The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aschapanboonkua, 2021-03-30 23:25:23

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง

ปรัชญาการศกึ ษา คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณความเปน: ครู

เสนอ

รองศาสตร(ตราจารย( ดร. ฐติ พิ ร พชิ ญกุล

จดั ทำโดย

นกั ศกึ ษาประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครู รุCนที่ 8 หมูCท่ี 5
คณะ ครุศาสตร(

รายงานน้เี ปLนสวC นหนง่ึ ของวิชาปรัชญาการศกึ ษา คุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณความเปนL ครู (ETP510)

มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ( ในพระบรมราชปู ถัมภ(
ภาคเรยี นท่ี 2 ป]การศกึ ษา 2563

คำนำ

รายงานเล(มนเี้ ปน- ส(วนหนงึ่ ของวิชาปรัชญาการศกึ ษาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณความเปน- ครู
(ETP510) จดั ทำขึ้นเพื่อรวบรวมเน้อื หารายงานปรชั ญาการศึกษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเปน-
ครู ไดแT ก(เรอ่ื ง ทฤษฎีพัฒนาการดTานสตปิ ญY ญา /ทฤษฎีเชาวน[ปYญญา,ปรชั ญาตะวนั ตก และ ปรชั ญาตะวนั ออก,
อภปิ รัชญาญาณวทิ ยาและคุณวิทยา,ทฤษฎีการเรยี นร,ูT ความเปน- ครู จรรยาบรรณวชิ าชีพคร/ู เกณฑ[มาตรฐาน
วิชาชพี จิตวิญญาณความเปน- ครู ค(านยิ มครู,กฎหมายการศึกษา ,การเป-นแบบอย(างทดี่ ี มีคุณธรรม จริยธรรม เปน-
พลเมอื งทเี่ ขTมแข็ง ดำรงตนใหเT ป-นทเี่ คารพศรัทธาของผูเT รียนและสมาชกิ ในชุมชน ,สภาพการณ[พฒั นาวชิ าชพี ครู
กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทีย่ ัง่ ยืน ความรอบรTู ทันสมยั ทันตอ( การเปลีย่ นแปล

คณะผูTจัดทำหวงั เป-นอยา( งยิ่งวา( รายงานเลม( นจี้ ะเป-นประโยชน[สำหรบั นักศึกษาครแู ละผูทT ี่สนใจจะศกึ ษา
เพอื่ จะไดมT คี วามรTูขั้นพืน้ ฐาน เปน- การเตรยี มความพรอT มสำหรบั การเปน- ครูโดยนำความรูคT วามเขาT ใจเกยี่ วกับ
ความสำคัญของปรัชญาการศกึ ษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเป-นครแู ละเพอ่ื เป-นพืน้ ฐานการเรยี น
ในรายวชิ าอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ยี วขTอง

คณะผจูT ดั ทำ
มนี าคม 2564

สารบญั หนา#

คำนำ 1
สารบญั 1
บทที่ 1 ทฤษฎีการพัฒนาสตปิ ญ: ญา/ทฤษฎีเชาว?ป:ญญา 1
8
ความหมายสตปิ Yญญา/ความหมายการพัฒนาสติปYญญา 9
ทฤษฎพี ฒั นาพัฒนาการทางสติปYญญา 11
ความหมายและแนวคิดเชาว[ปญY ญา 16
ทฤษฎเี ชาวน[ปญY ญา 17
การวดั เชาวน[ปYญญา 18
สรุปทฤษฎกี ารพัฒนาสติปญY ญา/ทฤษฎีเชาวนป[ ญY ญา 18
อาT งองิ 23
บทที่ 2 ปรชั ญาตะวนั ตกและปรัชญาตะวันออก 32
ความหมายของปรัชญา 39
ปรัชญาตะวนั ออก 53
ปรัชญาการศกึ ษา 55
ปรชั ญาตะวันตก 58
สรุปปรชั ญาตะวันตกและปรชั ญาตะวันออก 58
อาT งอิง 63
บทท่ี 3 อภปิ รชั ญา 64
ความหมายของอภิปรชั ญา 65
หนTาทีข่ องอภิปรชั ญา 67
ความสัมพันธข[ องอภิปรัชญากับศาสตร[อนื่ 71
ทฤษฎที างอภิปรัชญา 72
ลัทธทิ างอภิปรัชญา
สรปุ อภิปรัชญา
อาT งองิ

สารบัญ(ตอ* ) หนา#
73
บทที่ 4 ญาณวทิ ยาและคณุ วิทยา 73
ความหมายและความสำคญั ของญาณวทิ ยาและคุณวิทยา 75
ความสัมพันธญ[ าณวิทยากบั ศาสตรต[ (างๆ 78
ปรชั ญาลัทธิกับญาณวิทยา 80
ค(านิยมเกีย่ วกับคุณวิทยา 83
ปรชั ญาลทั ธแิ ละคณุ วิทยา 85
สรุปญาณวทิ ยาและคุณวิทยา 86
อTางอิง 87
88
บทที่ 5 ทฤษฎกี ารเรียนรู# 100
กลุ(มพฤตกิ รรมนยิ ม 111
กลุ(มพุทธนิ ยิ ม 112
ทฤษฎกี ารเรียนรTทู างสงั คม 124
กลุ(มมนษุ ย[นิยม 127
กลม(ุ ผสมผสาน 128
สรุปทฤษฎีการเรียนรTู 129
อTางอิง
129
บทที่ 6 ความเปนQ ครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครู เกณฑ?มาตรฐานวชิ าชีพ 137
และการเปล่ยี นแปลงบริบทโลก 141
การศึกษาไทยในสมยั โบราณ 148
ความสำคัญของครู 157
ครุ สุ ภาและจรรณยาบรรณ 162
มาตรฐานวชิ าชพี
แนวโนมT จรรยาบรรณครใู นบรบิ ทโลก 163
สรุปความเป-นครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครู เกณฑ[มาตรฐานวิชาชพี
และการเปลยี่ นแปลงบรบิ ทโลก
อาT งอิง

สารบัญ(ตอ* ) หน#า
164
บทท่ี 7 จติ วิญญาณความเปนQ ครแู ละคาX นิยม 164
ความหมายของจติ วญิ ญาณความเปน- ครู 170
องค[ประกอบจิตวญิ ญาณความเปน- ครู 174
แนวทางการพัฒนาจติ วิญญาณความเปน- ครู 181
การปลกู ฝYงจติ วญิ ญาณความเปน- ครู 181
จติ วิญญาณครใู นต(างประเทศ 185
สรุปจิตวญิ ญาณความเปน- ครูและคา( นยิ ม 186
อาT งองิ 187
187
บทท่ี 8 กฎหมายการศกึ ษา 189
วิวฒั นาการกฎหมายไทย 194
ลำดับชน้ั กฎหมายไทย 198
การปฏิรปู การศึกษา 200
โทษ บคุ ลากรทางการศึกษา 221
กฎหมายท่เี กยี่ วขTองการศึกษา 222
สรุปกฎหมายการศึกษา 224
อTางอิง
224
บทท่ี 9 การเปQนแบบอยXางท่ดี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปQนพลเมอื งท่เี ขม# แข็ง 235
ดำรงตนให#เปQนท่ีเคารพศรัทธาของผเู# รยี นและสมาชิกในชมุ ชน 239
คุณธรรมและจรยิ ธรรม 241
พลเมืองทเี่ ขTมแขง็ 251
การดำรงตนใหTเปน- ที่เคารพศรัทธา
ครูแบบอย(างทด่ี ี 252
สรปุ การเปน- แบบอย(างทดี่ ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เปน- พลเมอื งที่
เขTมแขง็ ดำรงตนใหTเปน- ทเ่ี คารพศรัทธาของผTเู รยี นและสมาชิกในชุมชน
อาT งองิ

สารบญั (ต*อ) หนา#
254
บทที่ 10 สภาพการณ?พฒั นาวชิ าชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทีย่ ่ังยนื
ความรอบรู# ทนั สมยั ทนั ตอX การเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทโลก 254
สภาพการณพ[ ัฒนาวชิ าชพี ครู 261
กลวิธีการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยนื 264
ความรอบรูT 267
ความทันสมัย 280
ทนั ต(อการเปลี่ยนแปลงในบรบิ ทโลก 285
สรุปสภาพการณ[พฒั นาวชิ าชีพครู กลวธิ กี ารพฒั นาการศกึ ษาท่ียงั่ ยืน
ความรอบรTู ทันสมัย ทนั ตอ( การเปลี่ยนแปลงในบรบิ ทโลก 287
อาT งอิง

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก รายชอื่ สมาชิกรุน( ที่ 8 หมู(ที่ 5
ภาคผนวก ข รายชอ่ื สมาชิกผูTจัดทำ

1

บทที่ 1

ทฤษฎกี ารพัฒนาสตปิ ญK ญา/ทฤษฎเี ชาวนปM Kญญา

ความหมายของสตปิ 6ญญา

สติปYญญาตรงกับภาษาอังกฤษว(า Intelligence มีความหมายที่ยังสับสนไม(ตรงกันเป-นหนึ่ง เดียว นักจิตวิทยา
และนกั การศกึ ษาไดใT หTความหมายสติปYญญาดังน้ี

สติปYญญา หมายถึง ความถนัดของบุคคลที่มี ลักษณะรวมๆ หลายสภาวะ และความถนัดนี้ทาใหTบุคคล
สามารถเรียนรูไT ดT ซูเปอร[ (Super), 1949 : 58-59)

สติปYญญา หมายถึง ความสามารถที่ไดTรับ การพัฒนามาจากประสบการณ[ที่มีประโยชน[ ความสามารถในการ
ปรับตนเองใหTเขTากับ สิ่งแวดลTอม ความสามารถในการการปฏิบัติ หรือความสามารถในการเรียนรTู (เวอร[นอน
(Vernon), 1960 : 28)

สรุป สติปYญญา หมายถึง ความสามารถในการเรียนรูTและนำความรูTไปใชTประโยชน[ใน การปรับตนและแกTไข
ปYญหาต(าง ๆ (กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม 2557). การใชTฐานขTอมูล [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู, อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี)

ความหมายของคำวา* “พัฒนาการสตปิ 6ญญา”

เฮอร[ลอค ไดTใหTความหมายของพัฒนาการไวTว(า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต(างๆที่มีลำดับขั้นตอนต(อเนื่อง
เนนT ขบวนการการเปลย่ี นแปลงทั้งทางรา( งกาย จิตใจ สติปญY ญา ผสมผสานกัน

เพียเจท[ เชื่อว(าพัฒนาการทางสติปYญญานั้นหมายถึง ความสามารถที่จะคิดคTนสิ่งที่เป-นนามธรรมอย(างมี
เหตผุ ล

จากความหมายขTางตTนจะเห็นว(า สุมนา พานิช กล(าวว(า พัฒนาการทางสติปYญญา หมายถึง ความสามารถใน
การจำ การรูTจักคิด การใชTเหตุผลในการแกTปYญหา การที่เด็กจะมีความสามารถดังกล(าวไดT จำเป-นตTองไดTรับการ
พัฒนาไปตามขั้นตอน เริ่มจากการรับรูTสิ่งต(างๆ ดTวยประสาทสัมผัสทั้งหTา คือการจับตTอง การเห็น การไดTยิน การ
รTรู ส และการไดกT ลิน่ การกระตุนT เขาT ประสาทสมั ผสั ท้งั หTาของเด็กทำใหTเกิดพัฒนาการทางสติปYญญา
(Brain Kiddy. (2562). พัฒนาการเด็ก อาย1ุ -6 ป‹ ดTานสตปิ ญY ญา สบื คTนเมอื่ 16 กมุ ภาพนั ธ[ 2564.)

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญ6 ญาของเพียเจตE

เพียเจต[ (Piaget) ไดTศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางดTานความคิดของเด็กว(ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ
อย(างไร ทฤษฎีของเพียเจต[ตั้งอยู(บนรากฐานของทั้งองค[ประกอบที่เป-นพันธุกรรม และสิ่งแวดลTอม เขาอธิบายว(า
การเรียนรูTของเด็กเป-นไปตามพัฒนาการทางสติปYญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต(าง ๆ เป-นลำดับขั้น
พัฒนาการเป-นสิ่งที่เป-นไปตามธรรมชาติ ไม(ควรที่จะเร(งเด็กใหTขTามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู(อีกขั้นหน่ึง
เพราะจะทำใหTเกิดผลเสียแก(เด็ก แต(การจัดประสบการณ[ส(งเสริมพัฒนาการของเด็กในช(วงที่เด็กกำลังจะพัฒนา
ไปสู(ขั้นที่สูงกว(า สามารถช(วยใหTเด็กพัฒนาไปอย(างรวดเร็ว อย(างไรก็ตาม เพียเจต[เนTนความสำคัญของการเขTาใจ
ธรรมชาตแิ ละพัฒนาการของเด็กมากกว(าการกระตTุนเดก็ ใหTมีพฒั นาการเร็วขึน้

2

เพียเจต[สรุปว(า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายไดTโดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงใหT
ปรากฏโดยปฏสิ มั พันธข[ องเดก็ กับส่งิ แวดลอT ม

พัฒนาการทางสติปYญญาของบคุ คลเปน- ไปตามวยั ต(าง ๆ เปน- ลำดับข้ัน ดังน้ี
1. ขั้นประสาทรับรูTและการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต(แรกเกิดจนถึง 2 ป‹ มี
ระยะ พฒั นาการ 6 ระดับ
ระดบั ท่ี 1 Reflex Activity ( อายุแรกเกิด-1 เดือน) เด็กอาศยั ปฏิกริ ิยาสะทTอนทางรา( งกาย
ระดับที่ 2 First Differentiations (อายุ 1 - 4 เดือน) เด็กเกิดพฤติกรรมใหม(แทนปฏิกิริยาสะทTอน ซึ่ง
เป-นผลของการทำงานที่ประสานกันของอวัยวะรา( งกาย
ระดับที่ 3 Reproduction of interesting event (อายุ 4-8 เดือน ) ความสามารถทางร(างกายของเด็ก
ไดTเพิ่มมากขึ้น เด็กสามารถจับและกระทำกับวัตถุต(างๆ ไดTดTวยความตั้งใจสามารถทำงานประสานสัมพันธ[กัน
ระหว(างการเคลือ่ นไหวของสายตาและมือโดยเฉพาะพฤตกิ รรมทเ่ี คยทำมาแลTวจะทำซ้ำไดTอีก
ระดับที่ 4 Coordination of Schemata (อายุ 8-12 เดือน) เด็กมีพฤติกรรมการกระทำตาม
ความสามารถทางดTานสติปYญญาของเดก็ แต(ละคนที่ประสานกนั ของอวยั วะร(างกาย
ระดับที่ 5 Invention of New Means (อายุ 12-18 เดือน) เด็กเริ่มตTนแสวงหาปYญหาใหม(ๆและใชTวิธี
แกปT ญY หาดวT ยการทดลองซ่งึ ไม(ใชล( กั ษณะที่คนุT เคยอีกต(อไป
ระดับที่ 6 Representation (อายุ 18-24 เดือน) ความสามารถคิดในขั้นประสาทสัมผัสและการ
เคลือ่ นไหวไดเT ปลี่ยนเป-นสามารถคดิ ตามหลกั ตรรกศาสตรไ[ ดT
2. ขั้นก(อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต(อายุ 2-7 ป‹ แบ(งออกเป-นขั้นย(อย
อีก 2 ระดับ คอื

