The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aschapanboonkua, 2021-03-30 23:25:23

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

95

การนำไปประยุกตใ? ชใ# นการเรยี นการสอน
1. การนำหลักการเรียนรูTไปใชT จากการหลักการเรียนรูTที่ว(าการเรียนรูTเกิดจากการกระทำหรือการตอบสนอง
เพียงครั้งเดียว ไดTตTองลองกระทำหลาย ๆ ครั้ง หลักการนี้น(าจะใชTไดTดีในผูTใหญ(มากกว(าเด็ก และผูTมีประสบการณ[
เดมิ มากกวา( ผTไู มเ( คยมปี ระสบการณเ[ ลย
2. ถาT ตอT งการใหอT นิ ทรยี เ[ กิดการเรยี นรคTู วรใชกT ารจูงใจ เพอ่ื ใหTเกดิ พฤติกรรมมากกวา( การเสริมแรง
3. เนื่องจากแนวความคิดของกัทธรีคลTายคลึงกับแนวความคิดของวัตสันมาก ดังนั้นการนำไปประยุกต[ใชTในการ
เรยี นการสอนกเ็ ปน- ไปในทำนองเดียวกนั กับทฤษฎีของวัตสนั นนั้ เอง
4. กัทธรีเชื่อว(าการลงโทษมีผลต(อการเรียนรูT คือทำใหTอินทรีย[กระทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขาแยกการลงโทษ
ออกเปน- 4 ข้ัน ดงั นี้

4.1 การลงโทษสถานเบา อาจทำใหTผูTถูกลงโทษมีอาการตื่นเตTนเพียงเล็กนTอย แต(ยังคงแสดงพฤติกรรม
เดมิ อกี ต(อไป

4.2 การเพ่ิมการลงโทษ อาจทำใหผT Tถู ูกลงโทษเลกิ แสดงพฤติกรรมทไ่ี มพ( งึ ปรารถนาไดT
4.3 ถTายังคงลงโทษต(อไป การลงโทษจะเปรียบเสมือนแรงขับที่กระตุTนใหTอินทรีย[ตอบสนองต(อสิ่งเรTา
จนกว(าอินทรีย[จะหาทางลดความเครียดจากแรงขับที่เกิดขึ้น กัทธรีกล(าวว(าการเรียนรูTที่แทTจริงเกิดจากการไดTรับ
รางวลั ที่พอใจ
4.4 ถTาเกิดพฤติกรรมที่ไม(ดีคือพฤติกรรมที่ไม(พึงปรารถนา แลTวลงโทษจะทำใหTมีพฤติกรรมอื่นเกิดตามมา
หลงั จากถกู ลงโทษ จึงควรขจัดพฤตกิ รรมที่ไม(ดีเสียก(อน กอ( นทีจ่ ะลงโทษ (ทมี่ า : กุญชรี คTาขาย, 2540)

ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขด`วยการกระทำ (Operant Conditioning Theory)

Burrhus Skinner นกั จติ วิทยาชาวอเมรกิ ันเป-นผTูคดิ ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบการกระทำ
(Operant Conditioning theory หรอื Instrumental Conditioning หรอื Type-R. Conditioning)

ประวตั ิ บี.เอฟ.สกนิ เนอร?
เกิดเมื่อวันที่ 1940.มีนาคม ค.ศ 20ที่ มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จบปริญญาตรี ทางวรรณคดี ในอังกฤษ
เขTาศึกษาต(อสาขาจิตวิทยา ระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัย ฮาร[ดเวิร[ด ป‹ ค.ศ.1982 วิชาเอก
พฤติกรรมศาสตร[ สกินเนอร[มีความคิดว(าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ Pavlov นั้น จำกัดอยู(กับ
พฤติกรรมการเรียนรูTที่เกิดข้ึนเป-นจำนวนนTอยของมนุษย[ พฤติกรรมส(วนใหญ(แลTวมนุษย[จะเป-นผูTลงมือปฏิบัติเอง
ไม(ใชเ( กิดจากการจบั คร(ู ะหว(างสง่ิ เรTาใหมก( ับสิง่ เราT เก(าตามการอธบิ ายของ Pavlov (ท่ีมา : Anonymous, 2555)

สกนิ เนอรEไดแ` บ*ง พฤติกรรมของสง่ิ มีชีวิตไว` 2 แบบ คือ

1. Respondent Behavior
คือพฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ หรือเป-นปฏิกิริยาสะทTอน (Reflex) ซ่ึง

สิ่งมีชวี ิตไมส( ามารถควบคุมตัวเองไดT เช(น การกระพริบตา นำ้ ลายไหล
2. Operant Behavior
คือพฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป-นผูTกำหนด หรือเลือกที่จะแสดงออกมา ส(วนใหญ(จะเป-น

พฤติกรรมทบ่ี ุคคลแสดงออกในชีวิตประจำวนั เช(น กนิ นอน พูด เดิน ทำงาน ขบั รถ

96

การเรียนรูTตามแนวคิดของสกินเนอร[ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว(างสิ่งเรTากับการตอบสนองเช(นเดียวกัน
แต(สกินเนอร[ใหTความสำคัญต(อการตอบสนองมากกว(าสิ่งเรTา จึงมีคนเรียกว(าเป-นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type
R นอกจากนี้สกินเนอร[ใหTความสำคัญต(อการเสริมแรง (Reinforcement) ว(ามีผลทำใหTเกิดการเรียนรูTที่คงทน
ถาวร ยิ่งขึ้นดTวย สกินเนอร[ไดTสรุปไวTว(า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู(กับผลของการกระทำ
คือ การเสริมแรง หรอื การลงโทษ ทัง้ ทางบวกและทางลบ
สกินเนอร[ไดTอธิบาย คำว(า "พฤติกรรม" ว(าประกอบดTวยองค[ประกอบ 3 ตัว คือ ว(าประกอบดTวย
องคป[ ระกอบ 3 ตวั คอื

1. Antecedents คือ เงื่อนไขนำหรือสิ่งเรTาที่กระตุTนใหTเกิดพฤติกรรม (สิ่งที่ก(อใหTเกิดขึ้นก(อน) ทุก
พฤตกิ รรมตTองมีเงื่อนไขนำ เช(น วนั นี้ตTองเขาT เรียนบา( ยโมง พฤตกิ รรมเราถกู กำหนดดวT ยเวลา

2. Behavior คือ พฤติกรรมทแ่ี สดงออก
3. Consequences หรือผลกรรม เกิดขึ้นหลังการทำพฤติกรรม เป-นตัวบอกว(าเราจะทำพฤติกรรม
นั้นอีกหรือไม( ดังนั้น ไม(มีใครที่ทำอะไรแลTวไม(หวังผลตอบแทน ซึ่งเรียกย(อๆ ว(า A-B-C ซึ่งทั้ง 3 จะดำเนินต(อเนื่อง
ไป ผลที่ไดTรับจะกลับกลายเป-นสิ่งที่ก(อใหTเกิดขึ้นก(อนอันนำไปสู(การเกิดพฤติกรรมและนำไปสู(ผลที่ไดTรับตามลำดับ
(ทีม่ า : ทฤษฎขี องนกั จิตวิทยา, 2558)
สำหรับการทดลองของสกินเนอร[ เขาไดTสรTางกล(องทดลองขึ้นซึ่ง กล(องทดลองของสกินเนอร[ (Skinner
Boxes) จะประกอบดTวยที่ใส(อาหาร คันโยก หลอดไฟ คันโยกและที่ใส(อาหารเชื่อมติดต(อกัน การทดลองเริ่มโดย
การจับหนูไปใส(กล(องทดลอง เมื่อหนูหิวจะวิ่งวนไปเรื่อย ๆ และไปเหยียบถูกคันโยก ก็จะมีอาหารตกลงมา ทำใหT
หนูเกิดการเรียนรูTว(าการเหยียบคันโยกจะไดTรับอาหารครั้งต(อไปเมื่อหนูหิวก็จะตรงไปเหยียบคันโยกทันที ซ่ึง
พฤติกรรมดงั กลา( วถือวา( หนตู วั นีเ้ กดิ การเรียนรูแT บบการลงมอื กระทำเอง
หลักการและแนวคดิ ที่สำคญั ของ สกนิ เนอร?
1. การวัดพฤติกรรมตอบสนอง สกินเนอร[ เห็นว(าการศึกษาจิตวิทยาควรจำกัดอยู(เฉพาะพฤติกรรม ท่ี
สามารถสังเกตเห็นไดTอย(างชัดเจน และพฤติกรรมที่สังเกตไดTนั้นสามารถวัดไดTโดยพิจารณาจากความถี่ของการ
ตอบสนองในชว( งเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือพิจารณาจากอัตราการ ตอบสนอง (Response rate) นั่นเอง
2. อัตราการตอบสนองและการเสริมแรง สกินเนอร[ เชื่อว(าโดยปกติการพิจารณาว(าใครเกิดการเรียนรTู
หรือไม(เพียงใดนั้นจะสรุปเอาจากการเปลี่ยนแปลงการตอบสนอง (หรือพูดกลับกันไดTว(าการที่อัตราการตอบสนอง
ไดTเปลี่ยนไปนั้น แสดงว(าเกิดการเรียนรูTขึ้นแลTว) และการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดขึ้นไดTเมื่อมีการ
เสริมแรง (Reinforcement) นั้นเอง สิ่งเรTานี้สามารถทำใหTอัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลง เราเรียกว(าตัว
เสริมแรง (Reinforcer) สิ่งเรTาใดที่ไม(มีผลต(อการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองเราเรียกว(าไม(ใช(ตัวเสริมแรง
(Nonreinforcer)
3. ประเภทของตวั เสริมแรง ตัวเสริมแรงน้นั อาจแบง( ออกไดTเป-นตัวหรือเสริมแรงบวก เสรมิ แรงลบหรอื
อาจแบง( ไดTเปน- ตัวเสริมแรงปฐมภูมิกบั ตัวเสริมแรงทตุ ยิ ภูมิ

97

3.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer)หมายถึง สิ่งเรTาชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อไดTรับ หรือ
นำเขTามาในสถานการณ[นั้นแลTวจะมีผลใหTเกิดความพึงพอใจ และทำใหTอัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปใน
ลักษณะเขTมขนT ขนึ้ เช(น อาหาร คำชมเชย ฯลฯ

3.2 ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer) หมายถึง สิ่งเรTาชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อตัดออกไป จาก
สถานการณ[นั้นแลTว จะมีผลใหTอัตราการตอบสนองเปลี่ยนไปในลักษณะเขTมขTนขึ้น เช(น เสียงดัง แสงสว(างจTา คำ
ตำหนิ รTอนหรือเย็นเกินไป ฯลฯ (ที่มา : Sampao Yiamram,2557)
การลงโทษ (Punishment)

การลงโทษ (Punishment) คือ การทำใหTอัตราการตอบสนองหรือความถี่ของพฤติกรรมลดลง
การลงโทษมี 2 ประเภท

1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment)
2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment)

ตาราง เปรยี บเทียบการเสริมแรงและการลงโทษ ไดTดงั น้ี

ชนิด ผล ตัวอยา( ง

การเสริมแรงทางบวก พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งเรTา ผูTเรียนที่ทำการบTานส(งตรงเวลาแลTว
โดยเฉพาะอย(างยิ่งเป-นสิ่งเรTาที่บุคคล ไดTรับคำชม จะทำการบTานส(งตรงเวลา
นน้ั ตTองการ สมำ่ เสมอ

การเสริมแรงทางลบ พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อสิ่งเรTาที่ไม(เป-น ผูTเรียนที่ทำรายงานส(งตามกำหนด เวลา
ที่พึงปรารถนาถูกทำใหTลดนTอยหรือ จะไม(เกิดความวิตกอีกต(อไป ดังนั้นใน

หมดไป ครั้งต(อไปเขาก็จะรีบทำ รายงานใหTเสร็จ
ตรงตามเวลา

การลงโทษ 1 พฤติกรรมลดลงเมื่อมีสิ่งเรTา เมื่อถูกเพือ่ น ๆ วา( "โง(" เพราะตง้ั คำถาม

โดยเฉพาะสิ่งที่เขาไม(พึงปรารถนา ถามผูTสอน ผูTเรียนคนนั้น เลิกตั้งคำถาม
เกิดขนึ้ ในชนั้ เรยี น

การลงโทษ 2 พฤติกรรมลดนTอยลง เมื่อนำสิ่งเรTาที่ ผูTเรียนที่ถูกหักคะแนนเพราะตอบ

เขาพึงปรารถนาออกไป ขTอสอบในลักษณะที่แตกต(างจาก ครู
สอน ในครั้งต(อไปเขาจะไม( ตอบคำถาม
ในลักษณะนัน้ อกี

98

การลงโทษ (Punishment) การเสริมแรงทางลบ และการลงโทษมีลักษณะที่คลTายคลึงกันและมักจะใชT
แทนกันอยู(เสมอแต(การอธิบายของสกินเนอร[การเสริมแรงทางลบและการลงโทษต(างกัน โดยเนTนว(าการลงโทษ
เป-นการระงบั หรอื หยุดย้ังพฤตกิ รรม

พฤติกรรม การเสริมแรง เพิม่ พฤติกรรม กอ( ใหTเกดิ การกระทำ พฤตกิ รรมนั้นบอ( ยข้ึน
พฤติกรรม การลงโทษ ลดพฤตกิ รรม กอ( ใหเT กดิ การกระทำ พฤตกิ รรมนั้นนTอยลง

ตารางที่ ตวั อยาX งการให#การเสรมิ แรง

ตารางการเสรมิ แรง ลักษณะ ตัวอยา( ง

ก า ร เ ส ร ิ ม แ ร ง ท ุ ก ค รั้ ง เป-นการเสริมแรงทุกครั้งที่ แสดง ทุกครั้งที่เป-ดโทรทัศน[แลTว เห็น

(Continuous) พฤติกรรม ภาพ

การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง ของ ใหTการเสริมแรงโดยดูจาก จำนวน การจ(ายค(าแรงตามจำนวน ครั้งท่ี

การตอบสนองที่แน(นอน (Fixed - ครั้งของการตอบสนอง ที่ถูกตTอง ขายของไดT
Ratio) ดวT ยอตั ราที่แนน( อน

การเสริมแรงตามจำนวนคร้งั ของ ใหTการเสริมแรงตามจำนวนครั้ง การไดTรับรางวัลจากเครื่อง เล(น

การตอบสนองที่ไแน( ของการตอบสนองแบบไม(แน(นอน สลอ£ ตมาชีน
นอน (Variable - Ratio)

การเสริมแรงความช(วงเวลาที่ ใหTการเสริมแรงตามช(วงเวลาท่ี ทุก ๆ สัปดาห[ผูTสอนจะทำ การ

แนน( อน (Fixed - Interval) กำหนด ทดสอบ

การเสริมแรงตามช(วงเวลาที่ ไม( ใหTการเสริมแรงตามระยะเวลา ที่ไม( ผูTสอนสุ(มทดสอบตามช(วงเวลา ท่ี
แน(นอน (Variable - Interval) แน(นอน ตTองการ

ลกั ษณะของตวั เสริมแรง (ทศิ นา แขมมณี ,2547 : 72-76)
1. Material Reinforcers คอื ตัวเสรมิ แรงที่เปน- วตั ถสุ ่งิ ของ เช(น มอื ถือ ขนม
2. Social Reinforcers เปน- สิ่งท่ที กุ คนตอT งการ เน่อื งจากมนษุ ย[เปน- สตั วส[ ังคม
2.1 Verbal เป-นคำพดู เช(น การชม (ตTองชมพฤตกิ รรมที่แสดงออก ไมใ( ชบ( ุคลกิ ภาพ)
2.2 Nonverbal ภาษากาย เช(น กอด (การกอดเป-น The Best Social Reinforcers ซึง่ ตอT ง

ใชกT บั Positive Behavior)
หมายเหตุ: ถาT Verbal ไม(สัมพนั ธก[ ับ Nonverbal คนเราจะเช่ือ Nonverbal มากกว(า
3. Activity Reinforcers เป-นการใชTกิจกรรมที่ชอบทำที่สุดมาเสริมแรงกิจกรรมที่อยากทำนTอยที่สุด

โดยตTองทำตาม Premack Principle คือ ใหTทำสิ่งที่อยากทำนTอยที่สุดก(อน แลTวจึงใหTทำกิจกรรมที่ชอบที่สุด เช(น
เด็กท่ชี อบกนิ Chocolate แต(ไมช( อบเล(น Pinball กใ็ หTเล(น Pinball กอ( นแลวT จงึ ใหTกนิ Chocolate

99

หมายเหตุ: ถTาสิ่งใดเป-นของตาย คือจะทำหรือไม(ทำก็ไดTสิ่งนั้นอยู(แลTว สิ่งนั้นจะเป-นตัวเสริมแรงไม(ไดT
อกี ตอ( ไป

4. Token Economy จะเป-นตัวเสริมแรงไดTเฉพาะเมื่อแลกเป-น Backup Reinforcers ไดT เช(น เงิน
ธนบัตรก็เป-นแค(กระดาษใบหนึ่ง แต(ว(ามันใชTชำระหนี้ไดTตามกฎหมาย ดังนั้น ถTามันใชTชำระหนี้ไม(ไดTก็เป-นแค(
กระดาษใบหนงึ่ เงินมีอทิ ธพิ ลสงู สุด

5. Positive Feedback หรือการใหTขTอมูลปžอนกลับทางบวก จับเฉพาะจุดบวก มองเฉพาะส(วนที่ดี เช(น
บอกเด็กว(า หนทู ำงานสว( นนไ้ี ดดT มี าก แตส( (วนท่เี หลือเอากลับไปแกTนะ

6. Intrinsic Reinforcers หรอื ตวั เสริมแรงภายใน เชน( การชน่ื ชมตัวเอง ไม(ตTองใหมT ใี ครมาชม
ป:จจัยท่ีมีผลตXอการเสริมแรง

1. Timing การเสรมิ แรงตอT งทำทันที เช(น แฟนตัดผมมาใหมต( อT งชมทันที ถาT ชาT จะถูกตำหนิ
2. Magnitude & Appeal การเสริมแรงตTองตอบสนองความตTองการอย(างพอเหมาะ อย(ามากไปหรือ
นอT ยไป
3. Consistency การเสริมแรงตTองใหTสม่ำเสมอ เพราะจะไดTรูTว(าทำแลTวตTองไดTรับการเสริมแรงอย(าง
แน(นอน (ท่ีมา : บTานจอมยุทธ,2543)
ทฤษฎกี ารเรียนรกู# ารวางเง่ือนไขแบบการกระทำ สามารถสรปุ ไดด# งั น้ี
1. การกระทำใดๆ ถTาไดTรับการเสริมแรงจะมีแนวโนTมเกิดขึ้นอีก ส(วนการกระทำที่ไม(มีการเสริมแรง
แนวโนTมท่คี วามถี่ของการกระทำน้นั จะลดลง และหายไปในทส่ี ุด
2. การเสรมิ แรงที่แปรเปลยี่ นทำใหเT กิดการตอบสนองกว(า การเสริมแรงที่ตายตวั
3. การลงโทษทำใหTเรยี นรTูไดเT ร็วและลืมเรว็
4. การใหTแรงเสริมหรือใหTรางวัลเมื่อมีการแสดงพฤติกรรมที่ตTองการ สามารถช(วยปรับหรือปลูกฝYงนิวัยที่
ตอT งการไดT
การนำทฤษฎไี ปประยกุ ต?ใช#
1. ใชTในการปลูกฝYงพฤติกรรม (Shaping Behavior) หลักสำคัญของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการ
กระทำของสกินเนอร[ คือ เราสามารถควบคุมการตอบสนองไดTดTวยวิธีการเสริมแรง กล(าวคือ เราจะใหTการ
เสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนองที่ตTองการ เพื่อใหTกลายเป-นนิสัยติดตัวต(อไป อาจนำไปใชTในการปลูกฝYง
บุคลิกภาพของบุคคลใหTมพี ฤตกิ รรมตามแบบที่ตTองการไดT (พรรณี ช.เจนจติ ., 2545.)
สรุปแนวคดิ ทีส่ ำคัญของ สกนิ เนอร? Skinner
สกินเนอร[ ไดTกล(าวไวTว(า การเสริมแรงเป-นสิ่งที่สำคัญที่ทำใหTบุคลแสดงพฤติกรรมซ้ำ และพฤติกรรมของ
บุคคลส(วนใหญ(เป-นพฤติกรรมแบบเรียนรูTปฏิบัติและพยายามเนTนว(า การตอบสนองต(อสิ่งเรTาใดๆของบุคคล สิ่งเรTา
นนั้ จะตTองมีสงิ่ เสริมแรงอยใู( นตวั หากลดส่งิ เสรมิ แรงลงเมือ่ ใด การตอบสนองจะลดลงเมือ่ น้นั

100

ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนE ไดคE

ประวตั ิของ เอด็ เวิรด? แอล ธอร?นไดค?
เขTาเริ่มการทดลองเมื่อป‹ ค.ศ. 1898 เกี่ยวกับการใชTหีบกลทดลองการเรียนรูTจนมีชื่อเสียง หลังจากนั้นใน

ป‹ ค.ศ.189เขาไดTสอนอยูTวิทยาลัยครู ในมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University) ซึ่ง ณ ที่นั้นเขาไดTศึกษา
เก่ยี วกบั การเรียนรTู กระบวนการต(างๆ ในการเรียนรูT และธรรมชาตขิ องภาษาอังกฤษทัง้ ของมนษุ ยแ[ ละสตั ว[ ธอรน[
ไดค[ เชื่อวา( การเรียนรเTู บือ้ งตTนของส่งิ มีชวี ติ ไมว( า( มนษุ ยห[ รอื สตั ว[ จะใชวT ิธีการเรียนรTแู บบลองผิดลองถกู

การเรียนรูTจะเกิดขึ้นไดTดTวยการที่มนุษย[หรือสัตว[ไดTเลือกวิธีการตอบสนองที่ดีที่สุด เพื่อการเชื่อมโยงกับส่ิง
เรTาใหเT หมาะสมจึงเรียกทฤษฎีของธอรน[ ไดคว[ (า ทฤษฎสี มั พนั ธเ[ ชอื่ มโยง
ทฤษฎีการเรยี นร#ูการเชอื่ มโยงของธอร?นไดค?

เป-นการเชื่อมโยงระหว(างสิ่งเรTากับการตอบสนองของผูTเรียนในแต(ละขั้นตอนอย(างต(อเนื่อง โดยอาสัยกฎ
แหง( การเรียนรTู 4 กฎ ดTวยกัน ดงั ต(อไปน้ี
กฎแหงX ความพร#อม (Law of Readiness)

กฎขTอนี้ไดTกล(าวถึงสภาพความพรTอมของผูTเรียนทั้งทางดTานร(างกายและจิตใจ ถTาร(างกายเกิดความพรTอม
แลTวดTานกระทำย(อมเกิดความพึงพอใจ แต(ถTาไม(พรTอมที่จะทำแลTวหรือถูกบังคับใหTกระทำ จะทำใหTเกิดความไม(พึง
พอใจ
กฎแหXงการฝŸกหัด (Law of Exercisa)

กฎขTอนี้ไดTกล(าวถึงความมั่นคงของการเชื่อมโยงระหว(างสิ่งเรTากับการตอบสนองที่ถูกตTองโดยการฝ¡กหัด
กระทำซ้ำ ๆ บ(อย ๆ ยอ( มทำใหเT กดิ การเรยี นรูไT ดนT านและคงทนถาวร
กฎแหXงการใช#

ความมน่ั คงของการเรียนรูT เช(น ถTาไม(ใชแT ลTวนานๆใชTที กจ็ ะเกดิ การจำไมไ( ดT
กฎแหงX ผลทีพ่ อใจ (Law of Effect)

กฎขTอนี้ไดTกล(าวถึงผลที่ไดTรับเมื่อแสดงพฤติกรรมการเรียนรูTแลTวว(า ถTาไดTรับผลที่พึงพอใจย(อมอยากจะ
เรยี นรูTอกี ต(อไป ถาT ไดรT ับผลทไ่ี มพ( งึ พอใจยอ( มไมอ( ยากจะเรยี นรูTหรือเกดิ ความเบ่อื หน(าย
การทดลองของธอรน? ไดค?

