ 3 ความเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย[ เป-นความเชื่อมั่นและศรัทธาว(า
มนุษยท[ กุ คนเปน- คนดี และมีศักยภาพในการเรียนรแูT ละพัฒนาตนเอง

องค?ประกอบที่ 4 การเสียสละในงานครู เป-นการปฏิบัติหนTาที่สอนศิษย[อย(างเต็มใจ
โดยไม(คำนึงถึงประโยชนส[ (วนตนเปน- หลกั

อมรรัตน[ แก(นสาร (2558) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาตัวบ(งชี้จิตวิญญาณความเป-นครูของครู
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว(า จิตวิญญาณความเป-นครูของครู สังกัด สำนักงาน
การศึกษาขั้นพน้ื ฐานประกอบดTวย 7 องค[ประกอบหลักคอื

1. การปฏบิ ัตติ ามบทบาทหนาT ที่
2. การมีมนษุ ย[สมั พนั ธ[ท่ดี ี และมีความเปน- กัลยาณมติ ร
3. การเปน- แบบอย(างทีด่ ี
4. การมีจติ วทิ ยาในการสอน
5. ความรักและศรทั ธาในวิชาชพี
6. การมคี ณุ ธรรมและจริยธรรม
7. ความผกู พันระหว(างครูกบั ศษิ ย[

แนวทางการพฒั นาจติ วญิ ญาณความเปนf ครู

คุณลักษณะของครตู ามแนวคดิ จิตวญิ ญาณความเปQนครู
อธิบายว(าครูตTองเด(นในเรื่องวิชาการ รูTลึก รูTจริง รูTกวTาง ครูตTองมีศิลปะในการถ(ายทอดความรTู
และครูตTองมีใจเมตตา ต(อศิษย[ รักศิษย[ดังลูก ซึ่ง สุเทพ ธรรมะตระกูล (2555, หนTา 24-27) ไดTกล(าวถึง คุณสมบัติ
ดงั นี้
1. บุคลิกภาพดี การมบี ุคลิกภาพทดี ีไม(วา( จะประกอบอาชีพการงานใด ก็เปรยี บเสมือนไดปT ระสบ
ความสำเรจ็ ไปแลวT คร่ึงหน่งึ อาชีพครูกเ็ ป-นอกี อาชีพหน่ึงทต่ี อT งอาศัยบคุ ลกิ ภาพ เพอ่ื กาT วไปสค(ู วามเป-นครมู อื อาชีพ
ที่กล(าวว(า บุคลิกภาพสามารถนำไปสก(ู ารเป-นครมู อื อาชีพไดTนั้น กเ็ พราะว(านอกจากบคุ ลกิ ภาพทด่ี ีจะสามารถสราT ง
ความม่นั ใจใหTกบั ตัวครเู องแลTว ยงั สามารถสรTางความประทบั ใจแรกพบ (First impression) ใหTกบั ผูพT บเห็น
โดยทัว่ ไปอกี ดวT ย โดยครกู ับบุคลกิ ภาพทดี่ ีจะตTองเรม่ิ จากการพัฒนาส(วนตา( ง ๆ คอื

177

1.1 การพัฒนาพฤติกรรม ภายนอกหรือรูปสมบัติ ไดTแก( รูปร(างหนTาตา การแต(งกาย
กริ ยิ า ทา( ทาง นำ้ เสยี งและการพูด

1.2 การพัฒนาพฤติกรรมภายใน หรือคุณสมบัติประกอบดTวยส(วนต(าง ๆ เช(น ความเชื่อมั่นใน
ตนเอง รวมไปถึงการมีความเชื่อมั่นในการแต(งกายและการวางตัวที่เหมาะสม ความแนบเนียน
บางครั้งครูจำเป-นตTองใชTจิตวิทยาในการพูดกับนักเรียน ความกระตือรือรTน ความไวTวางใจ ครูตTองมีความจำที่ดี มี
ความยับยั้งชั่งใจ ดังนั้น บุคลิกภาพที่ดีกับอาชีพครูจึงขาดกันเสียมิไดT จึงอาจกล(าวไดTว(าครูคนใด
มีบุคลิกภาพที่ดีก็สามารถประสบความสำเร็จไปแลTวครึ่งหนึ่ง ที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งก็น(าจะเป-นความรูT ความสามารถ
เฉพาะตัวของบคุ คลนนั้ ๆ ท่ีจะหลอมรวมกนั เพ่ือสราT งความสำเร็จในชีวิตใหTกบั ตนเอง

2. มีความเมตตาต(อศิษย[ ครูคือผูTมีเมตตาความเมตตาเป-นคุณธรรมที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
ของครทู จี่ ะขาดเสยี มิไดT ครูทีส่ อนศิษย[ดวT ยความเมตตาจะอยใ(ู นดวงใจของศิษย[ทกุ คน

2.1 เมตตาต(อศิษย[ ครูควรมีเมตตาต(อศิษย[ทุกคน และควรถือว(าศิษย[ทุกคนเป-นเสมือนลูก
เสมือนหลาน ความเมตตาที่มีต(อศิษย[จะทำใหTครูมีความกระตือรือรTนในการสอน และสอนดTวยความสุข
เพราะในดวงจิตของครูมีแต(ความปรารถนาดีที่ตTองการใหTศิษย[มีความรูT และมีอนาคตที่ดีในภายภาคหนTา
ครูที่มีเมตตาจะพูดกับศิษย[ดTวยคำพูดที่มีความไพเราะสุภาพ และอ(อนโยน และจะใหTกำลังใจศิษย[อยู(เสมอ

2.2 เมตตาต(อญาติ ครูควรมีเมตตาต(อญาติพี่นTองดTวยการช(วยเหลือ อนุเคราะห[และ สนับสนุน
ใหTทุกคนมีการศึกษา มีความกTาวหนTาในชีวิตและการงาน และช(วยเหลือในการไกล(เกลี่ย
ขTอพิพาทบาดหมางระหว(างเครือญาติ มีเมตตาต(อญาติพี่นTองจะทำใหTครูเป-นแบบอย(างที่ดีของศิษย[
และ ของคนทกุ คน

2.3 เมตตาต(อมิตร โดยธรรมชาติของอาชีพครู ครูจะมีแต(ผูTที่เป-นมิตรทั้งที่รูTจักและไม(รูTจัก ดังน้ัน
ครูจึงตTองมีเมตตาต(อมิตรทุกคนดTวยการช(วยเหลือ การใหTคำแนะนำ และอื่นๆตามอัตภาพ
การมีเมตตาต(อมิตรจะบ(งบอกถึงการมีมนุษย[สัมพันธ[ที่ดีของครู ทำใหTครูเป-นที่รักและเคารพแก(ศิษย[
แกบ( ุคคลท่ัวไป

2.4 เมตตาต(อศัตรู การมีเมตตาต(อศัตรูถือเป-นคุณธรรมขั้นสูงที่ครูทุกคนพึงมี เนื่องจากครู เป-นปู
ชนียบุคคล หมายความว(าเป-นบุคคลที่น(านับถือ ที่สำคัญคือครูเป-นตัวอย(างที่ดีของศิษย[
หากครูเป-นคนวู(วามใจรTอน และชอบผูกพยาบาท ครูก็จะเป-นตัวอย(างที่ดีไม(ไดT การมีเมตตาต(อศัตรูคือ
การไมโ( กรธ ไมผ( กู พยาบาท และการใหอT ภยั

2.5 เมตตาต(อคนทุกคน เมื่อครูคือผูTที่มีหนTาที่อบรมสั่งสอน ครูจึงตTองมีความเมตตา
ตอ( คน ทกุ คนโดยไม(เลอื กชนั้ วรรณะบทบาทของครคู อื บทบาทในการเผยแพร(ความเมตตาตอ( ชาวโลกทง้ั มวล

3. รอบรูTในสายวิชาชีพ ครูผูTสอนมีความรอบรูTในทุกศาสตร[ เขTาใจ มีความเป-นครูอยู(ในตัวตน
มีความเป-นครูที่มีเจตจำนงอยากสอนศิษย[ และเป-นมืออาชีพที่สามารถชี้ชัดในวิชาการ และครูตTองสามารถ

178

ชวนลูกศิษย[ใหTลงมือปฏิบัติไดT และตTองรูTจักเสียสละ ทุ(มเท และประยุกต[งานต(าง ๆ เพื่อใหT นวัตกรรมใหม(ๆ ขึ้นมา
ทั้งนี้ครูตTองกลTาที่จะใหTโอกาสศิษย[ ตTองกลTาหาญในเชิงจริยธรรม ที่สำคัญตTอง ปลูกฝYงใหTศิษย[ร(าเริง
เบิกบาน แจ(มใส

4. เทคนิคการสอนดี เทคนิควิธีการสอนและการปฏิบัติตนที่ดี 10 ประการสำหรับครู มีดังนี้
4.1 ใหTความรักแก(นักเรียนพรTอม ๆ ไปกับเน้ือหาวิชาเรียน ครูควรแนะนำวิธีเรียนรTู

ใหTแก(เด็ก ดูแลและเอาใจใส(นักเรียน ทำใหTการเรียนการสอนนั้นมีความหมายขึ้นมาจนเกิดเป-นความผูกพัน
ระหว(างครูกบั ศิษย[

4.2 สอนใหTนักเรียนเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และฝ¡กใหTนักเรียนคิดใหTบ(อยที่สุด
ใหTผูTเรียนเขTาใจว(าความรูTไม(ไดTจำกัดอยู(แต(ในเฉพาะหนังสือเท(านั้น ครูยังควรเชื่อมช(องว(างระหว(าง
ทฤษฎีและการปฏิบัติทำใหTนักเรียนเกิดความชำนาญในเรื่องที่นักเรียนสนใจ โดยครูใหTคำปรึกษาช(วยเหลือ
ในการปฏิบตั ิและเช่อื มโยงสภาพชีวติ ในชุมชนของนกั เรียนกับความรทTู ่ศี กึ ษาในโรงเรียน

4.3 ตั้งใจฟYงนักเรียน ครูตTองรูTจักตั้งคำถาม สามารถตอบขTอสงสัยแก(นักเรียนไดT
และควรระลึกอยู(เสมอว(านักเรียนแต(ละคนในชั้นเรียนมีความแตกต(างกัน ครูควรกระตุTนการตอบสนอง
การเรยี นรแTู ละการพัฒนาทักษะ การสื่อสารใหแT กน( ักเรยี นดวT ย

4.4 การจัดการเรียนรูTตTองยืดหยุ(นเปลี่ยนแปลงไดT มีการทดลอง การสอนที่หลากหลาย
และครูควรปรับการสอนบTางเมื่อมีวิธีการช(วยใหTนักเรียนบางคนเรียนรูTไดTดีขึ้น และควรสรTางสมดุล
ระหว(างเนือ้ หาและความยืดหย(ุนในการสอน

4.5 สรTางบรรยากาศเป-นกันเอง ตTองทำใหTนักเรียนเกิดความรูTสึกมีส(วนร(วม
4.6 มีอารมณ[ขัน พยายามอย(าทำตัวใหTเครียด การมีอารมณ[ขันจะช(วยทลายกำแพง
ระหวา( งครกู บั นกั เรยี นไดT ครูควรเรียนรทูT ีจ่ ะผ(อนคลายบรรยากาศในหTองเรยี น
4.7 เตรียมตัวใหTพรTอม มีความเอาใจใส( และอุทิศเวลาใหTแก(การคTนควTาหาวิธีถ(ายทอดความรTู
ดTานต(าง ๆ ใหTแก(นักเรียน ครูดีตTองมีการเตรียมการสอนมาอย(างดี มีสื่อการสอนที่พรTอมและวิธีการสอน
ที่น(าสนใจ
4.8 ตTองไดTรับการสนับสนุนอย(างจริงจังจากผูTบริหาร ทั้งในดTานทรัพยากรและบุคลากร ผูTบริหาร
ควรใหTการเสริมแรงครูอยู(อย(างต(อเนื่อง เพื่อใหTเกิดกำลังใจในการปฏิบัติหนTาที่ และสามารถทำงาน
ไดTอยา( งปราศจากอุปสรรคปญY หา
4.9 รูTจักทำงานร(วมกับเพื่อนครู เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ[การจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการแกปT Yญหาต(าง ๆ ของครแู ตล( ะคน
4.10 มีจินตนาการ จะเป-นครูที่ดีไดTจะตTองรูTจักใชTจินตนาการบTาง เพราะจะมีผล
ต(อความคิดริเริ่มใหม(ๆ ลองจTองไปที่นักเรียนแถวหลังสุด นึกถึงเสTนประสาทที่เชื่อมต(อกันและประกอบกัน

179

มีรูปร(างรวมตัวเป-นมนุษย[ การเรียนรูTของคนเราคงจะพัฒนาไปเร่ือยๆ อย(างไม(หยุดยั้ง หากครูไม(หยุดนิ่ง
ที่จะเรียนรูTและพัฒนาความสามารถของทั้งตนเองและนักเรียนไปพรTอมๆกัน ครู คือ วิศวกร
สังคมทมี่ ีสว( นสำคัญยิ่งในการสรTางคนร(นุ ใหม(ท่สี มบรู ณข[ ้ึนมา

5. มีจิตอาสา จิตอาสา คือ หัวใจของการบริการวิชาการ การที่คนเราจะประสบผลสำเร็จ
ไม(ว(าในอาชีพการงาน หรือสิ่งที่มุ(งหวังไดT มิใช(แค(เพียงเกิดจากความสามารถของตนเองเท(านั้น หากแต(เกิดจาก
การฟูมฟYกของพ(อแม(และครูบาอาจารย[ที่พร่ำอบรมบ(มนิสัยและถ(ายทอดวิชาความรูT ตลอดจนประสบการณ[
ที่สะสมมาลองนึกยTอนกลับไปจะพบว(า บูรพาจารย[ของเรา ท(านไม(ไดTทำหนTาที่แค(สอนหนังสือเท(านั้น
แต(ท(านยังทำหนTาที่เสมือนญาติผูTใหญ(และเป-นพี่เลี้ยงใหTกับศิษย[อีกดTวย เพราะท(านมีหัวใจของการบริการ
อยู(ตลอดเวลาแต(คนที่มีจิตวิญญาณเป-นครู ท(านทำไปโดยไม(คิดหวังผลตอบแทนใด นอกจาก
อยากเห็นความกTาวหนTา เจริญรุ(งเรืองของศิษย[ท(านก็ปลื้มใจแลTว ดTวยท(านมีจิตเมตตาและ มีจิตอาสา
ที่ไม(รูTจักคำว(าเหน็ดเหนื่อยทั้งนี้จิตอาสาของครูสัมฤทธิ์ผล และมีประสิทธิภาพในการใหTบริการวิชาการ
มีองคป[ ระกอบของ 5 ย.รว( มดวT ย คอื ยมิ้ แยTม ยกยอ( ง ยอมแพT ยืดหย(ุน ยนื หยดั

ดังน้นั คณุ สมบตั ขิ องครทู ่ีมีจติ วญิ ญาณความเป-นครูน้นั ประกอบดTวย
1. ความมีเมตตาต(อศิษย[ ที่รวมถึงพฤติกรรมที่นักศึกษาไดTรับรูTจากครู/อาจารย[ และนำไปใชT
เป-นแบบอย(างในดTานการปลูกฝYง ดูแลเอาใจใส(ลูกศิษย[ ใหTความช(วยเหลือเป-นกันเอง รับฟYงความคิดเห็น
ของนกั ศึกษา และแกไT ขขอT บกพรอ( งตา( ง ๆ ใหกT ับนกั ศกึ ษา
2. บุคลิกภาพดี คือ พฤติกรรมที่นักศึกษาแสดงออกดTวยความมั่นใจ มีการแต(งกายถูกตTอง ตาม
กฎระเบียบเป-นแบบอย(างที่ดีแก(ศิษย[ทั้งกาย วาจา และใจ ระมัดระวังคำพูดของตนเอง ปรับตัวและรับฟYงความ
คิดเหน็ ของผอูT นื่
3. ความรอบรูT โดยนักศึกษามีความรอบรูTในวิชาชีพครู ในรายวิชาเอก และมีความ กระตือรือรTน
ในการเรียน มีความเออ้ื เฟÉÈอ ชว( ยเหลือผTูอื่น คTนควTาหาความรูTอย(เู สมอ
4. เทคนิคการสอนดีและมีความหลากหลาย
5. ความสามารถถ(ายทอดขTอมูลไดTอย(างถูกตTองเหมาะสม นำความรูTและประสบการณ[
จากการรว( มกจิ กรรม/โครงการต(าง ๆ สูบ( คุ คลอน่ื ๆ ทีร่ TูจักไดT
6. มีจติ อาสา มหี ัวใจของการบริการอยต(ู ลอดเวลา(ชตุ ิมา ประมวลสขุ .2563)
การพฒั นาใหม# ีจิตวิญญาณความเปQนครู
การพัฒนาจิตสำนึกและวิญญาณของครู คือ ความพยายามในการเพิ่มระดับจิตสำนึกและวิญญาณความ
เป-นครูใหTมีอยู(ในบุคคลที่ประกอบอาชีพครู แนวทางในการพัฒนาควรเริ่มตTนจาก การสรTางศรัทธา
คำว(าศรัทธาในที่นี้มีความหมาย 3 มิติ คือ ศรัทธาต(อตนเอง ตTองเชื่อและศรัทธาใน ความรูTความสามารถ
ของตนเองว(าจะเป-นครูที่ดีไดT ประการที่สองคือ ศรัทธาต(ออาชีพครู รักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีแห(งความเป-นครูที่