2.1. ระดับก(อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป-นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ
2-4 ป‹ เป-นช(วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องตTน สามารถจะโยงความสัมพันธ[ระหว(างเหตุการณ[ ๒ เหตุการณ[หรือ
มากกว(ามาเป-นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต(เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู( เพราะเด็กยังคงยึด
ตนเองเป-นศูนย[กลาง คือถือความคิดตนเองเป-นใหญ( และมองไม(เห็นเหตุผลของผูTอื่นความคิดและเหตุผลของเด็ก
วัยนี้จึงไม(ค(อยถูกตTองตามความเป-นจริงนัก นอกจากนี้ความเขTาใจต(อสิ่งต(างๆ ยังคงอยู(ในระดับเบื้องตTน เช(น
เขTาใจว(าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกันจะมีทุกอย(างเหมือนกันหมด แสดงว(าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม(
พัฒนาเต็มทแ่ี ต(พฒั นาการทางภาษาของเดก็ เจริญรวดเร็วมาก

2.2. ระดับการคิดแบบญาณหยั่งรูTนึกออกเองโดยไม(ใชTเหตุผล (Intuitive Thought) เป-นขั้น
พัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ป‹ ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต(างๆ รวมตัวดีขึ้น รูTจักแยกประเภท
และแยกชิ้นส(วนของวัตถุ เขTาใจความหมายของจำนวนเลขเริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ[แต(ไม(แจ(มชัดนัก
สามารถแกTปYญหาเฉพาะหนTาไดTโดยไม(คิดเตรียมล(วงหนTาไวTก(อน รูTจักนำความรูTในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแกTปYญหา
อื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแกTปYญหา โดยไม(วิเคราะห[อย(างถี่ถTวนเสียก(อนการคิดหาเหตุผลของเด็ก
ยังข้ึนอย(กู ับส่งิ ทีต่ นรบั รTูหรือสมั ผสั จากภายนอก

3

3. ขั้นปฏิบัติการคิดดTานรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ป‹
พัฒนาการทางดTานสติปYญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสรTางกฎเกณฑ[และตั้งเกณฑ[ในการแบ(งสิ่งแวดลTอม
ออกเป-นหมวดหมู(ไดT เด็กวัยนี้สามารถที่จะเขTาใจเหตุผลรูTจักการแกTปYญหาสิ่งต(างๆ ที่เป-นรูปธรรมไดT สามารถที่จะ
เขTาใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต(างๆ โดยที่เด็กเขTาใจว(าของแข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งแมTว(าจะเปลี่ยน
รูปร(างไปก็ยังมีน้ำหนัก หรือปริมาตรเท(าเดิมสามารถที่จะเขTาใจความสัมพันธ[ของส(วนย(อย ส(วนรวม ลักษณะเด(น
ของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดยTอนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช(วงนี้มี
ประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุม( หรอื จดั การไดTอย(างสมบรู ณ[

4. ขัน้ ปฏบิ ตั กิ ารคิดดวT ยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเร่ิมจากอายุ 11-15 ป‹ ในขนั้ นี้
พฒั นาการทางสติปญY ญาและความคิดของเดก็ วัยนเ้ี ป-นขั้นสดุ ยอด คอื เด็กในวัยนี้จะเรม่ิ คิดแบบผTูใหญ( ความคดิ
แบบเดก็ จะส้ินสดุ ลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากขTอมูลท่ีมอี ยู( สามารถท่ีจะคิดแบบ
นักวทิ ยาศาสตรส[ ามารถทจ่ี ะตัง้ สมมตุ ฐิ านและทฤษฎี และเห็นวา( ความเปน- จรงิ ท่เี ห็นดTวยการรบั รTูท่สี ำคญั เท(ากับ
ความคิดกบั สง่ิ ทอี่ าจจะเปน- ไปไดT เด็กวัยน้มี ีความคดิ นอกเหนือไปกวา( สง่ิ ปจY จบุ ันสนใจทจี่ ะสราT งทฤษฎเี กยี่ วกบั ทกุ
ส่งิ ทุกอย(างและมีความพอใจทจ่ี ะคดิ พจิ ารณาเกยี่ วกบั สิ่งท่ไี ม(มีตวั ตน หรือส่ิงทเ่ี ปน- นามธรรมพฒั นาการทางการรTู
คดิ ของเด็กในชว( งอายุ 6 ปแ‹ รกของชวี ิต

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติป6ญญาของบรเู นอรE (Jerome Bruner: ค.ศ.1915)

บรูเนอร[เปน- ชาวอเมรกิ ัน เกดิ ที่เมือง New York ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ ป‹ ค.ศ.1915 บิดามารดา
คาดหวงั ใหTเป-นนกั กฎหมาย แตบ( รเู นอรก[ ลบั มาสนใจทางดาT นจติ วิทยา (พรรณี ช.เจนจติ , 2528) ทฤษฎพี ัฒนาการ
ทางสติปญY ญาของบรเู นอร[ (Bruner, 1966 อTางถงึ ใน ธวชั ชยั ชัยจรยิ ฉายุล. 2529) ไดTแบ(งการพฒั นาการทาง
สติปญY ญาของมนุษยเ[ ป-น 6 ลักษณะ คือ

1.ความเจรญิ เตบิ โตทเี่ พ่มิ ขึน้ สงั เกตไดTจากการเพิม่ การตอบสนองทไ่ี มผ( ูกพันกับส่งิ เรTาเฉพาะตาม
ธรรมชาติท่เี กิดขนึ้ ในขณะนน้ั

2. ความเจริญเติบโตข้นึ อยกู( บั เหตกุ ารณ[ ที่เกดิ ขึ้นภายในตวั คนไปส(ู "ระบบเกบ็ รกั ษา" ท่สี อดคลอT งกับ
สงิ่ แวดลอT ม

3. ความเจริญเตบิ โตทางสตปิ ญY ญา เกย่ี วขอT งกับการเพิม่ ความสามารถทจ่ี ะพดู กับตนเองและคนอ่นื ๆโดย
ใชคT ำพดู และสญั ญาลักษณ[ในสิง่ ทบ่ี คุ คลนั้นๆ ไดTทำไปแลTวหรือสง่ิ ท่ีจะทำ

4. ความเจริญเติบโตทางสตปิ Yญญาข้นึ อย(กู บั ปฏิสัมพันธท[ เี่ ป-นระบบและโดยบงั เอิญระหว(างผสTู อน และ
ผเTู รียน

5. การสอนสามารถอำนวยความสะดวกไดTโดยสอื่ ทางภาษา ซงึ่ จบลงโดยไม(เพยี งแตเ( ป-นสอื่ สำหรับการ
แลกเปลย่ี นเท(านั้น แต(ยังเป-นเคร่ืองมอื ทผ่ี ูเT รียนสามารถใชใT หตT นเองนำคำสงั่ ไปยงั สิง่ แวดลอT มดวT ย

6. การพฒั นาทางสติปญY ญาเหน็ ไดจT ากการเพ่ิมความสามารถทจ่ี ะจดั การกบั ตวั เลอื กหลาย ๆ อย(างใน
เวลาเดยี วกนั ความสามารถท่ีจะเฝžาดูข้ันตอนตา( งๆ ในระยะเวลาเดยี วกนั และความสามารถทจ่ี ะจัดเวลาและการ
เขTาร(วมกิจกรรมในลกั ษณะท่เี หมาะสมกบั ความตอT งการหลายๆ อย(าง

4

พรรณี ช.เจนจิต (2528) กลา( วถึง พฒั นาการทางสมองของบรูเนอร[เนTนทกี่ ารถา( ยทอดประสบการณด[ Tวย
ลักษณะต(าง ๆ ดงั นี้

1. Enactive representation ตั้งแต(แรกเกิดจนอายุประมาณ 2 ป‹ เป-นช(วงที่เด็กแสดงใหTเห็นถึงความมี
สติปYญญาดTวยการกระทำและการกระทำดTวยวิธีนี้ยังดำเนินต(อไปเรื่อยๆ เป-นลักษณะของการถ(ายทอด
ประสบการณ[ดTวยการกระทำซึ่งดำเนินต(อไปตลอดชีวิตมิไดTหยุดอยู(เพียงในช(วงอายุใดอายุหนึ่งบูรเนอร[ไดTอธิบาย
ว(า เด็กใชTการกระทำแทนสิ่งต(าง ๆ หรือประสบการณ[ต(างๆ เพื่อแสดงใหTเห็นถึงความรูTความเขTาใจ บรูเนอร[ไดT
ยกตัวอย(าง การศึกษาของเพียเจท[ ในกรณีที่ เด็กเล็ก ๆ นอนอยู(ในเปลและเขย(ากระดิ่งเล(น ขณะที่เขาบังเอิญทำ
กระดิ่งตกขTางเปล เด็กจะหยุดครู(หนึ่งแลTวยกมือขึ้นดูเด็กทำท(าประหลาดใจและเขย(ามือเล(นต(อไป ซึ่งจาก
การศึกษานี้ บรูเนอร[ไดTใหTขTอสังเกตว(าการที่เด็กเขย(ามือต(อไปโดยที่ไม(มีกระดิ่งนั้นเพราะเด็กคิดว(ามือนั้นคือกระด่ิง
และเมื่อเขย(ามือก็จะไดTยินเสียงเหมือนเขย(ากระดิ่งนั่น คือเด็กถ(ายทอดสิ่งของ (กระดิ่ง) หรือประสบการณ[ดTวยการ
กระทำตามความหมายของบรูเนอร[

2. Iconic representation พัฒนาการทางความคิดในขั้นนี้อยู(ที่การมองเห็น และการใชTประสาทสัมผัส
ต(างๆ จากตัวอย(างของเพียเจท[ดังกล(าวแลTว เมื่อเด็กอายุมากขึ้นประมาณ ๒-๓ เดือน ทำของเล(นตกขTางเปลเด็ก
จะมองหาของเล(นนั้น ถTาผูTใหญ(แกลTงหยิบเอาไปเด็กจะหงุดหงิดหรือรTองไหTเมื่อมองไม(เห็นของเล(นนั้น บรูเนอร[
ตีความว(าการที่เด็กมองหาของเล(นและรTองไหTหรือแสดงอาการหงุดหงิดเมื่อไม(พบของแสดงใหTเห็นว(าในวัยนี้เด็กมี
ภาพแทนในใจ (iconic representation) ซึ่งต(างจากวัย enactive เด็กคิดว(าการสั่นมือกับการสั่นกระดิ่งเป-นของ
สิ่งเดียวกัน เมื่อกระดิ่งตก หายไป ก็ไม(สนใจ แต(ยังคงสั่นมือต(อไป การที่เด็กสามารถ(ายทอดประสบการณ[หรือ
เหตุการณ[ต(าง ๆ ดTวยการมีภาพแทนในใจแสดงใหTเห็นถึงพัฒนาการทางความรูTความเขTาใจซึ่งจะเพิ่มขึ้นตามอายุ
เด็กโตจะยิง่ สามารถสราT งภาพในใจไดมT ากขึน้

3. Symbolic representation หมายถึง การถ(ายทอดประสบการณ[หรือเหตุการณ[ต(าง ๆ โดยการใชT
สัญลักษณ[ หรือภาษา ซึ่งภาษาเป-นสิ่งที่แสดงใหTเห็นถึงความคิด ขั้นนี้เป-นขั้นที่บรูเนอร[ถือว(าเป-นขั้นสูงสุดของ
พัฒนาการทางความรูTความเขTาใจเด็กสามารถคิดหาเหตุผลและในที่สุดจะเขTาใจสิ่งที่เป-นนามธรรมไดTและสามารถ
แกปT YญหาไดTบรูเนอร[มคี วามเหน็ ว(าความรูคT วามเขาT ใจและภาษามพี ัฒนาการขึ้นมาพรอT ม ๆ กนั

ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ 6ญญาของกาเย" (Gagne)

การพัฒนาทางสติปYญญา ไดTแก(การสรTางความสามารถในการเรียนรูTสิ่งที่ซับซTอนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ระยะ
หรือขั้นของการพัฒนาการดูเหมือนว(าจะสัมพันธ[กับอายุของเด็ก เนื่องจากการเรียนรูTตTองใชTเวลา มีขTอจำกัดทาง
สังคมเป-นตัวกำหนด หรือกฎเกณฑ[เกี่ยวกับอัตราความเร็วในการใหTความรูTและข(าวสารแก(เด็ก สำหรับกาเย(แลTว
ความสามารถในการเรียนรอTู าจตอT งรอการฝ¡กฝนทีเ่ หมาะสม

ดาT นทางปญY ญา (intellectual skills ทกั ษะยอ( ย 4 ระดบั ประกอบดวT ย
1. การจำแนกแยกแยะ (discriminations) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทาง
กายภาพของวัตถตุ า( งๆ ที่รับรวTู (าเหมือนหรอื ไม(เหมอื นกนั โดยผ(านระบบประสาทสมั ผัสและการรับรูขT องสมอง

5

2. การสรTางความคิดรวบยอด (concepts) หมายถึง ความสามารถในการจัดกลุ(มวัตถุหรือสิ่งต(างๆ โดย
ระบุคุณสมบัติร(วมกันของวัตถุ หรือสิ่งนั้นๆ ซึ่งเป-นคุณสมบัติที่ทำ ใหTกลุ(มวัตถุ หรือสิ่งต(างๆ เหล(านั้น ต(างจาก
กลม(ุ วัตถหุ รือสง่ิ อน่ื ๆ ซง่ึ แบ(งเปน- 2 ระดับย(อย คอื