101
การสรTางกรงไมTที่มีประตูกล พื้นกรงมีแผ(นไมTแลTวมีเชือก”ยงไปถึงประตู ถTากดแผ(นไมTเมื่อไร ประตูกลจะ
เป-ดออกทันที
ขัน้ ตอนในการทดลอง
ธอร[นไดค[ไดTจับแมวที่หิวตัวหนึ่งนำมาใส(ไวTในกรง โดยขTางนอกกรงจะมีปลาวางล(อไวTในระยะที่แมว
มองเห็นไดT แต(ไมส( ามารถแตไ( มส( ามารถใชเT ทาT เขีย่ ถงึ
สรปุ การแสดงพฤติกรรมของแมวจากการทดลอง

แมวอยXใู นกรง S1
R1 แมวว่งิ ไปรอบกรงไมT
R2 แมวส(งเสียงรอT ง
R3 แมวตระกุยขาT งกรง
R4 แมวผลกั ประตู และประตูก็เปด- ออก
S คือ ความสมั พนั ธเ[ ชอ่ื มโยงระหว(างส่ิงเรTา
R คือ การตอบสนอง

จากการทดลองของธอรน? ไดค? ไดส# รุปกฎการเรยี นร#สู ำคญั 3 กฎ ดังน้ี
กฎความพึงพอใจ หรือกฎแห(งผล (Law of Effect)
กฎหง( ความพรอT ม (Law of Readiness)
กฎของการใชT
กฎแหง( การฝก¡ หดั (Law of Exercise)

แนวคิดทฤษฎีความตXอเนื่องขอ ธอร?นไดค? สามารถนำมาประยุกต?ใช#ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เพอ่ื ให#ผเู# รียนเกิดการเรียนร#ูได# ดงั น้ี

การจัดส่งิ เราT ทจี่ ะกระตุTนใหผT ูเT รียนเกิดการตอบสนอง
จัดหาอปุ กรณท[ น่ี (าสนใจเหมาะแก(การเรียนรูT
ใหTผTูเรียนไดTนำสิ่งทีท่ ดลองแลวT นั้นนำมาใชTอย(างแทTจริง การฝก¡ ฝน (ที่มา : ประสาท อศิ รปรดี า, 2538)

102

แนวคิดทฤษฎีความต(อเนื่องขอ ธอร[นไดค[ สามารถนำมาประยุกต[ใชTในการจัดการสอนที่เนTนผูTเรียนเป-นสำคัญ
(ทม่ี า : ชัยวัฒน[ สทุ ธริ ัตน[., 2552.) ดังนี้

1.การเป-ดโอกาสใหTผูTเรียนไดTลองผิดลองถูกดTวยตนเองบาง จะเป-นการช(วยใหTผูTเรียนเกิดการเรียนรูTในการ
แกTไขปYญหา โดยสามารถจดจำผลจากการเรียนรTไู ดTดี รวมท้งั เกิดความภาคภมู ิใจในการทำสิง่ ต(าง ๆ ดวT ยตนเอง
2. การสำรวจความพรTอมหรือการสรTางความพรTอมทางการเรียนใหTแก(ผูTเรียนเป-นสิ่งจำเป-นที่ตTอง

ดำเนินการก(อนการเรียนเสมอ
3. หากตTองการใหTผูTเรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแลTว ตTองใหTผูTเรียนมีความรูTและความเขTาใจในเรื่องนั้น ๆ
อยา( งถอ( งแทT และใหผT ูTเรียนฝ¡กฝนอยา( งตอ( เน่ืองและสมำ่ เสมอ

4. เมอื่ ผูเT รยี นเกดิ การเรียนรแูT ลTว ควรใหผT ูเT รยี นฝก¡ นำการเรยี นรูTน้นั ไปใชT
5. การใหTผูเT รียนไดTรบั ผลท่ีนา( พึงพอใจ จะช(วยใหTการเรยี นการสอนประสบความสำเรจ็
สรุป

ใหผT ูTเรียนไดนT ำสิง่ ทล่ี องผิดลองถูกนัน้ นำมาใชหT รือแกTไขปญY หาดวT ยตัวเอง
ทฤษฎีการเรียนรูTแบบลองผิดลองถูกของธอร[นไดค[เป-นการเชื่อมโยงความสัมพันธ[ระหว(างสิ่งเรTากับ
พฤติกรรมทต่ี อบสนองในการแกไT ขปญY หส โดย ธอรน[ ไดคไ[ ดสT ราT งกฎ ขึน้ มา 3 ขอT ดTวยกนั ดังน้ี

1. กฎแหง( ผล 2. กฎแหง( การฝก¡ หัด
3. กฎแห(งการนำเอาไปใชT 4. กฎแห(งความพรTอม

ทฤษฏีการเรียนรู`กลุ*มพทุ ธิปญ6 ญานิยม

กลุ(มพุทธนิยมหรือกลุ(มความรูTความเขTาใจหรือกลุ(มที่เนTนกระบวนการทางปYญญาหรือความคิด นักคิด
กลุ(มนี้เริ่มขยายขอบเขตของความคิดที่เนTนทางดTานพฤติกรรมออกไปสู(กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป-น
กระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ(มนี้เชื่อว(าการเรียนรูTของมนุษย[ไม(ใช(เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจาก
กระบวนการตอบสนองต(อสิ่งเรTาเพียงเท(านั้น การเรียนรูTของมนุษย[มีความซับซTอนยิ่งไปกว(านั้น การเรียนรูTเป-น
กระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการสะสมขTอมูล การสรTางความหมาย และความสัมพันธ[ของขTอมูลและการดึง
ขTอมูลออกมาใชTในการกระทำและการแกTปYญหาต(างๆ การเรียนรูTเป-นกระบวนการทางสติปYญญาของมนุษย[ในการ
ที่จะสรTางความรูT ความเขTาใจใหTแก(ตนเองทฤษฎีในกลุ(มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฎี (ที่มา : กันยา สุวรรณแสง,2532)
คอื

1. ทฤษฎีเกสตัลท[ (Gestalt Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญของทฤษฎีนี้ คือ แมกซ[ เวอร[ไทเมอร[
(Max Wertheimer) วุล[แกงค[ โคห[เลอร[ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟÂกา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน
(Kurt Lewin)

2. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญ คือ เคริ์ท เลวิน ซึ่งไดTแยกตัวจากกลุ(มทฤษฎี
เกสตลั ท[ ในระยะหลัง

103

3.ทฤษฎีเครอื่ งหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
4.ทฤษฎกี ารเรยี นรทTู างสตปิ ญY ญา (Inlellectual Development Theory) นกั จติ วทิ ยาคนสำคญั คือ
เพยี เจต[ (Piaget) และบรนุ เนอร[ (Bruner)
5.ทฤษฎีการเรียนรูTอย(างมีความหมาย ( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล
(Ausubel)

ทฤษฏีการเรยี นรู`ของ กลม*ุ เกสตัลทE (Gestalt Theory)

กลุ(มเกสตัลท[นี้ เริ่มก(อตั้งในประเทศเยอรมันนี ราวป‹ ค.ศ. 1912 ในระยะใกลTเคียงกับกลุ(มพฤติกรรมนิยม
กำลังแพร(หลาย ไดTรับความนิยมอยู(ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผูTนำของกลุ(มคือ แมกซ[ เวอร[ไทม[เมอร[, วุล[ฟ
แกงค[ โคห[เลอร,[ เคิร[ท คอฟฟÂกา, และ เคิร[ท เลวิน ซึ่งต(อมาภายหลัง เลอวิน ไดTนำเอาทฤษฎีของกลุ(มเกสตัลท[ นี้
มาปรับปรงุ ดัดแปลงเป-นทฤษฎใี หม( คือทฤษฎสี นาม

แนวความคิดของนักจิตวิทยากลุ(มนี้คือ การพิจารณาพฤติกรรมหรือประสบการณ[ของคนเป-นส(วนรวม ซึ่ง
ส(วนรวมนั้นมีค(ามากกว(าผลบวกของส(วนย(อย ต(าง ๆ มารวมกัน เช(นคนนั้นมีค(ามากกว(าผลบวกของส(วนย(อย
ต(างๆ มารวมตัวกันเป-นคนไดTแก( แขน ขา ลำตัว สมอง ฯลฯ จิตวิทยากลุ(มเกสตัลท[นิยม จึงหมายถึงจิตวิทยาท่ี
ยึดถือเอาส(วนรวมทั้งหมดเป-นสำคัญ นักจิตวิทยากลุ(มนี้ยังมีความเห็นอีกว(า การศึกษาทางจิตวิทยานั้นจะตTอง
ศึกษาพฤติกรรมทางจิตเป-นส(วนรวมจะแยกศึกษาที่ละส(วนไม(ไดT กลุ(ม GESTALISM เห็นว(าวิธีการ
ของ BEHAVIORISM ที่พยายามจะแยกพฤติกรรมออกมาเป-นหน(วยย(อย เช(น เป-นสิ่งเรTาและการตอบสนองน้ัน
เป-นวิธีการไม(ใช(เรื่องของจิตวิทยา น(าจะเป-นเรื่องของเคมีหรือศาสตร[บริสุทธิ์แขนงอื่นๆ ดังน้ัน
กลุ(ม GESTALISM จึงไม(พยายามแยกพฤติกรรมออกเป-นส(วนๆ แลTวศึกษารายละเอียดของแต(ละส(วนเหมือน
กลุ(มอื่นๆ แต(ตรงกันขTามจะพิจารณาพฤติกรรมหรือการกระทำของมนุษย[ทุกๆ อย(างเป-นส(วนรวม เนTนในเรื่อง
ส(วนรวม (WHOLE) มากกวา( สว( นยอ( ย เพง( เลง็ ถงึ ส(วนท้งั หมดในลกั ษณะทีเ่ ปน- อนั หนึ่งอนั เดียวกนั (UNIQUE)

แมกซ[ เวไธเมอร[ (Max Wertheimer,1912) นักจติ วทิ ยาชาวเยอรมันศกึ ษาและทดลอง เก่ียวกับเกสตัสท[
(Gestalt) มีแนวความคิดเชื่อว(า ธรรมชาติของมนุษย[คิดถึงส(วนรวมก(อนคิดถึงส(วนย(อย ๆ พฤติกรรมของบุคคล
จะตTองเป-นรูปของส(วนรวมมากกว(าส(วนย(อย ๆการศึกษาบุคคล จะตTองศึกษาพฤติกรรมส(วนรวมมีความสำคัญ
มากกว(าพฤติกรรมส(วนย(อยๆแต(ละอย(างที่ประกอบเขTารวมกันนอกจากนั้นการศึกษาจิตตTองศึกษาจิตเป-นส(วนรวม
กันนอกจากน้ันการศึกษาจิตตTองศึกษาจติ เป-นส(วนรวม มใิ ช( ยกจิตแบ(งออกเปน- ส(วนประกอบย(อย

เกสตัลท[เป-นคำศัพท[ในภาษาเยอรมัน มีความหมายว(า แบบ แผน หรือ รูปร(าง (form or pattern) ซ่ึง
ต(อมาในความหมายของทฤษฎีนี้ หมายถึง ส(วนรวม หรือ ส(วน ประกอบทั้งหมด สาเหตุที่เรียกเช(นนี้เพราะ
ความคิดหลักของกลุ(มนี้เชื่อว(า การเรียนรูTที่ดีย(อมเกิดจากการจัดสิ่งเรTาต(างๆ มารวมกัน ใหTเกิดการรับรูTโดย
ส(วนรวมก(อนและจึงแยกวิเคราะห[เพื่อเรียนรูT ส(วนย(อยทีละส(วนต(อไป ถTามนุษย[หรือสัตว[มองภาพพจน[ของสิ่งเรTา
ไม(เห็นโดย สว( นรวมแลTว จะไมเ( ขTาใจหรอื เรยี นรTูไดTอยา( งแทจT รงิ

104

กฎการเรยี นรข#ู องกลXุมเกสตลั ท? สรุปไดด# ังน้ี
1. การเรียนรูTเป-นกระบวนการทางความคดิ ซึ่งเป-นกระบวนการภายในตวั ของมนษุ ย[
2. บคุ คลจะเรียนรูTจากส่ิงเรTาท่เี ป-นสว( นรวมไดTดกี วา( สว( นย(อย
3. การเรียนรTูเกดิ ข้นึ ไดT 2 ลกั ษณะคือ
3.1) การรับรูT (perception) การรับรูTเป-นกระบวนการที่บุคคลใชTประสาทสัมผัสรับสิ่งเรTาแลTว

ถ(ายโยงเขTา สู(สมองเพื่อผ(านเขTาสู(กระบวนการคิด สมองหรือจิตจะใชTประสบการณ[เดิมตีความหมายของสิ่งเรTาและ
แสดงปฏิกิริยาตอบ สนองออกไปตามท่สี มอง / จติ ตีความหมาย

3.2) การหยั่งเห็น (Insight) เป-น การคTนพบหรือเกิดความเขTาใจในช(องทางแกTปYญหาอย(าง
ฉับพลันทันที อันเนื่องมาจากผลการพิจารณาปYญหาโดยส(วนรวม และการใชTกระบวนการทางความคิดและ
สติปญY ญาของบคุ คลนน้ั

4. กฎการจดั ระเบียบการรับรขูT องเกสตัลท[มีดังนี้
4.1 กฎการรับรูTส(วนรวมและส(วนย(อย (Law of Pragnanz) ประสบการณ[ เดิมมีอิทธิพลต(อ

การรับรูTของบุคคล การรับรูTของบุคคลต(อสิ่งเรTาเดียวกันอาจแตกต(างกันไดTเพราะการใชT ประสบการณ[เดิมมารับรTู
ส(วนรวมและส(วนยอ( ยต(างกนั

4.2 กฎแห(งความคลTายคลงึ (Law of Similarity) กฎน้ีเป-นกฎที่ Max Wertheimer
ต้งั ขึน้ ในป‹ ค.ศ. 1923 โดยใชTเป-นหลักการในการวางรปู กลุม( ของการรับรTู เช(น กล(ุมของ เสนT หรอื สี ทค่ี ลTายคลงึ กนั
หมายถึงสงิ่ เราT ใด ๆ ก็ตาม ที่มรี ูปร(าง ขนาด หรือสี ที่คลTายกนั คนเราจะรับรวTู า( เป-นสิ่งเดยี วกนั หรือพวกเดยี วกัน

4.3 กฎแห(งความใกลTเคียง (Law of Proximity) สาระสำคัญของกฎนี้ มีอยู(ว(า ถTาสิ่งใด หรือ
สถานการณ[ใดที่เกิดขึ้นในเวลาต(อเนื่องกัน หรือในเวลาเดียวกัน อินทรีย[จะเรียนรูT ว(า เป-นเหตุ และผลกัน หรือ สิ่ง
เราT ใดๆ ทอี่ ย(ูใกลชT ดิ กนั มนษุ ย[มแี นวโนมT ที่จะรบั รTู ส่ิงต(างๆ ทีอ่ ย(ใู กลTชิดกนั เปน- พวกเดยี วกนั หมวดหมู(เดียวกนั

105
4.4 กฎแห(งความสมบูรณ[ (Law of Closure) แมTสิ่งเรTาที่บุคคลรับรูTจะยังไม(สมบูรณ[ แต(บุคคล
สามารถรบั รTใู นลักษณะสมบรู ณไ[ ดถT าT บุคคลมีประสบการณ[เดมิ ในสงิ่ เรTา นัน้

4.5 กฎแห(งความต(อเนื่อง สิ่งเรTาที่มีความต(อเนื่องกัน หรือมีทิศทางไปในแนวเดียวกัน บุคคลมัก
รบั รTเู ป-นพวกเดียวกนั หรอื เรื่องเดียวกัน หรอื เปน- เหตผุ ลเดยี วกัน

4.6 บุคคลมักมีความคงที่ในความหมายของสิ่งที่รับรูTตามความเป-นจริง กล(าวคือ เมื่อบุคคลรับรูTสิ่ง
เรTาในภาพรวมแลTวจะมีความคงที่ในการรับรูTสิ่งนั้นใน ลักษณะเป-นภาพรวมดังกล(าว ถึงแมTว(าสิ่งเรTานั้นจะเปลี่ยน
แปรไปเมอ่ื รบั รTูในแง(มมุ อืน่

4.7 การรับรูTของบุคคลอาจผิดพลาดบิดเบือนไปจากความเป-นจริงไดT เนื่องมาจากการจัดกลุ(ม
ลกั ษณะสงิ่ เราT ที่ทำใหเT กิดการลวงตา

5. การเรียนรูTแบบหยั่งเห็น (Insight) โคห[เลอร[ ไดTสังเกตการเรียนรูTของลิงในการทดลอง ลิงพยายามที่จะ
เอากลTวยที่ซึ่งแขวนอยู(สูงเกินกว(าจะเอื้อมถึง ในที่สุดลิงก็เกิดความคิดที่จะเอาไม(ไปสอยกลTวยที่แขวนเอามากินไดT
สรุปไดTว(าลิงมีการเรียนรูTแบบหยั่งเห็น การหยั่งเห็นเป-นการคTนพบหรือเกิดความเขTาใจในช(องทางแกTปYญหาอย(าง
ฉับพลัน ทันที อันเนื่องมาจากผลการพิจารณาปYญหาโดยส(วนรวม และการใชTกระบวนการทางความคิดและ
สติปYญญาของบุคคลนั้นในการเชื่อมโยง ประสบการณ[เดิมกับปYญหาหรือสถานการณ[ที่เผชิญ ดังนั้นปYจจัยสำคัญ

106

ของการเรียนรูTแบบหยั่งเห็นก็คือประสบการณ[ หากมีประสบการณ[สะสมไวTมาก การเรียนรูTแบบหยั่งเห็นก็จะ
เกิดขนึ้ ไดมT าก เช(นกัน
Wolfgang Kohler (1886 - 1941) นักจิตวิทยาชาวเยอรมันไดTทำการตรวจสอบการเรียนรูTการแกTปYญหาของลิงซิ
มแปนซีโดยการนำลิงใส(ไวTในกรงที่มีกล(องไมT 2 กล(องวางอยู(บนพื้นกรงและมีกลTวยผูกดTวยเชือกแขวนอยู(ดTานบน
ของกรงในระยะที่ลิงไม(อาจเอื้อมถึงไดT เมื่อลิงเขTาไปอยู(ในกรงแลTวลิงพยายามทำอยู(หลายวิธีการ เช(น กระโดด ป‹น
กรง ยืนบนกล(องไมTกล(องเดียวแลTวเอื้อมมือเพื่อจะเอากลTวยมากินใหTไดTแต(ก็ไม(สำเร็จและใน ที่สุดลิงก็หยุดมอง
กล(องไมT 2 กล(อง มองกลTวยแลTวก็เอากล(อง 2 กล(องมาวางซTอนกันแลTวป‹นขึ้นไปบนกล(องไมTเอื้อมมือไปหยิบกลTวย
มากินไดT
จากการทดลองของโคเลอร[นี้เขาอธิบายวา(

1. การเรียนรูTโดยการแกTปYญหาต(างๆ นั้นไม(ใช(เป-นไปอย(างไม(มีแบบแผนหรือเป-นการบังเอิญจากการลอง
ผิดลองถูก แต(การแกTปYญหาที่แทTจริงเกิดจากการใชTการหยั่งเห็นความสัมพันธ[กันของสิ่งต(างๆมากกว(า โดยในการ
ทดลองนี้ลิงสามารถแกTปYญหาไดTดTวยการมองเห็นความสัมพันธ[ของกล(องไมT 2 กล(องและกลTวยจนสามารถนำกล(อง
มาต(อกนั เพ่อื เอากลวT ยมากนิ

2. การหยั่งเห็น (Insight) คือ การที่อินทรีย[มองเห็นความสัมพันธ[ของสิ่งต(าง ๆ ที่มีอยู( และมองเห็น
ช(องทางในการแกTปYญหาอย(างชัดเจนไดTอย(างทันทีทันใดแลTวก(อนที่จะลงมือกระทำ ดังนั้นการนำกล(องมาซTอนกัน
เพอ่ื ป‹นไปเอากลTวยของลงิ จงึ เป-นพฤตกิ รรมท่สี ามารถทำไดTอยา( งรวดเร็วหลังจากลิงนั่งคดิ แกปT ญY หาไดTแลวT

3. จากการที่ลิงคิดแกTปYญหาไดTโดยการรับรูTสิ่งเรTาที่มีอยู(ทั้งหมด แลTวนำมาหาความสัมพันธ[กัน แสดงใหT
เห็นว(าการพิจารณาสิ่งเรTาเป-นส(วนรวมนั้นจะช(วยนำไปสู(การหยั่งเห็น การรับรูTสิ่งเรTาต(างๆของอินทรีย[ จึงเป-นไปใน
ลักษณะส(วนรวมมากกว(าการรับรูTเป-นส(วนย(อย และจากการทำการทดลองลักษณะนี้ซ้ำอีก โดยลิงซิมแปนซี ตัว
อื่นๆ พบว(า บางตัวไม(สามารถแกTปYญหาอย(างท่ีลิงของโคเลอร[ทำไดT จึงอาจสรุปไดTว(า ปYจจัยที่ทำใหTเกิดการ
Insight นั้นมีมากกว(าสิ่งที่มองเห็น ปYจจัยที่ไดTรับการกล(าวถึงกันมากคือ ประสบการณ[เดิมและความสามารถทาง
สมองของลิงแต(ละตัวที่มีแตกต(างกัน (Feldman ,1992:203) และจากการติดตามผลต(อเนื่องยังพบว(า ลิงสามารถ
นำวิธีการแกTปYญหาที่ประสบความสำเร็จแลTวในครั้งนี้ไปดัดแปลงใชTในการแกTปYญหาในสถานการณ[ใหม(ที่คลTายคลึง
กนั ไดอT กี ดวT ย
หลักการจัดการศกึ ษา / การสอน ตามแนวคิดจากกลXมุ เกสตัลท?

1. กระบวน การคิดเป-นกระบวนการสำคัญในการเรียนรูT การส(งเสริมกระบวนการคิดจึงเป-นสิ่งจำเป-น
และเป-นส่ิงสำคญั ในการช(วยใหผT Tู เรยี นเกดิ การเรยี นรTู

2. การสอนโดยการเสนอภาพรวมใหTผูTเรียนเห็นและเขTาใจก(อนการเสนอส(วนย(อย จะช(วยใหTผูTเรียนเกิด
การเรียนรTูไดดT ี

3. การส(งเสริมใหTผูTเรียนมีประสบการณ[มาก ไดTรับประสบการณ[ที่หลากหลายจะช(วยใหTผูTเรียนสามารถคิด
แกTปYญหาและคดิ รเิ รม่ิ ไดมT ากขึน้

4. การจัดประสบการณ[ใหม( ใหTมีความสัมพันธ[กับประสบการณ[เดิมของผูTเรียนจะช(วยใหTผูTเรียนสามารถ
เรยี นรไูT ดงT (ายข้ึน

107

5. การจัดระเบียบสิ่งเรTาที่ตTองการใหTผูTเรียนเกิดการเรียนรูTใหTดีคือ การจัดกลุ(มสิ่งเรTาที่เหมือนกันหรือ
คลTายคลงึ กนั ไวเT ป-นกลุ(มเดยี วกัน

6. ในการสอนครูไม(จำเป-นตTองเสียเวลาเสนอการสอนทั้งหมดที่สมบูรณ[ครูสามารถเสนอ เนื้อหาแต(เพียง
บางส(วนไดT หากผูTเรียนสามารถใชปT ระสบการณ[เดิมมาเตมิ ใหTสมบรู ณ[

7. การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดใหTมีความต(อเนื่องกันจะช(วยใหTผูTเรียน เกิดการเรียนรูTไดTดี และ
รวดเร็ว

8. การส(งเสริมใหTผูTเรียนไดTรับประสบการณ[ที่หลากหลาย จะช(วยใหTนักเรียนเกิดการเรียนรูTแบบหยั่งเห็น
ไดมT ากขึน้ (ทม่ี า : นันทวัฒน[ บญุ ไธสง, 2543)

ทฤษฎสี นาม (Field Theory)

ทฤษฎสี นามของเลอวิน (Lewin’s Field Theory) Kurt Lewin นักจติ วิทยาชาวเยอรมัน (1890
– 1947) มีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูTเช(นเดียวกับกลุ(มเกสตัลท[ ที่ว(าการเรียนรูT เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการ
รับรูT และกระบวนการคิดเพื่อการแกTไขปYญหาแต(เขาไดTนำเอาหลักการทางวิทยาศาสตร[มาร(วมอธิบายพฤติกรรม
มนุษย[ เขาเชื่อว(าพฤติกรรมมนุษย[แสดงออกมาอย(างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู(ในความ
สนใจและตTองการจะมีพลงั เปน- บวก ซึง่ เขาเรยี กวา( Life space สิ่งใดท่ีอย(ูนอกเหนือความสนใจจะมีพลงั เปน- ลบ

Kurt Lewin กำหนดวา( สิ่งแวดลTอมรอบตัวมนุษย[ จะมี 2 ชนิด คอื
1. ส่งิ แวดลอT มทางกายภาพ (Physical environment)
2. สิ่งแวดลTอมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เป-นโลกแห(งการรับรูTตามประสบการณ[ของแต(ละ
บุคคลซึง่ อาจจะเหมอื นหรือแตกต(างกับสภาพทส่ี งั เกตเหน็ โลก หมายถงึ Life space นัน่ เอง
Life space ของบุคคลเป-นสิ่งเฉพาะตัว ความสำคัญที่มีต(อการจัดการเรียนการสอน คือ ครูตTองหาวิธีทำใหTตัวครู
เขTาไปอยูใ( น Life space ของผเูT รยี นใหไT ดT

ทฤษฎีการเรยี นรข#ู องทฤษฎีสนาม สามารถสรุปได#ดงั น้ี
1. พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทาง สิ่งใดที่อยู(ในความสนใจและความตTองการของตน จะมีพลังเป-น +

สิ่งที่นอกเหนือจากความสนใจจะมีพลังงานเป-น – ในขณะใดขณะหนึ่งทุกคนจะมี โลก หรือ อวกาศชีวิต (life
space) ของตน ซึ่งจะประกอบไปดTวยสิ่งแวดลTอมทางกายภาพ (physical environment) อันไดTแก( คน สัตว[
สิง่ ของ สถานที่ สิ่งแวดลTอมอ่นื ๆ และส่ิงแวดลTอมทางจิตวทิ ยา
Kurt Lewin เสนอ แนวคิดทฤษฎีสนามว(า หมายถึง ความสามารถที่จะวิเคราะห[แรงต(าง ๆ ที่มีอยู(ในสภาวะการท่ี
ตTองการจะเปลี่ยนแปลง เป-นความพยายามที่จะใหTกลุ(มเกิดการเปลี่ยน โดยแรงต(าง ๆ มีอิทธิพลต(อกันและกันจาก
แนวความคิดของ Lewin เชื่อว(า พฤติกรรมเป-นผลของแรง 2 ประเภท ซึ่งมีบทบาทตรงขTางกัน คือ แรงตTาน และ
แรงเสริมใหTเกิดการเปลี่ยนแปลง การนำทฤษฎีสนามไปประยุกต[ใชTอย(างถูกตTองจะช(วยใหTเขTาใจพฤติกรรมมากข้ึน
การจะทำใหTเกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมอยา( งมปี ระสทิ ธิภาพนนั้ ใชT 3 กลวิธี ดงั น้ี

108

1. เพิ่มขนาดของแรงเสริม
2. ลดขนาดของแรงตTาน
3. เพิ่มขนาดของแรงเสรมิ ขณะเดยี วกันกล็ ดขนาดของแรงตTาน
Kurt Lewin ไดT เสนอแนวทางเพ่อื ดำเนินการเปลยี่ นแปลงโดยมีขัน้ ตอนดังนี้
1. ละลายพฤติกรรมเดมิ
2. การวเิ คราะห[ปญY หา
3. การตัง้ เปาž หมาย
4. การมีพฤติกรรมใหม(
5. การทำใหTพฤติกรรมใหมน( นั้ คงอย(ู
การประยกุ ต?ใช# ในการจดั การเรยี นการสอน

สามารถประยุกต[ใชTในการจัดการเรียนการสอน ตามความเชื่อของนักจิตวิทยาตามทฤษฎีกลุ(มนี้ มี
ความเชื่อว(า มนุษย[มีความแตกต(างกัน ทั้งในดTานความรูTสึกนึกคิด อารมณ[ความสนใจและความถนัด ใน
แต(ละคน ดังนั้นในการเรียนรูTก็ตTองมีกระบวนการและขั้นตอนที่แตกต(างกัน ครูผูTสอนไม(จำเป-นตTองเสนอเนื้อหา
ทั้งหมดสามารถเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ[ควรเสนอบางส(วน ผูTเรียนสามารถใชTประสบการณ[เดิมมาเติมใหT
สมบูรณ[ การเสนอเนื้อหาของครูผูTสอน ควรมีความต(อเนื่อง ซึ่งจะช(วยใหTผูTเรียนเกิดการเรียนรูTไดTดีและรวดเร็ว
การส(งเสริมใหTผูTเรียนไดTรับประสบการณ[ที่หลากหลายช(วยใหTผูTเรียนเกิดการเรียนรูTไดTมากขึ้น การเสนอความคิด
รวบยอดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก(ผูTเรียนก(อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นจะช(วยใหTผูTเรียนรูTไดTเรียนเนื้อหาสาระนั้นอย(าง
มคี วามหมาย
การนำทฤษฎีปYญญานิยมมาประยุกต[ใชTในการสรTางโปรแกรมคอมพิวเตอร[ไดTแก( การใชTเทคนิคการสรTางความ
สนใจแก(ผูTเรียนก(อนเริ่มเรียน คำนึงถึงความแตกต(างของผูTเรียนในแง(ของการเลือกเนื้อหาการเรียน กิจกรรมการ
เรียน การควบคุมดวT ยตนเองก(อน-หลงั (ทมี่ า : ชยั วฒั น[ สุทธริ ตั น[., 2552.)