180

เป-นวิชาชีพชั้นสูง เห็นคุณค(าของวิถีชีวิตที่เป-นครู ประการที่สามคือ ศรัทธาต(อองค[กร รักษาชื่อเสียง
ของสถานศึกษาและองค[กรวิชาชีพครู ประพฤติและปฏิบัติตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
สอดคลTองกับ สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ (2543) ที่ไดTกล(าวถึงครู กับครูอาชีพว(า เมื่อครูศรัทธาต(อวิชาชีพตนเอง
ก็จะยกย(องเชิดชูวิชาชีพครูใหTเป-นวิชาชีพชั้นสูง จะปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพอย(างเคร(งครัด
มีความมุ(งมั่นที่จะรักษาและส(งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงของวิชาชีพครูใหTเป-นที่เชื่อถือและศรัทธาแก(สังคมไดT และ
ยังไดTเปรียบเทียบความศรัทธาใน อาชีพครูเหมือนกับผูTนับถือศาสนา ไม(ว(าศาสนาใดจุดเริ่มก็อยู(ที่
ความศรัทธา เมื่อศรัทธาก็ประกาศตน เป-นผูTนับถือศาสนานั้น และปฏิบัติตามคำสั่งสอนของศาสนา คำภีร[หรือ
พระธรรมวินัยต(อไป หากครู ศรัทธาต(อวิชาชีพครูแลTว ย(อมมีความมุ(งมั่นในการปฏิบัติหนTาที่เป-นอย(างดี
และพรอT มทจ่ี ะพัฒนา ตนเองใหมT ีจิตใจและวญิ ญาณของความเปน- ครู

พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวภูมิพลอดุลยเดช ไดTพระราชทาน พระบรมราโชวาทแก(ครูอาวุโส
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2522 มีขTอความที่เกี่ยวกับลักษณะครูที่ดี 3 ประการ คือ “ความเป-นครู นั้นประกอบขึ้นดTวย
สิ่งที่มีคุณค(าสูงหลายอย(าง อย(างหนึ่งไดTแก( ปYญญา คือ ความรูTที่ดีประกอบดTวย หลักวิชาอันถูกตTอง
ที่แน(นแฟžน กระจ(างแจTงในใจ รวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่องต(าง ๆ ตลอดจนกิจที่จะทำ คำที่จะพูด
ทุกอย(างไดTโดยถูกตTอง ดTวยเหตุผลอย(างหนึ่งไดTแก( ความดี คือความ สุจริต ความเมตตากรุณา
เห็นใจและปรารถนาดีต(อผูTอื่นโดยเสมอหนTาอีกอย(างหนึ่งไดTแก( ความสามารถ ที่จะเผื่อแผ(และถ(ายทอดความรูT
ความดีของตนเองไปยังผูTอื่นอย(างไดTผล ความเป-นครูมี อยู(แลTว ย(อมฉายออกใหTผูTอื่นไดTรับประโยชน[ดTวย
ผูTที่มีความเป-นครูสมบูรณ[ในตัวนอกจากจะมีความดี ดTวยตนเองแลTว ยังจะช(วยใหTทุกคนที่มีโอกาส
เขาT มาสัมพนั ธ[เกี่ยวขTองบรรลถุ งึ ความดขี องความเจรญิ ไป ดTวย” (กรมวิชาการ, 2540 : 88)

ครูเป-นบุคคลที่มีความสำคัญที่สุดในวงการศึกษา เพราะเป-นผูTที่ก(อใหTเกิดองค[ความรูT
อันจะเป-นประโยชน[ต(อสังคมและโลก นอกจากนั้นยังเป-นผูTมีอิทธิพลต(อการสรTางบัณฑิตอย(างมาก
บัณฑิตจะมีความคิดที่ดี มีวิธีการวิเคราะห[อย(างถูกตTองและมีระบบระเบียบในการปฏิบัติงาน ตลอดจน
การพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ ซึ่งควรไดTรับการปลูกฝYงอบรมจากครูผูTสอน และบุคลิกภาพ
ของครูย(อมส(งผลไปสู(บัณฑิต ดังคำกล(าวของ ม.ล.ป-Æน มาลากุล ที่ว(า “อยากรูTว(าตัวครูเป-นฉันใดจงดู
ไดTจากศิษย[ที่สอนมา” (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) สิ่งแรกที่ครูตTองพัฒนาก็คือ
การสรTางคุณธรรมหรือครุธรรมใหTเกิดขึ้น ซึ่งความเป-นจริงนั้น “คุณธรรม” คือ ธรรมสำหรับครู เป-นสิ่งที่ครูหลาย
ท(านทราบไดTปฏิบัติแลTว แต(ก็มีอีกหลายท(านที่ยังไม( ทราบและไม(ปฏิบัติ ครุธรรมเป-นสิ่งที่จำเป-นมากสำหรับการ
ประกอบอาชีพครูแต(ครูที่ขาด คุณธรรม จะเปรียบเสมือนเรือที่ขาดหางเสือ ดังนั้นการจะพาศิษย[ไปสู(จุดหมาย
ปลายทางอย(างถูกตTองย(อมเป-นสิ่งที่ทำไดTยากอย(างแน(นอน ท(านพุทธทาสกล(าวว(า “ธรรม”
คือ หนTาที่ ผูTที่มีธรรมะคือผูTที่ปฏิบัติหนTาที่อย(างดีแลTว ครุ ธรรมจึงเป-น “หนTาที่ของครู ก็คือการอบรม
สั่งสอนศิษย[” แต(การอบรมสั่งสอนศิษย[ของครูแต(ละคนก็ มีการปฏิบัติที่แตกต(างกัน เพราะความเป-นจริงนั้น ครู

181

มิไดTสอนแต(หนังสืออย(างเดียว แต(ตTองสอนคนใหT เป-นบัณฑิตที่สมบูรณ[ดTวยการที่ครูจะปฏิบัติหนTาที่ของครูอย(าง
เต็มศักดิ์ศรีและเต็มความภาคภูมิไดTนั้น ครูจำเป-นตTองมีหลักยึดเพื่อนำตนไปสู(สิ่งที่สูงสุดหรือเป-นอุดมคติของอาชีพ
นั่นก็คือการมีอุดมการณ[ครู อุดมการณ[ครู มีหลักการที่จะยึดไวTประจำใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมีอยู( 5
ประการ คอื เต็มรTู เต็มใจ เตม็ เวลา เต็มคน เต็มพลัง

1. เต็มรูT คอื มคี วามรูTบรบิ ูรณ[ ดTวยความรTู 3 ประการคือ
1.1 ความรูTดTานวิชาการและวิชาชีพ ครูจะตTองแสวงหาความรูTที่เป-นประโยชน[และเหมาะสมใหT

ผเูT รยี น เรียนอย(างครบถวT นเหมาะสมตามระดับความรูนT นั้
1.2 ความรูTทางโลก นอกเหนือจากตำราวิชาการครูแสวงหาความรูTรอบตัวดTานอื่น ๆ

ใหTบรบิ ูรณ[โดยเฉพาะความเป-นไปของระเบยี บ ประเพณี สงั คม วฒั นธรรม
1.3 ความรูTเรื่องธรรมะ ครูที่มีความรูTดTานธรรมะ จะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะ

มาเป-นอุทาหรณ[ สำหรับสั่งสอนศิษย[ไดT เช(น จะสอนใหTศิษย[ประสบผลสำเร็จดTานการศึกษาเล(าเรียนไดTดี
กย็ กหัวขTอธรรมะอยา( งอธบิ าท 4 คอื

1. พอใจในการศกึ ษา รกั และสนใจในวชิ าทต่ี นเรยี น
2. มคี วาม เพียรทจี่ ะเรยี นไม(ย(อทTอ
3. เอาใจใส(ในบทเรยี นการบTาน รายงาน
4. หมั่นทบทวนอยูเ( สมอ เป-นตTน
2. เต็มใจ คือ ความมีใจเป-นครู พุทธศาสนาถือว(า “ใจนั้นและเป-นใหญ( ทุกสิ่งทุกอย(างเกิดจากใจทั้งนั้น”
คนจะเปน- ครทู ่มี ี อดุ มการณต[ TองสราT งใจท่เี ตม็ บริบรู ณด[ วT ยการมีใจเปน- ครู การทำใจใหเT ต็มมคี วามหมาย 2 ประการ
คือ
2.1 ใจครู การทำใจใหเT ต็มบรบิ ูรณ[ตTองถึงพรTอมดTวยองคป[ ระกอบ ดงั น้ี

2.1.1 รักอาชีพครู ตTองมีทัศนคติที่ดีต(ออาชีพ เห็นว(าอาชีพครูมีเกียรติ มีกุศล ไดTความภูมิใจ
แสวงหาวิธีสอนทดี่ เี พ่ือศิษย[

2.1.2 รักศิษย[ มีใจคิดอยากใหTศิษย[ทุกคนมีความสุข และเสียสละเพื่อศิษย[ไดT
2.2 ใจสูง ครูควรพยายามทำใหTใจสูงส(ง มีจิตใจที่ดีงามมีขTอที่ลองถามตัวเองไดT เช(น

2.2.1 ทำงานอยู(ทใ่ี ด ทา( นมักจะด(าวา( นนิ ทาเจTานายแหง( นั้น หรอื ดูถูกสถาบันหรอื เปล(า
2.2.2 ทา( นมกั จะคิดวา( เพือ่ น ๆ รว( มงานของทา( นนิสัยไมด( ีส(วนใหญ(หรือเปลา(
2.2.3 ทำไมทา( น กท็ ำดี แตเ( จาT นายไมเ( ห็น
2.2.4 ทำไมคนอ่นื ๆ จงึ โงแ( ละเลว
2.2.5 ท(านยอมไมไ( ดTท่ีจะใหTคนอนื่ ดกี วา( เพราะท(านคิดว(าทา( นดกี วา( คนอืน่