2.1. ความคิดรวบยอดระดบั รปู ธรรม
2.2. ความคดิ รวบยอดระดบั นามธรรมท่ีกำหนดข้นึ ในสังคม หรือวัฒนธรรมตา( งๆ
3. การสรTางกฎ (rules) หมายถึง ความสามารถในการนำความคิดรวบยอดต(างๆ มารวมเป-นกลุ(ม ตั้งเป-น
กฎเกณฑข[ ้ึน เพ่ือใหสT ามารถสรปุ อTางองิ และตอบสนองต(อส่ิงเรTาไดอT ย(างถกู ตTอง
4. การสราT งกระบวนการหรือกฎชนั้ สงู (procedures of higher order rules) หมายถงึ ความสามารถใน
การนำกฎหลายๆขTอท่ีสัมพันธ[กันมาประมวลเขTาดวT ยกนั ซึ่งนำไปสค(ู วามรคTู ความเขTาใจทซี่ บั ซTอนย่งิ ข้นึ

ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ 6ญญาของเลฟ เซเมโนวชิ ไวก^อตสก้ี

เลฟ เซเมโนวิช ไวก£อตสกี้ (Lev Semenovich Vygotsky) เป-นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เชื้อสายยิว เกิด
ในป‹ ค.ศ. 1896 ผลงานของเขาไดTจุดประกายความคิดใหTนักจิตวิทยาปYจจุบันยอมรับว(าวัฒนธรรมแวดลTอมเป-น
ตัวกำหนดพัฒนาการทางสติปYญญาของเด็ก โดยพิจารณาการเรียนรูTโลกของเด็กว(าเขาเรียนรูTอะไร และ
อย(างไร ทฤษฎีของวีก£อทสกี้เนTนความสัมพันธ[ของการปฏิสัมพันธ[ทางสังคมที่มีผลต(อพัฒนาการทางสติปYญญา
ขณะท่พี อี าเจตเ[ ปรียบเดก็ วา( เปน- นกั วทิ ยาศาสตรน[ อT ยทสี่ รTางและเขาT ใจโลกกวTางใหญน( ีด้ วT ยตนเอง แต(
ไวก£อตสกี้กล(าวว(าพัฒนาการทางสติปYญญาของเด็กขึ้นอยู(กับปฏิสัมพันธ[ทางสังคมโดยมีวัฒนธรรมเป-นตัวกำหนด
ความรTู ความคิด เจตคติ และค(านิยมใหTกับเด็ก เขาเชื่อว(าสิ่งที่เด็กไดTสัมผัสรับรูTไม(ว(าจะเป-นประสบการณ[ตรงหรือ
ผ(านทางสื่อต(างๆ เช(น หนังสือ วิทยุ โทรทัศน[ (ปYจจุบันหมายรวมถึงคอมพิวเตอร[และเทคโนโลยีต(างๆ
ดTวย) ตัวเลข ระบบทางคณิตศาสตร[ เครื่องหมาย และสัญลักษณ[ ฯลฯ ลTวนมีภาษาเป-นเครื่องมือสำคัญที่ช(วยใหT
เดก็ เกิดพัฒนาการทางสติปYญญา (Woolfolk,1998)
วกี £อทสกอ้ี ธิบายวา( พัฒนาการทางสติปYญญาสามารถแบง( ไดTเปน- สองขน้ั (Diaz & Berk,๑๙๙๒) คอื

1. ระดับสติปYญญาขั้นพื้นฐาน (elementary mental process) เป-นความสามารถที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติโดยไมต( Tองอาศยั การเรียนรTู เช(น การดดู นม การจบั สิง่ ของ ฯลฯ

2. ระดับสติปYญญาขั้นสูง (higher mental process) เป-นความสามารถที่พัฒนามาจากการมีปฏิสัมพันธ[
กับบคุ คลและสภาพแวดลอT ม การอบรมเล้ียงดโู ดยมีภาษาเป-นเครอื่ งมือสำคญั ในการคิดและพฒั นาสตปิ ญY ญา

เนื่องจากวีก£อทสกี้ใหTความสำคัญกับภาษาว(าเป-นเครื่องมือหลักในการพัฒนาสติปYญญา โดยเขาไดTแบ(ง
พฒั นาการทางภาษาออกเป-น 3 ขัน้ ไดTแก(

ภาษาสังคม (social speech) เป-นภาษาที่เด็กใชTในการติดต(อสัมพันธ[กับผูTอื่นในช(วงอายุ0-3ป‹ เพื่อ
สอื่ สารความคิด ความตTองการ อารมณค[ วามรสTู ึกของตนเองกับผูอT นื่

ภาษาพูดกับตนเอง (egocentric speech) เป-นภาษาที่เด็กใชTพูดกับตนเองในช(วงอายุ 3-7 ป‹ โดยไม(
เกีย่ วขอT งกบั ผTูอนื่ เพอื่ ช(วยในการคดิ ตัดสนิ ใจแสดงพฤตกิ รรม

ภาษาในตนเอง (inner speech) วิก£อทสกี้อธิบายว(ามนุษย[ตTองใชTภาษาในการคิด เด็กจะตTองพัฒนา
ภาษาในใจ ซึ่งเป-นการช(วยใหTพัฒนาการทางสติปYญญาพัฒนาสูงขึ้นตามระดับอายุ การพัฒนาภาษาภายใน

6

ตนเองเกิดขึ้นในช(วงอายุประมาณ 7 ป‹ เมื่อเด็กพบปYญหาที่ยุ(งยากมากขึ้น เขาเรียนรูTที่จะแกTปYญหาไปตาม
ขั้นตอนโดยใชTภาษาภายในตนเอง ในขณะที่เด็กเรียนรูTที่จะแกTปYญหาดTวยตนเองนั้น เขาอาจพบบางปYญหาที่เขา
คิดเองไม(ออก แต(หากไดTรับคำแนะนำช(วยเหลือบางส(วนจากผูTใหญ( หรือไดTรับความร(วมมือจากกลุ(มเพื่อนเขาจะ
สามารถแกTปYญหานั้นไดTสำเร็จ วีก£อทสกี้เรียกระดับความสามารถนี้ว(า จุดที่เด็กสามารถแกTปYญหาไดTสำเร็จหาก
ไดรT ับความช(วยเหลือสนบั สนุน

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญ6 ญาของบลูม

Bloom’s Taxonomy กล(าวถึงการจำแนกการเรียนรูTตามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ(งเป-น 3 ดTาน คือ ดTาน
พุทธิพิสัย ดTานจิตพิสัย และดTานทักษะพิสัย โดยในแต(ละดTานจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากต่ำสุดไปถึง
สูงสุด เช(น ดTานพุทธิพิสัย เริ่มจากความรูT ความเขTาใจ การนำไปใชT การวิเคราะห[ การสังเคราะห[ การประเมิน
นอกจากนี้ยังนำเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุงใหม(ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl
(2001) เป-น การจำ(Remembering) การเขTาใจ(Understanding) การประยุกต[ใชT(Applying) การวิเคราะห[
(Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการสรTางสรรค[ (Creating) ดTานจิตพิสัย จำแนกเป-น การ
รับรTู, การตอบสนอง, การสรTางค(านิยม, การจัดระบบ และการสรTางคุณลักษณะจากค(านิยม ดTานทักษะพิสัย
จำแนกเป-น ทักษะการเคลื่อนไหวของร(างกาย, ทกั ษะการเคล่อื นไหวอวัยวะสองสว( นหรือมากกวา( พรอT มๆ กัน

พทุ ธิพิสยั
พฤติกรรมดTานสมองเป-นพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั สติปYญญา ความรูT ความคิด ความเฉลยี วฉลาด ความสามารถใน

การคิดเรื่องราวต(างๆ อย(างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป-นความสามารถทางสติปYญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย 6 ระดับ
ไดTแก(

แบบเกา"

1. ความรูTความจำ ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ[ต(าง ๆ จากการที่ไดTรับรูTไวTและระลึก
สิ่งนั้นไดTเมื่อตTองการเปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวีดิทัศน[ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต(างๆไดT
สามารถเปด- ฟงY หรอื ดูภาพเหล(านนั้ ไดเT มื่อตTองการ

2. ความเขTาใจ เป-นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของ
การแปลความ ตคี วาม คาดคะเน ขยายความ หรอื การกระทำอน่ื ๆ

3. การนำความรูTไปใชT เป-นขั้นที่ผูTเรียนสามารถนำความรูT ประสบการณ[ไปใชTในการแกTปYญหาใน
สถานการณ[ต(าง ๆ ไดT ซึง่ จะตอT งอาศยั ความรTูความเขาT ใจ จึงจะสามารถนำไปใชไT ดT

4. การวิเคราะห[ ผูTเรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งต(าง ๆ ออกเป-นส(วนย(อยเป-นองค[ประกอบ
ที่สำคัญไดT และมองเห็นความสัมพันธ[ของส(วนที่เกี่ยวขTองกัน ความสามารถในการวิเคราะห[จะแตกต(างกันไป
แลTวแตค( วามคิดของแตล( ะคน

5. การสังเคราะห[ ความสามารถในการที่ผสมผสานส(วนย(อย ๆ เขTาเป-นเรื่องราวเดียวกันอย(างมีระบบ
เพื่อใหTเกิดสิ่งใหม(ที่สมบูรณ[และดีกว(าเดิม อาจเป-นการถ(ายทอดความคิดออกมาใหTผูTอื่นเขTาใจไดTง(าย การกำหนด
วางแผนวิธีการดำเนินงานขึ้นใหม( หรือ อาจจะเกิดความคิดในอันที่จะสรTางความสัมพันธ[ของสิ่งที่เป-นนามธรรม
ข้ึนมาในรปู แบบ หรือ แนวคิดใหม(

7

6. การประเมินค(า เป-นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรอื สรปุ เกย่ี วกับคุณค(าของส่งิ ตา( ง ๆ ออกมา
ในรปู ของคุณธรรมอยา( งมกี ฎเกณฑ[ทเี่ หมาะสม ซ่งึ อาจเปน- ไปตามเนือ้ หาสาระในเรอื่ งน้นั ๆ หรืออาจเปน-
กฎเกณฑ[ท่สี งั คมยอมรบั ก็ไดแT บบใหม(

1. ระดับความรคูT วามจำ (Remembering) คือการทผ่ี เTู รียนสามารถตอบไดTวา( สิง่ ทเ่ี รียนมาจากไหน
เพราะเกดิ จากการจดจำ

2. ระดับความเขาT ใจ (Understanding) คือการที่ผเูT รียนเขTาใจความสมั พนั ธ[ของส่ิงทีไ่ ดTเรียนมา
สามารถอธิบายตามความเขาT ใจของตัวเองไดT

3. ระดบั การประยกุ ตใ[ ชT (Applying) คือการท่ีผTูเรยี นสามารถนำความรทTู ไี่ ดTรบั มาใชTในการแกTไข
ปญY หาตา( งๆ ไดT

4. ระดบั การวเิ คราะห[ (Analyzing) คอื การทีผ่ Tเู รยี นสามารถนำความรTทู ีไ่ ดTเรียนมาคิดอยา( งลึกซึง้ รวม
ทัง้ เเยกเเยะหาความสมั พันธ[ เเละเหตผุ ลไดT

5. ระดบั การประเมนิ ผล (Evaluating) คอื การทผี่ ูTเรยี นสามารถตงั้ เกณฑต[ ัดสนิ เปรยี บเทียบคุณภาพ
หรอื ประสิทธิภาพของการเรยี นรTไู ดT

6. ระดับการสราT งสรรค[ (Creating) คือการทผี่ เูT รียนสามารถคดิ ประดิษฐส[ งิ่ ใหม(ๆ ไดดT Tวยตนเอง หรอื
สามารถปรับปรงุ แกTไขออกแบบ ตั้งสมมุติฐานใหมๆ( ไดT

การเรียนรูเ` พอื่ พัฒนาการทางสติป6ญญา

เด็กแต(ละคนมีวิธีการเรียนรูTที่แตกต(างกัน เปรียบเหมือนสายรุTงที่หลากสี บุคคลจึงมีหลากหลาย รสนิยม
มีความแตกต(างของบุคลิกภาพ ครูและผูTปกครองตTองตระหนักและมองเห็นคุณค(าของความแตกต(างเพื่อการ
คTนหาใหTพบว(า เด็กมีลักษณะการเรียนรูTหรือความสามารถที่จะเรียนรูTในทางใด เพื่อจะไดTดำเนินกิจกรรมการ
พฒั นาเดก็ ใหTเตม็ ตามศักยภาพและไดใT ชTความสามารถไดTสงู สดุ (ณัชนนั แกTวชัยเจรญิ กิจ, 2550,หนTา 2)
โดยแตXละขน้ั พัฒนาการจะมีความสามารถทางสตปิ ญ: ญาที่เปนQ เอกลักษณเ? ฉพาะตน

1. ไดมT าจากพฒั นาการทางชวี วทิ ยา
2. สงิ่ ทมี่ ชี ีวิตดำรงชีพอย(ูไดดT วT ยการปรับตัวทเี่ หมาะสมกับสภาพแวดลTอม
3. วิวัฒนาการทางรา( งกายเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงร(วมกันของลักษณะทางกรรมพันธุ[และสงิ่ แวดลอT ม
4. พัฒนาการทางปYญญาก็คอื การเปลี่ยนแปลงโครงสราT งความรTคู วามคดิ (Cognitive structure) หลงั จาก

การมีปฏสิ มั พนั ธ[กับสง่ิ แวดลTอม

ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ 6ญญา

1. ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ Yญญาของเพยี เจต[
นักเรียนที่มีอายเุ ท(ากนั อาจมขี ้ันพัฒนาการทางสตปิ Yญญาที่แตกต(างกนั ดังนน้ั จงึ ไมค( วรเปรียบเทียบเดก็ ควรใหเT ดก็
มอี ิสระทจ่ี ะเรยี นรแTู ละพฒั นาความสามารถของเขาไปตามระดับพฒั นาการของเขา (พรรณี ช. เจนจติ , 2582,
หนTา 47)

8

2. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญY ญาของบรุนเนอร[

กระบวนการคTนพบการเรียนรTูดTวยตนเอง เปน- กระบวนการเรยี นรูTที่ดมี คี วามหมายสำหรบั ผTูเรยี น การวิเคราะห[
และจดั โครงสราT งเน้อื หาสาระการเรยี นรใูT หเT หมาะสมเปน- ส่ิงทจ่ี ำเป-นทต่ี อT งทำก(อนการสอน
(ชัยวฒั น[ สุทธิรตั น[,2552 : หนาT 27-28)

3. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ Yญญาของกาเย(
การจำแนกแยกแยะ (Discriminaitons) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุ
ตา( ง ๆท่รี ับรTเู ขTามาวา( เหมอื น (วรี ะวรรณ ศรตี ะลานคุ ค, 2552, หนTา 111)

เปรยี บเทียบระหว*างทฤษฎีพัฒนาการด`านสตปิ ญ6 ญา

เพียเจต[ (Piaget) มีขTอแตกตา( งจาก บรุนเนอร[ เจโรม (Jerome Bruner) โดยสามารถอธบิ ายไดTดงั นี้
ทฤษฎีของเพียเจต[เนTนพัฒนาการทางสมองของเด็กมีขั้นตอนซึ่งขึ้นอยู(กับอายุ แตกต(างจาก

ทฤษฎี ของบรุนเนอรท[ ีไ่ มค( ำนึงถงึ อายุ
ทฤษฎีของเพียเจต[คำนึงถึงพัฒนาการทางสมองในแง(ของความสามารถในการกระทำสิ่งต(างๆ ใน

แตล( ะวยั ท่ีจะเกดิ พัฒนาทางสติปญY ญา ในขณะทีบ่ รนุ เนอร[มง(ุ คำนงึ ถึงในแง(ของกระบวนการ (process) ที่
ต(อเนื่องไปตลอดชีวิตและใหTเนTนความสัมพันธ[ระหว(างวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดลTอม เพราะเชื่อว(า
ส่งิ แวดลTอมเป-นสว( นชว( ยใหเT กดิ การพฒั นาสติปYญญา

ความหมายและแนวคิดเชาวนปE ญ6 ญา
ความหมายของเชาวนEป6ญญา

ความหมาย เชาวน[ปYญญา หมายถึง ความฉลาด ความสามารถในการทำความเขTาใจสิ่งต(าง ๆ
ความสามารถในการแกTปYญหาไดTอย(างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งศักยภาพในการเรียนรูTจากประสบการณ[ ปYจจุบัน
นักจิตวิทยาไดTจัดลำดับลักษณะความสำคัญของคุณสมบัติที่ใชTเป-นตัวแทนในการแสดงถึง ความสามารถทาง
เชาวน[ปญY ญาของมนษุ ยอ[ อกเปน- 3 ลกั ษณะ คอื

1. ความสามารถที่เกี่ยวขTองกับเรื่องความคิด สัญลักษณ[ การสรTางความสัมพันธ[ความคิดรวบ ยอด และ
ความสามารถในทำความเขTาใจกฎเกณฑ[ต(าง ๆ

2. ความสามารถในการแกTปYญหา ซึ่งจะเนTนในเรื่องความสามารถในการปรับตัวเขTากับ สภาพการณ[ใหม(
ไดอT ย(างเหมาะสม

3.ความสามารถในเรื่องต(าง ๆ เช(น ความสามารถทางดTานภาษา สัญลักษณ[ ความสามารถ ทาง
คณติ ศาสตร[ ความสามารถทางดTานมิติสัมพนั ธ[

บิเนต[ (Binet, 1916, อTางถึงใน สุรศักดิ์ อมรรันตศักด์ิ, 2544, หนTา 4) ไดTใหTความหมายเชาวน[ปYญญาไวT
ว(า คือแนวโนTมในการใชTความสามารถที่จะเขTาใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ แลTวสามารถเอาความ
เขTาใจนั้นไปดัดแปลง แกTไข สรTางสรรค[ แกTปYญหาใหTบรรลุตามเปžาประสงค[ และยังรวมถึงความสามารถในการใชT
วจิ ารญาณอกี ดTวย

9

กอดดาร[ด (Goddard, 1946, อTางถึงใน จำเนียร ช(วงโชติ, 2547, หนTา 31) ไดTใหTความหมายเชาวน[
ปYญญาไวTวา( หมายถงึ ความสามารถในการทำกจิ กรรมตา( งๆ ซึ่งมีลักษณะดงั ตอ( ไปนี้

1. ยาก
2. ซบั ซอT น
3. เป-นนามธรรม
4. ประหยัดทางเศรษฐกจิ
5. มกี ารปรบั ตัวใหTบรรลถุ ึงเปžาหมาย
6. ใหคT ุณค(าทางสงั คม
7. มีการกระทำที่คิดขึ้นเอง และยังคงรักษากิจกรรมเหล(านั้นไวTไดTภายใตTสภาวการณ[ ซึ่งตTองการมีสมาธิ
ของพลงั งานและการต(อตTานแรงอารมณ[

ความเปนf มาของการวดั เชาวนEป6ญญา

ในคริสต[ศตวรรษท่ี 19 นักจิตวิทยาไดTเริ่มตื่นตัวและใหTความสำคัญที่บุคคลที่มีความผิดปกติ เช(น เป-นโรค
จิต ปYญญาอ(อนมากขึ้น ไดTมีการสรTางสถานพยาบาทสำหรับคนผิดปกติขึ้น ไดTมีความพยายามที่จะสรTางเครื่องมือ
เพื่อจะวัดความผิดปกติของคนเพื่อจะแยกคนผิดปกติออกจากกัน โดยเฉพาะคนที่วิกลจริตกับคนปYญญาอ(อน โดย
นักจิตวิทยามีความเห็นว(าคนวิกลจริตจะบกพร(องทางอารมณ[หรือจิตใจ แต(คนปYญญาอ(อนจะพกพร(องทาง
สตปิ ญY ญา

Gaiton เป-นนักชีววิทยาที่สนใจศึกษาเรื่องพันธุกรรมไดTสรTางเครื่องมือวัดความคล(องแคล(วของการใชT
อวัยวะและประสาทสัมผัสต(างๆ มีความเชื่อคุณลักษณะบางประการทางดTานร(างกาย มีความเกี่ยวขTองกับเชาวน[
ปYญญาของคน ในเวลาต(อมา Cattell ไดTสรTางแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญาขึ้นโดยยึดลักษณะทางดTานร(างกาย
ตามแนวทางของ Calton และ Cattell เป-นคนแรกที่ใชTคำว(า Mental Test ต(อมา Binet มีความเชื่อเรื่องเชาวน[
ปYญญาควรมาจากความสามารถทางสมองดTานต(างๆ เช(น ความจำ ความเขTาใจ การคิดหาเหตุผลเป-นตTน
แบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญา จึงควรวัดความสามารถเหล(านี้ Binet และ Simon ไดTร(วมกันสรTางแบบวัดเชาวน[
ปYญญาเป-นฉบับแรกที่เรียกว(า Binet-Sinet Scale ในตอนเริ่มตTนสรTางขึ้นเพื่อใชTกับเด็กอายุ 3-11 ป‹ ต(อมาไดTมี
การปรับแบบทดสอบใหใT ชไT ดTจนถงึ ระดับมหาวทิ ยาลยั

ในระยะต(อมา Terman กับคณะไดTสรTางแบบทดสอบเชTาปYญญาโดยการปรับปรุงจากการทดสอบของ
Binet โดยใช(ชื่อแบบทดสอบนี้ว(า Stanford -Binet Scale และในระยะต(อมาไดTมีการพัฒนาแบบทดสอบ
วดั เชาสน[ปYญญาใหTเหมาะกับการใชงT านทั้งรายบคุ คลและรายกลุม(

ทฤษฎีเกี่ยวกบั เชาวนEป6ญญา

ทฤษฎีเกี่ยวกับเชาวน[ปYญญามีมากมายหลายทฤษฎี แตกต(างกันไปตามความเชื่อและการศึกษาคTนควTา
ของแต(ละบุคคล เพื่อยึดถือเป-นหลักในการสรTางแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญา (สุรศักด์ิ อมรรัตนศักดิ์ 2544, หนTา
45-55) ไดTกล(าวถึงทฤษฎเี กี่ยวกับเชาวนป[ ญY ญา ดังตอ( ไปน้ี

10

1. ทฤษฎีองค?ประกอบเดียว (Un-Factor Theory) บางทีเรียกทฤษฎีนี้ว(า Global Factor ทฤษฎี
นี้มีความเชื่อว(า เชาวน[ปYญญามีลักษณะเป-นอันหนึ่งอันเดียว ไม(แยกเป-นส(วนย(อยซึ่งมีลักษณะคลTายกับ
ความสามารถทั่วๆไป (General Ability) ผูTคิดทฤษฎีนี้คือ Binet และเขาไดTสรTางแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญา
ตามแนวคิดน้ี โดยคดิ คะแนนจากความสามารถรวม ๆ แลTวแปลความหมายเชาวน[ปYญญา

2. ทฤษฎีสององค?ประกอบ (Two-Factor Theory) ชาร[ล สเป‹ยร[แมน เป-นผูTคิดทฤษฎีนี้ขึ้นมา
โดยมีความเชอ่ื วา( ความสามารถทางสมองของมนษุ ย[มี 2 องคป[ ระกอบคือ

2.1. ความสามารถทั่วๆไป (General Factor) เป-นความสามารถในการทำกิจกรรมต(างๆทุก
ชนิด ซึ่งสอดแทรกอยู(ในทุกอิริยาบถของความคิด และการกระทำของมนุษย[แต(ละคนจะมีความสามารถ
ทั่วไป แตกตา( งกนั ไปแตล( ะบคุ คล

2.2. ความสามารถเฉพาะ (Specific Factor) เป-นความสามารถเฉพาะในการทำกิจกรรมอย(าง
ใดอย(างหนึ่ง ความสามารถเฉพาะนับว(าเป-นองค[ประกอบสำคัญที่ทำใหTมนุษย[มีความแตกต(างกันและเป-น
ความสามารถพิเศษที่มีอยู(ในตัวบุคคล เช(น ความสามารถทางคณิตศาสตร[ ความสามารถทางภาษา
ความสามารถทางจกั รกล และความสามารถทางดนตรเี ป-นตTน

3. ทฤษฎีหลายองค?ประกอบ (Multiple Factor Theory) ผูTนำคนหนึ่งของทฤษฎีหลาย
องค[ประกอบคือ Thurstone เป-นผูTที่นำเอาการวิเคราะห[องค[ประกอบ (Factor Analysis) แบบ Centroid มาใชT
ในการวิเคราะห[ผลการสอบจากแบบทดสอบหลายฉบับ ทำใหTสามารถแยกแยะความสามารถทางสมองออกเป-น
ส(วนยอ( ย ๆ ไดหT ลายอย(างโดยที่ Thurstone ไดTสรปุ ลักษณะความสามารถพืน้ ฐานทางสมองที่สำคญั มีดังนี้

3.1. ความสามารถดTานภาษา (Verbal Factor) เปน- ความสามารถในการเขTาใจคำศพั ท[ ขอT ความ
เร่ืองราวทางภาษา และเลอื กใชภT าษาไดเT หมาะสม

3.2. ความสามารถดTานตัวเลข (Number Factor) เป-นความสามารถในการคิดคำนวณตัวเลข
ดTวยวธิ ีการทางคณิตศาสตร[ไดถT กู ตอT ง รวดเร็ว

3.3. ความสามารถทางดTานเหตุผล (Reasoning Factor) เป-นความสามารถในการคิดอย(างมี
เหตุผลซึ่งมีทั้งการคิดแบบอนุมาน และแบบอุปมาน และเหตุผลทั่วๆ ไป เช(น ความสามารถในการคิดแกTปYญหา
ตา( ง ๆ

3.4. ความสามารถดTานมิติสัมพันธ[ (Spatial Factor) เป-นความสามารถในการมองเห็นและ
เขTาใจความสัมพันธ[ระหว(างวัตถุหรือรูปภาพในมิติต(างๆ ไดTแก( ความสั้น ยาว ใกลT ไกล พื้นที่ ปริมาตร รูปทรง
เป-นตTน ซึ่งเป-นความสามารถในการจินตนาการ ใหTเห็นส(วนย(อยของวัตถุต(างๆ เมื่อแยกออก และเห็นโครงสรTาง
ของวัตถุ เม่ือนำมาประกอบเขาT ดTวยกนั

3.5. ความสามารถดTานการจำ (Memory Factor) เป-นความสามารถในการจำเรื่องราว
เหตกุ ารณ[ หรือสงิ่ ต(าง ๆ และสามารถถา( ยทอดออกมาไดT

3.6. ความสามารถดTานการรับรูT (Preception Factor) เป-นความสามารถในการเห็น
รายละเอยี ด ความคลTายคลึง หรือความแตกตา( ง ไดTอย(างถกู ตอT ง และรวดเรว็

11

3.7. ความสามารถดาT นความคล(องแคลว( ในการใชคT ำ (Word Fluemy Factor) เปน-
ความสามารถ ในการใชถT Tอยคำต(างๆ ไดอT ย(างถูกตTอง และรวดเร็ว

แบบทดสอบวัดเชาวนปE ญ6 ญา (Intelligence Test)
แบบทดสอบ Standford-Binet

เป-นแบบทดสอบวัดความสามารถทางสมองเป-นรายบุคคลแบบทดสอบแบ(งเป-นหลายฉบับตามระดับอายุ
สามารถวัดเชาวนป[ ญY ญาของเดก็ ไดตT ง้ั แต(อายุ 2 ป‹จนถึงระดบั ผใูT หญด( งั รายละเอียดของแบบทดสอบต(อไปน้ี

แบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ 2 ปจ| ะประกอบด#วยขอ# สอบดงั น้ี
1. ฟอร[มบอร[ด (Three-Hole Form Board) ใหนT ำช้ินส(วนรูปทรงต(างๆ ใส(ลงในชอ( ง

แผ(นกระดาษทเ่ี จาะรไู วTใหTถกู ตอT ง
2. รอคำตอบ (Delayed Response) เป-นการเอาตุ£กตาแมวซ(อนไวTใตTกล(องแลTวเอาฉากมากั้น

กลอ( งมีกล(องอยู( 3 ใบใหเT ลือกกล(องท่ีมีตก£ุ ตาแมวซ(อนอย(ูไดTคะแนนเมอื่ ตอบถกู 2 ใน 3 ครง้ั
3. ชสี้ ว( นของรา( งกาย (Identifying Parts of Body) ใหTช้ีสว( นตา( งๆ ของรา( งกายจากภาพตุก£ ตาที่

กำหนดใหไT ดคT ะแนนเมอื่ ตอบถูก 3 ส(วน
4. ต(อลูกบาศก[ (Block Building) ใหTก(อหอคอยโดยใชTลูกบาศก[ 4 แห(งใหTเหมือนกับตัวอย(างถTา