ทฤษฎีเครอ่ื งหมาย (Sign Theory)
เอ็ดเวิร[ด ซี. ทอลแมน (Edward C. Taolman) เป-นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ไดTเสนอถึงทฤษฎี

เครื่องหมาย หรือ ทฤษฎีความคาดหมาย (Expectancy Theory) ซึ่งปรับปรุงมาจากทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมสู(
จุดหมาย (Purposive behaviorism) โดย ทอลแมน กล(าวว(า “การเรียนรูTเกิดจากการใชTเครื่องหมายเป-นตัวชี้
ทางใหTแสดงพฤติกรรมไปส(จู ดุ หมายปลายทาง”

การเรียนรูTโดยเครื่องหมายของทอลแมนหลักการเรียนรูTของทฤษฎีทฤษฎีของทอลแมนครั้งแรกเรียกว(า
ทฤษฎขี องการแสดงพฤติกรรมไปสจู( ุดหมายตอ( มาเปลยี่ นเป-นทฤษฎี เครอื่ งหมาย (Sign theory) หรือทฤษฎีความ
คาดหมาย (Expectancy Theory) เนTนถึงการเกิดการเรียนรูTโดยการใชTความรูTความเขTาใจ (Congnitive) ซึ่งมี
ลักษณะคลTายคลึงกับของเกสตัลท[ จัดอยู(ในกลุ(มทฤษฎีความรูTความเขTาใจ (Congnitive Theori) ทอลแมนกล(าว

109

ว(า “การเรียนรูTเกิดจากการใชTเครื่องหมายเป-นตัวชี้ทางใหTแสดงพฤติกรรมไปสู(จุดหมายปลายทาง” แนวความคิด
ของทอลแมนคลTายคลึงกับแนวความคิดของพาฟลอฟ คือ เนTนสิ่งเรTามากกว(าการตอบสนอง ดังนั้นถTาบทเรียนเป-น
สิ่งเรTาสิ่งหนึ่งที่จะตTองมีการตอบสนองบางอย(างจะตTองใชTเครื่องหมายมาเนTนอีกสิ่งเรTาหนึ่งคู(กับบทเรียน เพื่อใหTมี
การตอบสนองตามตอT งการแสดงเปน- ไดอะแกรมดังนี้ (ท่ีมา: ชัยวัฒน[ สุทธิรตั น[ ,2552,หนาT 24-25)

บทเรียน (S1) + เคร่อื งหมาย (S2) การตอบสนองคอื การเรียนรูT (R) ในการเรียนรูโT ดยใชเT ครอ่ื งหมายนี้
เกิดการเรียนรไูT ดT 3 ลักษณะคือ

1. การคาดหมายรางวัล (Reward expectancy) ทอลแมนกล(าววา( การตอบสนองหรอื การเรียนรTูของ
อนิ ทรีย[ จะเกิดจากการคาดหมายรางวลั ทพี่ อใจ กล(าวคอื เนือ่ งจากมีความแตกต(างระหวา( งบุคคล ดงั นนั้ รางวัลแต(
ละอยา( งยอ( มทำใหTอนิ ทรีย[พอใจแตกต(างกันออกไป บาT งชอบส่ิงหน่ึง บาT งกช็ อบอีกส่งิ หน่งึ เช(นแมวชอบปลา สนุ ขั
ชอบเนอื้ ฯลฯ ดังน้นั ถTารางวลั ผเูT รยี นคาดว(าจะไดรT ับ ไม(ตรงตามท่พี อใจและตTองการ จะแสดงพฤติกรรมมองหาส่งิ
ทีต่ อT งการต(อไปการทดลองทส่ี นับสนนุ เรอ่ื งการคาดหมายรางวลั เปน- การทดลองของ Tinkle paugh ในปค‹ .ศ.
1928 เรมิ่ แรกมีจานอย(ู 2 ใบเขานำอาหารใสจ( านใบหนึ่งไวT ในขณะที่ใสอ( าหารทีจ่ านเพยี งใบเดียวน้ัน ลงิ ที่ใชT
ทดลองจะจับตาดูอยด(ู Tวย และถูกกันไมใ( หทT จ่ี านอาหาร ต(อมาจบั ลงิ มาที่จาน 2 ใบ ลงิ จะเลอื กจานท่ีมีอาหารคือ
กลTวยไดTอยา( งถูกตTอง ต(อมาไดเT อากลวT ยซอ( นไวแT ลTวเปล่ียนเอาใบผักกาดหอมใสล( งไปในจานแทน พบว(าลงิ ไมย( อม
กนิ ผักแตเ( ลอื กจานทมี่ ผี ัก โดยพฤตกิ รรมมองหากลTวยต(อไป

2. การเรียนรสูT ถานท่ี (Place learning) ทอลแมน กลา( วว(าผTเู รยี นจะเคลือ่ นไหวหรอื แสดงพฤตกิ รรมการ
เรียนรTูจากจุดเร่ิมตนT ไปยงั จุดหมายปลายทางเปน- ลำดับขั้นตอนตามแตส( ถานการณท[ เ่ี ปลีย่ นไป กลา( วคอื ถTามี
การเร่มิ ตนT ไปยังจุดหมายปลายทางไดสT ำเรจ็ ผTูเรยี นจะเลอื กแสดงพฤติกรรมนัน้ ก(อน แตเ( มอ่ื ตอ( มามอี ุปสรรคหรอื มี
การป-ดกั้นเสนT ทางท่เี คยเดนิ ทางมาสจู( ุดหมายปลายทางไดTสำเร็จ ผเTู รยี นจะปลี่ยนเสนT ทางหรือวิธีการเรียนรTูไป
เรื่อยๆเพื่อไปยงั จดุ หมายปลายทางใหTไดT

3. การเรยี นรูTแฝง (Latent learning) ทอลแมนกลา( วว(า การเรยี นรูเT ป-นการเปลี่ยนแปลงทางดาT น
ความคดิ (Congnitive Domain) ซึ่งเปน- นามธรรมสงั เกตเหน็ ไดT เมื่ออินทรยี เ[ กดิ การเรยี นรมูT ากเท(าใดไมท( ราบไดT
เพราะไม(ไดแT สดงออกมา จนกว(าจะถงึ เวลาทจ่ี ำเปน- หรอื เหมาะสมจึงจะนำออกมาใชT
การทดลองทส่ี นับสนนุ การเรยี นรแูT ฝง เป-นการทดลองของทอลแมนรว( มกับฮอนซิค (Honzik) ในป‹ ค.ศ. 1930
โดยแบง( หนอู อกเป-น 3 กลุ(ม ใหวT ่งิ ในเขาวงกตรูปตัวที (T maze) (กลม(ุ ที่ 1) ใหวT ง่ิ ในเขาวงกตทีเปน- เวลา 10 วัน
โดยไมไ( ดรT ับอาหารปลายทางเขาวงกต จนกระท่ังวนั ท่ี 11 จึงไดTรับอาหาร (กลุม( ที่ 2) ใหวT ิ่งในเขาวงกตทโี ดยไดTรับ
อาหารสม่ำเสมอทุกวนั (กลุม( ท่ี 3 เป-นกล(มุ ควบคมุ ) ใหTสง่ิ ในเขาวงกตโดยไม(ไดรT บั อาหารเลย ผลปรากฏวา( กล(ุมที่
1 และกลุม( ท่ี 2 ว่งิ ในเขาวงกตถกู ตTองและใกลเT คยี งกันมากกว(ากลม(ุ ที่ 3 แสดงวา( วิธีการใหรT างวลั มีผลต(อการเรียนรูT
บาT ง แตไ( ม(มากนกั เพราะไมว( (าจะใหรT างวลั สม่ำเสมอ หรอื ใหบT าT งไมใ( หบT Tาง กม็ กี ารแสดงพฤตกิ รรมไมแ( ตกต(างกัน
มากนกั (ที่มา : ประสาท อิศรปรดี า, 2538)

110

ทฤษฎีของทอลแมน สรปุ ไดด# งั น้ี
1. ในการเรียนรTูต(างๆ ผูTเรียนมีการคาดหมายรางวัล (reward expectancy) หากรางวัลที่คาดว(าจะไดTรับ

ไม(ตรงตามความพอใจและความตอT งการ ผูเT รยี นจะพยายามแสวงหารางวัลหรอื สงิ่ ทตี่ Tองการต(อไป
2. ขณะที่ผูTเรียนจะพยายามไปใหTถึงจุดหมายปลายทางที่ตTองการ ผูTเรียนจะเกิดการเรียนรูTเครื่องหมาย

สัญลกั ษณ[ สถานท่ี (place learning) และสิ่งอ่นื ๆท่ีเปน- เคร่ืองชี้ตามไปดTวย
3. ผูT เรียนมีความสามารถที่จะปรับการเรียนรูTของตนไปตามสถานการณ[ที่เปลี่ยนไป จะไม(กระทำซ้ำๆ

ในทางทไี่ ม(สามารถสนองความตTองการ หรือวัตถปุ ระสงค[ของตน
4. การ เรียนรูTที่เกิดขึ้นในบุคคลใดบุคคลหนึ่งนั้น บางครั้งจะไม(แสดงออกในทันที อาจจะแฝงอยู(ในตัว

ผูTเรียนไปก(อนจนกว(าจะถึงเวลาที่เหมาะสมหรือจำเป-นจึงจะ แสดงออก (latent learning) (ที่มา : วิไลวรรณ ศรี
สงคราม.,2549)
หลักการจดั การศึกษา / การสอน ตามแนวคิดของทฤษฎเี คร่อื งหมาย

1. การสรTางแรงขับ และ / หรือแรงจูงใจใหTเกิดขึ้นกับผูTเรียนจะกระตุTนใหTผูTเรียนไปใหTถึงจุดมุ(ง หมายท่ี
ตTองการ

2. ในการสอนใหTผูTเรียนบรรลุจุดมุ(งหมายใดๆ นั้น ครูควรใหTเครื่องหมาย สัญลักษณ[ หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป-น
เคร่ืองชี้ทางควบคไู( ปดTวย

3. การปรับเปล่ียนสถานการณ[การเรียนรTู สามารถชว( ยใหTผTเู รยี นปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมของตนไดT
4. การเรียนรูTบางอย(างอาจไม(สามารถแสดงออกไดTในทันที การใชTวิธีการทดสอบหลายๆวิธี ทดสอบ
บ(อยๆ หรอื ตดิ ตามผลระยะยาว จงึ เปน- สิ่งจำเปน- ในการวัดและประเมินผลการเรียนรใูT นลักษณะนี้

ทฤษฎกี ารเรียนรทู` างสติป6ญญา (Intellectual Development Theory)

ทฤษฎีการเรียนรขู# องเพยี เจต?
เพียเจต[ (Piaget) ไดT ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางดTานความคิดของเด็กว(ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ

อย(างไร เขาอธิบายว(าการเรียนรูTของเด็กเป-นไปตามพัฒนาการทางสติปYญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต(างๆ
เป-นลำดับขั้น พัฒนาการเป-นสิ่งที่เป-นไปตามธรรมชาติ ไม(ควรที่จะเร(งเด็กใหTขTามจากพัฒนาการขั้นหนึ่งไปสู(อีกข้ัน
หนึ่ง เพราะจะทำใหTเกิดผลเสียแก(เด็ก แต(การจัดประสบการณ[ส(งเสริมพัฒนาการของเด็กในช(วงที่เด็กกำลังพัฒนา
ไปสู( ขั้นที่สูงกว(า สามารถช(วยใหTเด็กพัฒนาไปอย(างรวดเร็วอย(างไรก็ตาม เพียเจต[เนTนความสำคัญของการเขTาใจ
ธรรมชาติ และพัฒนาการของเดก็ มากกว(าการกระตุTนเด็กใหมT พี ฒั นาการเรว็ ข้ึน
ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญY ญา ของเพียเจต[ มีสาระสรุปไดTดังนี้

1. พัฒนาการทางสติปYญญาของบคุ คลเป-นไปตามวยั ตา( งๆ เปน- ลำดับขน้ั ดงั นี้
1.1 ขั้นรบั รดูT Tวยประสาทสมั ผสั (Sensorimotor period) เปน- ข้ันพัฒนาการในช(วง 0 -2 ป‹ ความคิด

ของเด็กวยั นข้ี ้นึ กับการรับรูTและการกระทำเดก็ ยดึ ตวั เองเปน- ศูนย[ กลาง และยังไมส( ามารถเขาT ใจความคดิ ของผอTู ื่น

111

1.2 ขั้นตอนปฏิบัติการคิด (Preopoerational period) เป-นขั้นการพัฒนาการในช(วงอายุ 2-7 ป‹
ความคิดของเด็กวัยนี้ยังขึ้นอยู(กับการรับรูTเป-นส(วนใหญ( ยังไม(สามารถที่จะใชTเหตุผลอย(างลึกซึ้ง แต(สารถเรียนรูT
และใชสT ญั ลักษณไ[ ดT การใชTภาษา แบ(งเป-นข้ันยอ( ยๆ 2ขนั้ คือ

2. ภาษาและกระบวนการคิดของเดก็ แตกต(างจากผูใT หญ(
3. กระบวนการทางสติปญY ญา มลี กั ษณะดังน้ี

3.1 การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป-นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ[
เร่ืองราวและขอT มลู ต(างๆเขาT มาสะสม เกบ็ ไวT เพื่อใชTเปน- ประโยชนต[ (อไป

3.2 การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือกระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ[
เดิมและประสบการณ[ใหม(ใหTเขTากัน เป-นระบบหรือเครือข(ายทางปYญญาที่ตนสามารถเขTาใจไดT เกิดเป-นโครงสรTาง
ทางปYญญาใหมข( น้ึ

3.3 การเกิดความสมดุล (equilibration) เป-น กระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการ
ปรับเป-นไปอย(างผสมผสานกลมกลืนก็จะก(อใหTเกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้น หากบุคคลไม(สามารถปรับ
ประสบการณ[ใหม(และประสบการณ[เดิมใหTเขTากันไดT ก็จะเกิดภาวะความไม(สมดุลขึ้น ซึ่งก(อใหTเกิดความขัดแยTงทาง
ปญY ญาขนึ้ ในตัวบุคคล
หลักการจัดการศกึ ษา / การสอน ตามทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ :ญญา ของเพยี เจต?

1. ในการพัฒนาเด็ก ควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปYญญาของเด็กและจัดประสบการณ[ใหTเด็กอย(าง
เหมาะสม กับพัฒนาการนั้นไม(ควรบังคับใหTเด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม(พรTอม หรือยากเกินพัฒนาการตามวัยของตน
เพราะจะก(อใหเT กดิ เจตคติทไ่ี มด( ไี ดT

1.1 การจัดสภาพแวดลTอมที่เอื้อใหTเด็กเกิดการเรียนรูTตามวัยของตนสามารถช(วยใหT เด็กพัฒนาไปส(ู
พัฒนาการข้นั สงู ไดT

1.2 เดก็ แตล( ะคนมีพัฒนาการแตกต(างกนั ถงึ แมอT ายจุ ะเทา( กัน แต(พัฒนาการอาจไม(เท(ากนั ดงั นัน้ จึง
ไม(ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรใหTเด็กมีอิสระที่จะเรียนรูTและพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการ
ของเขา

1.3 ในการสอนควรใชTสิง่ ที่เป-นรูปธรรม เพ่ือช(วยใหTเดก็ เขTาใจลกั ษณะต(างๆ ไดTดขี ึ้น แมTในพัฒนาการ
ช(วงความคิดแบบรูปธรรมเด็กจะสามารถสรTางภาพในใจไดT แต(การสอนที่ใชTอุปกรณ[ที่เป-นรูปธรรม จะช(วยใหTเด็ก
เขาT ใจแจ(มชัดขึน้

2. การใหTความสนใจและสงั เกตเดก็ อย(างใกลTชดิ จะช(วยใหทT ราบลักษณะเฉพาะตัวของเด็ก
3. ในการสอนเด็กเล็กๆ เด็กจะรับรูTส(วนรวม (whole) ไดTดีกว(าส(วนย(อย (part )ดังนั้น ครูจึงควรสอน
ภาพรวมก(อนแลวT จึงแยกสอนท่ลี ะส(วน
4. ในการสอนสิ่งใดใหTกับเด็ก ควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กคุTนเคยหรือมีประสบการณ[มาก(อน แลTวจึงเสนอสิ่งใหม(ท่ี
มีความสัมพันธ[กับสิ่งเก(า การกระทำเช(นนี้ช(วยใหTกระบวนการซึมซับและการจัดระบบความรูTของเด็กเป-นไป
ดวT ยดี

112

5. การเป-ดโอกาสใหTเด็กไดTรับประสบการณ[ และมีปฏิสัมพันธ[กับสิ่งแวดลTอมมากๆ ช(วยใหTเด็กดูดซึมขTอมูล
เขTาสู(โครงสรTางทางสติปYญญาของเด็กอันเป-นการส(ง เสริมพัฒนาทางสติปYญญาของเด็ก (ที่มา : นันทวัฒน[ บุญไธ
สง, 2543)

ทฤษฎกี ารเรียนรท`ู างสติปญ6 ญาของบรุนเนอรE

บรุนเนอร[ (Bruner) เป-นนักจิตวิทยาที่สนใจเรื่องของพัฒนาการทางสติปYญญาต(อเนื่องจาก
เพียเจต[ บรุนเนอร[เชื่อว(ามนุษย[เลือกที่จะรับรูTสิ่งที่ตนเองสนใจ และการเรียนรูTเกิดจากกระบวนการคTนพบดTวย
ตวั เอง (discovery learning) แนวคิดท่สี ำคัญของบรนุ เนอร[ มีดังน้ี

ทฤษฎกี ารเรียนร#ู
1. การจัดโครงสรTางของความรูTใหTมีความสัมพันธ[และสอดคลTองกับพัฒนาการทางสติ ปYญญาของ

เดก็ มผี ลต(อการเรียนรTูของเดก็
2. การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนใหTเหมาะสมกับระดับความพรTอมของผูTเรียน และ

สอดคลTองกับพัฒนาการทางสติปญY ญาของผูTเรียนจะช(วยใหTการเรียนรเTู กิด ประสทิ ธิภาพ
3. การคิดแบบหยั่งรูT (intuition) เป-นการคิดหาเหตุผลอย(างอิสระที่สามารถพัฒนาความคิดริเริ่ม

สรTางสรรค[ไดT
4. แรงจงู ใจภายในเป-นปจY จัยสำคญั ทจ่ี ะชว( ยใหผT Tเู รยี นประสบผลสำเรจ็ ในการเรียนรูT
5. ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญY ญาของมนษุ ย[ แบง( ไดเT ปน- 3 ข้ัน ใหญๆ( คือ
5.1 ขั้นการเรียนรูTจากการกระทำ (Enactive Stage) คือ ขั้นของการเรียนรูTจากการใชT

ประสาทสมั ผสั รบั รTูส่ิงต(างๆ การลงมอื กระทำชว( ยใหเT ดก็ เกิดการเรยี นรูไT ดดT ี การเรยี นรTเู กิดจากการกระทำ
5.2 ขั้นการเรียนรูTจากความคิด (Iconic Stage) เป-นขั้นที่เด็กสามารถสรTางมโนภาพในใจ

ไดT และสามารถเรยี นรTจู ากภาพ แทนของจริงไดT
5.3 ขั้นการเรียนรูTสัญลักษณ[และนามธรรม (Symbolic Stage) เป-นขั้นการเรียนรูTสิ่งท่ี

ซบั ซTอนและเป-นนามธรรมไดT
6. การเรียนรูTเกิดไดTจากการที่คนเราสามารถสรTางความคิดรวบยอด หรือสามารถสรTางหรือสามารถ

จดั ประเภทของสง่ิ ต(างๆ ไดอT ย(างเหมาะสม
7. การเรยี นรTทู ไี่ ดTผลดที ีส่ ุด คอื การใหTผTเู รยี นคนT พบการเรียนรูTดTวยตนเอง (discovery learning)

หลกั การจดั การศึกษา / การสอนตามทฤษฎพี ฒั นาการทางสติป:ญญาของบรนุ เนอร?
1. กระบวนการคTนพบการเรยี นรูTดวT ยตนเอง เปน- กระบวนการเรียนรูTท่ีดีมีความหมายสำหรับผTูเรียน
2. การวิเคราะห[และจัดโครงสรTางเนื้อหาสาระการเรียนรูTใหTเหมาะสม เป-นสิ่งจำเป-นที่ตTองทำก(อน

การสอน
3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช(วยใหTสามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบ

ยอดเดียวกันแก(ผูTเรียนทุกวัยไดT โดยตTองจัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ใหTเหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของ
ผTูเรียน

113

4. ในการเรียนการสอนควรส(งเสริมใหTผูTเรียนไดTคิดอย(างอิสระใหTมาก เพื่อช(วยส(งเสริมความคิด
สราT งสรรค[ของผTเู รยี น

5. การสรTางแรงจูงใจภายในใหTเกิดขึ้นกับผูTเรียนเป-นสิ่งจำเป-นในการจัด ประสบการณ[การเรียนรูT
ใหTแกผ( Tูเรยี น

6. การจัดกระบวนการเรียนรูTใหTเหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปYญญาของผูTเรียนจะ ช(วยใหT
ผูTเรียนเกิดการเรยี นรTูไดดT ี

7. การสอนความคดิ รวบยอดใหแT ก(ผูTเรียนเปน- ส่ิงจำเปน-
8. การจัดประสบการณ[ใหTผูTเรียนไดTคTนพบการเรียนรูTดTวยตนเองสามารถช(วยใหTผูT เรียนเกิดการ
เรียนรูTไดTดี(ทม่ี า : นันทวฒั น[ บญุ ไธสง, 2543)

ทฤษฎีการเรยี นร`ูอยา* งมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)

ออซเู บล (Ausubel, David 1963) เปน- นกั จติ วิทยาแนวปญY ญานยิ มท่ีแตกต(างจากเพียเจต[และบรเู นอร[
เพราะออซเู บลไม(ไดมT ีวัตถปุ ระสงคท[ ีจ่ ะสราT งทฤษฎที ่ีอธบิ ายการเรยี นรูTไดT ทกุ ชนดิ ทฤษฎีของออซเู บลเปน- ทฤษฎีท่ี
หาหลกั การอธบิ ายการเรียนรูทT ่ีเรยี กวา( "Meaningful Verbal Learning" เท(านนั้ โดยเฉพาะการเชื่อมโยงความรูT
ที่ปรากฏในหนังสือทโี่ รงเรียนใชTกับความรูเT ดมิ ที่อยใู( นสมองของผูTเรียนในโครงสรTางสติปญY ญา (Cognitive
Structure)หรือการสอนโดยวธิ กี ารใหTขอT มลู ข(าวสาร ดวT ยถTอยคำทฤษฎขี องออซูเบล เนTนความสำคญั ของการ
เรยี นรอTู ย(างมีความเขาT ใจ และมีความหมายการเรยี นรูTเกิดขึ้นเมื่อผเูT รยี นไดเT รียนรวมหรือเช่อื มโยง
(Subsumme) สิง่ ทีเ่ รยี นรTูใหม(หรือขอT มลู ใหมซ( งึ่ อาจจะเปน- ความคดิ รวบยอด(Concept) หรอื ความรทูT ไี่ ดTรบั ใหม(
ในโครงสราT งสติปYญญากบั ความรเTู ดิมที่อยู(ในสมอง ของผูเT รยี นอยู(แลวT ทฤษฎีของออซเู บลบางคร้งั เรยี กวา(
"Subsumption Theory"

ออซูเบลใหคT วามหมายการเรยี นรTอู ย(างมคี วามหมาย( Mearningful learning) ว(า เป-นการเรยี นทผ่ี ูTเรียน
ไดTรับมาจากการที่ผสูT อน อธบิ ายสง่ิ ท่ีจะตอT งเรียนรูTใหทT ราบและผเูT รียนรบั ฟYงดTวยความเขาT ใจ โดยผูTเรียนเห็น
ความสัมพนั ธข[ องส่งิ ทเ่ี รียนรูTกบั โครงสรTางพทุ ธปิ ญY ญาที่ ไดTเก็บไวใT นความทรงจำ และจะสามารถนำมาใชTใน
อนาคต ออซเู บลไดชT ี้ใหเT หน็ วา( ทฤษฎีน้มี ีวัตถุประสงคเ[ พอื่ ที่จะอธบิ ายเกีย่ วกบั พุทธิปYญญา

ออซเู บล เชื่อวา( การเรยี นรจTู ะมคี วามหมายแก(ผเูT รยี น หากการเรียนรTนู น้ั สามารถเช่อื มโยงกบั ส่งิ ใดสงิ่ หน่งึ
ทร่ี ูมT ากอ( นการนำเสนอความคดิ รวบยอดหรือกรอบมโนทัศน[ หรือกรอบความคดิ (Advance Organizer) เปน-
เทคนิคทช่ี (วยใหผT Tูเรยี นไดเT รยี นรTอู ยา( งมคี วามหมายจากการสอนหรอื บรรยายของ ครู โดยการสรTางความเชอื่ มโยง
ระหว(างความรทTู ม่ี ีมากอ( นกบั ขTอมูลใหม( หรอื ความคดิ รวบยอดใหม( ทจี่ ะตอT งเรียน จะช(วยใหผT Tเู รยี นเกดิ การเรยี นรูT
อยา( งมีความหมายทไี่ มต( อT งทอ( งจำ หลกั การทว่ั ไปท่ีนำมาใชT คือ การจัดเรียบเรยี ง ขTอมูลขา( วสารทต่ี TองการใหT
เรยี นรTู ออกเป-นหมวดหม(ู นำเสนอกรอบ หลกั การกวาT งๆ กอ( นท่จี ะใหเT รยี นรTใู นเรื่อใหม( แบ(งบทเรยี นเป-นหัวขอT ที่
สำคญั และบอกใหทT ราบเกีย่ วกบั หวั ขTอสำคัญทเ่ี ป-นความคดิ รวบยอดใหมท( จี่ ะตอT งเรยี น

114

เขาถือวา( Advance Organizer มี ความสำคัญมากเพราะเป-นวิธีการสรTางการเชอื่ มช(องวา( งระหว(าง
ความรทูT ผี่ ูT เรยี นไดรT ูTแลวT (ความรูเT ดิม) กับความรTใู หม(ท่ไี ดรT ับ ที่จำเปน- จะตอT ง เรยี นรTเู พือ่ ผเูT รยี นจะไดมT คี วามเขTาใจ
เน้ือหาใหมไ( ดTดี และจดจำไดTไดดT ขี ้นึ ฉะน้นั ผูTสอนควรจะใชเT ทคนิค Advance Organizer ชว( ยผูTเรียนในการเรยี นรูT
ทั้งประเภท การรับอย(างมคี วามหมายและการคนT พบอยา( งมีความหมาย
ออซูเบล ใหคT วามสำคัญเก่ยี วกบั โครงสราT งทางปYญญาทเ่ี ก่ียวขอT งกบั การรบั รTขู อง มนษุ ย[ และไดTแบง( การรับรูT
ออกเป-น 4 ประเภท คือ

1. การเรียนรโูT ดยเรยี นรูอT ย(างมีความหมาย
2. การเรียนรTโู ดยการทอ( งจำ
3. การเรียนรTโู ดยการคนT พบอยา( งมคี วามหมาย
4. การเรียนรโูT ดยการคนT พบแบบทอ( งจำ
การเรียนรูTทั้ง 4 รปู แบบน้ี ออซูเบล ไดเT นTนความสำคัญของการเรยี นรTูอยา( งมคี วามหมาย และพยายามท่ี
จะสราT งหลกั การเพื่ออธิบายกระบวนการเรียนรดูT งั กล(าว หลักการดงั กลา( วนี้ Ausubel เช่ือ ว(าจะทำใหTเกิดการ
เรียนรูTอย(างมีความหมาย โดยเรียกหลกั การดังกลา( วนว้ี า( การจัดวางโครงสรTางเน้อื หา หลกั การสำคญั ประการหนึ่ง
ที่นกั จติ วทิ ยาในกลุม( นี้มไิ ดกT ลา( วถงึ คอื การสราT งความต้งั ใจใหTเกดิ ข้ึนในตวั ผTูเรยี นก(อนเริ่มเรยี น ความรูTตา( งๆ
จะตTองถูกจัดใหมT ีระบบและสอดคลTองกบั การเรียนรTู โครงสราT งของเน้อื หาควรตTองไดรT บั การจดั เตรียม หรอื
แบ(งแยกออกเป-นหมวดหม(ู และเหน็ ความสมั พนั ธ[ในรูปแบบทีก่ วาT งก(อนท่ีจะขยายใหTเหน็ ความคดิ รวบยอดใน
สว( นย(อย
สรปุ การเรียนรอ#ู ยXางมคี วามหมาย (Mearningful learning) ของออซูเบล เปน- ทฤษฎกี ลุม( พทุ ธิปญY ญา
แตจ( ะแตกตา( งจากทฤษฎีของเพยี เจต[ ทีเ่ นนT ความสำคญั ของผูเT รียน และของบรูเนอร[ทเี่ นTนใหTผูเT รยี นเรียนรโTู ดยการ
คนT พบดวT ยตนเอง(Discovery) สำหรบั ออซเู บลจะสนับสนนุ ท้งั Discovery และ Expository technique ซ่งึ
เปน- การสอนทค่ี รใู หหT ลักเกณฑ[ และผลลัพธ[ ออซเู บลมคี วามเหน็ ว(าสำหรับเดก็ โต (อายเุ กนิ 11หรอื 12 ป)‹ นน้ั การ
จัดการเรยี นการสอนแบบ Expository technique นา( จะเหมาะสมกว(าเพราะเด็กวยั นี้สามารถเขTาใจเร่ืองราว
คำอธบิ ายต(าง ๆ ไดT (ท่ีมา : คารล[ อาร[ โรเจอร[ ,2532)

ทฤษฎกี ารเรยี นรูก` ลม*ุ มนุษยนE ยิ ม (Humanism)