182

2.2.6 ทำไมที่ทำงานของท(านจึงเอาเปรียบท(านและกีดกันท(านตลอด ดังน้ัน
การทำจิตใจใหTสูง ก็คือการท่ีมองเห็นคุณค(าของมนุษย[โลกและการคิดที่จะสรTางสรรค[ใหTโลกมีแต(สิ่งที่ดีงาม
ยอมรับขTอดีและขTอเสีย ของตนเองและคนอื่นไม(คิดว(าตนเองฉลาดหรือเก(งกว(าผูTใด ไม(คิดวา( ตนเองดีกว(าคนอื่น คดิ
อยา( งเปน- ธรรมว(าตนเองมขี Tอบกพรอ( งเช(นกนั

3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ(มเทเพื่อการสอน ครูที่มีอุดมการณ[ จะตTองใชTชีวิตครู
อย(างเต็มเวลาทง้ั 3 สว( น คอื

3.1 งานสอน ครูตTองใชTเวลาในการเตรียมการสอนอย(างเต็มที่ วางแผนการสอนคTนควTา
หาวิธกี ารท่ีจะสอนศษิ ย[ในรูปแบบต(าง ๆ

3.2 งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ครูตTองใหTเวลาแก(งานธุรการงานบริหาร บริการ
และงานที่จะทำใหสT ถาบันกTาวหนTา

3.3 งานนักศึกษา ใหTเวลาใหTการอบรม แนะนำสั่งสอนศิษย[เมื่อศิษย[ตTองการคำแนะนำ
หรอื ตTองการความช(วยเหลือ

4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองใหTมีความเป-นมนุษย[ที่สมบูรณ[ การพัฒนาตนเองใหTเป-นแม(พิมพ[
หรือพ(อพิมพ[ท่ีคนในสังคมคาดหวังไวTสูง ครูจึงจำเป-นที่ จะตTองมีความบริบูรณ[ เป-นมนุษย[ทั้งร(างกาย จิตใจ
อารมณ[สังคม สำรวมกาย วาจา ใจ ใหTมีความ มั่นคงเป-นแบบอย(างที่ดี ปฏิบัติงานถูกตTอง หมั่นคิด
พิจารณาตนเองเพอ่ื หาทางแกTไขปรับปรุงตนเอง ใหTมคี วามบรบิ ูรณ[อยเู( สมอ

5. เต็มพลัง คือ การทุ(มเทพลังสติปYญญาและความสามารถเพื่อการสอน ครูจะตTองใชTความสามารถอย(าง
เต็มที่ ทุ(มเทไปเพื่อการสอนวิชาการ ศิษย[ และอุทิศตน อย(างเต็มที่ เพื่อผลงานที่สมบูรณ[นั้น ก็คือ
การปYÉนศิษย[ใหTมีความรูT ความประพฤติงดงาม เป-นที่พึงประสงค[ของสังคม ครูที่มีหลักยึดครบเต็ม 5 ประการนี้
ย(อมเป-นครูที่มีคุณธรรม ที่พรTอมจะเป-นผูTชี้ทางแห(ง ปYญญาทางแห(งชีวิต และทางแห(งสังคมในอนาคต
ไดTเป-นอย(างดี ดังนั้นครูควรสรTางอุดมการณ[ครูเพื่อ ความกTาวหนTาของสังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู
(ชุติมา ประมวลสุข.2563)

วิธีการพัฒนาจติ วิญญาณความเปนQ ครู
สจวี รรณ ทรรพวสุ อธิบายถงึ แนวทางการพฒั นาจติ วญิ ญาณความเป-นครู ของนกั ศึกษาคณะครศุ าสตร[
ไดแT ก( การจัดการเรียนการสอน โดยปลกู จติ สำนกึ ของความเปน- ครูกอ( นเป-นอนั ดับแรก หลังจากนนั้ จงึ สง( เสริมการ
ปฏิบัติหนาT ทค่ี รตู ามกระบวนการ ของหลักวิชาโดยม(งุ เนนT จัดการเรยี นการสอนผ(านประสบการณห[ รือใชT
กรณีศึกษา การสรTางแรงจูงใจและ ความภาคภมู ิใจในวิชาชีพแลกเปลีย่ นเรียนรูTมีเทคนิค การสอนทีห่ ลากหลาย
รวมทง้ั ควรใชTแนวทางCoaching และ Mentoring เป-นกลวธิ ีทเี่ หมาะสมในการพฒั นาจัด กิจกรรมเสรมิ
สราT งสรรคค[ ุณธรรมจริยธรรม ความทสี่ อดคลTองกนั เพ่ือใหเT กิดผลลัพธ[ตามสมรรถนะและทกั ษะวิชาชีพ โดยใหT

183

นกั ศกึ ษามสี (วนร(วมในการจัดการเรยี นการสอน ประเมนิ ผลกลยทุ ธ[การพัฒนาจติ วิญญาณความเป-นครขู อง คณะ
ครศุ าสตร[ พบว(า มีกลยทุ ธ[หลกั และกลยทุ ธ[รองดงั นี้

กลยทุ ธ[หลกั ท่ี 1 พฒั นาการจัดการเรียนการสอนวชิ าชพี ครใู นการเขาT ถงึ แก(นแทTของการมจี ติ วิญญาณในวชิ าชพี

เปžาประสงค[ กลยุทธ[รองการพฒั นาจิตวิญญาณความเป-นครู

1.อาจารย[ผสูT อนมีจติ วิญญาณและมสี มรรถนะการสอน 1. พฒั นาอาจารย[ผTสู อนเกย่ี วกับการออกแบบ
วิชาชีพครใู หTนักเรียนมจี ติ วิญญาณความเป-นครสู ู(การ กจิ กรรมและสื่อการเรียนการสอนทเี่ สรมิ สรTางจิต
ปฏิบตั หิ นTาท่ีครู วิญญาณความเป-นครู

2. นักศึกษามคี วามรกั ศรัทธา เชื่อม่นั ทป่ี ระกอบอาชีพ 2. สรTางระบบเครอื ขา( ยครตู Tนแบบหรือครดู เี ดน( ในแต(
ครดู Tวยจิตวิญญาณความเป-นครู ละ( สาขาวชิ ามาพฒั นาจติ วญิ ญาณความเป-นครแู ละ
บูรณาการระหว(างสาขาวิชา

3. เกดิ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนวชิ าชพี ครูและ เรง( รัดการทำวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมเก่ยี วกบั จิต

เครือขา( ยครตู นT แบบหรือครดู เี ดน( ในการพัฒนาจิตวญิ าณ วญิ ญาณความเปน- ครูของนกั ศกึ ษาและการจดั การ

ความเป-นครู นกั ศึกษาครู เรียนการสอนวชิ าชีพครู

การปลกู ฝง6 จติ วิญญาณความเปนf ครู

1. ดTานความรัก ความเมตตาต(อศิษย[ ควรปลูกฝYงใหT ครูมีใจผูกพันดTวยความห(วงใยศิษย[
สามารถแนะนำใหTกำลังใจ แกศ( ษิ ย[ทกุ คนไดT มจี ิตใจโอบอTอมอารี ความรักต(อศิษย[

2. ดTานความรับผิดชอบ ควรปลูกฝYงใหTครูมีความ รับผิดชอบ คือ การยอมรับผลทั้งที่ดี
และไม(ดีในกจิ การทตี่ นไดT ทำลงไปหรือทอ่ี ย(ูในความดแู ลของตน

3. ดTานความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ควรปลูกฝYง ใหTครูมีความเชื่อถือ ความเลื่อมใส
และความผูกพันดTวย ความห(วงใยตอ( บุคคลหรือองค[กรวชิ าชพี ครู

4. ดTานคุณธรรม จริยธรรม ควรปลูกฝYงใหTครูมีความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย[ วนิ ัย สุภาพ สะอาด สามัคคี
และมนี ำ้ ใจ

5. ดTานความเสียสละและความอดทน ควรปลูกฝYงใหT ครูมีความเสียสละ คือการใหTครูยินยอมใหTสิ่งของที่
ตนมีอยู( ใหTกับศิษย[ เพื่อนครู ผูTบริหาร ผูTปกครอง ผูTอื่นหรือส(วนรวม สำหรับความอดทนเป-นการปลูกฝYงใหTครู
ยอมรบั สภาพ ความยากลำบาก ในสิง่ ทไ่ี มเ( ปน- ท่พี อใจหรือต(ออารมณห[ รอื ถอT ยคำทท่ี ำใหTเจบ็ ใจ

6. ดาT นการมมี นุษยส[ ัมพนั ธ[ ควรปลูกฝYงใหTครูการรูTจกั ตน การเขTาใจผอTู ่ืน และการมีสภาพแวดลTอมทด่ี ี

184

7. ดTานการเป-นแบบอย(างที่ดีต(อศิษย[ ควรปลูกฝYงใหT ครูเป-นแบบอย(างที่ดี คือ การใหTครูประพฤติ
ประพฤตติ น เป-นตวั อยา( งทีด่ ที ั้งทางกาย วาจาและจิตใจ (ชุตมิ า ประมวลสุข.2563)