ทำไดTจะไดTคะแนน
5. บอกชื่อสิ่งของในภาพ (Picture Vocabulary) ใหTดูภาพสิ่งของต(างๆ จากกระดาษแลTวถาม

จะตTองบอกช่อื ใหTถกู ตTองอยา( งนTอย ๒ ชอื่ จงึ จะไดคT ะแนน
6. ประกอบคำ (Word Combination) ผูTดำเนินการสอบจะสังเกตเด็กขณะกำลังสอบว(า

สามารถพูดคำประกอบตั้งแต( 2 คำขึ้นไปไดTถTาพูดไดTก็จะไดTคะแนนแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ6ป‹
ประกอบดวT ยขTอสอบดงั นี้

1. คำศัพท[ (Vocabulary) เป-นการถามความหมายของคำที่กำหนดมาใหT 45 คำจะไดTคะแนน
เมื่อตอบถูก 5 คำ

2. ความแตกต(าง (Difference) ใหTอธิบายความแตกต(างของ 2 สิ่งจำนวน 3 คู(จะไดTคะแนนเมื่อ
ตอบไดTอยา( งนอT ย ๒ ค(ู

3. หาส(วนที่ขาดหายไป (Mutilated Pictures) ใหTหาส(วนที่ขาดหายไปของรูปภาพจะตTองตอบ
ถกู ตTองตงั้ แต( 4 ภาพขึ้นไป

4. ความเขTาใจเกี่ยวกับจำนวน (Number Concept) ใหTหยิบแท(งไมTตามจำนวนที่สั่งตTองหยิบ
ถูกตTอง 3 ใน 4 ครั้ง

5. อุปมาอุปมัยในลักษณะตรงกันขTาม (Opposite Analogies) ใหTตอบคำถามเช(นโต£ะทำมาจาก
อะไรจะตอT งตอบถูกอย(างนTอย 3 คำตอบ

6. เขาวงกต (Maz) ใหTดูวงกต 3 แบบแต(ละแบบมีทางเดินกลับบTานทางทางหนึ่งสั้นอีกทางหน่ึง
ยาวใหTเลือกเดินทางที่สั้นกว(าตTองทำใหTถูกอย(างนTอย 2 ในแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ 10 ป‹
ประกอบดTวยขอT สอบดังน้ี

12

1. คำศัพท[ (vocabulary) ใหTบอกความหมายของคำต(างๆ จะตTองตอบถูกอย(างนTอย 11 คำ
จึงจะไดคT ะแนน

2. นับลูกบาศก[ (Block Counting) ใหTบอกจํานวนแท(งลูกบาศก[ในแต(ละภาพจะไดTคะแนนเมื่อ
ตอบถกู 8 ใน 13 ภาพ
3. คำนามธรรม (Abstract Words) ใหTบอกความหมายของคำที่เป-นนามธรรมตTองตอบถูกอย(าง

นอT ย 2 ใน 4 คำท่ีกำหนดใหT
4. คิดหาเหตุผล (Finding Reasons) ใหบT อกเหตุผลของกฎเกณฑท[ างสงั คมมา 2 ขอT
5. บอกชื่อสิ่งของ (Word Naming) ใหTบอกชื่อสิ่งของใหTไดTมากที่สุดภายใน 2 นาที อย(างนTอย

28 คำขึน้ ไป
6. ทบทวนตัวเลข (Repeating Six Digits) ใหTทบทวนตัวเลขจากลำดับ หลังจากอ(านใหTฟYง 1
วนิ าทจี ะตTองทบทวนไดTอย(าถกู ตTองอย(างนอT ย 1 ชุดจาก 3 ชุด

แบบทดสอบสำหรับผใ`ู หญ* (อายมุ ากกวา* 15 ปu) ประกอบด`วยขอ` สอบดงั น้ี
1. คำศัพท[ (Vocabulary) ใหTบอกความหมายของคำต(างๆ ที่กำหนดใหTจะตTองตอบถูกอย(างนTอย
20 คำข้นึ ไป

2. คิดหาเหตุผล (Ingenuity) ใหTวิธีคิดแกTปYญหาอย(างมีเหตุผล จะตTองแกTไขปYญหาใหTไดTอย(าง
นTอย 2 ปYญหา จาก 3 ปญY หา
3. ความแตกต(างระหว(างคำที่เป-นนามธรรม (Difference Between Abstract Words) ใหTบอก

ความแตกตา( งของคำนามธรรมจะตอT งตอบถูกอยา( งนTอย 2 คูใ( น 3 คู(ที่กำหนดใหT
4. เลขคณิต (Arithmetical Reasoning) ใหTแกTโจทย[ปYญหาคณิตศาสตร[จะตTองตอบถูก 2 ใน 3
ปYญหา

5. คำพังเพย (Proverbs) ใหTอธิบายความหมายของคำพังเพยที่กำหนดใหTจะตTองใหTความหมาย
ถกู ตอT งอยา( งนอT ย 2 ใน 3 คำพังเพยทก่ี ำหนดใหT
6. บอกทศิ (Orientation) สามารถบอกทศิ ไดจT ะตอT งตอบถกู 4 ใน 5 คร้ัง

7. ความแตกต(าง (Essential Difference) ใหTบอกความแตกต(างระหว(างกิจกรรมต(างๆ จะตTอง
ตอบถูก 2 ใน 3
8. คำนามธรรม (Abstract Words) ใหTบอกความหมายของคำที่เป-นนามธรรมตTองตอบถูกอย(าง

นTอย 4 ใน 5 คำทกี่ ำหนดใหT
การหาค(า I.Q. จากแบบทดสอบ Standford-Binet เริ่มตTนจากการหาอายุสมอง (Mental
Age) ไดTจากอายุฐาน (Based Age) ซึ่งเป-นช(วงอายุของแบบทดสอบ ที่ผูTสอบทำแบบทดสอบไดTทุกขTอ

รวมกับคะแนนที่ทำไดTในแต(ละระดับอายุจนถึงอายุเพดาน (Ceiling Age) ซึ่งหมายถึงช(วงอายุที่ผูTสอบทำ
แบบทดสอบนนั้ ไม(ไดTเลยแลTวนำอายุสมองทีร่ วมไดTไปคำนวณหาคา( I.Q. จากสตู ร
!"
I.Q. = #" = 100

13

MA คือ Mental Age หรอื อายุสมอง
CA คือ Chronological Age หรอื อายจุ ริงตามปฏทิ นิ

แบบทดสอบ Mechisier Scale

ในการสรTางแบบทดสอบของ Wechisier มีจุดมุ(งหมายเพื่อใหTมีแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญา
สำหรับผูTใหญ(เพราะแบบทดสอบที่มีมาก(อนมักจะทำขึ้นสำหรับเด็กแลTวดัดแปลงใชTกับผูTใหญ(เนื้อหาของ
แบบทดสอบจึงไม(น(าสนใจสำหรับผูTใหญ(แบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญาของ Wechsler จึงไดTสรTางและ
พฒั นาสำหรบั คนแต(ละวยั แบ(งเป-น 3 ชดุ คือ (สรุ ศักด์ิ อมรรตั นศักดิ์, 2544 หนTา 65-72)

1. Wechsler Intelligence Scale (WAIS)
2. Wechsler Intelligence Scale for Children (WISC)
3. Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence (WPPSI)
ลักษณะแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญาของ Wechsler แต(ละชุดมีการวัดที่คลTายกันมาก
แบบทดสอบทุกระดับจะแบ(งออกเป-น 2 องค[ประกอบที่มีความแตกต(างกันเพียงความยากของตัวคำถาม
แตล( ะขTอองคป[ ระกอบของแบบทดสอบมลี กั ษณะดังตอ( ไปนี้
1. แบบทดสอบทางภาษา (Verbal Scale) แบ(งออกเปน- แบบทดสอบยอ( ยดังต(อไปน้ี
1.1. Information เป-นคำถามเกยี่ วกบั ความรูTทวั่ ๆ ไปเชน( หน่งึ สปั ดาหม[ กี ี่วันเป-นตTน
1.2. Comprehension เป-นคำถามเกี่ยวกับสามัญสำนึกหรือการตัดสินใจเช(นทำไมประชาชน
ตTองเสยี ภาษีเปน- ตนT
1.3. Arithmetic เป-นความสามารถในการแกTปYญหาทางคณิตศาสตร[ในรูปแบบที่เคยเรียน
มาแลTวการใหTคะแนนจะคดิ จากความถกู ตTองและรวดเร็ว
1.4. Similarities เป-นคำถามที่ใหTผูTสอบบอกสิ่งที่คลTายกันของสองสิ่งที่กำหนดมาใหTเช(นกลTวย
กบั สมT เป-นตนT
1.5. Vocabulary เป-นการวัดความสามารถดTานภาษาโดยใหTผูTสอบบอกความหมายของคำท่ี
กำหนดใหT
1.6. Digit Span เป-นความสามารถในการทำสำดับตัวเลขโดยมากจะมีเลขโดดเรียงกัน 3 ตัว
หรือมากกว(าผูTดำเนินการสอบจะอ(านตัวเลขเหล(านั้นใหTฟYงแลTวผูTตอบตTองพูดตามในทันทีซึ่งอาจจะใหTพูด
ทวนกลับหลงั กไ็ ดTเช(นถTาไดยT ิน 6 5 7 1 ก็ตอT งตอบเป-น 1 7 5 6 เปน- ตนT
2. แบบทดสอบดTานการปฏิบตั ิ (Performance Scale) แบ(งออกเปน- แบบทดสอบย(อยดังน้ี
2.1. Picture Completion ใหTผูTตอบดูภาพที่ไม(สมบูรณ[แลTวใหTตอบว(าภาพนั้นมีส(วนใดขาด
หายไปเช(นคภู าพใบหนาT คนที่จมกู หายไป
2.2. Picture Arrangement จะมีภาพชุดเป-นเรื่องราวแต(ละชุดจะประกอบดTวยภาพ ๓-๔ ภาพ
ใหเT รยี งลำดับภาพในแต(
2.3. Object Assembly ใหTนำชิ้นส(วนต(างๆ มาประกอบกันเป-นภาพตามที่กำหนดใหTอย(าง
ถกู ตอT งและรวดเร็ว

14

2.4. Block Design ใหTต(อแท(งไมTเป-นรูปต(างๆ ที่กำหนดใหTแท(งไมTจะเป-นรูปลูกบาศก[ทาสีแดงสี
ขาวและสีแดง-ขาว

2.5. Coding กำหนดตัวเลขและสญั ลักษณ[ใหแT ลTวใหผT ูสT อบจับค(ูตัวเลขกบั สญั ลักษณ[
2.6. Mazes เป-นขTอสอบที่ใหTผูTสอบหาทางออกจากทางเดินที่ซับซTอนเช(นเขาวงกตโดยหาทาง
ออกที่สั้นที่สุดแบบทดสอบ WAIS ประกอบดTวยแบบทดสอบย(อย 11 ชุดเป-น Verbal Scale 6 ชุดและ
Performance Scale 5 ชดุ ดงั นี้
1. Verbal Scale ประกอบดTวย

1.1. Information
1.2. Comprehension
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Digit Span
1.6. Vocabulary
2. Performance Scale ประกอบดวT ย
2.1. Picture Completion
2.2. Picture Arrangement
2.3. Object Assembly
2.4. Block Design
2.5. Digit Symbol
แบบทดสอบ WISC ประกอบดวT ยแบบทดสอบย(อย 10 ชดุ เป-น Verbal Scale 5 ชดุ และ Performance
Scale 5 ชดุ ดงั นี้
1. Verbal Scale ประกอบดวT ย
1.1. Information
1.2. Comprehension
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Vocabulary
2. Performance Sale ประกอบดTวย
2.1. Picture Completion
2.2. Picture Arrangement
2.3. Block Design
2.4. Object Assembly
2.5. Coding (or Mazes)

15

แบบทดสอบ WPPSI ประกอบดTวยแบบทดสอบยอ( ย 10 ชดุ เป-น verbal Scale 6 ชดุ และ Performance
Scale 4 ชดุ ดังน้ี

1. Verbal Scale ประกอบดTวย
1.1. Information
1.2. Vocabulary
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Comprehension
1.6. Sentence

2. Performance Scale ประกอบดTวย
2.1. Animal House
2.2. Picture Completion
2.3. Mazes
2.4. Geometric Design

การหาค(า I.Q. จากการใชTแบบทดสอบของ Wechisier ไดTมีการสรTางตาราง Scale Score ไวTสำหรับ
เทียบหา I.Q. ของแบบทดสอบแต(ละระดับอายุ หลังจากทดสอบแลTวจะไดTคะแนนดิบจากแบบทดสอบย(อยแต(ละ
ชุดแลTวนำคะแนนดิบนั้นมาเทียบกับคะแนนจากตาราง Scale Score โดยเทียบไปตามแบบทดสอบย(อยแต(ละชุด
แลTวจึงนำคะแนนรวม Scale Score จากแบบทดสอบย(อยแต(ละชุดไปเทียบกับตารางหาค(า I.Q. จะไดTค(า I.Q. ใน
แต(ละส(วนถTาจะหา 10 รวมใหTเอาคะแนน Scale Score ของแต(ละส(วนมารวมกันก(อนจึงจะนำไปเทียบกับตาราง
หาคา( I.Q.