ทฤษฎีมนุษย[นิยมมีวิวัฒนาการมาจากทฤษฎีกลุ(มที่เนTนการพัฒนาตามธรรมชาติ แต(ก็จะมีความเป-น
วิทยาศาสตร[ คือเป-นกระบวนการมากยิ่งขึ้น กลุ(มทฤษฎีมนุษย[นิยมเป-นทฤษฎีที่คัดคTานการทดลองเกี่ยวกับ
พฤติกรรมของสัตว[แลTวมาใชTอTางอิงกับมนุษย[และปฏิเสธที่จะใชTคนเป-นเครื่องทดลองแทนสัตว[ นักทฤษฎีในกลุ(มนี้
เห็นว(ามนุษย[มีความคิด มีสมอง มีอารมณ[และอิสรภาพในการกระทำ การเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีนี้เชื่อว(า
ผูTเรียนเป-นศูนย[กลางของการเรียน การจัดการเรียนการสอนจึงมุ(งใหTเกิดการเรียนรูTทั้งดTานความเขTาใจ ทักษะและ
เจตคติไปพรTอม ๆ กันโดยใหTความสำคัญกับความรูTสึกนึกคิด ค(านิยม การแสดงออกตลอดจนการเลือกเรียนตาม
ความสนใจของผูTเรียนเป-นหลัก บรรยากาศในการเรียนเป-นแบบร(วมมือกันมากกว(าการแข(งขันกันอาจารย[ผูTสอน

115

ทำหนTาที่ช(วยเหลือใหTกำลังใจและอำนวยความสะดวกในขบวนการเรียนของผูTเรียนโดยการจัดมวลประสบการณ[
เอ้อื ใหผT ูTเรยี นเกิดการเรียนรูT (ทม่ี า : บริหารการศึกษา กลุ(มดอนทอง 52)
หลักการหรือความเช่อื ของทฤษฎี

1. มนุษยม[ ีธรรมชาติแห(งความกระตอื รอื รนT ที่จะเรียนรูT
2. มนุษย[มีสิทธติ อ( ตTานหรอื ไมพ( อใจในผลท่เี กดิ ขึ้นจากสงิ่ ต(างๆ แมสT ง่ิ นัน้ จะไดTรับการยอมรบั ว(าจริง
3. การเรยี นรทTู ่ีสำคัญทสี่ ุดของมนุษย[คอื การทีม่ นุษย[มกี ารเปลยี่ นแปลงแนวความคดิ ของตนเอง

กลุ*มทฤษฎมี นุษยนE ยิ มตามแนวคิด

(คาร?ล อาร? โรเจอร?) กล(าวว(า กล(มุ มนษุ ยนยิ มคือ
1. .เชื่อว(ามนุษย[ คือ สัตว[โลกประเภทหนึ่ง มีจิตใจ มีความตTองการความรัก ความอบอุ(น ความ

เขาT ใจ และมคี วามสามารถเฉพาะตวั
2. เชอ่ื วา( มนษุ ยเ[ ราทุกคนต(างก็พยายามจะรูTจักและเขTาใจตนเองและยอมรับในสมรรถวิสยั ของตนเอง
3. เชื่อว(ามนุษย[ต(างก็เขTาใจผูTอื่นและยอมรับตนเองอยู(แลTว ต(างคนก็มุ(งสรTางความเป-นมนุษย[ที่สมบูรณ[

ใหแT กต( นเอง
ทฤษฎคี วามตอ# งการของมนษุ ยข? อง Maslow (Abraham Harold Maslow: 1908-1970)

แนวคิดของ Maslow จัดอยู(ในกลุ(มมนุษยนิยม ซึ่งมีทัศนคติในการมองมนุษย[ดTานที่ดีงาม โดยอธิบายว(า
มนุษย[มีธรรมชาติใฝÄดี สรTางสรรค[ความดี ปรารถนาความเจริญกTาวหนTา รูTจักคุณค(าในตนเอง รูTจักผิดชอบชั่วดี มี
ความรับผิดชอบในชีวิต ทุกสิ่งเกิดจากการเลือกของตนเอง ที่สำคัญคือมนุษย[มีความปรารถนาจะประจักษ[รูTจัก
ตนเอง และความสามารถเฉพาะของตนเอง เพื่อใชTความรูTความสามารถของตนเองอย(างเต็มที่ ถTามนุษย[อยู(ใน
สิ่งแวดลTอมที่ดีเอื้อต(อการวิวัฒน[พัฒนาแลTว เขาก็จะพัฒนาไปสู(ความมุ(งดี ความเจริญของบุคลิกภาพและวุฒิภาวะ
เสมอ Maslow เห็นต(างจากทฤษฏีบุคลิกภาพอื่นหลายทฤษฏีว(า ควรจะศึกษาจิตวิทยาจากบุคคลที่มีสุขภาพจิตดี
บุคลิกภาพมั่นคง ประสบความสำเร็จและมีความสุขในชีวิต เพื่อคTนหาว(าคุณลักษณะของบุคลิกภาพที่ดีนั้นตTองมี
องค[ประกอบอะไรบTาง มีแนวทางพัฒนามาอย(างไร นอกจากนี้ในการศึกษาเรื่องคนนั้นตTองศึกษาคนทั้งคน ไม(ใช(
ศึกษาแยกเป-นส(วนย(อยแลTวนำมาสรุปเป-นกฎเกณฑ[ หรือวิธีการบำบัด ซึ่งวิธีการนี้เสี่ยงต(อความผิดพลาดมาก
Maslow ระบุว(ามนุษย[จะมีความตTองการที่เรียงลำดับจากระดับพื้นฐานไปยังระดับสูงสุด ขอบข(ายทฤษฏีของ
Maslowจะอยูบ( นพื้นฐานของสมมตฐิ าน3ขTอคอื

1. มนุษยม[ คี วามตTองการอย(เู สมอและไมม( ที ่ีสิน้ สดุ
2. ความตอT งการของบุคคลจะถกู เรียงลำดบั ตามความสำคัญหรือเปน- ลำดบั ขน้ั ความตTองการพนื้ ฐาน
3. ความตTองการท่ไี ดรT ับการตอบสนองแลTว จะไมเ( ปน- สง่ิ จงู ใจของพฤตกิ รรมน้นั ๆ ตอ( ไป
มาสโลว[ มองว(าธรรมชาติแลTวมนุษย[เกิดมาดี และพรTอมที่จะทำสิ่งดี ถTาความตTองการพื้นฐานไดTรับการตอบสนอง
อย(างเพียงพอ เป-นผูTที่มองว(าความดีที่อยู(ในตัวมนุษย[เป-นสิ่งที่ติดตัวมาแต(กำเนิด การเรียนรูTหรือการแสดง
พฤติกรรมเกิดจากแรงผลักดันภายในตัวบุคคล เด็กมีธรรมชาติพรTอมท่ีจะศึกษาสำรวจสิ่งต(างๆ และมนุษย[ทุกคนมี
แรงภายในที่จะไปถึงสภาพการณ[ที่เรียกว(า "การรูTจักตนเองตรงตามสภาพที่เป-นจริง (self actualization)" หรือ

116
ความตTองการทีจะตระหนักในความสามารถของตนเอง ซึ่งหมายถึงความสามารถที่จะเขTาใจตนเอง ยอมรับตนเอง
ทั้งในส(วนบกพร(องและส(วนดี รูTทั้งจุดอ(อนและตระหนักในความสามารถของตนเองพรTอมที่จะรับฟYงความคิดเห็น
ของผูTอื่นที่มีต(อตนเอง มาสโลว[ไดTกล(าวว(า มนุษย[ทุกคนลTวนมีความตTองการและจะสนองความตTองการใหTกับ
ตนเองท้งั ส้นิ ซ่งึ ความตTองการเรียงจากความตอT งการข้นั ตำ่ สุดขึ้นไปหาความตอT งการขนั้ สูงสดุ
ทฤษฏี Maslow’s Hierarchy of needs Theory แบงX ลำดบั ความต#องการของมนุษย?ไว#
(บรหิ ารการศึกษา กลม(ุ ดอนทอง 52) ดงั นี้

ขัน้ ท่ี 1 ความตTองการทางดTานรา( งกาย (Physiological needs)
เป-นความตTองการขั้นพื้นฐานที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นไดT ชัดที่สุด จากความตTองการทั้งหมด
เป-นความตTองการที่ช(วยการดำรงชีวิต ไดTแก( ความตTองการอาหาร น้ำดื่ม ออกซิเจน การพักผ(อนนอนหลับ ความ
ตTองการ ทางเพศ ความตTองการความอบอุ(น ตลอดจนความตTองการที่จะถูกกระตุTนอวัยวะรับ สัมผัส แรงขับของ
ร(างกายเหล(านี้จะเกี่ยวขTองโดยตรงกับความอยู(รอดของร(าง กายและของอินทรีย[ ความพึงพอใจที่ไดTรับ ในขั้นนี้จะ
กระตุTนใหTเกิดความตTองการในขั้นที่สูงกว(าและถTาบุคคลใดประสบ ความลTมเหลวที่จะสนองความตTองการพื้นฐานน้ี
ก็จะไม(ไดTรับการกระตุTน ใหTเกิดความตTองการในระดับที่สูงขึ้นอย(างไรก็ตาม ถTาความตTองการอย(างหนึ่งยังไม(ไดTรับ
ความพึงพอใจ บุคคลก็จะอยู(ภายใตTความตTองการนั้นตลอดไป ซึ่งทำใหTความตTองการอื่นๆ ไม( ปรากฏหรือ
กลายเป-นความตTองการระดับรองลงไป เช(น คนที่อดอยากหิวโหยเป-นเวลา นานจะไม(สามารถสรTางสรรค[สิ่งที่มี
ประโยชน[ต(อโลกไดT บุคคลเช(นนี้จะหมกมุ(น อยู(กับการจัดหาบางสิ่งบางอย(างเพื่อใหTมีอาหารไวTรับประทาน มาส
โลว[ อธิบายต(อไปว(าบุคคลเหล(านี้จะมีความรูTสึกเป-นสุขอย(างเต็มที่เมื่อมีอาหาร เพียงพอสำหรับเขาและจะไม(
ตTองการสิ่งอื่นใดอีก ชีวิติของเขากล(าวไดTว(าเป-น เรื่องของการรับประทาน สิ่งอื่นๆ นอกจากนี้จะไม(มีความสำคัญ
ไม(ว(าจะเป-น เสรีภาพ ความรัก ความรูTสึกต(อชุมชน การไดTรับการยอมรับ และปรัชญา ชีวิต บุคคลเช(นนี้มีชีวิตอย(ู
เพื่อที่จะรับประทานเพียงอย(างเดียวเท(านั้น ตัวอย(าง การขาดแคลนอาหารมีผลต(อพฤติกรรม ไดTมีการทดลองและ

117

การศึกษาชีวประวัติเพื่อ แสดงว(า ความตTองการทางดTานร(างกายเป-นเรื่องสำคัญที่จะเขTาใจพฤติกรรมมนุษย[ และ
ไดT พบผลว(าเกิดความเสียหายอย(างรุนแรงของพฤติกรรมซึ่งมีสาเหตุจากการขาดอาหาร หรือน้ำติดต(อกันเป-น
เวลานาน ตวั อยา( งคือ เมอ่ื สงครามโลกคร้ังที่ 2 ใน คา( ย Nazi ซ่งึ เปน- ท่กี กั ขังเชลย เชลยเหล(านั้นจะละทิง้ มาตรฐาน
ทางศีลธรรม และค(านิยมต(างๆ ที่เขาเคยยึดถือภายใตTสภาพการณ[ปกติ เช(น ขโมยอาหารของคนอื่น หรือใชTวิธี
การต(างๆ ที่จะไดTรับอาหารเพิ่มขึ้น อีกตัวอย(างหนึ่งในป‹ ค.ศ. 1970 เครื่องบินของสายการบิน Peruvian ตกลงท่ี
ฝYÆงอ(าวอเมริกาใตTผูTที่รอดตาย รวมทั้งพระนิกาย Catholic อาศัยการมีชีวิตอยู(รอดโดยการกินซากศพของผูTที่ ตาย
จากเครื่องบินตก จากปรากฏการณ[นี้ชี้ใหTเห็นว(าเมื่อมนุษย[เกิดความหิว ขึ้น จะมีอิทธิพลเหนือระดับศีลธรรม
จรรยา จึงไม(ตTองสงสัยเลยว(ามนุษย[มีความตTอง การทางดTานร(างกายเหนือความตTองการอื่นๆ และแรงผลักดันของ
ความตTองการนไี้ ดT เกิดขึน้ กบั บคุ คลกอ( นความตTองการอน่ื ๆ
ขนั้ ท่ี 2 ความต#องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and security needs)

เมื่อความตTองการทางดTานร(างกาย ไดTรับความพึงพอใจแลTวบุคคลก็จะพัฒนาการไปสู(ขั้นใหม(ต(อไป ซึ่งขั้น
นี้เรียกว(าความตTองการความปลอดภัยหรือความรูTสึกมั่นคง (safety or security) มาสโลว[ กล(าว ว(าความตTองการ
ความปลอดภัยนี้จะสังเกตไดTง(ายในทารกและในเด็กเล็กๆ เนื่อง จากทารกและเด็กเล็กๆ ตTองการความช(วยเหลือ
และตTองพึ่งพออาศัยผูT อื่น ตัวอย(าง ทารกจะรูTสึกกลัวเมื่อถูกทิ้งใหTอยู(ตามลำพังหรือเมื่อเขาไดTยินเสียง ดังๆ หรือ
เห็นแสงสว(างมาก ๆ แต(ประสบการณ[และการเรียนรูTจะทำใหTความรูTสึก กลัวหมดไป ดังคำพูดที่ว(า “ฉันไม(กลัว
เสียงฟžารTองและฟžาแลบอีกต(อไป แลTว เพราะฉันรูTธรรมชาติในการเกิดของมัน” พลังความตTองการความปลอดภัย
จะ เห็นไดTชัดเจนเช(นกันเมื่อเด็กเกิดความเจ็บปÄวย ตัวอย(างเด็กที่ประสบ อุบัติเหตุขาหักก็จะรูTสึกกลวั และอาจ
แสดงออกดTวยอาการฝYนรTายและความตTองการ ที่จะไดTรับความปกปžองคุTมครองและการใหTกำลังใจ มาสโลว[ กล(าว
เพิ่มเติมว(าพ(อแม(ที่เลี้ยงดูลูกอย(างไม(กวดขันและตามใจมากจนเกินไปจะไม(ทำ ใหTเด็กเกิดความรูTสึกว(าไดTรับความ
พึงพอใจจากความตTองการความปลอดภัยการใหT นอนหรือใหTกินไม(เป-นเวลาไม(เพียง แต(ทำใหTเด็กสับสนเท(านั้นแต(
ยังทำใหTเด็กรูTสึกไม(มั่นคงในสิ่งแวดลTอม รอบๆ ตัวเขา สัมพันธภาพของพ(อแม(ที่ไม(ดีต(อกัน เช(น ทะเลาะกันทำรTาย
ร(าง กายซึ่งกันและกัน พ(อแม(แยกกันอยู( หย(า ตายจากไป สภาพการณ[เหล(านี้จะมี อิทธิพลต(อความรูTที่ดีของเด็ก
ทำใหTเด็กรูTว(าสิ่งแวดลTอมต(างๆ ไม(มั่นคง ไม(สามารถคาดการณ[ไดTและนำไปสู(ความรูTสึกไม(ปลอดภัย ความตTอง การ
ความปลอดภัยจะยังมีอิทธิพลต(อบุคคลแมTว(าจะผ(านพTนวัยเด็กไปแลTว แมTใน บุคคลที่ทำงานในฐานะเป-นผูTคุTมครอง
เช(น ผูTรักษาเงิน นักบัญชี หรือทำงาน เกี่ยวกับการประกันต(างๆ และผูTที่ทำหนTาที่ใหTการรักษาพยาบาลเพื่อความ
ปลอดภัยของผูTอื่น เช(น แพทย[ พยาบาล แมTกระทั่งคนชรา บุคคลทั้งหมดที่กล(าว มานี้จะใฝÄหาความปลอดภัยของ
ผูTอื่น เช(น แพทย[ พยาบาล แมTกระทั่งคน ชรา บุคคลทั้งหมดที่กล(าวมานี้จะใฝÄหาความปลอดภัยดTวยกันทั้งสิ้น
ศาสนาและ ปรัชญาที่มนุษย[ยึดถือทำใหTเกิดความรูTสึกมั่นคง เพราะทำใหTบุคคลไดTจัดระบบ ของตัวเองใหTมีเหตุผล
และวิถีทางที่ทำใหTบุคคลรูTสึก “ปลอดภัย” ความ ตTองการความปลอดภัยในเรื่องอื่นๆ จะเกี่ยวขTองกับการเผชิญ
กับสิ่ง ต(างๆ เหล(านี้ สงคราม อาชญากรรม น้ำท(วม แผ(นดินไหว การจลาจล ความสับสนไม( เป-นระเบียบของ
สังคม และเหตุการณ[อื่นๆ ที่คลTายคลึงกับสภาพเหล(านี้ มาสโลว[ ไดT ใหTความคิดต(อไปว(าอาการโรคประสาทใน
ผูTใหญ( โดยเฉพาะโรคประสาทชนิดย้ำคิด - ย้ำทำ (obsessive-compulsive neurotic) เป-นลักษณะเด(นชัดของ
การคTนหาความ รูTสึกปลอดภัย ผูTปÄวยโรคประสาทจะแสดงพฤติกรรมว(าเขากำลังประสบเหตุการณ[ที่รTายกาจและ

118

กำลังมีอันตรายต(างๆ เขาจึงตTองการมีใครสักคนที่ปกปžองคุTม ครองเขาและเป-นบุคคลที่มีความเขTมแข็งซึ่งเขา
สามารถจะพง่ึ พาอาศยั ไดT

ขนั้ ท่ี 3 ความต#องการความรัก และความเปQนเจ#าของ (Belonging and love needs)
เมื่อ 2 ขั้นแรกไดTรับการสนองความตTองการแลTว มนุษย[จะสรTางความรักและความผูกพันกับผูTอื่น ความ

ตTองการความรักและความเป-นเจTาของเป-นความตTองการขั้นที่ 3 ความ ตTองการนี้จะเกิดขึ้นเมื่อความตTองการ
ทางดTานร(างกาย และความตTองการความปลอดภัยไดTรับการตอบสนองแลTว บุคคลตTองการไดTรับความรัก และ
ความเป-นเจTาของโดยการสรTางความสัมพันธ[กับผูTอื่น เช(น ความสัมพันธ[ภาย ในครอบครัวหรือกับผูTอื่น สมาชิก
ภายในกลุ(มจะเป-นเปžาหมายสำคัญสำหรับ บุคคล กล(าวคือ บุคคลจะรูTสึกเจ็บปวดมากเมื่อถูกทอดทิ้งไม(มีใคร
ยอมรับ หรือ ถูกตัดออกจากสังคม ไม(มีเพื่อน โดยเฉพาะอย(างยิ่งเมื่อจำนวนเพื่อนๆ ญาติพี่ นTอง สามีหรือภรรยา
หรือลูกๆ ไดTลดนTอยลงไป นักเรียนที่เขTาโรงเรียนที่ห(าง ไกลบTานจะเกิดความตTองการเป-นเจTาของอย(างยิ่ง และจะ
แสวงหาอย(างมากที่จะไดT รับการยอมรับจากกลุ(มเพื่อน มาสโลว[ คัด คTานกลุ(ม Freud ที่ว(าความรักเป-นผลมาจาก
การทดเทิดสัญชาตญาณทาง เพศ (sublimation) สำหรับ มาสโลว[ ความรักไม(ใช(สัญลักษณ[ของเรื่อง เพศ (sex)
เขาอธิบายว(า ความรักที่แทTจริงจะเกี่ยวขTองกับความรูTสึกที่ ดี ความสัมพันธ[ของความรักระหว(างคน 2 คน จะ
รวมถึงความรูTสึกนับถือซึ่งกัน และกัน การยกย(องและความไวTวางใจแก(กัน นอกจากนี้ มาสโลว[ ยังย้ำว(าความตTอง
การความรักของคนจะเป-นความรักที่เป-นไปในลักษณะทั้งการรูTจักใหTความรักต(อ ผูTอื่นและรTูจักที่จะรับความรัก
จากผูTอื่น การไดTรับความรักและไดTรับการ ยอมรับจากผูTอื่นเป-นสิ่งที่ทำใหTบุคคลเกิดความรูTสึกว(าตนเองมีคุณค(า
บุคคลที่ขาดความรักก็จะรูTสึกว(าชีวิตไรTค(ามีความรูTสึกอTางวTางและเคียด แคTน กล(าวโดยสรุป มาสโลว[ มีความเห็น
ว(าบุคคลตTองการความรักและความรูTสึก เป-นเจTาของ และการขาดสิ่งนี้มักจะเป-นสาเหตุใหTเกิดความขTองคับใจและ
ทำใหTเกิดปYญหาการ ปรับตัวไม(ไดT และความยินดีในพฤติกรรมหรือความเจ็บปÄวยทางดTานจิตใจในลักษณะ ต(างๆ
สิ่งที่ ควรสังเกตประการหนึ่ง ก็คือมีบุคคลจำนวนมากที่มีความลำบากใจที่จะเป-ดเผยตัว เองเมื่อมีความสัมพันธ[
ใกลTชิดสนิทสนมกับเพศตรงขTามเนื่องจากกลัวว(าจะถูก ปฏิเสธความรูTสึกเช(นนี้ มาสโลว[ กล(าว ว(าสืบเนื่องมาจาก
ประสบการณ[ในวัยเด็ก การไดTรับความรักหรือการขาดความรักใน วัยเด็ก ย(อมมีผลกับการเติบโตเป-นผูTใหญ(ที่มีวุฒิ
ภาวะและการมีทัศนคติในเร่ืองของ ความรัก มาสโลว[ เปรียบเทียบว(าความตTองการความรักก็เป-นเช(นเดียวกับ
รถยนต[ ทสี่ รTางขน้ึ มาโดยตอT งการก£าซหรือน้ำมันน่นั เอง (มาสโลว[1970 p. 170)
ขัน้ ท่ี 4 ความตอ# งการการได#รับการยกยXองนบั ถอื (Esteem needs)

แบง( ออกเป-น 2 ลกั ษณะ ไดTแก( เมือ่ ความตอT งการไดTรบั ความรักและการใหคT วามรักแกผ( Tอู นื่ เปน- ไปอยา( งมี
เหตุผลและ ทำใหTบุคคล เกิดความพึงพอใจแลTว พลังผลักดันในขั้นที่ 3 ก็ จะลดลงและมีความตTองการในขั้นต(อไป
มาแทนที่ กล(าวคือมนุษย[ตTองการที่จะไดT รับความนับถือยกย(องออกเป-น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป-นความ
ตTองการนับถือตน เอง (self-respect) ส(วนลักษณะที่ 2 เป-นความตTองการไดTรับการยกย(องนับถือ จากผูTอื่น
(esteem from others) ความตTองการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความตTองการมีอำนาจ มั่นใจ ใน
ตนเอง มีความแข็งแรง มีความ สามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ไม(ตTองพึ่งพาอาศัยผTูอื่น และมีความเป-น อิสระ ทุก
คนตTองการที่จะรูTสึกว(าเขามีคุณค(าและมีความสามารถที่จะประสบความ สำเร็จในงานภารกิจต(างๆ และมีชีวิตที่

119

เด(นดงั ความตTองการไดรT ับการยกยอ( งนับถอื จากผTอู ื่น (esteem from others) คอื ความตอT งการมเี กยี รติยศ การ
ไดTรับ ยกย(อง ไดTรับการยอมรับ ไดTรับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสียงเป-นที่กล(าว ขาน และเป-นที่ชื่นชมยินดี มี
ความตTองการที่จะไดTรับความยกย(องชมเชยในสิ่ง ที่เขากระทำซึ่งทำใหTรูTสึกว(าตนเองมีคุณค(าว(าความสามารถของ
เขาไดรT ับการ ยอมรบั จากผูTอน่ื ความตTองการไดรT ับความนับถือยกย(อง กเ็ ป-นเชน( เดียวกับธรรมชาติของลำดบั ชน้ั ใน
เรื่องความตTองการดTานแรงจูงใจตามทัศนะของ มาสโลว[ ใน เรื่องอื่นๆ ที่เกิดขึ้นภายในจิตนั่นคือ บุคคลจะแสวงหา
ความตTองการไดTรับการ ยกย(องก็เมื่อภายหลังจาก ความตTองการความรักและความเป-นเจTาของไดTรับการ
ตอบสนองความพึงพอใจของเขา แลTว และ มาสโลว[ กล(าวว(ามันเป-นสิ่งที่เป-นไปไดTที่บุคคลจะยTอนกลับ จากระดับ
ขั้นความตTองการในขั้นที่ 4 กลับไปสู(ระดับขั้นที่ 3 อีกถTาความตTองการระดับขั้นที่ 3 ซึ่งบุคคลไดTรับไวTแลTวนั้นถูก
กระทบ กระเทือนหรือสูญสลายไปทันทีทันใด ดังตัวอย(างที่ มาสโลว[ นำมาอTางคือหญิงสาวคนหนึ่งซึ่งเธอคิดว(า
การตอบสนองความตTองการความรักของ เธอไดTดำเนินไปดTวยดี แลTวเธอจึงทุ(มเทและเอาใจใส(ในธุรกิจของเธอ
และไดTประสบความสำเร็จเป-นนัก ธุรกิจที่มีชื่อเสียงและอย(างไม(คาดฝYนสามีไดTผละจากเธอไป ในเหตุการณ[เช(น น้ี
ปรากฏว(าเธอวางมือจากธุรกิจต(างๆ ในการที่จะส(งเสริมใหTเธอไดTรับความ ยกย(องนับถือ และหันมาใชTความ
พยายามที่จะเรียกรTองสามีใหTกลับคืนมา ซึ่งการ กระทำเช(นนี้ของเธอเป-นตัวอย(างของความตTองการความรักซ่ึง
ครั้งหนึ่งเธอไดT รับแลTว และถTาเธอไดTรับความพึงพอในความรักโดยสามีหวนกลับคืนมาเธอก็จะกลับ ไปเกี่ยวขTอง
ในโลกธุรกิจอีกครั้งหนึ่ง ความ พึงพอใจของความตTองการไดTรับการยกย(องโดยทั่วๆ ไป เป-นความรูTสึกและทัศนคติ
ของความเชื่อมั่นในตนเอง ความรูTสึกว(าตนเองมีคุณค(า การมีพละกำลัง การมี ความสามารถ และความรูTสึกว(ามี
ชีวิตอยู(อย(างมีประโยชน[และเป-นบุคคลที่มี ความจำเป-นต(อโลก ในทางตรงกันขTามการขาดความรูTสึกต(างๆ
ดังกล(าวนี้ย(อมนำ ไปสู(ความรูTสึกและทัศนคติของปมดTอยและความรูTสึกไม(พอเพียง เกิดความรูTสึก อ(อนแอและ
ช(วยเหลือตนเองไม(ไดT สิ่งต(างๆ เหล(านี้เป-นการรับรูTตนเองในทาง นิเสธ (negative) ซึ่งอาจก(อใหTเกิด ความรูTสึก
ขลาดกลัวและรูTสึกว(าตนเองไม(มีประโยชน[และสิ้นหวังในสิ่ง ต(างๆ ที่เกี่ยวขTองกับความตTองการของชีวิต และ
ประเมินตนเองต่ำกว(าชีวิต ความเป-นอยู(กับการไดTรับการยกย(อง และยอมรับจากผูTอื่นอย(างจริงใจมากกว(าการมี
ชื่อเสียงจากสถานภาพหรือการไดT รับการประจบประแจง การไดTรับความนับถือยกย(องเป-นผลมาจากความเพียร
พยายามของ บุคคล และความตTองการนี้อาจเกิดอันตรายขึ้นไดTถTาบุคคลนั้นตTองการคำชมเชย จากผูTอื่นมากกว(า
การยอมรับความจริงและเป-นที่ยอมรับกันว(าการไดTรับความ นับถือยกย(อง มีพื้นฐานจากการกระทำของบุคคล
มากกวา( การควบคมุ จากภายนอก
ขัน้ ที่ 5 ความต#องการท่ีจะเข#าใจประจกั ษต? นเองอยาX งแทจ# รงิ (Self-actualization needs)