จติ วิญญาณความเปนf ครูในต*างประเทศ

สิงคโปร? เนTนการเตรียมและพัฒนาการพัฒนาครูเป-นมืออาชีพในศตวรรษที่21 มีลักษณะของครูที่ดี
3 ดาT น คือ ดาT นเจตคติและค(านิยม ดาT นทักษะ และดTานความรTู ดังน้ี

1. ด#านเจตคติและคXานยิ ม
1.1 ผูTเรียนเป-นศูนย[กลางของการเรียนรูT ความเห็นอกเห็นใจ เชื่อมั่นเด็กทุกคนสามารถเรียนรูTไดT

เชือ่ มนั่ ในการพัฒนาเดก็ อยา( งเตม็ ศักยภาพ และการเห็นคุณค(าของความแตกต(างหลากหลาย
1.2 ลักษณะของครู มีมาตรฐานสูงในการทำงาน ความรักในธรรมชาติ รักการเรียนรูT

พัฒนาตนเองต(อเนื่อง มีความปรารถนาอันแรงกลTา รูTจักปรับตัวและมีความยืดหยุ(น มีศีลธรรม
และมีความเป-นมอื อาชีพ

1.3 การช(วยเหลือบุคลากรในวิชาอาชีพและต(อชุมชน ทำงานและเรียนรูTร(วมกัน
การพัฒนาตนเองผ(านการลงมอื ปฏิบัตแิ ละระบบพเ่ี ลย้ี ง ความรับผดิ ชอบตอ( สังคม และความเอือ้ อาทร

2. ดา# นทกั ษะ
ทักษะการสะทTอนและการคิด ทักษะดTานการเรียนการสอน ทักษะดTานการจัดการคน
ทักษะดTานการบริหารจัดการตนเอง ทักษะดTานการจัดการและการบริหาร ทักษะดTานการสื่อสาร
ทักษะดTานการประสานงาน ทักษะดTานเทคโนโลยี ทักษะดTานนวัตกรรมและผูTประกอบการ ทักษะดTานอารมณ[
และสงั คม
3. ด#านความร#ู

รูTตนเอง รูTนักเรียน ชุมชน เนื้อหาวิชาที่สอน วิธีการเรียนการสอน นโยบายและพื้นฐาน
ดTานการศึกษา ความรูTพหุวัฒนธรรม ความตระหนักรูTดTานการเปลี่ยนแปลงไปของโลก ความตระหนักรูT
ดาT นส่ิงแวดลTอม

ออสเตรเลีย นำเสนอคุณลกั ษณะ 10 ประการของครสู อนดี(Good Teacher) ไวT ดังน้ี
1. มีทกั ษะในการอธบิ าย
2. รักการพบปะผูTคน
3. มคี วามกระตือรอื รนT
4. มีความรใTู นเนื้อหาวชิ าที่สอน
5. มคี วามเปน- ผูจT ดั การ โดยเฉพาะดาT นเวลา
6. มีทกั ษะการทำงานเปน- ทมี และความคิดรเิ ริ่ม
7.สามารถรับแรงกดดนั ไดดT ี

185

8. มีความอดทนและอารมณข[ ัน
9. รกั ความยตุ ธิ รรม
10. สามารถรับมือกับความเปล่ยี นแปลงไดT
ฟ¨นแลนด? มีแนวคิดว(าประชากรคือทรัพยากรที่สำคัญ ดังนั้นการจะพัฒนาประเทศไดTตTองเริ่มจากการ
พัฒนาคุณภาพประชากร รัฐจึงเริ่มใหTความสำคัญกับการศึกษาและอาชีพครู Marjo Vesalainen Senior
Ministerial Adviser, Ministry of Education and Culture, Finland ก ล ( า ว ว ( า อ า ช ี พ ค รู
ในประเทศฟ-นแลนด[เป-นอาชีพในสาขางานวิชาการ ปริญญาครูจึงเป-นเป-นสิ่งที่ดึงดูดนักเรียนที่มีความสามารถใหT
มาเรียนในสาขานี้ มหาวิทยาลัยที่ทำการสอนครูในประเทศฟ-นแลนด[มีประสิทธิภาพในการสอนมากทำใหT
ไดTบุคลากรดTานการศึกษาที่มีประสิทธิภาพในการสอนมาก อีกทั้งยังไม(มีการสอบในการศึกษาภาคบังคับ ไม(มีการ
เขTาไปตรวจสอบโรงเรียนไม(ว(าจะในระดับไหน จึงเป-นเป-นสัญญาณที่แสดงใหTเห็นถึงความเชื่อมั่นต(อความสามารถ
ครูในการตัดสินใจพัฒนางานและวัดผลนักเรียนของตัวเอง ครูในประเทศฟ-นแลนด[จึงมีอิสระมากและเป-นอาชีพที่
ไดTรับความเคารพ ไดTความเชื่อถือจากสังคม การเปลี่ยนอาชีพจากครูไปทำอาชีพอื่นจึงค(อนขTางเห็นไดTนTอย
นอกจากนี้ครูในประเทศยังใชTเวลาทั้งหมดไปที่การเรียนการสอน ไดTทำงานเอกสารที่นTอยและต่ำที่สุดในประเทศ
OECD (องค[การเพื่อความร(วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ) ดังนั้นครูจึงมีเวลาที่จะออกแบบกระบวนการ
การเรียนการสอนไดTเต็มที่ ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยในประเทศฟ-นแลนด[ก็มีอิสรภาพในการออกแบบหลักสูตร
ของตัวเองอยา( งมาก ดงั นน้ั แมวT (าหลักสูตรครูในแตล( ะมหาวิทยาลยั จะต(างกัน แต(ก็มแี นวคดิ ท่อี ย(ูในกรอบเดยี วกันท่ี
มงุ( หวังเร่อื งความสำเร็จและความสุขในการเรยี นของเด็กเปน- หลั
ญี่ปุ«น เป-นประเทศที่คลTายกับเกาหลี คือ พ(อแม(คาดหวังในตัวลูกสูงมาก จึงสนใจเรื่องการศึกษาของลูกๆ
เป-นอย(างมาก และทำใหTการคัดเลือกบุคลากรครูตTองเขTมงวดอย(างมากเช(นกัน ใครที่อยากเป-นครูในประเทศญี่ปุÄน
จะตTองเรียนโรงเรียนผลิตครูโดยเฉพาะ คนที่สอบผ(านเขTามาเรียนไดTจะมีเพียงรTอยละ 14 คนเท(านั้น เมื่อเรียนจบ
แลTวตTองผ(านการสอบและการประเมินโดยรัฐ จึงจะไดTเป-นครูอย(างที่ตTองการ หรือถTาจบสายอื่นมาก็ตTองสอบ
ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ครใู หTผา( น

ค*านยิ มของครู

ค(านิยมของครู หมายถึง แนวความคิดหรือความประพฤติอันดีงามของสังคมที่ครูจะตTอง
ยึดถือเป-นหลักประจำใจ และปฏิบัติตามสิ่งที่ไดTยึดถือนั่นเป-นประจำ ค(านิยมของครูจะตTองเป-นไป
ตามคุณลักษณะของคนไทยที่ประเทศชาติตTองการและจะตTองสอดกับค(านิยมที่ดีงามของสังคมไทย
ดงั น้ัน ค(านิยมทีพ่ งึ ประสงค[ของครู จึงควรมีดงั น้ี

1. ความมรี ะเบยี บวนิ ัย
2. ความซ่อื สัตย[ สจุ ริตและความยุตธิ รรม
3. ความขยนั ประหยดั อดทน การยึดม่นั ในสมั มาอาชีพ
4. ความสำนึกในหนTาที่ และความรับผิดชอบต(อสงั คมและประเทศชาติ
5. มีความคดิ รเิ ริ่ม วจิ ารณแ[ ละตัดสนิ อยา( งมเี หตุผล

186

6. ความกระตือรือรTนในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย รักและเทดิ ทนู ชาติ ศาสน[ กษตั รยิ [
7. การรจTู ักรกั ษาพลานามยั ของรา( ยกายจติ ใจใหสT มบูรณ[
8. การพง่ึ ตนเอง และมอี ุดมการณแ[ ห(งวิชาชพี
9. ความภาคภูมใิ จ และมีอุดมการณแ[ ห(งวิชาชีพ
10. ความเสยี สละ เมตตาอารี กตญั Ôูกตเวที กลาT หาญ และสามัคคี
11. ความนยิ มไทย
12. ความหม่ันในการศกึ ษาความรอTู ยูเ( ปน- นิจ
13. การเคารพยกยอ( ง คนดีมีคุณธรรม
14. การมอี สิ รภาพทางวิชาการ ความคดิ และการกระทำ
15. ความสันโดษ
16. ความสุภาพอ(อมนTอม ถ(อมตน
17. ความยดึ ม่นั และปฏบิ ัติตามคำสอนในศาสนา
ค(านยิ มทไี่ ม(พึงประสงคข[ องครู มคี (านิยมบางประการในสงั คมไทยทีค่ รูไมค( วรนิยม
หรือยึดถอื ปฏบิ ตั ิ เช(น
1. การรักในความสนกุ สนาน เพลดิ เพลิน
2. ความโออ( า( หรูหรา ฟุÄมเฟอÈ ย
3. การแสวงหาโชคลาภ
4. ความนยิ มในศิลปวัฒนธรรมตา( งชาติ
5. การทำอะไรตามสบาย จนทำใหขT าดระเบียบวนิ ยั
6. การถอื ฤกษ[ ส่ิงศกั ดิ์สิทธิ์
7. ความนิยมของนอก
8. การเชื่อถือ สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธิ์
9. การใชTสิง่ เสพตดิ มนึ เมา เปน- สื่อสัมพนั ธม[ ติ รภาพ
10. การยกยอ( งบุคคลผูTประพฤติผดิ คณุ ธรรมใหเT ปน- บคุ คลสำคัญ(ชุตมิ า ประมวลสุข.2563)