แบบทดสอบ Otis-Lennon Mental Ability Test

เป-นแบบทดสอบวัดเชาวน[ปYญญาแบบกลุ(มสรTางโดย Otis และ Lennon ในป‹ ค.ศ. 1967 เป-น
แบบทดสอบที่สรTางขึ้นเพื่อวัดความสามารถทั่วไปโดยแบ(งออกเป-น 6 ระดับคือตั้งแต(ระดับอนุบาลจนถึงชั้น 12 ใชT
เวลาในการทดสอบนาน 30-45 นาทีขึ้นอยู(กับเด็กแต(ละระดับมีการวัดความเขTาใจทางดTานภาษาและเหตุผลทาง
ภาษา (สรุ ศกั ด์ิ อมรรตั นศักดิ์, 2544, หนTา 61-64)

16

สรุป
ทฤษฎพี ัฒนาการด#านสตปิ ญ: ญาทฤษฎเี ชาว?นป:ญญา
พัฒนาการด#านสติป:ญญาเป-นความสามารถในตัวบุคคล ที่จะทราบไดTจากพฤติกรรมที่บุคคล แสดงออก
ระดับของสติปYญญาสังเกตไดTจากการแสดงออกที่มีความคล(องแคล(ว รวดเร็ว ความถูกตTอง ความสามารถในการ
คิด การแกTปYญหาและการปรับตัว การใชTแบบทดสอบวัดสติปYญญาจะทำใหTทราบระดับสติปYญญาชัดเจนขึ้นทฤษฎี
ทางสตปิ ญY ญา
เชาว?นป:ญญา มีความสำคัญและมีผลต(อความสำเร็จทางดTานต(าง ๆ ของมนุษย[ก็จริงอยู(แต(มิใช( ว(าเชาวน[
ปYญญาเป-นองค[ประกอบเดียวที่จะท าใหTมนุษย[ประสบความสำเร็จ เพราะความสำเร็จของ มนุษย[ขึ้นอยู(กับปYจจัย
ประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งปYจจัยดTานร(างกาย การรูTจักตั้งเปžาหมาย ตั้ง ความหวัง สรTางแรงจูงใจ และ
ความสามารถในการเลือกเดินทางเพื่อไปสู(เปžาหมายที่ตTองการไดTอย(าง ถูกตTองเหมาะสม การศึกษาเรื่องเชาวน[
ปYญญาของบุคคล มิใชเ( พอ่ื ใชเT ป-นเครือ่ งมอื ในการตัดสนิ ความ ฉลาดมากนอT ยของคนเพียงอย(างเดยี วเทา( น้นั

17

อNางองิ

ชัยวัฒน[ สุทธริ ัตน.[ (2555). นวัตกรรมการจัดการเรียนรทู# เี นน# ผู#เรยี นเปนQ สาํ คั~.ู กรงุ เทพฯ : แดเนก็ ซ[
อนิ เตอร[คอร[ปอเรชัน. หนTา80.

พรรณีช. เจนจิต. (2528). จติ วิทยาการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ : อมรินทร[การพิมพ[. พระเทพเมธาจารย[
วรี ะวรรณ ศรตี ะลานุคค (2552.) วธิ ีการสอนที่มผี ลตอX พัฒนาการของนกั ศกึ ษาตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ

ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2552 และความพรอ# มเขา# สXูประชาคมอาเซียน. สรุ ินทร:[ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร[.
สรุ ศักด์ิ อมรรตั นศกั ดิ์. 2544. ระเบียบวธิ ีวิจยั : หลักการและแนวปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : ศนู ยส[ ง( เสรมิ วิชาการ,
2544. 45-55.
Binet, 1916, อTางถงึ ใน สุรศกั ด์ิ อมรรันตศักดิ์, 2544, ระเบียบวิธีวจิ ัย : หลกั การและแนวปฏิบัต.ิ กรงุ เทพฯ :
ศูนย[ส(งเสริมวชิ าการ, 2544. หนTา4
Goddard, 1946, อTางถงึ ใน จำเนยี ร ชว( งโชติ, 2447, การตลาดสำหรับการบรกิ ารแนวคิดและกลยุทธ?, พิมพ[
ครง้ั ท่ี 1 กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ[มหาวทิ ยาลัย. หนาT 31.
Lall and Lall ( 1983) . introduced his theory of multiple intelligence, arguing that
intelligence is something to be used to improve lives not to measure
and quantify human beings.
Super, 1949: 58- 59. Boulder Conference outlines scientist- practitioner model of clinical
psychology, looking at the M.D. versus Ph.D. used by medical providers and researchers,
respectively.
Vernon, 1960: 28. The FDA approves the use of chlordiazepoxide ( known as Librium) for
treatment of non- psychotic anxiety in 1960. A similar drug, diazepam ( Valium) , is
approved in 1963.
กฤตวรรณ คำสม. (ตลุ าคม 2557). การใชฐT านขTอมลู [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจติ วทิ ยาสำหรับ
ครู, อดุ รธานี : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี สืบคนT เม่ือ 17 กมุ ภาพนั ธ[ 2564, จากเวบ็ ไซด[ http://1ab.in/Top
p0y
สทิ ธชิ ัย รา( หึม. (2559) ขอ# แตกตาX งระหวาX งทฤษฎีของเพียเจตแ? ละบรูเนอร?. สืบคนT จาก
http://sittichai1997.blogspot.com/p/blog-page_71.html.
ภาษาอังกฤษ
เว็บไซต?
Brain Kiddy. (2562). พัฒนาการเด็ก อายุ 1-6 ป| ดา# นสติป:ญญา สบื คTนเมอ่ื 16 กุมภาพนั ธ[ 2564, จากเวบ็ ไซด[
http://www.brainkiddy.com/b/46

18

บทท่ี 2
ปรัชญาตะวนั ตก และ ปรชั ญาตะวันออก
ความหมายของปรัชญา

คำว(า “ปรัชญา” นั้นเป-นศัพท[ที่พระเจTาวรวงศ[เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ[ประพันธ[ (พระองค[เจTาวรรณไว
ทยากร) ไดTทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใชTคู(กับคำภาษาอังกฤษว(า “Philosophy” เป-นคำมาจากรากศัพท[ภาษาสันสฤต 2
คำ คอื

1. ปร : ประเสริฐ
2. ชญา : ความรTู, ร,Tู เขTาใจ
เมื่อรวมกันแลTวเป-น “ปรชญา” (ปรัชญา) แปลว(า ความรูTอันประเสริฐ เป-นวิชาที่ว(าดTวยหลักแห(งความรูT
และความจริง
คำว(า “ปรัชญา” ตรงกับคำภาษาบาลีที่ว(า “ปYญญา” ซึ่งมีรากศัพท[มาจาก ป (อุปสรรค = ทั่ว) + ญา
(ธาตุ = รTู) เมือ่ ร(วมกันแลTว แปลว(า รTทู วั่ , รรูT อบ
ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (ราชบัณฑิตสถาน, 2525) ไดTนิยามความหมายของคำ
ว(า “ปYญญา” เอาไวTว(า “ความรูTแจTง, ความรอบรูT, ความสุขุม, ความฉลาด” และนิยามความหมายของคำว(า
“ปรัชญา” ว(าเป-นวิชาที่ว(าดTวยหลักแห(งความรูTและความจริง หมายความว(า ปรัชญามีหนาT ที่สืบเสาะหาความรTู
เก่ียวกบั ความจรงิ ของสรรพสง่ิ ทง้ั ท่เี ปน- รปู ธรรมและนามธรรม
จะเห็นไดTว(าความหมายของคำว(า “ปรัชญา” ที่ใชTอยู(ในปYจจุบันไม(ตรงกับความหมายของคำว(า “ปYญญา”
เพราะการบัญญัติศัพท[คำว(า “ปรัชญา” ไม(ไดTบัญญัติมาจากคำว(า “ปYญญา” แต(บัญญัติมาจากคำว(าภาษาอังกฤษ
ว(า “Philosophy” คำว(า “Philosophy” ในภาษาองั กฤษมาจากคาํ ในภาษาฝร1ังเศสโบราณวา่ “Philosophie”
ซึ่งมาจากคำในภาษาลาตินอีกทีหนึ่งว(า “Philosophia” (ฟ-ลอสโซฟ-ยา) ที่แผลงมาจากคำภาษากรีกว(า
“Philosophia” (ฟล- อสโซเฟย‹ ) อีกต(อหนงึ่ ดังน้นั คำว(า “Philosophy” จงึ มาจากคำภาษา
กรกี วา( “Philosophia” ซ่ึงมีรากศพั ทม[ าจาก 2 คำคือ
1. Philos : Love of หรอื Loving of (ความรกั )
2. Sophia : Wisdow หรอื Knowledge (ความรT,ู ปญY ญา, ความฉลาด)
เมื่อรวมกันแลTว คำว(า “Philosophy” จึงหมายถึง “Loving of Wisdom” ความรักปYญญา, ความรักในความรTู,
ความรักในการแสวงหาความรูT หรือ การใส(ใจในการแสวงหาความรูT จะอย(างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาตามคำแป
ระหวา( ง คำว(า “ปรชั ญา” ท่มี าจากภาษากรีกกบั ทมี่ าจากภาษาสนั สกฤตจะแตกต(างกัน

19

กล(าวคือ ที่แปลจากภาษากรีกแปลว(า ความรักในความรูTหรือความรักปYญญา เพราะความรูTหรือปYญญา เป-นพระ
เจTาแต(ผเTู ดยี ว มนษุ ยม[ ีสทิ ธเิ พยี งสามารถทีจ่ ะรัก หรอื สนใจที่จะแสวงหาเท(านัน้ ไมส( ามารถเป-นเจาT ของไดT

ส(วนที่แปลจากภาษาสันสกฤต แปลว(า ความรูTอันประเสริฐ หรือความรอบรูT มนุษย[ทุกคนสามารถมีความ
รอบรูT หรือมีความรูTอันประเสริฐไดT อันเนื่องมาจากความรูTที่สมบูรณ[ สูงสุดนั้นไดTสิ้นความสงสัย (พนายุทธ เชย
บาล, 2560, น.32-51)

ความหมายของปรัชญาตะวันออก

ปรัชญาตะวันออกเกิดขึ้นมาในความเป-นศาสนา ซึ่งจะมีความเกี่ยวขTองกันอย(างแทบจะแยกไม(ไดT โดย
ศาสนานั้นมีรากเหงTามาจากความเชื่อ ความศรัทธาที่จะปฏิบัติตามคำสั่งสอนหรือเนื้อหาของศาสนานั้น ๆ นำไปส(ู
พิธกี รรมตา( งๆที่มงุ( สม(ู รรคผล โดยปรชั ญานัน้ ประกอบแนบแนน( กันกบั ศาสนาในตัวของความรูT และวิธีการไดมT าซึ่ง
ความรูT (สมหมาย ปวะบตุ ร, 2558, น. 19-36)

ในที่นี้จะกล(าวโดยสังเขปถึงรายละเอียดปรัชญาตะวันออกของแต(ละลัทธิหรือศาสนา อันไดTแก( ปรัชญา
จนี ปรัชญาเซน และ ศาสนาฮนิ ดูดงั น้ี

1.ปรัชญาจนี หลกั ของปรชั ญาจนี แตน( ้ันเดิมบูชาเทพเจTา ตอ( มามปี ระชากรจำนวนมากขึน้ มสี ังคม
ความเป-นอยู(ที่ตTองแบ(งปYนทรัพยากรกันมากขึ้น เกิดปYญหาการแก(งแย(งชิงดีชิงเด(น ทำใหTเกิดนักคิดขึ้นมาเพื่อหา
แนวทางแกTไขปญY หาสังคม ที่เดน( ชดั และเป-นแนวทางปฏิบตั ิมาจนถึงปYจจบุ ันไดTแก(

1.1 ลัทธิขงจื้อ เนTนความมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อความเป-นระเบียบเรียบรTอยและการ
ปกครองที่ดีของสังคม แต(ก็ยังมีบางส(วนที่แสดงถึงความเคร(งครัดจนเกินไป ซึ่งการเกิดลัทธินี้ก็เพื่อใหTประชาชน
ท้งั หมดอยูก( ันอย(างสงบสุข

1.2 ลัทธิเตƒา เนTนความเป-นธรรมชาติ ความเป-นจริง ละวางตัวฉัน ของฉัน การนิ่ง สงบ การ
ปกครองไมต( TองใชกT ฎหมาย ถอื วา( การบงั คับจะทำใหTเกิดความเส่ือมทางจรยิ ธรรม

โดยสรุปแลTวทั้งสองปรัชญาเกิดขึ้นในราชวงค[เดียวกัน มองปYญหาไม(แยกส(วน เกิดเนื่องจากปYญหาความ
ไม(สงบสุขของประชาชน จากการปกครองที่มีความเลื่อมล้ำไม(เป-นธรรม โดยการแย(งชิง การใชTอำนาจ อย(างเห็น
แก(ตัว แต(ทั้งสองลัทธิมีแนวทางปฏิบัติที่แตกต(างกันอย(างสุดขั้ว ทำใหTลูกศิษย[ของแต(ละสำนักเกิดขTอโตTแยTงกันอย(ู
เนือง ๆ แต(ที่แสดงออกอย(างชัดเจนของ 2 ลัทธินี้ก็คือ ลดความวุ(นวายต(างๆ จากการยกระดับของจิตใจ ทำใหT
เกิดความสงบของจติ ใจของตนเองเสียกอ( น คอื การสราT งความสงบในใจ

20

2.ปรัชญาเซน หมายรวมถึง ผูTชนะ ความใคร( ความเกลียด การบรรลุความหลุดพTน เซนยอมรับแหล(ง
การเกิดความรูTจาก 3 แหล(งคือ ประจักษ[ อนุมาน และ ศัพทป[ ระมาณ เป-นการส(งผ(านลัทธิหรือความเชื่อ นำไปสู(
สิ่งที่เขาเรียกกันว(า Satori ความสงบของจิตใจ หรือความหลุดพTนนั่นเอง ซึ่งมีหลายนิกาย หลายสำนัก เช(น
สำนักรินไซ มีวิธีการคิดอย(างไตร(ตรองลึกซึ้งเรียกว(า โกอาน (Koan) ส(วนสำนักโซะโตะ มีวิธีการนั่งบำเพ็ญสมาธิ
เรียกกว(า ซาเซ็น (Zazen) บางนิกายก็มีความเช่ือในเรื่องวิญญาณ ชีวะมีอยู(ในทุกตัวตน และมีความเชื่อในเรื่อง
เป-นชายเท(านั้นที่จะบรรลุไดT และสตรีไม(สามารถบรรลุไดTโดยสรุปปรัชญาเซน ยอมรับในการมีอยู(ของวิญญาณ ยึด
หลกั การไม(เบยี ดเบยี น ผสมผสาน การถ(ายทอดนกั คดิ เพ่อื ใหเT กดิ ความสงบของจิตใจ หรอื ความหลุดพTน

3.ศาสนาฮินดู เป-นเทวนิยมการนับถือพระเจTา เริ่มตTนมาจากการพยายามอธิบายสิ่งที่เป-นไปจากการเกิด
เหตุการณ[ทางธรรมชาติ โดยการบูชาสิ่งที่เป-นสมมุติ คือการเคารพนับถือพระเจTา ที่ทำใหTเกิด ทำใหTทำลาย และ
การปกปžอง โดยหาพิธีกรรมต(างมาบวงสรวงพระเจTาอันไดTแก( พระพรหมเป-นพระผูTสรTาง พระศิวะเป-นผูTทำลาย
และพระวษิ ณหุ รอื พระนารายณ[เปน- ผTปู กปžอง