ลำดบั ขน้ั สุดทTาย ถาT ความตอT งการลำดบั ขน้ั กอ( นๆ ไดทT ำใหTเกิดความพึงพอใจ อยา( งมีประสิทธิภาพ ความ
ตTองการเขTาใจตนเองอย(างแทTจริงก็จะเกิดขึ้น มาสโลว[ อธิบาย ความตTองการเขTาใจตนองอย(างแทTจริง ว(าเป-นความ
ปรารถนาในทุกสิ่งทุกอย(างซึ่งบุคคลสามารถจะไดTรับอย(างเหมาะสม บุคคลที่ประสบผลสำเร็จในขั้นสูงสุดนี้จะใชT
พลังอย(างเต็มที่ในสิ่งที่ทTาทาย ความสามารถและศักยภาพของเขาและมีความปรารถนาที่จะปรับปรุงตนเอง พลัง
แรงขับ ของเขาจะกระทำพฤติกรรมตรงกับความสามารถของตน กล(าวโดยสรุปการเขTาใจตน เองอย(างแทTจริงเป-น
ความตTองการอย(างหนึ่งของบุคคลที่จะบรรลุถึงวจุดสูงสุด ของศักยภาพ เช(น “นักดนตรีก็ตTองใชTความสามารถ
ทางดTานดนตรี ศิลป-นก็จะตTอง วาดรูป กวีจะตTองเขียนโคลงกลอน ถTาบุคคลเหล(านี้ไดTบรรลุถึงเปžาหมายที่ตน ตั้งไวT

120

ก็เชื่อไดTว(าเขาเหล(านั้นเป-นคนที่รูTจักตนเองอย(างแทT จริง” มาสโลว[ ( 1970 : 46) ความตTองการที่จะเขTาใจตนเอง
อย(างแทTจริงจะดำเนินไปอย(างง(ายหรือเป-นไปโดยอัตโนมัติ โดยความเป-นจริงแลTว มาสโลว[ เชื่อ ว(าคนเรามักจะ
กลัวตัวเองในสิ่งเหล(านี้ “ดTานที่ดีที่สุดของเรา ความสามารถ พิเศษของเรา สิ่งที่ดีงามที่สุดของเรา พลัง
ความสามารถ ความคิดสรTางสรรค[” มาสโลว[ (1962 : 58) ความตTอง การเขTาใจตนเองอย(างแทTจริงมิไดTมีแตเ( ฉพาะ
ในศิลป-นเท(านั้น คน ทั่วๆ ไป เช(น นักกีฬา นักเรียน หรือแมTแต(กรรมกรก็สามารถจะมีความเขTาใจตน เองอย(าง
แทTจริงไดTถTาทุกคนสามารถทำในสิ่งที่ตนตTองการใหTดีที่สุด รูปแบบ เฉพาะของการเขTาใจตนเองอย(างแทTจริงจะมี
ความแตกต(างอย(างกวTางขวางจากคน หนึ่งไปสู(อีกคนหนึ่ง กล(าวไดTว(ามันคือระดับความตTองการที่แสดงความ
แตกต(าง ระหว(างบุคคลอย(างยิ่งใหญ(ที่สุด มาสโลว[ ไดT ยกตัวอย(างของความตTองการเขTาใจตนเองอย(างแทTจริง ใน
กรณีของนักศึกษา ชื่อ Mark ซึ่งเขาไดTศึกษาวิชาบุคลิกภาพเป-นระยะเวลายาวนานเพื่อเตรียมตัว เป-นนักจิตวิทยา
คลินิก นักทฤษฎีคนอื่นๆ อาจจะอธิบายว(าทำไมเขาจึงเลือกอาชีพ นี้ ตัวอย(าง เช(น Freud อาจกล(าวว(ามันสัมพันธ[
อย(างลึกซึ้งกับสิ่งที่เขา เก็บกด ความอยากรูTอยากเห็นในเรื่องเพศไวTตั้งแต(วัยเด็ก ขณะที่ Adler อาจมองว(า มัน
เป-นความพยายามเพื่อชดเชยความรูTสึกดTอยบางอย(างในวัยเด็ก Skinner อาจ มองว(าเป-นผลจากการถูกวาง
เงื่อนไขของชีวิตในอดีต ขณะที่ Bandura สัมพันธ[ เรื่องนี้กับตัวแปรต(างๆ ทางการเรียนรูTทางสังคม และ Kelly
อาจพิจารณา ว(า Mark กำลังจะพุ(งตรงไปเพื่อที่จะเป-นบุคคลที่เขาตTองการจะเป-นตัวอย(าง ที่แสดงถึง การมุ(งตรง
ไปสู(เปžาประสงค[ในอาชีพโดยความตTองการที่จะเขTาใจตนเองอย(างแทT จริงและถTาจะพิจารณากรณีของ Mark ใหT
ลึกซึ่งยิ่งขึ้น ถTา Mark ไดTผ(าน กาเรียนวิชาจิตวิทยาจนครบหลักสูตรและไดTเขียนวิทยานิพนธ[ระดับปริญญาเอก
และ ในที่สุดก็ไดTรับปริญญาเอกทางจิตวิทยาคลีนิค สิ่งที่จะตTองวิเคราะห[ Mark ต(อไปก็คือ เมื่อเขาสำเร็จ
การศึกษาดังกล(าวแลTวถTามีบุคคลหนึ่งไดTเสนองานใหTเขาใน ตำแหน(งตำรวจสืบสวน ซึ่งงานในหนTาที่นี้ฮจะไดTรับ
ค(าตอบแทนอย(างสูงและไดTรับ ผลประโยชน[พิเศษหลายๆ อย(างตลอดจนรับประกันการว(าจTางและความมั่นคง
สำหรับ ชีวิต เมื่อประสบเหตุการณ[เช(นนี้ Mark จะทำอย(างไร ถTาคำตอบของเขา คือ “ตกลง” เขาก็จะยTอนกลับ
มาส(คู วามตTองการระดับที่ 2 คือความตอT งการความ ปลอดภยั สำหรับการวเิ คราะห[ความเขาT ใจตนเองอยา( งแทTจริง
มาสโลว[ กล(าว ว(า “อะไรที่มนุษย[สามารถจะเป-นไดTเขาจะตTองเป-นในสิ่งนั้น” เรื่อง ของ Mark เป-นตัวอย(างง(ายๆ
ว(า ถTาเขาตกลงเป-นตำรวจสืบสวน เขาก็จะไม(มี โอกาสที่จะเขTาใจตนเองอย(างแทTจริง ทำไมทุกๆ คนจึงไม(
สัมฤทธิผลในการเขTาใจตนเองอย(างแทTจริง (Why Can’t All People Achieve Self-Actualization) ตาม
ความคิดของ มาสโลว[ ส(วนมากมนุษย[แมTจะไม(ใช(ทั้งหมดที่ตTองการแสวงหาเพื่อ ใหTเกิดความสมบูรณ[ภายในตน
จากงานวิจัยของเขาทำใหT มาสโลว[ สรุปว(าการรูTถึง ศักยภาพของตนนั้นมาจากพลังตามธรรมชาติและจากความ
จำเป-นบังคับ ส(วนบุคคลที่ มีพรสวรรค[มีจำนวนนTอยมากเพียง 1% ของประชากร ที่ มาสโลว[ ประมาณ มาสโลว[
เชื่อว(าการนำศักยภาพของตนออกมาใชTเป-นสิ่งที่ยาก มาก บุคคลมักไม(รูTว(า ตนเองมีความสามารถและไม(ทราบว(า
ศักยภาพนั้นจะไดTรับ การส(งเสริมไดTอย(างไร มนุษย[ส(วนใหญ(ยังคงไม(มั่นใจในตัวเองหรือไม(มั่นใจในความสามารถ
ของตนจึงทำ ใหหT มดโอกาสเขาT ใจตนเองอยา( งแทTจริง และยงั มีสิ่งแวดลTอมทางสงั คมทม่ี าบดบัง

โดยมาสโลว[ไดTอธิบายว(า เมื่อความตTองการในขั้นหนึ่งที่ต่ำกว(าไดTรับการตอบสนอง มนุษย[ก็จะมีความ
ตTองการในขั้นต(อไป ซึ่งความตTองการที่ไดTรับการตอบสนองในแต(ละขั้นนั้นไม(จำเป-นตTองไดTรับเต็ม 100 เปอร[เซ็นต[
ก(อนจึงจะมีความตTองการในข้ันตอ( ไปทส่ี ูงขึน้

121

หลักการจดั การศกึ ษา/การสอน (มาสโลว)?
1. เขTาใจถึงความตTองการพื้นฐานของมนุษย[ สามารถช(วยใหTเขTาใจพฤติกรรมของบุคคลไดT เนื่องจาก

พฤติกรรมเป-นการแสดงออกของความตอT งการของบคุ คล
2. จะสามารถช(วยใหTผูTเรียนเกิดการเรียนรูTไดTดี จำเป-นตTองตอบสนองความตTองการพื้นฐานที่เขาตTองการ

เสยี ก(อน
3. ในกระบวนการเรียนการสอน หากรูสามารถหาไดTว(าผูTเรียนแต(ละคนมีความตTองการอยู(ในระดับใดขั้น

ใด ครูสามารถใชคT วามตอT งการพน้ื ฐานของผTเู รยี นนั้นเปน- แรงจูงใจ ชว( ยใหผT ูเT รยี นเกดิ การเรยี นรูTไดT
4. การช(วยใหTผูTเรียนไดTรับการตอบสนองความตTองการพื้นฐานของตนอย(างพอเพียง การใหTอิสรภาพและ

เสรีภาพแก(ผูTเรียนในการเรียนรูT การจัดบรรยากาศที่เอื้อต(อการเรียนรูTจะช(วยส(งเสริมใหTผูTเรียนเกิดประสบการณ[ใน
การรูจT ักตนเองตรงตามสภาพความเปน- จรงิ (ทีม่ า : บริหารการศกึ ษา กลุ(มดอนทอง 52)

ทฤษฎตี ัวตนของโรเจอรE Carl Rogers

ทฤษฏีของโรเจอร[ กล(าวว(า “ตนเอง” (Self) คือการรวมกันของรูปแบบค(านิยม เจตคติการรับรูTและ
ความรูTสึก ซึ่งแต(ละบุคคลมีอยู(และเชื่อว(าเป-นลักษณะเฉพาะของเขาเอง ตนเองหมายถึงฉันและตัวฉัน เป-น
ศูนย[กลางที่รวมประสบการณ[ทั้งหมดของแต(ละบุคคล ภาพพจน[นี้เกิดจากการที่แต(ละบุคคลมีการเรียนรูTตั้งแต(วัย
เริ่มแรกชีวิต สำหรับบุคคลที่มีการปรับตัวดีก็จะมีการเปลี่ยนแปลงอย(างคงที่และมีการปรับตัวตามประสบการณ[ท่ี
แต(ละคนมีการสังเกตและการรับรูTเป-นเรื่องของตนเองที่ปรับใหTเขTากับสภาพสิ่งแวดลTอมในการทำงาน ตัวอย(าง
เช(น พนักงานบางคนมีการตอบสนองอย(างมีประสิทธิภาพต(อสภาพสิ่งแวดลTอมในการทำงานและการเป-นผูTนำ
(ณชั ชากญั ญ[ วิรตั นชยั วรรณ, 2555)

คาร[ล โรเจอร[ (Carl Rogers) มีความเห็นว(า ธรรมชาติของมนุษย[เป-นสิ่งที่ดีและมีความสำคัญมาก โดยมี
ความพยายามที่จะพัฒนาร(างกายใหTมีความเจริญเติบโตอย(างมีศักยภาพสูงสุด โรเจอร[ ตั้งทฤษฏีขึ้นมาจาก
การศึกษาปYญหาพฤติกรรมของคนไขTจากคลินิกการักษาคนไขTของเขา และไดTใหTความสนใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพท่ี
เกิดจากสุขภาพเป-นอย(างมาก ทฤษฏีของโรเจอร[เนTนถึงเกียรติของบุคคล ซึ่งบุคคลมีความสามารถที่จะทำการ
ปรับปรุงชีวิตของตนเองเมื่อมีโอกาสเขTามิใช(จะเป-นเพียงแต(เหยื่อในขณะท่ีมีประสบการณ[ในสมัยที่เป-นเด็ก หรือ
จากแรงขับของจิตใตTสำนึก แต(ละบุคคลจะรูTจักการสังเกตสิ่งแวดลTอมที่อยู(รอบตัวเรา โดยมีแนวทางเฉพาะของ
บุคคล กลา( วไดวT (า เปน- การับรTสู ภาพสิ่งแวดลอT มซง่ึ มคี วามสำคญั มาก โรเจอร[ เชอ่ื ว(า มนุษยท[ กุ คนมตี ัวตน 3 แบบ

1. ตนที่ตนมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว(าตนเป-นอย(างไร มีความรูTความสามารถ
ลกั ษณะเพราะตนอย(างไร เช(น สวย รวย เก(ง ตำ่ ตTอย ขีอ้ ายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไม(ตรงกับขTอเท็จจริงหรอื ภาพ
ที่คนอน่ื เห็น

2. ตนตามที่เปQนจริง (Real Self) ตัวตนตามขTอเท็จจริง แต(บ(อยครั้งที่ตนมองไม(เห็นขTอเท็จจริง เพราะ
อาจเปน- ส่งิ ทท่ี ำ ใหTรTสู กึ เสียใจ ไมเ( ท(าเทียมกับบคุ คลอื่น เป-นตนT

3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป-น แต(ยังไม(มีไม(เป-นในสภาวะปYจจุบัน เช(น
ชอบเก็บตัว แต(อยากเก(งเขTาสังคม เป-นตTน ถTาตัวตนทั้ง 3 ลักษณะ ค(อนขTางตรงกันมาก จะทำใหTมีบุคลิกภาพ
ม่ันคง แตถ( Tาแตกตา( งกนั สูง จะมคี วามสับสนและออ( นแอดTานบคุ ลกิ ภาพ

122

โรเจอร[วางหลักไวTว(า บุคคลถูกกระตุTนโดยความตTองการสำหรับการยอมรับนับถือทางบวก นั่นคือความ
ตTองการความรัก การยอมรับและความมีคุณค(า บุคคลเกิดมาพรTอมกับความตTองการการยอมรับนับถือในทางบวก
และจะไดTรับการยอมรับนบั ถือ โดยอาศัยการศึกษาจากการดำเนนิ ชวี ิตตามมาตรฐานของบุคคลอน่ื

ทฤษฎีการเรียนรูTของโรเจอร[ แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูTของทฤษฏีนี้ คือ มนุษย[สามารถพัฒนาตนเอง
ไดTดีหากอยู(ในสภาวะที่ผ(อนคลายและเป-นอิสระ การจัดบรรยากาศที่ผ(อนคลายและเอื้อต(อการเรียนเรียนรูTและ
เนTนใหTผูTเรียนเป-นศูนย[กลาง โดยครูเป-นผูTชี้แนะและทำหนTาที่อำนวยความสะดวกในการเรียนรูTใหTแก(ผูTเรียนและ
การเรียนรูTจะเนTนกระบวนการเป-นสำคัญ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เนTนการเรียนรูTกระบวนการ
เป-นสำคัญ ควรจัดสภาพแวดลTอมทางการเรียนใหTอบอุ(น ปลอดภัย ครูควรสอนแบบชี้แนะโดยใหTผูTเรียนเป-นผูTนำ
ทางในการเรยี นรTูของตนและคอยช(วยเหลอื ผTเู รียนใหTเรยี นอยา( งสะดวกจนบรรลุผล
หลกั การของโรเจอร? (ท่ีมา : ณชั ชากญั ญ[ วิรัตนชยั วรรณ ,2555)

1. โดยธรรมชาตแิ ลวT มนษุ ย[ทุกคนมศี กั ยภาพทจี่ ะเรียนรูT
2. การเรียนรูTจะเกิดขึ้นก็ต(อเมื่อผูTเรียนรับรูTว(าวิชาที่เรียนมีความหมาย และมีจุดหมายสัมพันธ[ กับ
จุดหมายในชวี ติ ของผTเู รียน
3. ผเูT รยี นจะตอ( ตาT นการเรียนรูTที่ผTูเรยี นรTสู ึกว(าเป-นการกระทำท่ีกระทบกระเทือนความรสTู กึ ของผูTเรียน
4. ในกรณีทก่ี ารกระทบกระเทือนจากภายนอกลดลง จะทำใหผT ูTเรยี นยอมรบั การเรียนรูไT ดบT Tาง
5. ผTูเรยี นจะยอมรบั รปูT ระสบการณใ[ หม(ๆ และเริม่ เรยี นรหTู ากการขู(เขญ็ จากภายนอกลดลง
6. การเรยี นรทูT ส่ี ำคัญจะเกดิ จากตัวผูTเรยี นเอง
7. ถTานักเรยี นมีสว( นร(วมและรบั ผดิ ชอบในกระบวนการเรียนรูT จะทำใหกT ารเรยี นรขTู องผเTู รียนมากข้ึน
8. ถาT นักเรยี นเปน- ผTูรเิ ริ่มเรยี นรดTู Tวยตนเอง จะทำใหTนักเรยี นอยากเรยี นรTูเพ่ิมมากขึ้นตลอดเวลา
9. การใหTผูTเรียนประเมินผลการเรียนรูTดTวยตนเองจะช(วยใหTผูTเรียนมีความคิดเป-นอิสระ เป-นตัวของตัวเอง
และมีความคดิ ริเร่ิมสรTางสรรค[
10. การเรยี นรจTู ะมปี ระโยชน[มากที่สดุ ตอ( การมีชีวิตอยใู( นปจY จุบัน
หลักการจดั การศึกษา/การสอน (โรเจอร)?
1. การจัดสภาพแวดลTอมทางการเรียนใหTอบอุ(น ปลอดภัย ไม(น(าหวาดกลัว น(าไวTวางใจ จะช(วยใหTผูTเรียน
เกิดการเรียนรูไT ดTดี
2. ผูTเรียนแต(ละคนมีศักยภาพและแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองอยู(แลTว ครูจึงควรสอนแบบชี้แนะ(non-
directive) โดยใหTผูTเรียนเป-นผูTนำทางในการเรียนรูTของตน(self- directive) และคอยช(วยเหลือผูTเรียนใหTเรียน
อยา( งสะดวกจนบรรลุผล
3. ในการจัดการเรียนการสอนควรเนTนการเรียนรูTกระบวนการ(process learning) เป-นสำคัญ เนื่องจาก
กระบวนการเรียนรูTเป-นเครื่องมือสำคัญที่บุคคลใชTในการดำรงชีวิตและแสวงหาความรูTต(อไป (ที่มา : บริหาร
การศึกษา กลมุ( ดอนทอง 52)

123

ทฤษฏกี ารเรียนรทู` างสังคม (Social Learning Theory)

บันดูรา (Bandura,1986) ทฤษฎีนี้ถือว(าพฤติกรรมส(วนใหญ(ของบุคคล เกิดจากการเรียนรูT ส(วนหนึ่งของ
บุคคลเรียนรูTจากประสบการณ[ตรงของตนเอง และอีกส(วนหนึ่งจากการสังเกตพฤติกรรมของคนอื่น ซึ่งถือว(าเป-น

การเรียนรูTโดยการสังเกตหรือการเรียนรูTจากตัวแบบ (Observational Learning or Modeling) โดยพฤติกรรม
ของบุคคลมิไดTถูกผลักดันโดยพลังภายใน (Inner Force) ไม(ไดTถูกปรับแต(งอย(างอัตโนมัติ (Automatically
Shaped) และท้ังไมไ( ดถT กู ควบคมุ โดยส่ิงเรTาจากภายนอก(External Stimuli) เท(านน้ั

การเรียนรูTหรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลเกิดจากการสังเกตและการเลียนแบบจากตTนแบบ
สิ่งแวดลTอม เหตุการณ[ และสถานการณ[ที่บุคคลมีความสนใจ โดยกระบวนการเลียนแบบ ประกอบดTวย 4
กระบวนการสำคัญ คือ (Robbins, 2003, pp. 46-47)

1. กระบวนการความสนใจ (Attentional process) คือ กระบวนการที่บุคคลรูTสึกสนใจในตัวแบบ และ
สถานการณ[ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากผูTเรียนเห็นว(าตัวแบบและสถานการณ[ดังกล(าวเป-นเรื่องสำคัญ ตลอดจนเห็น
วา( ตัวแบบนัน้ มีความเหมือนกบั ผเูT รียน

2. กระบวนการความจำ (Retention process) คือ กระบวนการในการจดจำพฤติกรรมของตัวแบบไดTดี
ซ่ึงจะทำใหสT ามารถเลียนแบบและถา( ยทอดแบบมาไดTง(าย
3. กระบวนการการแสดงออก (Motor and reproduction process) คือ กระบวนการทาตาม

พฤติกรรมของตัวแบบ ซึ่งหมายความว(า ภายหลังจากที่ผูTเรียนไดTสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบแลTวจะแสดง
พฤติกรรมตามอยา( งตวั แบบ
4. กระบวนการเสริมแรง (Reinforcement process) หมายถึง หากมีการเสริมแรงเช(น การใหTรางวัลต(อ

พฤติกรรมหนึ่ง ๆ จะทาใหTบุคคลใหTความสนใจในพฤติกรรมแบบนั้นเพิ่มขึ้น เรียนรูTดีขึ้น และแสดงพฤติกรรมน้ัน
บ(อยครั้งขึ้น พฤติกรรมของบุคคลเกิดขึ้นโดยการปฏิสัมพันธ[ที่ขึ้นต(อกันจากองค[ประกอบ 3 ส(วน (Triadic
Reciprocally) ดังน้ี
B

PE

124
B = พฤตกิ รรม (Behavior)
P = ปญY ญาและองค[ประกอบส(วนบุคคล (Cognitive and other Personal Factors)
E = สภาพแวดลTอม (Environmental Events)
บันดรู ามที ศั นะว(า พฤติกรรม (behavior หรอื B) ของมนุษยม[ าปฏิสัมพนั ธก[ บั ปYจจยั หลักอกี 2 ปYจจยั (ท่มี า
: Robbins, 2003) คือ 1) ปYจจัยทางปYญญาและปYจจัยส(วนบุคคลอื่นๆ (Personal Factor) 2) อิทธิพลของ
สภาพแวดลTอม (Environmental Influences ) บันดูราไดTใหTความแตกต(างระหว(างการเรียนรTู (Learning) กับ
การกระทำ (Performance) ซึ่งสำคัญ มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรูTอะไรหลายอย(าง แต(ไม( จำเป-นตTอง
แสดงออกทุกอย(าง เช(นเราอาจจะเรียนรูTวิธี การทุจริตในการสอบว(า ตTองทำอย(างไรบTาง แต(ถึงเวลาสอบจริงเรา
อาจจะไม(ทุจริตก็ไดT หรือเราเรียนรูT ว(าการพูดจาและแสดงกริยาอ(อนหวาน กับพ(อ แม(เป-นการเรียนรูTโดยการ
สังเกต บันดูราเชื่อว(า การเรียนรูTของมนุษย[ส(วนมาก เป-นการเรียนรูTโดยการสังเกต (Observational Learning)
หรือการเลยี นแบบจากตวั แบบ (Modeling) สำหรบั ตวั แบบ ไม(จำเปน- ตTองเป-นตัวแบบท่ีมีชีวิตเทา( นนั้ แตอ( าจจะ
เป-นตัวแบบ สัญลักษณ[ เช(น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน[ ภาพยนตร[ เกมส[ คอมพิวเตอร[หรืออาจจะเป-น รูปภาพ
การต[ นู หนงั สอื นอกจากนี้ คำบอกเลา( ดวT ยคำพดู หรือขอT มลู ทีเ่ ขียนเป-นลายลักษณอ[ กั ษร กเ็ ปน- ตวั แบบไดT
ความสามารถทางปญ: ญา (Cognitive Capacities)

A หมายถงึ สภาพแวดลTอมหรือส่งิ เราT
B1 หมายถึง พฤตกิ รรมภายใน (Covert Behavior) คือ ปญY ญา (Cognitive) และองคป[ ระกอบส(วนบุคคล
(Personal Factor) ซ่งึ เชอื่ ว(าเปน- ตวั กำหนดใหT B2 เกิดขนึ้
B2 หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงออกมา (Overt Behavior)
C+ หมายถึง ผลท่ีไดมT ที ง้ั ผลทางบวก (C+) และผลทางลบ (C-)
การกระทำพฤติกรรมใดจะกอ( ใหเT กิดผลทางบวก หรอื ทางลบ

กระบวนการน้ีทำหนาT ท่ี 3 ประการ คือ
1. ทำหนTาทใี่ หขT Tอมลู (Information Function)
2. ทำหนาT ทีใ่ หแT รงจงู ใจ (Motivational Function)
3. ทำหนTาที่ในการเสรมิ แรง (Reinforcing Function)

125

ขั้นการรบั มาซึ่งการเรียนร#ู

การเรียนรูTปYญญาเชิงสังคมดTวยการสังเกตจากตวั แบบจงึ สามารถแยกไดเT ปน- 2 ขัน้ คือ
ขนั้ ท่ี 1 เป-นข้ันการไดรT ับมาซง่ึ การเรยี นรูT (Acquisition)
ข้นั ที่ 2 เป-นขน้ั การแสดงออก (Performance)

บันดูรา ไดTใหTความแตกต(างของการเรียนรูT (Learning) และการกระทำ (Performance)ว(าความแตกต(างนี้

สำคัญมาก เพราะคนอาจจะเรียนรูTอะไรหลายอย(าง แต(ไม(กระทำ บันดูรา ไดTสรุปว(า พฤติกรรมของมนุษย[อาจจะ
แบ(งออกไดเT ป-น 3 ประเภท

1. พฤติกรรมสนองตอบท่เี กิดจากการเรยี นรูT ผTูซง่ึ แสดงออก หรอื กระทำสม่ำเสมอ
2. พฤติกรรมทเ่ี รยี นรูแT ต(ไม(เคยแสดงออกหรือกระทำ
3. พฤติกรรมที่ไม(เคยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไม(เคยเรียนรูTจริง ๆบันดูรา ไม(เชื่อว(าพฤติกรรมท่ี
เกดิ ขนึ้ จะคงตวั อย(ูเสมอ
การประยุกต?ในดา# นการเรียนการสอน
1. ตั้งวตั ถุประสงค[ทจ่ี ะทำใหนT กั เรยี นแสดงพฤติกรรม หรือเขยี นวัตถปุ ระสงค[เป-นเชงิ พฤตกิ รรม
2. ผสTู อนแสดงตัวอย(างของการกระทำหลายๆตวั อย(าง ซึ่งอาจจะเปน- คน การต[ ูน ภาพยนตร[ วิดโี อ
โทรทัศน[และส่ือสิง่ พมิ พ[ต(างๆ
3. ผTูสอนใหTคำอธบิ ายควบค(ไู ปกับการใหTตัวอย(างแต(ละครงั้
4. ช้ีแนะขัน้ ตอนการเรียนรูTโดยการสังเกตแก(นกั เรียน เช(น แนะใหTนกั เรยี นสนใจสิง่ เราT ที่ควรจะใส(ใจหรือ
เลือกใส(ใจ

126

5. จัดใหTนกั เรียนมโี อกาสท่จี ะแสดงพฤตกิ รรมเหมอื นตวั แบบ เพือ่ จะไดดT วู (านักเรยี นสามารถทจ่ี ะกระทำ
โดยการเลียนแบบหรือไม( ถาT นักเรยี นทำไดไT ม(ถูกตTองอาจจะตTองแกไT ขวิธกี ารสอนหรืออาจจะแกไT ขท่ีตวั ผTเู รยี นเอง