187

สรปุ
จิตวญิ ญาณความเป:นครู และคXานิยม

จิตวิญญาณความเป-นครูเป-นคุณลักษณะสำคัญของวิชาชีพครู ที่กำหนดไวTใน ประกาศคณะกรรมการคุรุ
สภา เรื่อง สาระความรูT สมรรถนะและประสบการณ[ของผTูประกอบวิชาชีพครู ผูTบริหารสถานศึกษา ผูTบริหาร
การศึกษา และศึกษานิเทศก[ ตามขTอบังคับคุรุสภาว(า ดTวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในหมวด 1 ผูTประกอบ
วิชาชีพครู ซึ่งกำหนดสาระความรูTและ สมรรถนะของผูTประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานความรูT ขTอ 1. ความเป-น
ครู ซึ่งแสดงถึงการที่ องค[กรวิชาชีพทางการศึกษาไดTใหTความสำคัญกับจิตวิญญาณความเป-นครู ดังนั้น ผูTที่จะเขTาสู(
วิชาชีพครู และวิชาชีพทางการศึกษาย(อมไดTรับการคาดหวังจากองค[กรวิชาชีพทางการศึกษา ผูTรับบริการ และ
สังคม ในดTานคุณลักษณะครูที่มีจิตวิญญาณความเป-นครูเป-นอย(างสูงยิ่ง ทั้งใน เรื่องของการมีคุณลักษณะตาม
เกณฑ[มาตรฐานวชิ าชีพ และผลกระทบทจี่ ะเกิดกบั ผเTู รยี น รวมทั้งการยอมรับนับถือ และความศรัทธาจากสังคม

188

อNางอิง

กรมวชิ าการ. (2540). แนวทางการสอนทเี่ น#นทกั ษะกระบวนการ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ[คุรสุ ภา ลาดพราT ว.
กิตินันท[ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ[. (2557). องค?ประกอบและตัวบXงชี้จิตวิญญาณความเปQนครู

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดภาคเหนือตอนบน.วารสารการวิจัย
กาสะลองคำ8, 1 : 53-65. เชียงราย : มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย.
ชุติมา ประมวลสุข.(2563).เอกสารประกอบการสอนวิชาความเปQนครู มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต,
จาก https://anyflip.com/dedoj/tarx/basic/301-319
ณัฏฐภรณ[ หลาวทอง และป-ยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณ ความเปQนครู.
กรงุ เทพฯ : คณะครศุ าสตร[ จุฬาลงกรณม[ หาวิทยาลยั .
ทัศนา ประสานตรี. การปลูกฝ:งจิตวิญญาณความเปQนครู. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน
มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สกลนคร จาก
ธรรมนันทิกา แจTงสว(าง. (2554). ประสบการณ?ของการเปQนครูผู#มีจิตวิญญาณความเปQนครู : การศึกษาเชิง
ปรากฏการณ?วิทยา. ปริญญานิพนธ[ วทด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร[ประยุกต[) กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว[ โิ รฒ.
ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550). ศาสตร?วXาด#วย “จิตวิญญาณครู”. [ออนไลน[]. สืบคTนเมื่อ 14 เมษายน 2563,
จาก http://gotoknow.org/blog/spirituality/153240.
ยนต[ ชมุ( จิต. (2524). ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู. กรุงเทพฯ : แพรพ( ทิ ยา.
ศักดช์ิ ัย ภเู( จรญิ .ลกั ษณะของครทู ี่ดีในประเทศเพอื่ นบา# น, จาก http://www.kruinter.com/file/
33320150406110130-[kruinter.com].pdf
สจีวรรณ ทรรพวส.ุ กลยุทธ[การพฒั นาจติ วญิ ญาณความเปน- ครเู พอื่ สง( เสริมความเป-นครวู ิชาชีพของนกั ศกึ ษา
คณะครุศาสตร[ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา, จาก https://so05.tci-thaijo.org/
index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90765
สุพิชญา โคทวี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปYญญาศึกษาเพื่อเสริมสรTางจิต
วญิ ญาณความเปน- ครู สำหรบั นักศึกษาครุศาสตร[ ในสังกัดมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ. ปรญิ ญานพิ นธ[ ก ศ . ด .
(หลักสูตรและการสอน). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อมรรัตน[ แก(นสาร. (2558). การพัฒนาตัวบ(งชี้จิตวิญญาณความเป-นครูของครูสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ[ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา,
สำนักบัณฑติ ศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร.

189

บทท่ี 8
กฎหมายการศึกษา

วิวัฒนาการกฎหมายไทย

1. ก(อนสุโขทัย
2. สโุ ขทยั
3. อยธุ ยา
4. ธนบรุ ี
5. รตั นโกสนิ ทร[

ประวัติศาสตรกE ฎหมายไทย
ก*อนสุโขทัย

กฎหมายไทยมีการวิวัฒนาการมานาน เช(นเดียวกันกับกฎหมายของประเทศต(างๆ ก(อนที่ประเทศไทยจะ
ไดTใชTระบบประมวลกฎหมาย ไทยก็มีระบบกฎหมายใชTเป-นของตนเองเช(นกัน ซึ่งจะอยู(ในรูปของกฎหมายจารีต
ประเพณี ซึ่งไดTถูกปฏิบัติสืบต(อกันมาจนยอมรับว(าเป-นกฎหมายในที่สุด และก็ไดTมีการบันทึกไวTเป-นลายลักษณ[
อกั ษรในกาลตอ( มา เพอื่ ใหสT มาชกิ ในชมุ ชนไดรT Tูและปฏบิ ัตติ าม

กฎหมายในยคุ สุโขทัย

ปรากฎอย(ใู นศิลาจารึกพ(อขุนรามคำแหง ( ป‹พ.ศ. 1828-1835 ) เรียกกนั ว(า กฎหมายสี่บท ไดTแก(
1. บทเรื่องมรดก
2. บทเร่ืองท่ดี ิน
3. บทวิธีพจิ ารณาความ
4. บทลกั ษณะฎีกา
และมีการเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะโจรลงไปในครั้งรัชสมัยพญาเลอไทย กษัตริย[สุโขทัยองค[ท่ี 4 ซึ่งมีส(วน
ของการนำกฎหมายพระธรรมศาสตร[มาใชT ซึ่งไดTรับอิทธิพลมาจากพราหม ซึ่งไดTมีส(วนขยาย ที่เรียกว(า ‘พระราช
ศาสตร[’ มาใชTประกอบดวT ย

กฎหมายกรงุ ศรีอยุธยา

กรุงศรีอยุธยาเป-นชารธานีแห(งที่สองของไทย ไดTก(อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1839 - 2310 พระมหากษัตริย[ในยุค
นั้น ไดTสรTางกฎหมายซึ่งเรียกว(าพระราชศาสตร[ไวTมากมาย พระราชศาสตร[เหล(านี้ เมื่อเริ่มตTนไดTอTางถึงพระ
ธรรมศาสตร[ฉบับของมนูเป-นแม(บท เรียกกันว(า ‘มนูสาราจารย[’ พระธรรมศาสตร[ฉบับของมนูสาราจารย[นี้ เป-น
กฎหมายที่มีตTนกำเนิดในอินเดีย เรียกว(าคำภีร[พระธรรมศาสตร[ ต(อมามอญไดTเจริญและปกครองดินแดนแหลม
ทองมาก(อน ไดTแปลตTนฉบับคำภีร[ภาษาสันสกฤตมาเป-นภาษาบาลีเรียกว(า ‘คำภีร[ธรรมสัตถัม’ และไดTดัดแปลง
แกTไขบทบัญญัติบางเรื่องใหTมีความเหมาะสมกับชุมชนของตน ต(อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัย

190

พระนครศรีอยุธยาจึงนำเอาคำภีร[ของมอญของมอญมาเป-นหลักในการบัญญัติกฎหมายของตน ลักษณะกฎหมาย
ในสมัยนั้นจะเป-นกฎหมายอาญาเสียเป-นส(วนใหญ( ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแลTว เช่ือ
กันว(าการออกกฎหมายในสมัยก(อนนั้น จะคงมีอยู(ในราชการเพียงสามฉบับเท(านั้น ไดTแก( ฉบับที่พระมหากษัตริย[
ทรงใชTงาน ฉบับใหTขุนนางขTาราชการทั่วไปไดTอ(านกัน หรือคัดลอกนำไปใชT ฉบับสุดทTายจะอยู(ที่ผูTพิพากษาเพื่อใชT
ในการพจิ ารณาอรรถคดี