โดยสรุปการเกิดศาสนาฮินดูขึ้นมา เกิดจากอารยธรรมกลุ(มแม(น้ำสินธุ ซึ่งมีทั้งนับถือเทพเจTา และไม(
นิยมรูปเคารพ มีคัมภีร[พระเวท เป-นเทพโองการเป-ดเผยแก(มนุษย[ มีเปžาหมายเพื่อ การแสวงหาความรูTและ
ความสุข ผา( นการปฏบิ ตั ิทางพธิ ีกรรมตา( งๆ

จากปรัชญาตะวันออกที่มีความเกี่ยวขTองเชื่อมโยงกับศาสนานั้น พบว(า มีฐานคิดจากความตTองการความ
สงบในจิตใจเพื่อยกระดับใหTจิตใจมีความสูงส(ง หลุดพTนไปจากความทุกข[ทั้งปวง เนTนในเรื่องการที่คนจะรับรูTสิ่งที่
เกิดขึ้น และอยู(ดTวยกันอย(างสงบสุขร(มเย็น ก็ดTวยความเป-นไปตามธรรมชาติ โดยการยอมรับจากภายใน ไม(มอง
อย(างแยกส(วนเพราะทุก ๆ ส(วนมีความเกี่ยวขTองเชื่อมโยงกัน แลTวสามารถแสดงออกภายนอกไดTอย(างสมดุล
สามารถอยรู( ว( มกนั ในครอบครวั สังคม ชุมชน และประเทศไดTอย(างสงบสุข

ความหมายของปรัชญาตะวนั ตก

ปรัชญาตะวันตก หมายถึง แนวความคิด หลักการ ความรูTทางปรัชญาที่เกิดขึ้นในซีกโลกตะวันตก
ทั้งหมด ซึ่งนักปรัชญาเมธีเชื่อชาตินั้น ๆ ทางซีกโลกตะวันตกไดTคิดคTนขึ้น ก(อใหTเกิดขึ้นหรือตั้งสำนักขึ้น โดย
ปกติแลTวมักจะถือกันว(า ปรัชญาตะวันตกเริ่มก(อตัวขึ้นประมาณ 600 ป‹ ก(อนคริสตศักราช และเมื่อเกิดขึ้นก็ไดTมี
ความเจริญววิ ัฒนาการทางดาT นความรูT ความคดิ เรื่อยมาจนกระท่งั ปจY จบุ นั (สมหมาย ปวะบตุ ร, 2558, น. 19-36)

21

ปรชั ญาตะวนั ตกแบXงยคุ ไดด# ังนี้
1.ยุคดึกดำบรรพ? จากการศึกษาผูTคนในยุคนี้เชื่อเรื่องเทพเจTานับถือเทพเจTา Zeus เป-นเทพสูงสุด และถือ

วา( การเปลีย่ นแปลงของโลกขน้ึ อยก(ู ับเทพเจาT คติแหง( ยคุ ดกึ ดำบรรพ[ คือ ทุกส่งิ ขนึ้ อย(ูกับน้ำพระทยั เบือ้ งบน
2. ยุคโบราณ จากการศึกษายTอนหลัง ไปอย(างนTอยที่สุดในศตวรรษที่ 4 ก(อนคริสตศักราชต(อเนื่องกันมา

จนถึงปYจจุบันตTองถือว(านักปรัชญาคนแรกของกรีซ คือ ธาเลส เหตุผลที่ส(งใหTเป-นปรัชญาคนแรกของกรีกก็
เพราะว(าเป-นคนแรกที่อธิบายเรื่อง จุดกำเนิดของโลกโดยใชTเหตุผลตามธรรมชาติ ไม(มีเรื่องของเทววิทยาเขTามา
เก่ยี วขTอง

3. ยุคกลาง เป-นลกั ษณะของปรชั ญาทป่ี ระนีประนอมครสิ ต[ศาสนากบั ปรชั ญากรกี ในครึ่งแรกแห(งยุค ก็
ประนีประนอมโดยใชTปรัชญาของเพลโตอธิบายคำสอนแนวคิดศาสนา ไดTชื่อลัทธิว(า ปรัชญาป-ตาจารย[ หรือลัทธิ
ป-ตาจารย[นิยม ในครึ่งหลังแห(งยุค นักปรัชญาหันมานิยมใชTปรัชญาของอริสโตเติลอธิบาย ไดTชื่อลัทธิว(า ปรัชญาอัส
มาจารย[ หรอื ลทั ธิอสั มาจารยน[ ิยม ครึ่งหลงั นม้ี กี ารพยายามใชตT รรกวทิ ยาสราT งระบบความคดิ กนั อยา( งจรงิ จงั

4. ยุคใหมX ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม( (ค.ศ. 1600 –1700 ) เริ่มขึ้นดTวยการคัดคTานแนวความคิดทาง
ปรัชญาของสมัยกลางที่เนTนหนักในเรื่องศรัทธาในพระเจTาของศาสนาคริสต[ ที่มุ(งการประนีประนอม ความเชื่อ
หรือศรัทธาในคริสต[ศาสนา ซึ่งในตอนนั้นไดTพยายามเอาปรัชญาของเพลโตมาอธิบายคำสอนศาสนาคริสต[ และ
ตอ( มาไดTนำเอาปรชั ญาของอรสิ โตเติลมาอธิบายคำสอนของศาสนาครสิ ต[

5. ยุคป:จจุบัน สมัยปYจจุบันเริ่มตTนหลังจากป‹ที่ คTานท[สิ้นชีวิต เป-นตTนมาจนถึงปYจจุบัน ปรากฏว(า
แนวความคิดของคTานท[มีอิทธิพลต(อนักปรัชญาสมัยนี้มาก แทบทุกคนจะเชื่อทฤษฎีของคTานท[ที่ว(าสมรรถภาพใน
การคิดของทุกคนมีกลไกคลTายคลึงกัน จึงไดTรับความรูTคลTายๆกัน แต(นักปรัชญาส(วนใหญ(ไม(ยอมรับโครงสรTางของ
กลไกการรับรูTของคTานท[ พวกเขาเห็นพTองกันว(ากลไกการรับรูTซับซTอนยิ่งกว(านันจึงไดTพยายามอธิบายเรื่องนี้ต(างๆ
นานา เรียกลัทธิเหล(านี้ว(า ลัทธิคTานท[ใหม( ซึ่งต(างก็ขบคิดปYญหาสำคัญประการหนึ่งว(า สมองของคนเราทำ
กิริยาอย(างไรในขณะที่เรากำลังคิด ผลแห(งความพยายามดังกล(าวทำใหTเกิดลัทธิปรัชญาขึ้นมาอีกมากมาย มี
ลักษณะแตกตา( งกันเป-นกลุ(มๆ

22

นกั ปรัชญาสำคญั ของตะวันออกและตะวันตก

นักปรัชญาตะวนั ตก
ธาเลส (Thales) ไดTรับการยกย(องใหTเป-นบิดาของปรัชญาตะวันตก ธาเลสเป-นคนแรกท่ี

คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต[โดยใชTเงา เขาไดTทำนายว(าจะเกิดสุริยคราสล(วงหนTาซึ่งไดTเกิดขึ้นก(อน
พุทธศักราช 42 ป‹ รูTจักพิสูจน[ทฤษฎีบททางเรขาคณิต เช(น เสTนผ(านศูนย[กลางจะแบ(งครึ่งวงกลม มุมที่ฐานของรูป
สามเหลยี่ มหนาT จ่วั เทา( กัน และมมุ ในครงึ่ วงกลมเปน- มมุ ฉาก

เพลโต ( Plato) (ประมาณป‹ 427-347 ก(อนสากลศกั ราช) เป-นนกั ปรชั ญากรกี เพลโตไดTรับ
อิทธิพลอย(างมากจากแนวคิดของโสกราตสี นักปรชั ญาผูTมีชื่อเสียงและเหล(าศษิ ย[ของพีทากอรสั ผูTเปน-
นักคณิตศาสตร[และนกั ปรัชญากรีก “บดิ าแหง( วิชาปรชั ญาการเมอื ง”

อริสโตเติล (Aristotle) (384 ป‹ก(อนคริสตกาล – 7 มีนาคม 322 ป‹ก(อนคริสตกาล) เป-นนัก
ปรัชญากรีกโบราณ เป-นลูกศิษย[ของเพลโต และเป-นอาจารย[ของอเล็กซานเดอร[มหาราช เขาและเพลโตไดTรับยก
ย(องใหTเป-นหนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลสูงที่สุดคนหนึ่ง ในโลกตะวันตก ดTวยผลงานเขียนหนังสือเกี่ยวกับฟ-สิกส[
ตรรกศาสตร[ กวีนิพนธ[ สัตววิทยา การเมือง การปกครอง จริยศาสตร[ และชีววิทยา และไดTขนานนามว(าเป-นบิดา
แหง( ศาสตร[ต(างๆ ดงั น้ี

- บดิ าแห(งตรรกศาสตร[ตะวันตก
- บดิ าแห(งวิทยาศาสตร[
- บิดาแห(งชีววทิ ยา
- บิดาแห(งรฐั ศาสตร[
นกั ปรัชญาตะวันออก

เลXาจื๊อ เป-นนักปราชญ[ที่มีชื่อเสียงชาวจีนที่สุดท(านหนึ่ง เล(าจื๊อไดTเขียนตำราอันเป-นแบบแผน
ในทางเตÀา นั่นคือ “เตÀาเต็กเก็ง ซึ่งเป-นผลงานทางลัทธิเตÀาที่ยังคงตกทอดมาถึงยุคปYจจุบันนี้ เล(าจื๊อเป-นนักปราชญ[
ที่เชี่ยวชาญทางเตÀา ประวัติศาสตร[ ภูมิศาสตร[ ดาราศาสตร[ มีแนวคิดที่มีคุณค(าและยังคงมั่นคงในโลกยุคสมัยใหม(
ที่เหมาะกับนักคิดในรุ(นปYจจุบันสามารถศึกษาใหTเขTาใจไดTอย(างง(ายดาย พรTอมการนำเอามาเป-นแนวคิดในการ
ดำเนินชีวิตและการทำงานไดTเป-นอย(างดี ปรัชญาและวถิ แี หง( เตาÀ เนTนทค่ี วามสันโดษ ความกลมกลนื ไปกบั ธรรมชาติ
เพราะปYญหาของมนุษย[นั้นไม(สามารถแกTไขไดTดTวยการสรTางกฎกติกาขึ้นมาโดยมนุษย[ดTวยกัน เพื่อนำมาบังคับใชTใน
สังคม แต(ที่สุดของความสุขคือความนอบนTอมถ(อมตนอยู(กับธรรมชาติ ก็เช(นเดียวกับการทำงานที่เมื่อเขTาสู(องค[กร
ก็ตTองรูTจักนอบนTอมถ(อมตน ทำตัวใหTดูกลมกลืนไปกับธรรมชาติขององค[กร และเมื่อมีเรื่องที่ไม(ถูกใจก็ใช(ว(าจะเพียง
ตั้งกฎขึ้นมาบังคับเพียงเท(านั้น แต(จะตTองเนTนความรับผิดชอบร(วมกัน และสามารถอยู(ร(วมกันไดTดTวยความถ(อมตน
อกี ดวT ย

23

ซือหมXาเชียน เป-นนักประวัติศาสตร[และนักประพันธ[วรรณคดีในสมัยราชวงศ[ฮั่นตะวันตกของ
จีนเมื่อกว(า 2 พันป‹ก(อน บิดาของเขาเป-นขุนนาง ทำหนTาที่บันทึกประวัติศาสตร[ในราชสำนักฮั่น ว(ากันว(าซือหม(า
เชียนเป-น คนช(างคิดตั้งแต(เด็ก เขามักจะมีความคิดเห็นที่เป-นตัวของตัวเอง เกี่ยวกับบุคคลและเหตุการณ[สำคัญ
สมัยก(อนในตำนานต(างๆ เมื่อเขายังหนุ(ม เขาเคยออกเดินทางไปทัศนาจรทั่วประเทศ เพื่อศึกษาชีวิตความเป-นอยู(
ของประชาชน ขนบธรรมเนียม สภาพสังคม เศรษฐกิจและเกษตรกรรม เยี่ยมเยือนสถานที่ ท(องเที่ยวที่มีชื่อเสียง
ในทTอง ถิ่นต(างๆของจีน รวบรวมขTอมูลเกี่ยวกับ บุคคลและเหตุการณ[สำคัญในประวัติศาสตร[ (ภวิศา พงษ[เล็ก,
2560, น.5)

ปรชั ญาตะวันออก

ปรัชญาอินเดยี

ปรัชญาอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานว(ามีมาตั้งแต( 3,000 ป‹ก(อน ค.ศ. ปรัชญาที่กล(าวถึงนี้ก็ คือ พระเวท
ปรัชญาอินเดียลTวนเกิดจากคำสอนใน “คัมภีร[พระเวท” เริ่มตั้งแต(มีการเกิดมีพระเวทขึ้นตามประวัติระบบแห(ง
แนวความคิดของอินเดยี คัมภรี [พระเวทนนั้ เป-นคัมภีร[ท่ีเก(าแก(ทสี่ ดุ แบง( ออกเปน- 4 อย(างคอื