6. ใหแT รงเสริมแกน( ักเรยี นท่ีสามารถ เลียนแบบไดถT กู ตอT ง เพอ่ื จะใหTนกั เรยี นมีแรงจูงใจท่จี ะเรยี นรTแู ละ
เปน- ตัวอยา( งแกน( ักเรยี น (ทมี่ า : Robbins, 2003)

ทฤษฎกี ารเรียนรกู` ล*มุ ผสมผสานของกานเย*

ทิศนา แขมมณี (2547 : 72-76) ไดTรวบรวมทฤษฎีการเรียนรูTกลุ(มผสมผสานของกานเย ไวTดังนี้ กานเย
(Gagne) เป-นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาในกลุ(มผสมผสานระหว(างพฤติกรรมนิยมกับพุทธินิยม (Behavior
Cognitivist) เขาอาศัยทฤษฎีและหลักการที่หลากหลาย เนื่องจากความรูTมีหลายประเภท บางประเภทสามารถ
เขTาใจไดTอย(างรวดเร็วไม(ตTองใชTความคิดที่ลึกซึ้ง บางประเภทมีความซับซTอนมากจำเป-นตTองใชTความสามารถใน
ขั้นสูง กานเย ไดTจัดขั้นการเรียนรูTซึ่งเริ่มจากง(ายไปหายาก โดยผสมผสานทฤษฎีการเรียนรูTของกลุ(มพฤติกรรมนิยม
และพทุ ธินยิ มเขTาดวT ยกัน หลักการทสี่ ำคญั ๆ ของกานเย( สรุปไดดT ังน้ี (Gagne and Briggs, 1974: p 121-136)
ทฤษฎกี ารเรียนร#ู

กานเย( (Gagne) ไดจT ดั ประเภทของการเรยี นรูTเป-นลำดับขน้ั จากงา( ยไปหายาก ไวT 8 ประเภท ดังนี้
1. การเรียนรสTู ญั ญาณ (signal-learning) เปน- การเรียนรทูT ่ีเกดิ จากการตอบสนองตอ( สง่ิ เรTาทเี่ ปน- ไป

โดยอัตโนมัติ อยู(นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผูTเรียนไม(สามารถบังคับพฤติกรรมไม(ใหTเกิดขึ้นไดT การเรียนรูTแบบนี้เกิด
จากการที่คนเรานำเอาลักษณะการตอบสนองที่มีอยู(แลTวมาสัมพันธ[กับสิ่งเรTาใหม(ที่มีความใกลTชิดกับสิ่งเรTาเดิม
การเรียนรูTสญั ญาณเปน- ลกั ษณะการเรยี นรTแู บบการวางเงื่อนไขของพาฟลอฟ

2. การเรยี นรูสT งิ่ เราT -การตอบสนอง (stimulus-response learning) เปน- การเรียนรตTู อ( เน่ืองจาก
การเช่อื มโยงระหวา( งสิ่งเราT และการตอบสนอง แตกตา( งจากการเรียนรTสู ญั ญาณ เพราะผูTเรียนสามารถควบคมุ
พฤตกิ รรมตนเองไดT ผTูเรยี นแสดงพฤตกิ รรมเน่อื งจากไดTรับการเสรมิ แรง การเรียนรTูแบบน้ีเปน- การเรียนรตูT าม
ทฤษฎกี ารเรยี นรูTแบบเชอ่ื มโยงของธอรน[ ไดค[ และการเรียนรTแู บบวางเงื่อนไข (operant conditioning) ของสกิน
เนอร[ซึง่ เชอ่ื วา( การเรยี นรูเT ปน- สงิ่ ทีผ่ ูTเรียนเป-นผูTกระทำเองมใิ ชร( อใหTส่ิงเรTาภายนอกมากระทำ พฤติกรรมทแ่ี สดงออก
เกิดจากสิ่งเราT ภายในของผTเู รียนเอง

3. การเรียนรTกู ารเชื่อมโยงแบบต(อเนื่อง (chaining) เปน- การเรียนรทTู ี่เชื่อมโยงระหว(างส่ิงเรTาและ
การตอบสนองท่ีต(อเนอ่ื งกนั ตามลำดับ เป-นพฤตกิ รรมทีเ่ กี่ยวขTองกับการกระทำ การเคลื่อนไหว

4. การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association) เปน- การเรยี นรูTในลกั ษณะคลาT ยกบั การเรยี นรTู
การเชอื่ มโยงแบบตอ( เนอ่ื ง แต(เป-นการเรียนรTเู กี่ยวกับการใชTภาษา การเรยี นรแTู บบการรบั สิ่งเรTา-การตอบสนอง
เปน- พ้นื ฐานของการเรียนรูแT บบต(อเนื่องและการเชื่อมโยงทางภาษา

5. การเรียนรTคู วามแตกต(าง (discrimination learning) เปน- การเรียนรTทู ี่ผูเT รียนสามารถมองเห็น
ความแตกต(างของสิง่ ตา( ง ๆ โดยเฉพาะความแตกต(างตามลักษณะของวตั ถุ

127

6. การเรียนรคูT วามคดิ รวบยอด (concept learning) เปน- การเรียนรทTู ผ่ี Tเู รียนสามารถจัดกลมุ( สง่ิ
เรTาทม่ี คี วามหมายเหมือนกันหรือแตกตา( งกัน โดยสามารถระบลุ กั ษณะทเ่ี หมอื นกนั หรือแตกต(างกันไดT พรTอมท้ัง
สามารถขยายความรTไู ปยังสงิ่ อื่นทีน่ อกเหนือจากท่ีเคยเห็นมาก(อนไดT

7. การเรียนรTกู ฎ (rule learning) เปน- การเรียนรทTู เ่ี กดิ จากการรวมหรือเช่ือมโยงความคดิ รวบยอด
ต้งั แต( 2 อย(างข้ึนไป และตั้งเปน- กฎเกณฑ[ข้ึน การทผ่ี Tูเรียนสามารถเรยี นรูกT ฎเกณฑ[จะช(วยใหTผูTเรียนสามารถนำการ
เรียนรTูนั้นไปใชใT นสถานการณต[ (าง ๆ กัน

8) การเรียนรูTการแกTปYญหา (problem solving) เป-นการเรียนรูTที่จะแกTปYญหา โดยการนำ
กฎเกณฑ[ต(าง ๆ มาใชT การเรียนรูTแบบนี้เป-นกระบวนการที่เกิดภายในตัวผูTเรียน เป-นการใชTกฎเกณฑ[ในขั้นสูงเพื่อ
การแกTปYญหาที่คอ( นขTางซบั ซTอน และสามารถนำกฎเกณฑใ[ นการแกปT Yญหานี้ไปใชกT ับสถานการณท[ ค่ี ลาT ยคลงึ กัน
หลกั การจดั การศึกษา/การสอน

1. กานเย(ไดTเสนอรูปแบบการสอนอย(างเป-นระบบโดยพยายามเชื่อมโยงการจัดสภาพการเรียนการสอนอัน
เป-นสภาวะภายนอกตัวผูTเรียนใหTสอดคลTองกับกระบวนการเรียนรูTภายใน ซึ่งเป-นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน
สมองของคนเรา กานเยอธิบายวา( การทำงานของสมองคลTายกับการทำงานของคอมพวิ เตอร[

2. ในระบบการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหTสอดคลTองกับกระบวนการเรียนรูTนั้น กานเยไดTเสนอระบบการ
สอน 9 ขัน้ ดังน้ี

ขั้นที่ 1 สรTางความสนใจ (gaining attention) เป-นขั้นที่ทำใหTผูTเรียนเกิดความสนใจในบทเรียน
เป-นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นทั้งจากสิ่งยั่วยุภายนอกและแรงจูงใจที่เกิดจากตัวผูTเรียนเองดTวย ครูอาจใชTวิธีการสนทนา
ซกั ถาม ทายปYญหา หรือมีวสั ดุ อปุ กรณต[ (าง ๆ ทีก่ ระตุนT ใหTตวั ผเูT รยี นตื่นตัว และมคี วามสนใจที่จะเรยี นรูT

ขั้นที่ 2 แจTงจุดประสงค[ (informing the learner of the objective) เป-นการบอกใหTผูTเรียน
ทราบถึงเปžาหมายหรือผลที่ไดTรับจากการเรียนบทเรียนนั้นโดยเฉพาะ เพื่อใหTผูTเรียนเห็นประโยชน[ในการเรียน เห็น
แนวทางของการจัดกิจกรรมการเรียน ทำใหTผูTเรียนวางแผนการเรียนของตนเองไดT นอกจากนั้นยังสามารถช(วยใหT
ครดู ำเนินการสอนตามแนวทางทจี่ ะนำไปส(จู ดุ หมายไดTเป-นอย(างดี

ขั้นที่ 3 กระตุTนใหTผูTเรียนระลึกถึงความรูTเดิมที่จำเป-น (stimulating recall of prerequisite
learned capabilites) เป-นการทบทวนความรTเู ดิมท่จี ำเป-นตอ( การเช่อื มโยงใหเT กดิ การเรยี นรคูT วามรใูT หม( เนื่องจาก
การเรยี นรTูเปน- กระบวนการต(อเนอื่ ง การเรยี นรคTู วามรTูใหม(ตTองอาศยั ความรูTเกา( เปน- ฐาน

ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม( (presenting the stimulus) เป-นการเริ่มกิจกรรมของบทเรียนใหม(
โดยใชวT สั ดอุ ปุ กรณต[ า( ง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบการสอน

ขั้นที่ 5 ใหTแนวทางการเรียนรูT (providing learning guidance) เป-นการช(วยใหTผูTเรียนสามารถ
ทำกจิ กรรมดTวยตนเอง ครูอาจแนะนำวิธกี ารทำกิจกรรม แนะนำแหล(งคTนควาT เป-นการนำทาง ใหแT นวทางใหTผเูT รียน
ไปคดิ เอง

128

หลกั การจดั การศึกษา/การสอน
1. กานเย( ไดTเสนอรูปแบบการสอนอย(างเป-นระบบโดยพยายามเชื่อมโยงการจัดสภาพการเรียนการสอน

อันเป-นสภาวะภายนอกตัวผูTเรียนใหTสอดคลTองกับกระบวนการเรียนรูTภายใน ซึ่งเป-นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน
สมองของคนเรา กานเยอธิบายวา( การทำงานของสมองคลTายกับการทำงานของคอมพิวเตอร[

2. ในระบบการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหTสอดคลTองกับกระบวนการเรียนรูTนั้น กานเยไดTเสนอระบบการ
สอน 9 ข้นั ดังน้ี

ขั้นที่ 1 สรTางความสนใจ (gaining attention) เป-นขั้นที่ทำใหTผูTเรียนเกิดความสนใจในบทเรียน
เป-นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นทั้งจากสิ่งยั่วยุภายนอกและแรงจูงใจที่เกิดจากตัวผูTเรียนเองดTวย ครูอาจใชTวิธีการสนทนา
ซกั ถาม ทายปญY หา หรอื มวี ัสดุ อุปกรณ[ตา( ง ๆ ทก่ี ระตTุนใหตT ัวผูTเรียนต่นื ตัว และมคี วามสนใจท่ีจะเรียนรTู

ขั้นที่ 2 แจTงจุดประสงค[ (informing the learner of the objective) เป-นการบอกใหTผูTเรียน
ทราบถึงเปžาหมายหรือผลที่ไดTรับจากการเรียนบทเรียนนั้นโดยเฉพาะ เพื่อใหTผูTเรียนเห็นประโยชน[ในการเรียน เห็น
แนวทางของการจัดกิจกรรมการเรียน ทำใหTผูTเรียนวางแผนการเรียนของตนเองไดT นอกจากนั้นยังสามารถช(วยใหT
ครูดำเนนิ การสอนตามแนวทางที่จะนำไปส(ูจุดหมายไดTเปน- อย(างดี

ขั้นที่ 3 กระตุTนใหTผูTเรียนระลึกถึงความรูTเดิมที่จำเป-น (stimulating recall of prerequisite
learned capabilites) เป-นการทบทวนความรเูT ดิมทจี่ ำเปน- ตอ( การเชอ่ื มโยงใหTเกดิ การเรียนรTูความรูใT หม( เนือ่ งจาก
การเรยี นรTเู ปน- กระบวนการต(อเน่อื ง การเรียนรTูความรูTใหมต( Tองอาศยั ความรเTู ก(าเป-นฐาน

ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม( (presenting the stimulus) เป-นการเริ่มกิจกรรมของบทเรียนใหม(
โดยใชTวสั ดุอปุ กรณต[ า( ง ๆ ทีเ่ หมาะสมมาประกอบการสอน

ขั้นท่ี 5 ใหTแนวทางการเรียนรูT (providing learning guidance) เป-นการช(วยใหTผูTเรียนสามารถ
ทำกิจกรรมดวT ยตนเอง ครูอาจแนะนำวิธีการทำกิจกรรม แนะนำแหลง( คTนควาT เป-นการนำทาง ใหแT นวทางใหTผTูเรยี น
ไปคิดเอง เป-นตนT

ขั้นที่ 6 ใหTลงมือปฏิบัติ (eliciting the performance) เป-นการใหTผูTเรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อช(วย
ใหผT Tเู รยี นสามารถแสดงพฤติกรรมตามจุดประสงค[

ขั้นที่ 7 ใหTขTอมูลยTอนกลับ (feedback) เป-นขั้นที่ครูใหTขTอมูลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมหรือ
พฤตกิ รรมทผี่ ูเT รยี นแสดงออกวา( มีความถกู ตอT งหรือไม( อย(างไร และเพยี งใด

ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรูTตามจุดประสงค[ (assessing the performance) เป-นข้ัน
การวัดและประเมินว(าผูTเรียนสามารถเรียนรูTตามจุดประสงค[การเรียนรูTของบทเรียนเพียงใด ซึ่งอาจทำการวัดโดย
การใชTขTอสอบ แบบสังเกตการตรวจผลงาน หรือการสัมภาษณ[ แลTวแต(ว(าจุดประสงค[นั้นตTองการวัดพฤติกรรมดTาน
ใด แต(สง่ิ ทส่ี ำคัญคอื เคร่อื งมือที่ใชวT ัดจะตTองมีคุณภาพ มคี วามเช่อื ถอื ไดT และมีความเท่ยี งตรงในการวัด

129

ขั้นที่ 9 ส(งเสริมความแม(นยำและการถ(ายโอนการเรียนรูT (enhancing retention and
transfer) เป-นการสรุป การย้ำ ทบทวนการเรียนที่ผ(านมา เพื่อใหTนักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนรูTที่ฝYงแน(นขึ้น
กิจกรรมในขั้นนี้อาจเป-นแบบฝ¡กหัด การใหTทำกิจกรรมเพิ่มพูนความรูT รวมทั้งการใหTทำการบTาน การทำรายงาน
หรอื หาความรTเู พม่ิ เติมจากความรTูทไี่ ดใT นชั้นเรยี น (ท่มี า : ทศิ นา แขมมณี ,2547)

130

สรุป
ทฤษฎกี ารศกึ ษา

กลุXมพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรูTกลุ(มพฤติกรรมนิยมเป-นการทดลองเกี่ยวกับพฤติกรรมเพื่อสังเกต
พฤติกรรมต(างๆที่เเสดงออกมาใหTเห็นเเละนำหลักการนั้นไปปรับใชTในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะในดTาน
ตา( งๆ

กลุXมพุทธินิยม การเรียนรูTของมนุษย[มีความซับซTอน เป-นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสม
ขTอมูล การสรTางความหมาย และความสัมพันธ[ของขTอมูล และการดึงขTอมูลออกมาใชTในการกระทำ และแกTปYญหา
ต(างๆเป-นกระบวนการทางสติปYญญาของมนุษย[ในการที่จะสรTางความรูTความเขTาใจใหTแก(ตนเอง มนุษย[เลือกที่จะ
รบั รTูส่งิ ทีต่ นเองสนใจ ซงึ่ การเรียนรTูเกดิ จากกระบวนการคTนพบดวT ยตนเอง

กลXมุ มนุษย?นยิ ม มนุษยท[ ุกคนมีอสิ ระที่จะแสดงพฤตกิ รรมต(าง ๆ ออกมา โดยมปี Yจจยั ภายนอกเปน- สิ่ง
ทชี่ ว( ยปรับแต(งพฤตกิ รรม เม่ือไดTรับการขดั เกลา การสนับสนุน ก็จะสง( ผลใหเT กิดการพัฒนาตนเองตอ( ไป

ทฤษฎกี ารเรยี นรท#ู างสงั คม เนTนความสำคัญของการเรียนรูTแบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัวแบบ ซึ่ง
อาจจะเป-นไดTทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช(น ครู เพื่อน หรือจากภาพยนตร[โทรทัศน[ การ[ตูน การเรียนรูTโดยการสังเกต
ประกอบดTวย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรูTเป-นกระบวนการทางพุทธิปYญญา และขั้นการกระทำ
ตัวแบบที่มีอิทธิพลต(อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป-นสัญลักษณ[

กลุXมผสมผสาน เป-นการผสมผสานทฤษฎีการเรียนรูTของกลุ(มพฤติกรรมนิยมและกลุ(มพุทธินิยมเขTา
ดTวยกัน อาศัยทฤษฎีและหลักการที่หลากหลาย เนื่องจากความรูTมีหลายประเภท บางประเภทสามารถเขTาใจไดT
อย(างรวดเรว็ ไม(ตTองใชTความคดิ ทลี่ กึ ซึ้งบางประเภทมคี วามซับซTอนมากจำเปน- ตอT งใชTความสามารถในขั้นสูง

131

อNางอิง

ทศิ นา แขมมณ.ี (2547). ศาสตรก[ ารสอน : องคค[ วามรเTู พอ่ื การจดั กระบวนการเรยี นรทูT ่ีมี
ประสิทธภิ าพ. พมิ พ[คร้ังที่ 3 . กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ[แหง( จฬุ าลงกรณ[มหาวิทยาลัย

กันยา สวุ รรณแสง. (2532). จติ วิทยาทว่ั ไป.กรงุ เทพฯ. สำนกั พิมพ[ บำรุงสาน[ส.
กุญชรี คTาขาย (2540).จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาจิตวิทยา และ

การแนะแนวคณะครศุ าสตร[ สถาบันราชภฏั สวนสุนันทา.
คาร[ล อาร[ โรเจอร[ . (2532). จติ วทิ ยาท่ัวไป.กรงุ เทพฯ. สำนกั พมิ พ[ บำรุงสาสน[ .
ชยั วัฒน[ สุทธริ ตั น.[ สอนเด็กใหม# ีจิตสาธารณะ. กรงุ เทพฯ : วี พรินท[ , 2552.
ชัยวัฒน[ สุทธิรัตน.[ (2552).80 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรทู# เ่ี นน# ผ#ูเรยี นเปQนสำคญั .แดเน็กซ[ อินเตอร[

คอรป[ อเรช่นั กรงุ เทพฯ.
ณชั ชากญั ญ[ วิรตั นชยั วรรณ. ทฤษฏีการเรียนร#กู ลXมุ มนษุ ยนยิ ม (Humanism). (ออนไลน[). เขTาถึงไดT

จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486 . วันทีส่ ืบคนT ขTอมลู
: 7 กรกฏาคม 2555.
ถนั แพรเพชร. การศกึ ษาความสัมพันธร? ะหวาX งการอบรมเลยี้ งดเู ดก็ กับความคิดสรา# งสรรค?และ
ความเกรงใจของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปท| ่ี 3 ในเขตการศกึ ษา 3. ปริญญานพิ นธ[
การศกึ ษาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, 2517.
ทศิ นา แขมมณี (2553) .ศาสตรก? ารสอน:องคค? วามรเ#ู พอื่ การจัดกระบวนการเรยี นรูท# ม่ี ี
ประสทิ ธิภาพ.จุฬาลงกรณม[ หาวทิ ยาลัย.กรงุ เทพ
ทิศนา แขมมณี (พิมพค[ ร้ังที่ 8),ศาสตร?การสอน. กรุงเทพฯ จฬุ าลงกรณ[มหาวิทยาลัย 2551
ทิศนา แขมมณ.ี (2555) ศาสตรก? ารสอน. พิมพ[ครง้ั ที่ 15. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ[
มหาวิทยาลัย.
นนั ทวัฒน[ บญุ ไธสง. (2543) ทฤษฎเี กสตลั ท? (Gestalt Theory). ออนไลน,[ สืบคTนจากอินเทอรเ[ น็ต
บริหารการศึกษา กลม(ุ ดอนทอง 52. ทฤษฏีการเรียนร#ูกลุXมมนุษยนิยม (Humanism). (ออนไลน[).
เขาT ถงึ ไดTจาก : http://dontong52.blogspot.com/ . วันทสี่ ืบคนT ขTอมูล 7 กรกฏาคม 2555.
ประสาท อศิ รปรีดา. (2538). ทฤษฎีการเรยี นร.#ู กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
(2534). หลักจติ วิทยา. พิมพค[ รัง้ ที่ 2. นนทบรุ :ี
ประเทอื ง ภมู ภิ ัทราคม. (2540). การปรับพฤตกิ รรม: ทฤษฎีและการประยกุ ต? พมิ พ[ครงั้ ที่ 1.

กรุงเทพฯ:
พนารตั น[ วงศอ[ กนิษฐ[ (2549) พมิ พค[ รง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา

ทางการอาชวี ะและเทคนคิ ศึกษาสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลTา เจาT คณุ ทหารลาดกระบัง.
พรรณ ช. เจนจิต (พมิ พ[คร้งั ท่ี 4), จติ วิทยาการเรียน การสอน. กรงุ เทพฯ : ตนT ออT แกรมม,ี่ 2538
พรรณี ช.เจนจติ . จติ วิทยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : เสรมิ สิน พรเี พรส ซสิ เท็ม , 2545

132

บทที่ 6

ความเป:นครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู เกณฑมM าตรฐานวชิ าชีพ
และการเปลย่ี นแปลงบริบทโลก

การศกึ ษาไทยในสมัยโบราณ

ประวัติความเป-นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย การจัดการศึกษาของประเทศไทยเริ่มมาตั้งแต(สมัย
โบราณ ซึ่งเป-นการจัดการศึกษาไม(มีแบบแผน และมีวิวัฒนาการจนเป-นการถ(ายทอดความรูTใหTกัน อย(างเป-นระบบ
ในระบบโรงเรยี น ซึ่งเป-นการจัดการศึกษา

การศึกษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)

สมัยสุโขทัย (ที่มา : การศึกษาไทย อดีต ปYจจุบัน สู(อนาคต.ปริญาภรณ[ ตั้งคุณานันต[) การศึกษาสมัย
สุโขทัยเป-นการจัดการศึกษาภายใตTการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย[ มีการศึกษาแบบถ(ายทอดการ
เรียนรูTอย(างไม(มีแบบแผนที่แน(นอน โดยมีวัดเป-นศูนย[กลางที่สำคัญของการศึกษาตั้งแต(สมัยสุโขทัยจนถึงสมัย
รัตนโกสินทร[ ลักษณะการจัดการศึกษาสมัยสุโขทัย มีรูปแบบการจัดการศึกษาและสถานศึกษา 4 ลักษณะดังนี้

1. การศึกษาในวังเป-นการจัดการศึกษาสําหรับ พระราชโอรสหรือเชื้อพระวงศ[ อันดับรองลงมาในสถาบัน
กษัตริย[ครูผูTสอน คือ พราหมณ[ปุโรหิตและพระภิกษุ ที่ไดTรับการคัดเลือกแลTวผูTชายจะศึกษาวิชาสำหรับชนชั้น
กษัตริย[ เช(น การปกครอง พระธรรมนูญศาสตร[ การต(อสูTคาถาอาคม รวมถึงตำราพิชัยสงครามซึ่งเป-นวิชาชั้นสูง

2. การศึกษาในสำนักราชบัณฑิตเป-นการจัดการศึกษาสำหรับบุตรหลานเจTาเชื้อพระวงศ[ และบุตรหลาน
ของขุนนางขTาราชบริพาร คหบดีครูผูTสอน คือ พราหมณ[นักปราชญ[ราช

3. การศึกษาในวัดเป-นการจัดการศึกษาสำหรับผูTชายไทยที่ตTองการบวชเรียนเพื่อใหTมีความรูT ครูผูTสอนคือ
พระภิกษุสงฆ[วิชาที่สอน คือ การอ(าน การเขียน หนังสือภาษาไทย มอญ และขอม จริยธรรม

4. การศึกษาในบTานเป-นการจัดการศึกษาสำหรับกุลบุตรกุลธิดาตามบTานขุนนางหรือคหบดี ครูผูTสอนคือ
ผูTอาวุโสในบTานหรือผูTที่มีความสามารถที่ขุนนางหรือคหบดีจTางมาสอนบุตรหลาน วิชาที่สอน คือ การอ(าน การ
เขียน หนังสือภาษาไทย และอาชีพหลักของครอบครัวนั้นๆ เช(น ช(างทอง ช(างเหล็ก เป-นตTน ในสมัยสุโขทัย พ(อขุน
รามคําแหงมหาราชไดTทรงคิดประดิษฐ[ตัวอักษรไทยขึ้นเป-นครั้ง แรกโดยทรงดัดแปลง มาจากตัวหนังสือขอมและ
มอญซึ่งนับว(าเป-นสัญลักษณ[ที่สำคัญยิ่งของความเป-นชาติและเป-นรากฐานที่สำคัญดTานอักษรศาสตร[โดยมี
หลักฐานที่สำคัญ คือ หลักศิลาจารึก ที่จารึกประวัติศาสตร[ในสมัยสุโขทัย (ที่มา : รายงานการศึกษาไทยพ.ศ.
2561.สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา )

สมัยกรุงศรอี ยธุ ยา (ทีม่ า : การศกึ ษาไทยในอดตี .เว็บไซต[ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) กรงุ ศรีอยธุ ยาเปน- ราช
ธานีมายาวนานรวมเวลาทัง้ สนิ้ 417 ปม‹ ีความเจริญท้ังทางดาT นสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ ความเจรญิ ดงั กล(าว
เกิดมาจากการตดิ ต(อคาT ขายกับชาวต(างชาติ เช(น จีน มอญ ญวน เขมร อินเดีย และอาหรับ

ในรัชสมยั พระรามาธิบดที ่ี 2 ไดเT ร่มิ ตดิ ต(อคาT ขายกับ ชาวตะวนั ตก เชน( โปรตุเกส ฮอลนั ดา ฝร่ังเศส
อังกฤษและจากการติดตอ( คTาขายกับชาวตะวันตก ทำใหกT ารศกึ ษาไทย มคี วามเจรญิ รงุ( เรืองข้นึ

133

ลักษณะการจดั การศกึ ษาสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา มีรูปแบบการจดั การศกึ ษา และสถานศึกษา เหมอื นกับสมยั
สโุ ขทยั 4 ลกั ษณะคอื การศกึ ษาในวัง สำนกั ราชบัณฑติ วัดและบาT น ซึ่งในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยานีน้ อกจากการจัด
การศกึ ษาใน 4 ลักษณะท่กี ล(าวมา ยงั ไดTเร่ิมมกี ารจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียนมิชชันนารซี ึ่ง เป-นโรงเรยี นของ
ชาวตะวนั ตกทีเ่ ขTาเผยแพร(ศาสนาของตนดTวย สมยั กรุงศรีอยุธยามีประเพณี ท่ชี ายไทยจะตTองเขTาอุปสมบทในพุทธ
ศาสนาเมอ่ื อายคุ รบบวชหรอื อายคุ รบ 20 ปบ‹ ริบูรณ[ เพ่อื ศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั และปฏิบตั ิศาสนกจิ ในระหวา( ง
เขาT พรรษา การอปุ สมบทถือเปน- การบวช เรยี นและผอูT ปุ สมบทถอื เปน- ผบูT วชเรียน โดยมีพระภิกษุเปน- ผสTู งั่ สอน
พระภิกษจุ ะอบรมสั่งสอนจรยิ ศกึ ษา พุทธิศกึ ษา หนังสอื ขอม บาลีพระธรรมวินยั