กฎหมายสมัยกรุงธนบรุ ี

กฎหมายสมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากเป-นระยะเวลาที่ตTองกอบบTานกูTเมือง หรือก(อบTานสรTางเมืองประกอบ
กับสมเด็จพระเจTาตากสินมหาราช ไดTมีพระราชหฤทัยในการคิดปžองกันบTานเมืองเพื่อมิใหTขTาศึกมารุกรานและเนTน
การรวบรวมกลุ(มคนไทยที่ตTองอยู(กับอย(างกระจัดกระจาย ลTมหายตายจากและถูกขTาศึกเทครัวกลับไปยังประเทศ
พม(า ประกอบกับบTานเมืองหลังจากเกิดศึกสงคราม ไดTรับความบอบช้ำมาอย(างหนัก และพระองค[มีจิตคิดฝYกใฝÄ
ในเรื่องธรรมมะในช(วงระยะเวลาสุดทTายของพระชนม[ชีพ กฎหมายของกรุงธนบุรีจึงอTางอิงมาจากกรุงศรีอยุธยา
เสียเปน- สว( นใหญ(

กฎหมายกรงุ รัตนโกสนิ ทรE

ในสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟžาจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เห็นว(ากฎหมายที่ใชTกันแต(ก(อน
มานั้นขาดความชัดเจน และไม(ไดTรับการจัดเรียงไวTเป-นหมวดหมู(ง(ายต(อการศึกษาและนำมาใชT จึงโปรดเกลTาใหTมี
การชำระกฎหมายขึ้นมาใหม( ในคำภีร[พระธรรมศาสตร[ โดยนำมารวบรวมกฎหมายเดิมเขTาเป-นลักษณะๆ สำเร็จ
เมื่อ พ.ศ. 2348 และนำมาประทับตราเขTาเป-นตราพระราชสีห[ ซึ่งเป-นตราของกระทรวงมหาดไทย ตราคชสีห[ ของ
พระทรวงกลาโหม และตราบัวแกTว ซึ่งเป-นตราของคลัง บนหนTาปกแต(ละเล(ม ตามลักษณะระของการปกครองใน
สมัยนั้น กฎหมายฉบับนั้นเรียกกันว(า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ ถือเป-นประมวลกฎหมาย
ของแผ(นดินที่ไดTรับการปรับปรุงใหTมีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ(งและอาญา นอกจากจะไดTบรรจุพระ
ธรรมศาสตร[ตั้งแต(สมัยอยุธยาแลTว ยังคงมีกฎหมายสำคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะ
ทาส ลักษณะโจร และต(อมาไดTมีการตราขึ้นอีกหลายฉบับ ต(อมาประเทศไทยมีการติดต(อสัมพันธ[ไมตรีกับประเทศ
ต(างๆมาก พึงเห็นไดTว(ากฎหมายเดิมนั้นไม(ไดTรับการยอมรับจากนานาอารยประเทศ จนทำใหTไทยตTองเสียสิทธิ
สภาพนอกอาณาเขต นอกจากนั้นยังไม(สามารถนำมาใชTบังคับไดTทุกกรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกลTาเจTาอยู(หัว
จึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม( อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัว ไดTทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหม( และไดTใหTผูTเชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ
ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ญี่ปุÄน และลังกามาเป-นที่ปรึกษากฎหมาย และในสมัยนั้น พระเจTาบรมวงศ[เธอกรมหลวงราชบุรี
ดิเรกฤทธิ์ ก็ไดTแกTไขชำระกฎหมายตราสามดวงเดิมขึ้นใหม( และจัดพิมพ[ขึ้นในชื่อของ ‘กฎหมายราชบุรี’ ในป‹พ.ศ.
2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัวไดTทรงแต(งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและร(างกฎหมายขึ้นมา
ใหม( ทำการร(างกฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายว(าดTวยการเลิกทาส กฎหมายวิธีสบัญญัติ ร(างประมวลกฎหมาย
แพ(งและกฎหมายที่สำคัญหลายๆฉบับ และในรัชสมัยต(อมา กฎหมายไทยไดTถูกพัฒนาสืบต(อกันยาวนาน ตราบจน
ทุกวันนี้ มีการจัดทำประมวลกฎหมาย และร(างกฎหมายต(างๆเป-นจำนวนมาก ซึ่งกฎหมายไทยนั้น ไดTรับอิทธิพล
ทั้งจากกฎหมายภาคพื้นยุโรป อาทิกฎหมายอังกฤษ กฎหมายฝรั่งเศส รวมทั้งจารีตประเพณีเดิมของไทยดTวย ( มี

191

อยู(ในประมวลกฎหมายแพ(งและพาณิชย[ บรรพ5 และ 6 ว(าดTวยเรื่องครอบครัวและมรดก ) และไดTรับการแกTไขใหT
มีความสอดคลTองกับสังคมที่เปลี่ยนไปอยู(ตลอดเวลา มีกฎหมายที่ทันสมัยถูกตราขึ้นใหม(ๆตลอด เช(นกฎหมาย
ทรพั ย[สินทางปญY ญา หรือทเี่ กีย่ วกับการคTาระหว(างประเทศ (อTางองิ :รวมความเห็นนักวชิ าการ คดหี ม่ินฯ ร.๔)

ลำดับชั้นกฎหมายไทย
รัฐธรรมนญู

รัฐธรรมนูญเป-นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศหรือเป-นกฎหมายแม(บทที่มีสถานะสูงสุดเหนือ
กฎหมายอื่น ๆ ในการปกครองประเทศโดยกำหนดบทบาทอำนาจหนTาที่และความสัมพันธ[ระหว(างกันของสถาบัน
ทางการเมืองการปกครองตลอดจนความสัมพันธ[ระหว(างรัฐกับประชาชนและสิทธิของประชาชนที่มีอยู(ภายในรัฐ
เป-นกฎหมายที่กำหนดระบบการปกครองโครงสรTางการปกครองกติกาทางการเมืองของรัฐและจัดสรรอำนาจตาม
กฎหมายใหTแก(สถาบันทางการเมือง ฉะนั้นการปกครองประเทศไม(ว(าจะปกครองในระบอบใดก็ตาม รัฐธรรมนูญ
จะกำหนดหรือยุติระบอบการปกครองและกติกาทางการเมืองต(าง ๆ ไวTในรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญจึงเป-นกฎหมาย
ที่กำหนดองค[กรของรัฐที่เป-นผูTใชTอำนาจขณะเดียวกันก็ จำกัดอำนาจของการใชTอำนาจน้ันเพื่อประกันสิทธิของ
ปจY เจกชนดวT ย

เดชชาติ วงศโ? กมลเชษฐ? อธบิ ายวา( รัฐธรรมนญู เปน- กฎหมายหลักของประเทศ ซงึ่ บญั ญตั ิวา( ดTวยรปู ของ
รฐั รูปของรฐั บาลการแบง( อำนาจอธิปไตย องค[การที่ใชอT ำนาจอธิปไตย และความสัมพันธ[ระหว(างองค[การท่ีใชT
อำนาจ อธิปไตย ตลอดจนสิทธิและหนาT ที่ของประชาชน

รัฐธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย เป-นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห(งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใด
จะขัดหรือแยTงต(อรัฐธรรมนูญไม(ไดT รัฐธรรมนูญเป-นกฎหมายว(าดTวยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซ่ึง
ตั้งแต( วันที่ 27 มิถุนายน 2475 ถือเป-นวันที่ประกาศใชTรัฐธรรมนูญเป-นฉบับแรกในประวัติศาสตร[ไทย คือ
“พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ(นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ซึ่งเป-นกฎหมายสูงสุดในการปกครอง
รัฐ หลังจากที่คณะราษฎรทำการปฏิวัติเปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย[อำนาจสูงสุดเป-นของ
กษัตริย[มาเป-นระบอบประชาธิปไตยที่อำนาจสูงสุดเป-นของประชาชนเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 แมTจะใชTชื่อว(า
“พระราชบัญญัติ ‘ธรรมนูญการปกครองแผ(นดิน’ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” แต(ก็มีสถานะเป-นรัฐธรรมนูญอัน
เป-นกฎหมายสูงสุด ซึ่งตอ( มาภายหลงั ไดมT กี ารบัญญัติคำวา( ‘รฐั ธรรมนูญ’

ตั้งแต( พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแลTวทั้งสิ้น 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับปYจจุบัน คือ
รัฐธรรมนญู แหง( ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560

รัฐธรรมนูญไทยระบุว(าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเดี่ยว และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
กำหนดใหTมีการแบ(งแยกอำนาจระหว(างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ กำหนดใหTสมาชิกผูTแทนราษฎร
และสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต(งตั้งแตกต(างกันไป เช(นเดียวกับพระราชอำนาจของ
พระมหากษตั ริย[

192

รฐั ธรรมนญู แห*งราชอาณาจักรไทยมี 20 ฉบับ
ศาลรัฐธรรมนูญ

เปน- องค[กรหลกั ท่ีทำหนาT ทต่ี ีความรัฐธรรมนูญและวนิ ิจฉยั ขอT ขัดแยTงขTอพิพาททเี่ ก่ยี วขอT งกบั รฐั ธรรมนูญ
รฐั ธรรมนูญฉบับแรกของไทยช่ือวา( “พระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครองแผน( ดินสยามชัว่ คราว
พทุ ธศกั ราช 2475” จากน้ัน ราชอาณาจกั รไทยกไ็ ดTประกาศใชTรัฐธรรมนูญมาตามลำดับ ดังน้ี
1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผน( ดินสยามชัว่ คราว พุทธศักราช ๒๔๗๕
2. รัฐธรรมนญู แหง( ราชอาณาจกั รสยาม
3. รัฐธรรมนญู แหง( ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
4. รัฐธรรมนญู แห(งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พทุ ธศักราช 2490
5. รฐั ธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2492
6. รฐั ธรรมนูญแหง( ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แกTไขเพมิ่ เติม พุทธศกั ราช 2495
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศักราช 2520
8. รฐั ธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511
9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศักราช 2511
10. รฐั ธรรมนญู แห(งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517
11. รัฐธรรมนูญแห(งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2519
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศักราช 2520
13. รฐั ธรรมนญู แหง( ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2521
14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศักราช 2534
15. รฐั ธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
16. รัฐธรรมนญู แห(งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540
17. รัฐธรรมนญู แห(งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พทุ ธศักราช 2549
18. รฐั ธรรมนญู แหง( ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
19. รฐั ธรรมนูญแหง( ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชว่ั คราว) พุทธศักราช 2557
20. รัฐธรรมนูญแหง( ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560
อTางอิง:บวรศักดิ์ อุวรรณโณ,กฎหมายมหาชน เลม( 3 ท่ีมาและนติ วิ ิธี,กรุงเทพ,สำนกั พมิ พน[ ิตธิ รรม,พมิ พ[คร้งั ท่ี
1,2538 ใจจรงิ , ณฐั พล (2556). ขอฝนY ใฝÄในฝYนอันเหลือเช่อื : ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปกY ษป[ ฏวิ ัติสยาม
(พ.ศ. 2475-2500) (1 ed.). ฟาž เดียวกนั .

193

พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่มีลักษณะพิเศษที่รัฐธรรมนูญระบุชื่อและหลักการ
สำคัญเอาไวTโดยเฉพาะ เพื่อขยายความเพิ่มเติมจากหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะทำใหTรัฐธรรมนูญมีความ
สมบูรณย[ ่งิ ขน้ึ โดยไม(ตอT งมจี ำนวนมาตรามากมายจนเกินความจำเปน-

ซง่ึ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนญู แห(งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560
ประกอบดTวย

1. พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา( ดวT ยการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผTูแทนราษฎร
2. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา( ดTวยการไดมT าซ่ึงสมาชิกวฒุ ิสภา
3. พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา( ดวT ยคณะกรรมการการเลอื กตั้ง
4. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว(าดวT ยพรรคการเมอื ง
5. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว(าดวT ยวธิ พี จิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนญู
6. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา( ดวT ยวิธพี จิ ารณาคดอี าญาของผดูT ำรงตำแหน(งทางการเมอื
7. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญว(าดTวยผTูตรวจการแผ(นดิน
8. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา( ดTวยการปอž งกนั และปราบปรามการทจุ ริต
9. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา( ดTวยการตรวจเงนิ แผ(นดิน
10. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ว(าดTวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห(งชาติ
อTางองิ :ปรีดี หงษ[สตTน. “เชือดไก(ใหTลิงด:ู รฐั ไทยกับการทำลายศัตรูดTวยนาฏกรรม.” วารสารประวตั ิศาสตร[
ธรรมศาสตร[ 1, 2 (ต.ค. 2557 -มี.ค. 2558), น. 53-99.

พระราชบัญญตั ิ

พระราชบัญญัติ (มีตัวย(อว(า "พ.ร.บ.") เป-นกฎหมายที่ออกโดยฝÄายนิติบัญญัติ ซึ่งมีรัฐสภาเป-นฝÄายที่ออก
กฎหมายนี้ พระราชบัญญัติถือว(าเป-นการออกกฎหมายเพื่อบังคับใชTเป-นชีวิตประจำวัน กำหนดกฎเกณฑ[ซึ่งมี
เนื้อหาเป-นการทั่วไป ไม(มุ(งเฉพาะเจาะจงต(อบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือใชTบังคับแก(กรณีใดกรณีหนึ่ง ถือว(าเป-น
กฎหมายลายลักษณ[อักษรที่รัฐไดTตราขึ้นไวTเป-นขTอบังคับกำหนดความประพฤติบุคคล พระราชบัญญัติถือว(าเป-น
กฎหมายที่มศี กั ดิส์ ูงกวา( บทกฎหมายประเภทอ่ืนๆ เป-นรองเพียงรฐั ธรรมนญู เท(านน้ั

การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำไดTก็แต(โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย[
ไดทT รงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษากม็ ีผลใชTบงั คับเป-นกฎหมายไดT

คำว(า พระราชบัญญัติ เป-นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย[เป-นผูTอนุญาต
สำหรับประเทศอนื่ ที่พระมหากษัตรยิ ไ[ มใ( ช(ผอTู นุญาต (เชน( ประธานาธิบด)ี จะเรยี กวา( รัฐบญั ญัติ

194

พระราชกำหนด

พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) หรือ รัฐกำหนด หมายถึง กฎหมายรูปแบบหนึ่งซึ่งพระมหากษัตริย[ทรงตราข้ึน
โดยคำแนะนำและยินยอมของคณะรัฐมนตรี โดยอาศยั อำนาจตามท่ีรัฐธรรมนญู วางไวTวา( เปน- กรณีฉกุ เฉนิ ท่ีมคี วาม
จำเป-นรีบด(วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงไดT เพื่อประโยชน[ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัย
สาธารณะหรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปžองปYดภัยพิบัติสาธารณะ หรือในกรณีที่มีความ
จำเป-นตTองมีกฎหมายเกี่ยวดTวยการภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งจะตTอง ไดTรับการพิจารณาโดยด(วนและลับ เพื่อ
รักษาประโยชน[ของแผ(นดิน พระราชกำหนดมีผลใชTบังคับไดTดังพระราชบัญญัติ ดังนั้นพระราชกำหนดจึงแกTไข
เพิ่มเติม หรือยกเลกิ พระราชบัญญัตไิ ดT

พระราชกำหนดไวTเรียกกฎหมายเช(นนั้นซึ่งประกาศใชTในประเทศอันมีพระมหากษัตริย[เป-นพระประมุข
ส(วนรัฐกำหนดสำหรับประเทศอันมปี ระธานาธบิ ดีเป-นประมขุ

พระราชกำหนดของไทย

สถานการณท[ ่ีจะประกาศใชTพระราชกำหนดไดT
พระราชกำหนดของไทยแบ(งออกเป-นสองประเภทตามความในรัฐธรรมนูญแห(งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.
2550) ไดTแก(
1. พระราชกำหนดทั่วไป ออกไดTในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป-นรีบด(วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงไดTเพ่ือ
ประโยชนใ[ นการรักษาความปลอดภัยของประเทศ เพอ่ื ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ หรอื เพือ่ ปอž งปดY พิบัติสาธารณะ
2. พระราชกำหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ออกไดTในกรณีที่มีความจำเป-นที่จะตTองมีกฎหมาย
เกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งตTองไดTรับพิจารณาโดยด(วนและลับ เพื่อรักษาผลประโยชน[ของแผ(นดิน ทั้งน้ี
ภายในระหวา( งสมยั ประชุมของรัฐสภาเทา( น้นั

กระบวนการตราพระราชกำหนด

พระราชกำหนดมีคณะรัฐมนตรีเป-นผูTพิจารณาร(าง และเมื่อคณะรัฐมนตรีใหTความเห็นชอบแลTว
นายกรัฐมนตรีจึงจะนำร(างนั้นขึ้นทูลเกลTาฯ ถวายต(อพระมหากษัตริย[เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใชT
บังคบั เชน( พระราชบัญญตั ิ ท้ังน้ี โดยไมต( Tองนำเสนอร(างพระราชกำหนด เชน( ว(าใหTรฐั สภาพิจารณาใหTความเหน็ ชอบ
ก(อน

พระราชกฤษฎกี า

พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) หรือ รัฐกฤษฎีกา บทบัญญัติแห(งกฎหมายที่พระมหากษัตริย[ทรงตราขึ้นโดย
อาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห(งกฎหมายตามความหมายของรัฐธรรมนูญ โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี และ
เพื่อกำหนดความสัมพันธ[ระหว(างรัฐบาลกับรัฐสภา (เช(นในกรณีการยุบสภาผูTแทนราษฎร) พระราชกฤษฎีกาจึงมี
ศักด์ทิ างกฎหมายตำ่ กว(ารัฐธรรมนญู พระราชบญั ญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด


Click to View FlipBook Version