นอกจากนีย้ ังไดTมีการสอนวชิ าพเิ ศษ เพมิ่ เติมตามความสามารถของพระภกิ ษุในวัดนนั้ ๆ เช(น ความรTู
ความสามารถทางชา( ง การตอ( สTู มวยไทยและวชิ าอาวุธ คาถาอาคม ผTูที่ลาสิกขาบทแลTวจะไดรT ับการเรียกว(า "ทดิ "
หรือ "บัณฑิต" และในรชั สมัยพระเจาT อยห(ู ัวบรมโกศ พระองคท[ รงสง( เสรมิ พทุ ธศาสนาโดยทรงวางกฎเกณฑ[ไววT (า ผTู
ทีจ่ ะถวายตัวเขาT รับราชการจะตTองเป-นบัณฑิต คือ ผ(านการอปุ สมบทมาแลวT เทา( นั้น สว( นการศึกษาของสตรี ยังมี
การจดั การศึกษาเหมือนกบั สมยั สุโขทัยแต(สตรีท่อี ยใู( นราชตระกูลจะเร่มิ เรียนภาษาไทย และการแตง( คาํ ประพนั ธใ[ น
สมัยน้ีชาวโปรตเุ กสเปน- ชาติแรกท่ีนาํ วิธีการทำขนมหวานทม่ี ไี ขเ( ปน- ส(วนผสม เช(น ทองหยบิ ฝอยทอง มาเผยแพร(
จนขนมเหลา( น้เี ป-น เอกลักษณ[ขนมหวานของไทยในปจY จุบัน ในรัชสมยั สมเดจ็ พระนารายณม[ หาราช เมื่อประเทศมี
สัมพันธไมตรีและคTาขาย กับชาวตะวันตกมากขึ้น สถานศึกษาทีม่ รี ปู แบบเปน- โรงเรยี นจึงเกดิ ขึ้นคร้ังแรก โรงเรียน
ดังกลา( ว คอื ศาลาโรงเรยี น หรอื บTานสามเณรใหญ( หรือโรงเรียนสามเณร ตั้งอย(ูทางตอนเหนอื ของกรุงศรอี ยุธยา
โดยสังฆราช หลยุ ส[ลาโน บาทหลวงในคณะมิชชันนารี คาทอลิก เป-นผูกT อ( ตงั้ โรงเรยี นแหง( นีศ้ าลาโรงเรยี น
มวี ทิ ยฐานะเทยี บเทา( กับวทิ ยาลัย วิชาท่สี อนกใ็ กลTเคียงกบั วิชาท่สี อนในวทิ ยาลัย ซง่ึ ไดTแก( วชิ าวิทยาศาสตร[
ประวัติศาสตร[ ภมู ศิ าสตร[ เทวศาสตร[ และ ปรัชญา นบั เปน- การเรียนรูTเก่ยี วกบั เรือ่ งราวของโลกและมนษุ ย[และเรม่ิ
มีการจดั การเรียนการ สอนดาT นภาษาต(างประเทศ เช(น ภาษาลาตนิ ภาษาฝรงั่ เศส ในสมัยสมเด็จพระนารายณ[
มหาราช ไดTโปรดใหTพระโหราธบิ ดีแต(งแบบเรียนภาษาไทยชื่อว(า จนิ ดามณีซ่ึงเปน- หนังสือแบบเรียนภาษาไทยเล(ม
แรกที่แต(งไวเT พอ่ื หัดอ(าน และฝ¡กหดั การแตง( โคลงฉันท[กาพยก[ ลอนจนิ ดามณจี งึ เปน- แบบเรยี นเลม( แรกของไทย
และเป-นแมแ( บบของ แบบเรียนสมัยต(อมา ในสมัยนี้การศึกษาเจริญรง(ุ เรอื งมาก มีการสอนวชิ าภาษาไทย บาลี
สันสกฤต ฝรงั่ เศส เขมร พม(า มอญ และจนี การศึกษาในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยาไดTมกี ารสอน ภาษาตา( งประเทศหลาย
ภาษาและมคี วามเจริญสงู สุดทางดTานอกั ษรศาสตรแ[ ละวรรณคดีโดยมี นักปราชญ[กวีและวรรณคดที สี่ ำคญั ในสมยั น้ี
ปรากฏมากมาย เชน( สมทุ รโฆษคําฉนั ท[ อนริ ุทธค[ ําฉนั ท[ และกําสรวลศรปี ราชญ[ เป-นตTน (ท่ีมา : รายงาน
การศกึ ษาไทยพ.ศ.2561.สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา )

สมยั กรุงธนบุรแี ละรัตนโกสนิ ทร[ตอนตนT (ท่ีมา : ประวตั คิ วามเปน- มาและระบบการศกึ ษาไทย.
สรัลพร จน่ั ขุนทด) หลังจากที่กรุงศรีอยธุ ยาไดพT (ายแพใT นสงครามคร้งั ที่ 2 และตอT งสูญเสยี เอกราชน้ีทำใหT
กรงุ ศรีอยุธยาไดTรับความเสียหายเปน- อยา( งมากทง้ั ดTานโครงสราT งเมือง ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม การศึกษาและ
สภาพจิตใจของประชาชน เม่ือพระเจาT กรุงธนบุรีไดกT อบกูTอสิ รภาพแลTวจึงตTองเร(งฟนÉÈ ฟูประเทศ เกบ็ รวบรวมสรรพ
ตําราจากแหลง( ตา( งๆ ทรี่ อดพTนจากการทำลายจากสงครามและ ไดTยาT ยเมืองหลวงมาที่กรุงธนบุรีและเร่ิมตนT การ
ทาํ นบุ าํ รงุ ศาสนา ศิลปะและวรรณคดีขึ้นใหม( วดั ยังเปน- สถานศกึ ษาท่ใี หTการศกึ ษาแก(ประชาชนส(วนใหญเ( ชน( เดิม

134

สว( นราชสำนกั กเ็ ปน- สถานศึกษาสำหรบั บตุ รหลานเจTานายเชอ้ื พระวงศ[และบุตรหลานของขุนนาง ขTาราชบริพาร
สมัยรัชกาลที่ 1พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาž จฬุ าโลก ทรงฟนÈÉ ฟูการศกึ ษาดTานอักษร ศาสตร[โบราณคดี

วรรณคดศี ลิ ปะ กฎหมาย วชิ าแพทย[แผนโบราณ สังคายนาพระไตรป-ฎก ทรงโปรดใหTมีการสอนและการสอบพระ
ปริยตั ิธรรม ทรงพระราชนิพนธเ[ ร่อื งรามเกยี รตท์ิ ไ่ี ดเT คาT โครงเรอื่ งมาจากเรอื่ งรามายณะของประเทศอินเดีย

สมยั รชั กาลที่ 2 พระพทุ ธเลิศหลTานภาลัย ชว( งนป้ี ระเทศเรม่ิ มีสัมพนั ธไมตรแี ละการคTากับ ชาวตา( งชาตอิ กี
ครงั้ เช(น โปรตุเกส องั กฤษ ฝรง่ั เศส ฮอลันดา เป-นตนT เนื่องจากประเทศทางยโุ รปมีการปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรมทำใหT
สามารถผลติ สินคาT ไดTเป-นจำนวนมากจากเครอ่ื งจักรท่ใี ชT พลังงานจากไอน้ำประเทศตา( งๆทางยุโรปเหลา( นจ้ี งึ
ตอT งการติดต(อคาT ขายกับประเทศทาง เอเชียเพอ่ื ตTองการขายสินคาT การติดตอ( ส่ือสารเพ่ือการคาT ขายนเี้ องทำใหคT น
ไทยมคี วามทันสมัยและมีวทิ ยาการตา( งๆ จากตะวันตกผสมผสานการศกึ ษาของไทยจงึ เร่มิ เปลยี่ นแปลงไปอีกครัง้
หน่ึง รชั สมัยนมี้ คี วามเจรญิ รุ(งเรอื งทางดTานอกั ษรศาสตร[เนือ่ งจากรัชกาลที่ 2 ท(านทรง เช่ยี วชาญทางดTานอกั ษร
ศาสตร[และนาฏศิลปทÂ ำใหมT กี วีและผลงานทที่ รงคุณค(ามากมาย เช(น นิทานเรือ่ งพระอภยั มณี นิราศภูเขาทองของ
สนุ ทรภ(ู นิราศนรินทร[ ของนายนรินทรธิเบศร

สมยั รชั กาลที่ 3 สมเดจ็ พระนง่ั เกลTาเจาT อยูห( วั ทรงสง( เสรมิ การศึกษาดTานศาสนา โปรดใหTมกี ารบรูณ
ปฏิสงั ขรณว[ ัดพระเชตุพน ในคราวน้ันพระองคท[ า( นทรงมีพระราชดาํ ริเกีย่ วกับ เรอ่ื งของวิชาชพี ว(ายงั ไมม( สี ถานทใี่ ด
ทีจ่ ะศกึ ษาเลา( เรียนไดTส(วนใหญม( กี ารสอนกันเฉพาะภายใน ครอบครัวหรือวงศ[ตระกลู และนสิ ยั คนไทยกห็ วงแหน
วิชาความรทTู ีต่ นมอี ยไู( มย( อมถา( ยทอด ใหแT กค( นทว่ั ไปเพอ่ื เป-นวิทยาทาน จึงทำใหTวิทยาการต(างๆตTองสญู หายไปจงึ
โปรดใหT นักปราชญร[ าชบัณฑิต ผเูT ช่ยี วชาญในวิชาการตา( งๆ มาร(วมจารึกวชิ าการโดยสาบานตนว(าจะไมป( กปด-
หรอื ทำใหวT ชิ าความรบTู ดิ เบอื นไปและจารึกความรูTดงั กลา( วขาT งตนT ลงในแผน( ศลิ าสรTางเปน- รูปปYÉนและเขียนเปน- ภาพ
จติ รกรรมฝาผนัง เพอ่ื เปน- การถ(ายทอดวชิ าความรTูสืบไป ในภายหนาT มิใหสT ูญหายไปโดยไดTนาํ ไปประดับไวตT าม
ระเบียงวดั พระเชตุพน นอกจากน้ี พระองคท[ า( น ทรงใหมT ีการแต(งแบบเรียนภาษาไทยขน้ึ อกี 2 เล(ม ไดTแก( หนงั สอื
ประถม ก กา และประถม มาลา ช(วงนี้การศกึ ษาของประเทศไดรT บั อิทธิพลจากประเทศทางตะวนั ตก ซึ่ง
นายแพทยด[ บี ี บรดั เลย[(Dr. D.B. Bradley) ไดTนําวชิ าการแพทยส[ มยั ใหมม( าเผยแพรเ( ชน( การผา( ตดั รกั ษา คนไขT
และไดรT ิเรมิ่ นําแทน( พมิ พ[มาตง้ั โรงพิมพเ[ พอื่ พมิ พห[ นังสอื เปน- ภาษาไทยโดยรบั จาT งพิมพ[ เอกสารของทางราชการ
สำหรับการพิมพ[เอกสารภาษาไทยคร้ังแรกน้ีเป-นการพิมพเ[ อกสาร เกยี่ วกับการหTามประชาชนสูบฝ-นÆ การจัดตัง้ โรง
พิมพห[ นงั สอื ไทยน้ไี ดสT รTางประโยชนอ[ ยา( งมากแก(การศึกษาไทย เนื่องจากทำใหTประเทศสามารถผลิตหนังสอื เรียน
ภาษาไทยไดTเป-นจำนวนมาก

สมยั รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาT เจTาอยู(หัว รชั สมัยน้ีชาวยโุ รปและอเมรกิ ันเขTา มาตดิ ต(อ
การคTาและสอนศาสนามากขึน้ และมีการนําวิทยาการสมัยใหม(เขาT มาใชมT ากมาย เรมิ่ มกี ารคกุ คามจากจักรวรรดิ
นยิ มตะวันตก ทำใหพT ระบาทสมเด็จพระจอมเกลTาเจาT อยห(ู ัวทรงเห็นความสำคญั ของการศกึ ษา จงึ ทรงจาT ง นาง
แอนนา เอช เลยี วโนเวนส[ มาสอนสมเดจ็ พระเจาT ลกู ยาเธอจนรอบรTภู าษาอังกฤษเป-นอย(างดที ำใหTเจTานายและ
ขTาราชการชั้นสูงนยิ มจาT งครูฝรง่ั มาสอนหนังสอื และภาษาอังกฤษแก(บตุ รหลานที่บาT น ในชว( งนก้ี ารศกึ ษาจงึ มกี าร
เปลยี่ นแปลงอย(างชดั เจนมากย่ิงขน้ึ จนสง( ผลทำใหTเกิดการปฏิรูปการศกึ ษาในชว( งเวลาต(อมา

135

การศกึ ษาไทย สมัยกอ* นการเปลยี่ นแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2475)

การศกึ ษาไทยสมยั โบราณเป-นการจดั การศกึ ษาท่มี วี ัดเป-นศนู ยก[ ลางทสี่ ำคัญของการศึกษา และเนTนการ
ถ(ายทอดความรูTของครอบครวั ใหแT กล( กู หลานในวงศต[ ระกูล ภายหลงั ไดรT บั อทิ ธพิ ล การศกึ ษาจากตะวนั ตกทำใหT
การศึกษาไทยเกิดการเปลีย่ นแปลงครง้ั สำคัญ สามารถสรุปไดT ดังน้ี สมัยรัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็
พระจลุ จอมเกลาT เจTาอยหู( วั ประเทศมีความเจริญร(ุงเรืองในทุก ๆ ดTานทง้ั ดTานการปกครอง การศาล การคมนาคม
และการสาธารณสุข โดยเฉพาะดาT นการศึกษา พระองค[ท(านทรงเห็นวา( การศกึ ษาเป-นรากฐานของการพฒั นา
ประเทศ จึงทรงสนับสนนุ การศึกษาอยา( งจริงจงั ซงึ่ นับไดวT (าเป-นครง้ั แรกของการปฏริ ปู การศกึ ษา การศกึ ษาไทย
ในสมัยนีจ้ ึงเปล่ียนรูปจากแบบไม(เปน- ทางการ ไมม( ีระเบยี บแบบแผน เป-นการศกึ ษาที่มีระบบ มีระเบยี บแบบแผน
(Formal education) มกี ารจดั ทำโครงการศกึ ษา ชาติมกี ารกำหนดวิชาเรียน มกี ารจัดการเรียนการสอนในช้ัน
เรยี น การสอบไลแ( ละจดั ใหTมที ุนเล(าเรยี นหลวงเพ่ือใหรT าษฎรไดรT บั โอกาส ในการศึกษาหาความรูTในสาขาวิชาท่ี
ประเทศมคี วามตอT งการผTทู มี่ ีความเชี่ยวชาญโดยทุนดงั กลา( วเป-นทนุ ทใี่ หรT าษฎรไปศกึ ษาเลา( เรียน ลักษณะการจดั
การศกึ ษาสมัยกอ( นการเปล่ียนแปลงการปกครอง มีรูปแบบการจัดการศึกษา ดงั น้ี (ทม่ี า : แนวคิดเร่ืองการมี
ระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศสยามกอ( น 2475.กษดิ ศิ อนนั ทนาธร)

1. สถานศึกษาท่ีสำคัญไดTกำเนดิ ขนึ้ โดยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาT เจTาอยห(ู ัวฯ โปรด เกลาT ฯ ใหTจัดตั้ง
โรงเรียนหลวงแห(งแรกขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อสอนภาษาไทยใหTแก( เจTานายและบุตรหลานของขุนนาง
ชั้นสูงเพื่อฝ¡กคนเขTารับราชการทั้งฝÄายทหารและพลเรือน โดยมีพระยาศรีสุนทรโวหาร (นTอย อาจาริยางกูร) เป-น
อาจารย[ใหญ( เนTนการสอนหนังสือไทย การคิดเลขและขนบธรรมเนียมราชการ และไดTมีการจัดตั้งโรงเรียนหลวง
สำหรับสอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวังเพ่ือสอนภาษาอังกฤษ ใหTกับสมเด็จพระเจTานTองยาเธอ และหม(อม
เจTาต(างกรม โดยมีนายฟรานซิส ยอร[ช แปเตอร[สันเป-นครูผูTสอนโดยขึ้นกับกรมมหาดเล็กหลวง หลังจากนั้นจึง
โปรดเกลTาฯ ใหTจัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรแห(งแรกขึ้น ชื่อ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม เพื่อเป-ดโอกาสใหT
บุตรหลานของสามัญชนเขTาเรียนหนังสือไดT อย(างทั่วถึง หลังจากนั้นจึงไดTทยอยจัดตั้งโรงเรียนตามวัดต(างๆ ขึ้นอีก
หลายแห(งทั้งในพระนคร และตามหัวเมืองสำคัญ จัดตั้งโรงเรียนแพทย[ขึ้นครั้งแรก ตั้งอยู(ที่ริมแม(น้ำหนTา
โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว(าโรงเรียนแพทยา ใชTเป-นที่สอนวิชาแพทย[แผนปYจจุบัน ต(อมาคณะมิชชันนารีชาวอเมริกัน
ไดTก(อตั้งโรงเรียนกุลสตรีวังหลังขึ้น ปYจจุบันโรงเรียนแห(งนี้คือ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ซึ่งนับเป-นโรงเรียนสตรีแห(ง
แรกของประเทศไท ในภายหลังจึงเกิดโรงเรียนสำหรับสตรีเพิ่มมากขึ้น จากนั้นสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินี
นาถจึงโปรดฯ ใหTตั้งโรงเรียนสตรีขึ้นอีกแห(ง หนึ่งตรงบริเวณปากคลองตลาด พระราชทานนามว(า โรงเรียนราชินี
จัดตั้งโรงเรียนฝ¡กหัดครู แห(งแรกที่ตำบลโรงเลี้ยงเด็ก โดยมีนักเรียนฝ¡กหัดครูชุดแรก 3 คนที่สำเร็จการศึกษาไดTรับ
ประกาศนียบัตรเป-นครูสอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ภายหลังไดTปรับปรุงหลักสูตรใหTสูงขึ้น เป-นโรงเรียนฝ¡กหัด
อาจารย[สอนหลักสูตร 2 ป‹ โดยรับนักเรียนที่สำเร็จมัธยมศึกษา หลังจากนั้น จึงไดTจัดตั้งโรงเรียนฝ¡กหัดครูหญิงขึ้น
เปน- คร้ังแรกทีโ่ รงเรียนเบญจมราชาลัย

136

2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัวฯ ทรงโปรดเกลTาฯ ใหTพระยาศรีสุนทรโวหาร (นTอย อาจาริ
ยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้นชื่อ มูลบรรพกิจและเริ่มใหTมีการจัดสอบไล( วิชาสามัญ และมีการกำหนด
หลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรูTต(างๆ ที่ ตTองการใชTสำหรับเสมียน ในราชการพลเรือนตาม
กระทรวงต(างๆ ภายหลังกรมศึกษาธิการได ใชTแบบเรียนที่แต(งโดยพระองค[เจTาดิศวรกุมาร (กรมพระยาดํารงรา
ชานภุ าพ) แทนแบบเรยี น หลวงชดุ เดมิ

3. หน(วยงานที่กำกับดูแลดTานการศึกษา เริ่มขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลTา เจTาอยู(หัวฯ ทรงเห็น
ว(าการศึกษาของประเทศในขณะนั้นมีกรมมหาดเล็กหลวงดูแลการจัดการ โรงเรียนต(างๆ ทั้งที่เป-นโรงเรียนสำหรับ
พลเรือนและทหาร จึงโปรดเกลTาฯ ใหTตั้งกรม ศึกษาธิการขึ้นเพื่อดูแลการจัดการโรงเรียนแทน แลTวโปรดฯ ใหTโอน
โรงเรียนมาอยู(ในความดูแลของกรมศึกษาธิการ ต(อมาทรงโปรดเกลTาฯ ใหTรวมกรมศึกษาธิการ กรมแผนที่ กรม
พยาบาลและกรมพิพิธภัณฑ[แลTวยกฐานะขึ้นเป-น กระทรวงธรรมการแลTวโปรดเกลTาฯ ใหT เจTาพระยาภาส
กรวงศ[(พร บุนนาค) เป-นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ คนแรกมีหนTาที่ในการจัดการศึกษา

4. มหาวิทยาลัยแห(งแรกของประเทศไทย เริ่มตTนจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัวฯ ไดT
ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา ทรงโปรดฯ ใหTมีการตั้งโรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบเป-นโรงเรียน
นายทหารมหาดเล็ก ต(อมาไดTเปลี่ยนเป-นโรงเรียนขTาราชการพลเรือนเพื่อฝ¡กคนเขTารบั ราชการตามกระทรวง ทบวง
กรมต(างๆ ซึ่งต(อมาภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลTาเจTาอยู(หัวฯ ทรงโปรดเกลTาฯ ใหTประกาศ ยกฐานะ
โรงเรียน ขTาราชการพลเรือนขึ้นเป-นจุฬาลงกรณ[มหาวิทยาลัย นับเป-นมหาวิทยาลัยแห(งแรก

5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัวฯ ไดTประกาศใชTพระราชบัญญัติประถมศึกษา พุทธศักราช
2464 บังคับใหTเด็กที่มีอายุตั้งแต( 7 ป‹เขTาเรียนในโรงเรียนจนอายุครบ 14 ป‹ บริบูรณ[โดยไม(ตTองเสียค(าเล(าเรียน
สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลTาเจTาอยู(หัว ทรงปกครองประเทศใหTมีความเจริญกTาวหนTาทัดเทียม
กับนานาอารยประเทศ พระองค[ทรง นําเอาแบบอย(างและวิธีการที่เป-นประโยชน[จากต(างประเทศมาใชTเป-นหลัก
ในการปรับปรุง การศึกษา เช(น นําวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษมาจัดตั้งกองลูกเสือหรือเสือปÄาขึ้นเป-นครั้ง แรก
และต(อมาไดTจัดตั้งกองลูกเสือหญิงขึ้น เรียกว(า เนตรนารีและอนุกาชาดโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ตามลําดับสมัย
รัชกาลที่ 7 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ-พระปกเกลTาเจTาอยู(หัว เริ่มเกิดปYญหา การเมือง ภายในประเทศ มีการ
วิพากษ[วิจารณ[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและเรียกรTองใหTมีการ เปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
การปกครองซึ่งไดTรับอทิ ธิพลจากจักรวรรดนิ ิยมตะวันตก
สมัยการเปล่ยี นแปลงการปกครองถึงป:จจุบนั (พ.ศ. 2475 - ป:จจบุ นั )

ประเทศไทยไดเT ปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชยม[ าเป-นระบอบ ประชาธิปไตย
(ทม่ี า : การเปลย่ี นแปลงการปกครองไทย 2475.เว็บไซตก[ ระทรวงวัฒนธรรม) เมื่อวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475
โดยกลุ(มบุคคลท่ีรว( มกนั เปลยี่ นแปลงการ ปกครองหรือคณะราษฎรไ[ ดกT ำหนดเปาž หมายหรืออดุ มการณม[ ีหลกั
สำคญั 6 ประการโดยขอT ท่ี 6 ไดกT ลา( วถงึ การศกึ ษาของไทยว(า จะตTองใหTการศกึ ษาอย(างเต็มทแ่ี กร( าษฎร เพราะ
คณะราษฎร[มคี วามเช่อื วา( การศกึ ษาจะช(วยใหTประชาชน มีความรTคู วามเขาT ใจเรือ่ งการปกครอง ระบอบ
ประชาธิปไตย โดยพระยามโนปกรณ[นิตธิ าดา ไดTแถลงนโยบายของรัฐบาลเกีย่ วกับ การศกึ ษาวา( การจดั การศึกษา
น้ัน หลกั สูตรของโรงเรยี นและมหาวทิ ยาลัยจะตTองขยายใหT สงู ข้ึนเทา( เทยี มอารยประเทศ หลังจากประเทศไทยตก

137

อย(ูในภาวะสงครามโลก ครั้งทีส่ อง (พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2488) ซ่ึงมีผลกระทบตอ( ประเทศอยา( งรุนแรงทง้ั ดาT น
เศรษฐกิจ สังคมและการศกึ ษาประเทศไทยจำเป-นตTองกูเT งนิ จากธนาคารโลกเพ่ือนำมาใชใT นการพัฒนาประเทศ
และ ไดรT บั ความชว( ยเหลือในดาT นตา( งๆ จากต(างประเทศ ทำใหTประเทศไทยไดTรบั เอาแนวคิด สมัยใหม(ดาT น
การศกึ ษามาปรับปรุงพัฒนาการศึกษาไทย ทำใหTการศกึ ษาของประเทศมีการเปล่ยี นแปลงจากสมัยกอ( นมาก
สามารถสรุปประเด็นสำคัญไดT ดังน้ี

1. จัดตง้ั คณะกรรมการการศกึ ษา จัดต้งั สภาการศกึ ษาและปรับเปลยี่ นการจัดการศกึ ษาภาค บังคับจาก
เดิม 6 ป‹ใหเT หลอื 4 ป‹ และประกาศใชTแผนการศึกษาชาตพิ .ศ. 2479

2. เปลย่ี นช่อื กระทรวงธรรมการเปน- กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใชพT ระราชบัญญตั ิ ประถมศกึ ษาทั่ว
ประเทศ ประกาศใชพT ระราชบัญญัตคิ รพู ุทธศักราช 2488 ประกาศใชแT ผนการ ศึกษาแห(งชาตฉิ บบั ท่ี 1 ป‹
พุทธศักราช 2503 ฉบับท่ี 2 ฉบบั ที่ 3 และพระราชบัญญัติการศึกษา แห(งชาตพิ .ศ. 2542 จดั ตง้ั คุรุสภาเพอ่ื
สง( เสรมิ ฐานะครแู ละดแู ลรกั ษาผลประโยชนข[ องครู

3. จัดตง้ั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ[ ละการเมอื ง การขยายสถานศกึ ษาทงั้ ในสว( นกลางและ สว( นภมู ภิ าค
โดยในภูมภิ าคไดจT ดั ต้ังมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม( และมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร[ จดั ต้ังมหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง
เป-นมหาวทิ ยาลยั เปด- แห(งแรกและ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าชเปน- ลำดบั ตอ( มา

4. การปฏิรูปการศึกษาเนTนใน 4 ดาT น (ในป‹2540) คอื การปฏริ ูปโรงเรยี นและสถานศกึ ษา การปฏริ ปู
ระบบการบริหารการศกึ ษา การปฏริ ปู หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นการสอนและ การปฏริ ปู ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา หลังจากประเทศไทยประกาศใชTรัฐธรรมนญู แห(งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ซ่งึ
กาํ หนดใหTมกี ฎหมายเกีย่ วกบั การศึกษาแหง( ชาตจิ งึ ไดมT กี ารประกาศใชTพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห(งชาติ
พทุ ธศกั ราช 2542 และฉบบั แกไT ขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2545 ซงึ่ เปน- กฎหมายการศึกษาแห(งชาตทิ ่ีเปน-
กฎหมายแม(บทในการจัดการศึกษาของประเทศท่สี อดคลTองกับเจตนารมณ[ของรฐั ธรรมนญู แห(งราชอาณาจักรไทย
กลา( วโดยสรปุ ในเรอื่ งเกีย่ วกับววิ ัฒนาการของแผนการศึกษาแหง( ชาตทิ ่ีใชเT ปน- แผน หรือแนวทางในการจัด
การศกึ ษาของประเทศไทยต้งั แตเ( ร่ิมปฏิรปู การศึกษาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาT เจTาอยูห( ัว จนถึง
กฎหมายการศึกษาแหง( ชาติทีเ่ ปน- กฎหมายแม(บทในการจดั การศกึ ษาของประเทศใน

อาศัยอำนาจตามความในบทเฉพาะกาล มาตรา 74 แห(งพระราชบัญญัติการศึกษาแห(งชาติ พุทธศักราช
2542 กระทรวงศึกษาธิการจึงไดTประกาศใชTหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยยึดหลักความมี
เอกภาพดTานนโยบายและมีความหลากหลายในการ ปฏิบัติซึ่งหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานนี้มีโครงสรTาง
หลักสูตรยืดหยุ(น โดยกำหนดจุดหมายที่ เป-นมาตรฐานการเรียนรูTในภาพรวม 12 ป‹กำหนดสาระการเรียนรTู
มาตรฐานการเรียนรูTแต(ละ กลุ(มสาระและกำหนดมาตรฐานการเรียนรูTเป-นช(วงชั้น ช(วงชั้นละ 3 ป‹ สมัยรัชกาลที่ 9
พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวภูมิพล-อดุลยเดช ไดTรับวิทยาการและเทคโนโลยีใหม(ๆ จากต(างชาติและนํามาปรับ
ใชTในวิถีชีวิตประจำวัน จนเกิดความกTาวหนTาในหลายดTาน ความกTาวหนTาทางวิทยาการและเทคโนโลยีใหม(ๆนี้เอง
ทำใหT การศึกษาเกิดความเหลี่อมล้ำและขาดความเสมอภาค พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวทรง ตระหนักว(าเด็ก
และเยาวชนของไทยมิไดTขาดสติปYญญา หากแต(ดTอยโอกาสและขาดทุนทรัพย[ สำหรับการศึกษา พระองค[ท(านจึง

138

โปรดเกลTาโปรดกระหม(อมพระราชทาน พระราชทรัพย[ส(วนพระองค[ เพื่อสนับสนุนการศึกษาอย(างจริงจัง
และตอ( เนอ่ื ง สามารถสรปุ สาระสำคญั ไดT ดังนี้

1. พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลTาโปรดกระหม(อมพระราชทานพระราชทรัพย[
ส(วนพระองค[เพื่อก(อตั้งกองทุนการศึกษาขึ้นหลายทุนตั้งแต(ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา เช(น
มูลนิธิอานันทมหิดลเป-นทุนสำหรับการศึกษาในแขนงวิชา ต(างๆ เพื่อสนับสนุนใหTประชาชนไดTมีโอกาสศึกษาวิชา

ความรูTในชั้นสูง ณ ต(างประเทศเพื่อที่จะ ไดTนําความรูTกลับมาพัฒนาประเทศใหTเจริญกTาวหนTาโดยไม(มีเงื่อนไขขTอ
ผูกพันแต(อย(างใด นอกจากทุนมูลนิธิอานันทมหิดลแลTว ยังมีทุนการศึกษาพระราชทานอื่นๆ ที่พระบาทสมเด็จพระ
เจTาอยู(หัวไดTพระราชทานทรัพย[ส(วนพระองค[เพื่อสนับสนุนการศึกษาของราษฎรดังนี้ ทุนมูลนิธิ ภูมิพล ทุนเล(า

เรียนหลวง ทุนการศึกษาสงเคราะห[ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห[ ทุนมูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรม
ราชูปถัมภ[และมูลนิธิโรงเรียนราชประชาสมาสัย ทุนนวฤกษ[ทุนการศึกษาพระราชทานแก(นักเรียนเฉพาะกรณีเช(น
ทุนพระราชทานแก(นักเรียน ชาวเขา ทุนพระราชทาน แก(นักเรียนเฉพาะสถานศึกษา รางวัลพระราชทานแก(

นกั เรียนและ โรงเรียนดเี ดน(
2. พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวมีพระราชดําริใหTทหารช(วยก(อสรTางโรงเรียนเพื่อใหTทหารมี ส(วนช(วยเหลือ
ประชาชนดTานการศึกษาโดยใหTแม(ทัพภาคเป-นแกนนําในการก(อสรTางโรงเรียน ในเขตพื้นที่ ที่รับผิดชอบและ

พระราชทานพระราชทรัพย[ส(วนพระองค[สนับสนุนการก(อสรTางโรงเรียนโดย จัดตั้งโรงเรียนขึ้นในจังหวัดนครพนม
จังหวัดสกลนคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปราจีนบุรีและ จังหวัดแม(ฮ(องสอน โดยราษฎร ในพื้นที่ไดTช(วยก(อสรTาง
และสมทบทุนทรัพย[เป-นทุนในการ จัดซื้ออุปกรณ[ต(าง ๆ ที่จะนําไปใชTในการก(อสรTางโรงเรียนเพื่อเป-นการโดย

เสด็จพระราชกุศล ดTวยและเมื่อการก(อสรTางโรงเรียนแลTวเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ไดTเสด็จพระราช
ดำเนินไปทรงเป-ดโรงเรียนเหล(านั้น พรTอมทั้งพระราชทานนามว(า โรงเรียนร(มเกลTา ซึ่ง ในปYจจุบันมีทั้งโรงเรียน
ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา และพระราชทานพระราชทรัพย[ เพื่อสรTางโรงเรียนตำรวจตระเวน

ชายแดนสำหรับชาวไทยภูเขาที่อาศัยอยู(ในถิ่นทุรกันดารห(างไกล จากการคมนาคม พรTอมทั้งพระราชทานนามว(า
โรงเรียนเจาT พอ( หลวงอุปถมั ภ[และทรง
3. พระเมตตารับอปุ ถมั ภเ[ ยาวชนที่ขาดแคลนหรือครอบครัวประสบปญY หาเดือดรTอนจาก สา

ธารณภัยภัยธรรมชาติในโรงเรียนราชประชานุเคราะห[และโรงเรียนสงเคราะห[เด็กยากจน
พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลTาฯ พระราชทานพระราชทรัพย[ส(วน พระองค[เป-นทุนริเริ่ม
ในการก(อสรTางโรงเรียนตามวัดในชนบทเพื่อสงเคราะห[เด็กยากจนและ กําพรTาใหTไดTมีสถานที่สําหรับศึกษาเล(า

เรียน ทรงก(อตั้งกองทุนนวฤกษ[ในมูลนิธิช(วยนักเรียนที่ ขาดแคลนในพระบรมราชูปถัมภ[เพื่อช(วยใหTนักเรียนที่ขาด
แคลนทุนทรัพย[ไดTมีโอกาสเขTารับ การศึกษาในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โดยอาราธนาพระภิกษุ
เป-นครูสอนใน วิชาสามัญและอบรมศีลธรรมแก(นักเรียน โดยมีพระราชประสงค[ที่จะใหTนักเรียนมีความใกลTชิด

ศาสนาซึ่งจะทำใหTเยาวชนของชาติเป-นผูTมีความรูTดTานวิชาการและมีจิตใจตั้งมั่นอยู(ในศีลธรรม เพื่อที่จะไดTเป-น
พลเมอื งทด่ี ีของประเทศ

139

4. พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลTาโปรดกระหม(อมพระราชทานพระ ราชทรัพย[
ช(วยเหลือและใหTความอุปถัมภ[หรือทรงใหTคำแนะนําโรงเรียน ทั้งยังไดTเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียน และ
พระราชทานพระบรมราโชวาทเพื่อสนับสนุนและเป-นกําลัง คือ โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ[ซึ่งมีทั้งโรงเรียน
รัฐบาลและโรงเรียนเอกชน เช(น โรงเรียน จิตรลดา โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชา
สมาสยั โรงเรยี น ภ.ป.ร

5. พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวทรงเห็นสำหรับประชาชนที่อยู(ในชนบท ทรงริเริ่มตั้งศาลารวม ใจตาม
หมบ(ู าT นในชนบทเพอื่ ใหปT ระชาชนไดใT ชTเป-นทอี่ (านหนงั สอื และพระราชทานหนงั สอื ประเภทตา( งๆใหดT วT ย

6. ศูนย[ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริเป-นศูนย[รวมของการศึกษาคTนควTา ทดลองวิจัยและ
แสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาดTานต(างๆ ที่เหมาะสมสอดคลTองกับ สภาพแวดลTอม ประกอบอาชีพของราษฎร
ที่อาศัยอยู(ในภูมิประเทศนั้นๆ ซึ่งไดTขยายผล การศึกษาคTนควTา ทดลองวิจัยแก(ราษฎรในหมู(บTานใกลTเคียงและ
ขยายผลในวงกวTางออกไป ปYจจุบันศูนย[ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีอยู(ทั้งหมด 6 ศูนย[
พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลTาโปรดกระหม(อมพระราชทานพระ ราชทรัพย[ช(วยเหลือ
และใหTความอุปถัมภ[หรือทรงใหTคำแนะนําโรงเรียน ทั้งยังไดTเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมและพระราชทานพระ
บรมราโชวาทเพื่อสนับสนุนและเป-นกําลังใจแก(ครูและ นักเรียน โรงเรียนประเภทนี้ซึ่งมีทั้งโรงเรียนรัฐบาลและ
โรงเรียนเอกชน เช(น โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชาสมาสัย
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราช วิทยาลัย พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวทรงเห็นความสำคัญของการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน สำหรับประชาชนที่อยู(ในชนบท ทรงริเริ่มตั้งศาลารวมใจตามหมู(บTานในชนบทเพื่อใหT ประชาชนไดTใชTเป-น
ทีอ่ (านหนังสอื และพระราชทานหนังสอื ประเภทต(างๆใหTดวT ย พระบาทสมเดจ็ พระเจาT อยูห( ัวทรงรเิ รม่ิ ตัง้ ศาลารวมใจ
ตามหมู(บTานในชนบทเพื่อใหTประชาชนไดT ใชTเป-นที่อ(านหนังสือ ศูนย[ศึกษา การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
เป-นศูนย[รวมของการศึกษาคTนควTา ทดลองวิจัยและแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาดTานต(างๆ ที่เหมาะสม
สอดคลTองกับ สภาพแวดลTอม ประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู(ในภูมิประเทศนั้นๆ ซึ่งไดTขยายผล การศึกษา
คTนควTา ทดลองวิจัยแก(ราษฎรในหมู(บTานใกลTเคียงและขยายผลในวงกวTางออกไป ปYจจุบันศูนย[ศึกษาการพัฒนาอัน
เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ ศูนย[ศึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซTอน อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

7. โรงเรียนพระดาบส เกิดขึ้นตามพระราชดําริที่ตTองการใหTการศึกษาแก(ประชาชนใน ลักษณะเดียวกับ
การศึกษาสมัยโบราณที่ผูTเรียนตTองไปหาพระอาจารย[ซึ่งเป-นพระดาบสแลTว ฝากตัวเป-นศิษย[โดยใชTสถานที่ของ
สำนักพระราชวัง รับผูTเรียนไม(จํากัดเพศ วัย วุฒิความรูT หรือฐานะ ครูผูTสอนเป-นผูTทรงคุณวุฒิอาสาสมัคร โดยใหT
ความรTูแกศ( ิษยเ[ ป-นวิทยาทานไม(คิด ค(าตอบแทนใดๆ

8. พระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลTาฯ ใหTวิทยากรผูTทรงคุณวุฒิ ในแต(ละสาขาวิชา
ร(วมจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนที่รวบรวมสาระเรื่องราวต(างๆ โดย แบ(งเนื้อหาออกเป-นสามระดับเพื่อใหT
เยาวชนสามารถคTนควTาหาความรูTไดTตามพื้นฐานความรูTเดิมของแต(ละคน ประกอบดTวย 7 สาขาวิชา วิทยาศาสตร[
เทคโนโลยี สังคมศาสตร[ มนุษยศาสตร[ เกษตรศาสตร[ แพทยศาสตร[ และคณิตศาสตร[ (ที่มา : พัฒนาการดTาน
การศึกษาไทยในสมัยรชั กาลที่ 9. พิมพพ[ นั ธ[ เดชะคปุ ต)[

140

ความสำคญั ของครู

เพอื่ ใหT “ครู” ไดตT ระหนักถึงความสำคัญของการศกึ ษาและความเป-นครู จึงขออัญเชิญพระบรมราโชวาท
และ พระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร
มาใหไT ดพT จิ ารณาไตร(ตรอง ดงั น้ี...

“…การศึกษาเป-นเรอื่ งใหญแ( ละสำคัญยงิ่ ท่ีมนุษย[ คนเราเม่ือเกดิ มาไดรT ับการสง่ั สอนจากบดิ ามารดาอนั
เป-นความรTเู บอื้ งตนT เม่อื เจรญิ เติบโตขึ้นก็เป-นหนาT ท่ขี องครแู ละอาจารย[สั่งสอนใหไT ดTรบั ความรสTู งู และอบรมจติ ใจ
ใหTถึงพรอT มดTวยคุณธรรม เพ่ือจะไดเT ปน- พลเมืองดขี องชาติสืบไป งานของครูจงึ เป-นงานท่สี ำคัญยิ่ง ทา( นท้ังหลายซง่ึ
จะออกไปทำหนTาทคี่ รูจะตTองยึดมน่ั อยู(ในหลักศลี ธรรมและพยายามถ(ายทอดวชิ าความรูTแก(เด็กใหดT ีทสี่ ุดที่จะทำไดT
นอกจากนี้ จงวางตนใหสT มกับทเ่ี ป-นครูใหTแก(นักเรียนมคี วามเคารพนบั ถอื และเป-นทเ่ี ลอื่ มใสไวTวางใจของ
ผูTปกครองนักเรยี นดTวย…”

พระราโชวาทของสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร ในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รแก(
ผูสT ำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ.อาคารใหม(สวนอัมพร วนั พธุ ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 มากลา( วในท่ีน้ี
ดงั ปรากฏขTอความตอนหนึ่งวา(

"...หนาT ทข่ี องครูน้ันเป-นหนTาที่ที่มีความสำคญั ยิง่ เพราะเปน- การปลูกฝYงความรูT ความคดิ และจติ ใจใหแT ก(
เยาวชน เพื่อทจี่ ะไดเT ติบโต ขึน้ เป-นผลเมืองทีด่ ีและมีประสทิ ธภิ าพของประเทศชาตใิ นกาลขาT งหนาT ผเTู ป-นครูจงึ จัด
ไดวT า( เปน- ผูTมบี ทบาทอย(างสำคัญ ในการสรTางสรรคบ[ นั ดาลอนาคตของชาตบิ Tานเมอื ง..." (ที่มา:เดลินวิ ส[
29 มนี าคม 2564
คณุ ลักษณะของครูทีด่ ี 10 ประการ

1. ความมีระเบียบวินัย หมายถงึ ความประพฤติ ทง้ั ทางกายและวาจาและใจ ท่แี สดงถึงความเคารพใน
กฎหมาย ระเบียบประเพณีของสังคม และความประพฤติที่สอดคลอT งกบั อดุ มคติหรือความหวงั ของตนเองโดยใหT
ยึดสว( นรวมสำคญั กวา( ส(วนตวั

2. ความซ่อื สตั ยส? ุจริตและความยุติธรรม หมายถงึ การประพฤตทิ ไ่ี มท( ำใหผT ูTอืน่ เดอื ดรอT น ไม(เอาเปรียบ
หรือคดโกงผูอT นื่ หรือส(วนรวม ใหยT ึดถอื หลักเหตุผล ระเบียบแบบแผนและกฎหมายของสังคมเป-นเกณฑ[

3. ความขยัน ประหยัด และยดึ มั่นในสมั มาอาชีพ หมายถงึ ความประพฤตทิ ีไ่ มท( ำใหTเสยี เวลาชีวิตและ
ปฏบิ ัติกจิ อันควรกระทำใหTเกดิ ประโยชน[แก(ตนและสงั คม

4. ความสำนกึ ในหนา# ท่ีและการงานตาX ง ๆ รวมไปถงึ ความรับผิดชอบตXอสังคมและประเทศชาติ
หมายถงึ ความประพฤตทิ ่ีไม(เอารัดเอาเปรยี บสังคมและไม(กอ( ความเสยี หายใหเT กิดขึน้ แกส( งั คม (ท่มี า:จีราวุฒิ กก£
ใหญ,( 13 มกราคม.2014.)

5. ความเปนQ ผ#มู ีความริเร่ิม วจิ ารณแ? ละตัดสินอยXางมเี หตุผล หมายถึง ความประพฤติในลักษณะ
สรTางสรรค[และปรับปรงุ มีเหตมุ ีผลในการทำหนาT ทก่ี ารงาน

141

6. ความกระตอื รอื ร#นในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย มีความรกั และเทิดทูน ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย? หมายถึง ความประพฤติทสี่ นับสนุนและใหTความร(วมมอื ในการอยร(ู (วมกนั โดยยึดผลประโยชน[
ของสงั คมใหมT ากท่ีสดุ

7. ความเปนQ ผม#ู พี ลานามัยทีส่ มบูรณ?ท้ังทางรXางกายและจิตใจ หมายถงึ ความมนั่ คงและจิตใจ รTจู ัก
บำรงุ รักษากายและจิตใจใหสT มบรู ณ[ มอี ารมณ[แจม( ใสมธี รรมะอยใู( นจิตใจอย(างมั่นคง

8. ความสามารถในการพงึ่ พาตนเองและมอี ุดมคตเิ ปนQ ทพี่ งึ่ ไมไX ว#วานหรือขอความชXวยเหลือจากผู#อ่นื
โดยไมXจำเปนQ

9. ความภาคภมู แิ ละการรจู# กั ทำนุบำรงุ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และทรัพยากรของชาติ หมายถงึ ความ
ประพฤติทแี่ สดงออกซงึ่ ศิลปะและวัฒนธรรมแบบไทย ๆ มีความรกั และหวงแหนวฒั นธรรมของตนเองและ
ทรัพยากรของชาติ

10. ความเสยี สละ และเมตตาอารี กตญั ~กู ตเวที กล#าหาญ และความสามัคคีกัน หมายถงึ ความ
ประพฤตทิ ่แี สดงออกถงึ ความแบง( ปYน เก้อื กลู ผอูT ืน่ ในเรอ่ื งของเวลากำลงั กายและกำลงั ทรพั ย[ (ท่มี า:จรี าวุฒิ กก£
ใหญ,( 13 มกราคม.2014.)
หนา# ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของครู

หนาT ที่และความรบั ผิดชอบของครใู นเชงิ ระเบยี นปฏิบัติต(อบคุ คลตา( งๆ ที่ผปูT ระกอบวิชาชีพครตู อT งสมั พนั ธ[
ดวT ยน้นั อาจแบ(งเปน- 3 กล(ุมคือ หนาT ท่คี วามรบั ผดิ ชอบของครูต(อศษิ ย[ ตอ( สถาบนั วชิ าชพี ครอู นั ไดTแก( เพอื่ นครู
และสถานศกึ ษา และหนาT ทีค่ วามรบั ผิดชอบของครตู อ( สงั คมอนั ไดแT กT ผูTปกครองนักเรยี นและชมุ ชน หนาT ท่ีความ
รบั ผดิ ชอบของครใู นเชิงระเบยี นปฏิบัตหิ รือกฎหมายกำหนดมีดังนี(้ ทม่ี า:จรี าวฒุ ิ ก£กใหญ,( 13 มกราคม.2014.)

1.หนTาทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของครูต(อศษิ ย[เปน- หนาT ท่คี วามรับผดิ ชอบท่ีสำคัญเปน- อนั ดบั แรก
อาจสรุปหนTาท่ีของครูต(อศิษยไ[ ดTดังนี้

- ต้งั ใจส่ังสอนศิษยแ[ ละปฏิบตั ิหนTาที่ใหTเกดิ ผลดีดTวยความเอาใจใส(
- อุทิศเวลาของตนใหแT ก(ศษิ ย[ จะละทิง้ หรือทอดทิง้ หนTาทีก่ ารงานมิไดT
- ถา( ยทอดวิชาความรูโT ดยไม(บิดเบอื นและป-ดบังอำพราง ไมน( ำหรือยอมใหนT ำผลงานทางวชิ าการของตน
ไปใชTในทางทจุ รติ หรอื เปน- ภัยต(อศิษย[
- สภุ าพเรียบรอT ย ประพฤติตนเปน- แบบอย(างทดี่ ีแกศ( ิษย[
- รกั ษาความลับของศษิ ย[
- ครตู อT งรกั และเมตตาศิษยโ[ ดยใหคT วามเอาใจใส(ช(วยเหลอื สง( เสริมใหกT ำลังใจในการศกึ ษาเลา( เรยี นแก(
ศิษย[โดยเสมอหนาT
- ครูตTองอบรม สง่ั สอน ฝก¡ ฝน สราT งเสรมิ ความรูT ทกั ษะและนิสัยที่ถูกตTองดีงามใหเT กดิ แก(ศิษยอ[ ย(างเตม็
ความสามารถ ดTวยความบริสทุ ธ์ใิ จ

142

- ครตู อT งประพฤติ ปฏิบัติเปน- แบบอยา( งทด่ี แี ก(ศิษย[ทัง้ ทางการ วาจาและจิตใจ
- ครูตอT งไม(กระทำตนเปน- ปฏิปกY ษ[ต(อความเจริญทางกาย สตปิ ญY ญา จิตใจ อารมณแ[ ละสงั คมของศษิ ย[
- ครตู อT งไม(แสวงหาประโยชนอ[ นั เปน- อามสิ สนิ จTางจากศษิ ย[ในการปฏบิ ตั หิ นTาทต่ี ามปกติ และไม(ใชTใหTศิษย[
กระทำการใดๆ อันเปน- การหาประโยชนใ[ หแT ก(ตนโดยมิชอบ

2. หนTาที่และความรับผดิ ชอบของครูตอ( สถาบันวิชาชีพครอู ันไดTแก( ตนเอง เพ่ือนครู และสถานศกึ ษา
ในการประกอบวชิ าชีพครู โดยทัว่ ไปจะเปน- การทำงานเป-นทีมในสถานศกึ ษาทจ่ี ัดต้งั ข้ึน ฉะนัน้ หนาT ท่ีและความ
รับผิดชอบของครจู ะตอT งมตี อ( ตนเอง และเพอ่ื นร(วมงานท้ังในระดบั ผบTู ังคับบญั ชา และบคุ ลากรอืน่ ๆ ใน
สถานศกึ ษา ซ่ึงอาจจะแยกแยะไดTดังน้ี

- ครพู งึ ช(วยเหลอื เกอ้ื กูลครดู TวยกันในทางสรTางสรรค[ เช(น การแนะนำแหล(งวิทยาการใหกT นั แลกเปล่ียน
ประสบการณท[ างวิชาชีพซงึ่ กันและกนั

- รกั ษาความสามัคคีระหวา( งครู และชว( ยเหลือซ่ึงกันและกนั ในหนTาทีก่ ารงาน ไมแ( บง( พรรคแบง( พวกคิด
ทำลายกลน่ั แกลงT ซงึ่ กนั และกนั เตม็ ใจชว( ยเหลอื เมอื่ เพื่อนครูขอความช(วยเหลอื เชน( เปน- วทิ ยากรใหแT ก(กัน
ชว( ยงานเวรหรอื งานพเิ ศษซึ่งกันและกัน

- ไมแ( อบอTางหรือนำผลงานทางวิชาการของเพ่อื นครูมาเป-นของตนทั้งยังตอT งชว( ยเหลอื ใหเT พอ่ื นครูอื่นๆ
ไดสT ราT งสรรค[งานวชิ าการอยา( งเตม็ ความสามารถดTวย

- ประพฤตติ นดวT ยความสภุ าพ ออ( นนอT มถอ( มตน และใหTเกยี รตซิ ง่ึ กันและกนั ไมว( (าจะสังกดั หน(วยงานใด
- ปฏบิ ัติตามระเบยี บ และแบบธรรมเนียมอนั ดีงามของสถานศกึ ษา ปฏิบัติตามคำสง่ั ของผTูบงั คับบัญชาซึง่
ส่งั โดยชอบดวT ยกฎหมาย และระเบียบแบบแผนของสถานศึกษา
- รกั ษาชื่อเสยี งของตนไม(ใหTขน้ึ ช่อื วา( ประพฤติชัว่ ไมก( ระทำการใดๆ อันอาจทำใหTเส่ือมเสยี เกียรติศักด์ิ
และช่ือเสยี งของครู
- ประพฤตติ นอย(ใู นความซอื่ สตั ย[สุจริต และปฏิบัติหนาT ท่ดี Tวยความเที่ยงธรรม ไมแ( สวงหาประโยชน[
สำหรบั ตนเองหรือผูอT ื่นโดยมชิ อบ
- ครยู อ( มพฒั นาตนเองทัง้ ในดTานวชิ าชีพ บุคลกิ ภาพ และวิสัยทัศนใ[ หทT นั ตอ( การพฒั นาทางวชิ าการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งอย(เู สมอ
- ครยู (อมรกั และศรัทธาในวิชาชพี ครแู ละเป-นสมาชิกที่ดขี ององค[กรวิชาชีพ

3. หนาT ทแี่ ละความรับผิดชอบของครตู อ( สงั คมอัน ไดTแก( ผปTู กครองนกั เรยี นและชมุ ชน หนTาทคี่ วาม
รบั ผดิ ชอบของครูนั้นยอ( มอยท(ู ีศ่ ิษย[เปน- เปžาหมายสำคญั แตก( ารสรTางเสรมิ ศิษยน[ นั้ ยงั มปี Yจจยั ที่เกย่ี วอย(างอื่นดTวย
คอื ผูปT กครองนกั เรียนและชุมชน ครจู ึงตTองมีหนTาท่ีและรับผดิ ชอบตอ( สถาบันทั้งสองน้นั ดTวยซง่ึ อาจแยกแยะ ไดT
ดงั นี้

143

- ครตู Tองเล่อื มใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย[เปน- ประมขุ ดTวยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ
- ครตู อT งยึดมั่นในศาสนาท่ีตนนบั ถือและไมด( หู มน่ิ ศาสนาอ่ืน
-ครูตอT งใหTความรว( มมอื กับผูปT กครองในการอบรมสั่งสอนศิษย[อย(างใกลชT ดิ ตลอดจนการร(วมแกTปญY หา
ของศิษยท[ กุ ๆดาT น ทัง้ ดาT นการศกึ ษาเล(าเรยี น ความประพฤติ สุภาพพลานามยั ปYญหาทางจติ ใจ ฯลฯ
- ครตู อT งใหTคำปรึกษาหารือและแนะนำผปTู กครองในการอบรมเลย้ี งดเู ด็กในปกครองอยา( งใกลชT ิด
ตลอดจนแนะแนวการศกึ ษาต(อและการเลือกอาชีพของศษิ ย[
- ครตู TองรายงานขอT มลู ตา( งๆ ของศษิ ยใ[ หTผปTู กครองทราบสมำ่ เสมอและถูกตอT งไมบ( ดิ เบอื น
- ครูพึงใหคT วามช(วยเหลือเก้ือกลู ผูปT กครองและชมุ ชนในทางสรTางสรรค[ตามความเหมาะสม
- ครูพงึ ประพฤติเป-นผTูนำในการอนุรกั ษ[สภาพแวดลTอมและศลิ ปวัฒนธรรมของชุมชน
- ครพู งึ รว( มพัฒนาชุมชนทุกๆดาT น ชว( ยใหขT Tอมูลข(าวสารและความรTใู หม(ๆ ในการดำเนินชวี ติ แก(สมาชิกทุก
คนในชุมชน (ท่ีมา:จีราวฒุ ิ กก£ ใหญ,( 13 มกราคม.2014.)

144

“ครุ ุสภา”
มชี ือ่ ทางการว(า สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เปน- สภาในกระทรวงศึกษาธกิ าร ปจY จุบันคุรุสภา
มีฐานะเป-นหนว( ยงานของรฐั ประเภทองค[การมหาชน ท่ีจดั ตงั้ ตามพระราชบัญญตั ิเฉพาะ
ป‹ พ.ศ. 2546 มีการตราพระราชบญั ญัติสภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และมีการปรับปรงุ คุรสุ ภา
เป-น 2 องค[กร คือ
1) สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เรยี กชื่อเหมือนเดมิ วา( “คุรสุ ภา”
2) สำนักงานคณะกรรมการสง( เสรมิ สวสั ดิการและสวสั ดิภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เรยี กวา(
“สกสค.” (ทม่ี า:สำนกั งานเลขาธิการครุ ุสภา)

พ.ศ. 2438 พ.ศ.2443
วทิ ยาทานสถาน สภาไทยาจารยE

พ.ศ.2445
สามคั ยาจารยสE โมสรสถาน

พ.ศ. 2447
สามคั ยาจารยEสมาคม

พ.ศ. 2488
ครุ สุ ภา


Click to View FlipBook Version