ฤคเวท มีลักษณะเป-นคำฉันท[ เป-นบทรอT ยกรอง
ยชรุ เวท มีลักษณะเปน- รTอยแกวT ว(าดTวยระเบยี บวธิ ใี นการประกอบพิธีบูชายัญ
สามเวท มลี กั ษณะเปน- คำฉนั ทใ[ ชTสำหรับสวดขบั กลอ( มเทพเจาT
อถรรพเวท เป-นที่รวบรวมเวทมนต[คาถาอาคมต(าง ๆ สำหรับใชTร(ายแกTของไม(ดี และเพื่อใชT
ทำลายหรอื ใหเT กิดผลรTายแกศ( ตั รู
1.มหากาพย[ “รามายณะ” เป-นมหากาพย[ของอินเดีย ซึ่งที่คนไทยรูTจักกันเป-นอย(างดี คือ รามเกียรติ์
เชื่อว(าเป-นนิทานที่เล(าสืบต(อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต(ผูTไดTรวบรวมแต(งใหTเป-นระเบียบ
ครั้งแรก คือ Áษีวาลมีกิ ตัวละครมี พระลักษณ[ พระราม นางสีดา หนุมาน ทศกัณฑ[ (ที่มา: เบญจมาพร ทองรัก.
มหาภารตะ. 2556 ) ฉบับของไทยกับตTนฉบับอินเดียนั้น มีบทบาทของตัวละครไดTเปลี่ยนแปลงตามที่ สุจิตต[ วงษ[
เทศ เป-นศิลป-นแห(งชาติ สาขาวรรณศิลปÂ (กวีนิพนธ[) กล(าวว(า “หนุมานในตTนฉบับนั้น เป-นลิงที่จงรักภักดี และ
หัวใจของหนุมานมีเพียง 2 คนเท(านั้น คือ พระรามกับนางสีดา แต(ฉบับของไทยนั้น หนุมานถูกปรับบทบาทใหTเป-น
ลิงเจาT ชูT มหี ลายเมีย” (ท่มี า: สจุ ิตต[ วงษ[เทศ. รามายณะ มหาภารตะ ในอษุ าคเนย[ ประวัตศิ าสตรน[ อกตำรา)
2. มหากาพย[ “มหาภารตะ” หรอื “ภารตะ” เปน- มหากาพยท[ ีย่ ง่ิ ใหญ(ของอินเดยี นับเป-นมหากาพย[ท่ยี าว
ที่สุดในโลก ดTวยมีจำนวนคำ 1.8 ลTานคำ นับว(ายาวกว(ามหากาพย[อีเลียด หรือมหากาพย[โอดิสซี ของกรีกโบราณ
(ที่มา: รายการแฟนพันธุ[แทT. มหาภารตะ. 2557) มีเนื้อหาซับซTอน เล(าเรื่องอันยืดยาวที่เกี่ยวขTองกับเทพปกรณัม
การสงคราม และหลักปรัชญาของอินเดีย ท้ังนี้ยังมีเรื่องย(อย ๆ แทรกอยู(มากมาย ตามตำนาน กล(าวว(า ผูTแต(ง
มหากาพย[เรื่องนี้คือ Áษีวยาส ซึ่งมีผูTทำหนTาที่จดบันทึกทุกเรื่องราวคือ พระพิฆเนศ ซึ่งเป-นเรื่องราวความขัดแยTง

24

ของพี่นTองสองตระกูล ระหว(าง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึ่งทั้งสองตระกูลต(างก็สืบเช้ือสายมาจากทTาว
ภรต แห(ง กรุงหัสตินาปุระ จนบานปลายไปสู(มหาสงครามที่ทุ(งกุรุเกษตร จำนวน 18 วัน ซึ่งมีพันธมิตรของแต(ละ
ฝÄายเขTาร(วมรบดTวยเป-นจำนวนมาก ฝÄายปาณฑพก็เป-นผูTชนะในสงครามครั้งนี้ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า. เรื่องย(อ
มหาภารตะ. 2562) (ทม่ี า: อ.วีระธีรภัทรเลา( มหากาพย[มหาภารตะ. 2556)
เร่อื งยXอ

จุดเริ่มตTนก(อเกิดเรื่องราวจนเป-นมหากาพย[ตำนานอันยิ่งใหญ( ''มหาภารตะ'' เป-นการเป-ดตำนานเล(าเรื่อง
โดยเริ่มตTนจากการลำดับวงศ[กษัตริย[แห(งราชวงศ[กุรุโดยตำนานเริ่มจากพระราชาชื่อ ทTาวศานตนุแห(งราชวงศ[กุรุ
เปน- สำคญั ทาT วศานตนแุ ตง( งานกับเจาT แม(คงคามีลกู ชายดTวยกัน ชอื่ ภีษมะ

ต(อมาทTาวศานตนุแต(งงานใหม(กับลูกสาวชาวประมงชื่อ สัตยวดี มีลูกชายดTวยกันสองคนคือ จิตรางคทะ
กับวิจิตรวีรยะ ลูกชายของทTาวศานตนุที่เกิดจากนางสัตยวดี เพราะความโลภของสัตยวดีและการเสียสละของภีษ
มะ และศานตนุ ต(างฝÄายต(างก(อใหTเกิดคำสัตย[สาบานที่น(าเกรงกลัวขึ้นที่ริมฝYÆงแม(น้ำคงคา เรื่องราวยังคงดำเนิน
ต(อมาอีก 25 ป‹ จนถึงยุคของเจTาชายแห(งหัสตินาปุระ วิจิตรวีรยะที่มีแต(ความอ(อนแอและไม(เอาไหน เพราะยึดติด
กับคำสาบาน ภีษมะตTองคอยช(วยเหลือเขาอยู(ร่ำไป สัตยวดีดTวยสัญชาตญาณของมารดา เขTาขTางบุตรของตนและ
เตือนภีษมะว(า วิจิตรวีรยะคือความรับผิดชอบของเขา พอถึงวัยเติบโต ความปรารถนาของสัตยวดีและคำสัตย[ของ
ภีษมะ นำมาซึ่งผลหลายอย(าง เพื่อการอภิเษกสมรสของเจTาชายที่อ(อนแอเช(นวิจิตรวีรยะ สัตยวดีสั่งใหT ภีษมะ
เดินทางไปสู(ขอบุตรสาวท้ัง 3 ของกษัตริย[แควTนกาสี ภีษมะไดTทำใหTเกิดเรื่องที่มิไดTเจตนาและมิอาจรูTว(าไดTทำลาย
ความรักของอัมพาและมหาราชย[ศาลวะ ความอับอายนี้ทำใหTนางโกรธแคTนและนำไปสู(การต(อสูTกันระหว(างปรศุ
รามและภีษมะ อาจารย[และศิษย[ จนมหาเทพไดTปรากฎกายขึ้นและยุติการต(อสูTในครั้งนี้ อัมพาผูTที่ตกอยู(ในความ
เจ็บปวดภาวนาและวิงวอนต(อองค[มหาเทพศิวะ มหาเทพตอบเพียงว(าหลังจาก 25 ป‹ นางจึงจะไดTรับความ
ช(วยเหลือ นางจงึ บูชายญั ตวั เองเป-นการตอบโตT (ทีม่ า: อ.วีระธีรภทั รเลา( มหากาพย[มหาภารตะ. 2556)

ต(อมา วิจิตรวีรยะตายไปโดยไม(มีลูกสืบวงศ[ต(อ ในขณะที่ภีษมะเองก็ถือคำสัตย[สาบานจะไม(ยุ(งเกี่ยวกับ
ผูTหญิง ทำใหTพระนางสัตยวดีตTองไปขอรTองใหTวยาสซึ่งเป-นลูกนอกสมรสที่เกิดกับÁษีปราศร ตั้งแต(ยังไม(ไดTกับทTาว
ศานตนุ ซึ่งบวชเป-นÁษีใหTมาช(วยเป-นตTนเชื้อเพื่อมิใหTสิ้นราชวงศ[ Áษีวยาสซึ่งมีรูปร(างหนTาตาน(าเกลียดและ
สกปรกรกรุงรังยอมตกลงมามีความสัมพันธ[กับเมียหมTายของวิจิตรวีรยะทั้งสองคน คนแรกตอนมีความสัมพันธ[กัน
นั้นนอนหลับตาดTวยความขยะแขยงลูกที่ออกมาจึงตาบอดและมีชื่อว(า ธฤตราษฎร[ ส(วนคนที่สองตอนมี
ความสัมพันธ[กัน แมTไม(ไดTหลับตาแต(ก็กลัวจนเนื้อตัวซีดขาวไปหมด ลูกที่ออกมาจึงไม(แข็งแรงและมีเนื้อตัวซีดขาว
ตามไปดวT ย เด็กคนน้มี ชี ื่อว(า ปาณฑุ

Áษีวยาสยังไปมีความสัมพันธ[กับคนรับใชTในราชสำนัก แบบเผื่อเหลือเผื่อขาดเอาไวTอีกคน สำหรับรายน้ี
ซึ่งมีความสัมพันธ[กันปกติและไม(ไดTรังเกียจอะไรลูกท่ีออกมาจึงเป-นปกติมีชื่อว(า วิฑูรเมื่อลูกชายสามคนของÁษีว
ยาสโตขึ้น เจTาชายปาณฑุขึ้นครองราชย[เป-นพระราชาแควTนกุรุเมื่อถึงวัยอันควร ตามลำดับ ตTองเป-นธฤตราษฎร[ลูก

25

คนโต แต(ดTวยความเหมาะสม เนื่องจากธฤตราษฎร[ตาบอด บัลลังก[จึงตกแก(นTองชาย เป-นเหตุใหTมีการผิดใจกันอย(ู
กลายๆภีษมะซึ่งทำหนTาที่อภิบาลร(วมกับพระนางสัตยวดีไดTจัดการใหTหลานชายทั้งสองคนแต(งงาน เจTาชายคนที่ตา
บอดแต(งงานกับเจTาหญิงคานธารี คานธารีเมื่อเห็นว(าพระสวามีตาบอดจึงป-ดตาเพื่อจะไดTเขTาใจในความทุกข[ของ
สวามีโดยใหTสัตจะว(าจะไม(เป-ดผTาป-ดตาออกอีกตลอดไป และมีลูกดTวยกัน 100 คน ลูกชายคนโตชื่อ ทุร
โยธน[ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า. เรื่องย(อมหาภารตะ. 2562) (ที่มา: อ.วีระธีรภัทรเล(ามหากาพย[มหาภารตะ.
2556)

ส(วนเจTาชายปาณฑุมีเมียสองคน เมียคนแรกชื่อ กุนตี ซึ่งก(อนจะมาแต(งงานดTวยความไม(รูT หลังจากไดTพร
ในการขอบุตรจากเทพ ทำใหTนางไดTขอบุตรจากเทพพระอาทิตย[ชื่อว(า กรรณะ การเชิญเทพของนางในครั้งนี้เกิด
ดTวยความรูTเท(าไม(ถึงการณ[ ไม(ทันไดTนึกถึงผลที่ตามมา เลยทำใหTตTองทิ้งลูกชายไปเพราะเป-นบุตรที่เกิดโดยที่นางยัง
ไม(มีสวามี แลTวมาแต(งงานกับเจTาชายปาณฑุ ส(วนเมียคนที่สองชื่อ มัทรี แต(ก็เกิดเหตุแห(งคำสาปแช(งทำใหTไม(
สามารถมีบุตร จึงสละราชยไ[ ปอย(ูในปÄา (ท่ีมา: สุรยิ ะบุตรเร่อื งเล(า. เรือ่ งยอ( มหาภารตะ. 2562)
และไดTขอลูกจากเหล(าเทพดTวยพรของกุนตีมีลูกดTวยกันสามคน คือ ยุธิษฐิระ เป-นลูกที่เกิดจากธรรมเทพ ซึ่งเป-น
เทพเจTาแห(งความยุติธรรม ภีมะเป-นลูกที่เกิดจากเทพวายุ อรชุนเป-นลูกที่เกิดจากพระอินทร[ ส(วน มัทรี นั้นไดT
ขอใหกT ุนตีใหTพรนน้ั แก(ตนบTางจึงไดTมีลกู แฝดช่อื นุกลุ กบั สหเทพ เกิดจาก เทพแฝดคือ เทพอศั วนิ

แต(แลTวเจTาชายปานฑุพระชนมายุไม(ยืนสิ้นพระชนม[ไปก(อนเวลาอันควร ทำใหTราชสมบัติที่ไดTตกเป-นของ
พี่ชายคือเจTาชายธฤตราษฎร[ไปและเคยมีขTอตกลงเป-นนัยว(าจะส(งมอบราชสมบัติใหTกับลูกของเจTาชายปาณฑุ
กลับคืนไปเมื่อถึงเวลาอันควร ดTวยเหตุนี้ลูกทั้งหTาของพระราชาปาณฑุและลูกทั้งรTอยของพระราชาธฤตราษฎร[จึง
ไดTรับการเลี้ยงดูภายในราชสำนักกรุงหัสตินาปุระแบบโตมาดTวยกันแต(น(าเสียดายว(าไดTเกิดความบาดหมางระหว(าง
ลูกพี่ลูกนTองตั้งแต(วัยเยาว[ ซึ่งน(าจะเป-นเพราะเรื่องในอนาคตว(าฝÄายใดจะไดTขึ้นมาเป-นกษัตริย[ ลูกของทTาวปาณฑุ
หรอื ว(าลูกของทาT วธฤตราษฎรเ[ ปน- สำคญั (ที่มา: สรุ ยิ ะบุตรเรอ่ื งเลา( . เรอ่ื งย(อมหาภารตะ. 2562)

ช(วงเยาว[วัยถึงวัยหนุ(มของเหลาเจTาชาย ภีษมะตอนนี้ทรงชราภาพแลTวเขTามารับผิดชอบอบรมเลี้ยงดู
ภราดาทั้งสองกลุ(ม เจTาชายทั้งสองฝÄายนี้ต(างก็เอาแต(แข(งขันต(อสูTกันอยู(ตลอดเวลา พยายามแมTกระทั่งสังหารอีก
ฝÄาย วันหนึ่งโทรณะ ครูและผูTชำนาญสรรพาวุธ ปรากฏตัวขึ้นและเสนอตัวเขTามาสอนเจTาชายนTอยทั้งปวง โทรณะ
มีภารกิจลับนั่นคือการแกTแคTนการดูถูกเหยียดหยามที่เพื่อนเก(าคนหนึ่งกระทำไวTแก(ตนขณะยังหนุ(ม ในการอบรม
เจTาชายทั้ง 105 คน นั้นทั้งหมดตกอยู(ภายใตTการอำนวยของทTาวภีษมะที่เป-นปูÄโดยมีอาจารย[สองคนทำหนTาที่เป-น
ผูTสอนศิลปะวิทยาการแขนงต(างๆใหT นั่นก็คือ กฤปาจารย[ และ โทรณาจารย[ ในการนี้ยังมีเด็กชายอีกคนที่มิใช(
ลูกหลานกษัตริย[โดยตรงเขTาร(วมเรียนดTวย คือ อัศวถามา ซึ่งเป-นลูกชายของโทรณาจารย[ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่อง
เลา( เร่อื งยอ( มหาภารตะ. 2562)

ในการอบรมศิษย[ทั้งหลายนั้น โทรณาจารย[ก็เฝžาจับตาดูความกTาวหนTาของเหล(าศิษย[ก็พบว(ามีราชกุมาร
พระองค[หนึ่งมีความกTาวหนTาในการเรียนรูTศิลปวิทยาที่สั่งสอนไดTรวดเร็วยิ่งกว(าราชกุมารพระองค[อื่น ราชกุมาร

26

พระองค[นั้นคือ ''อรชุน'' ดTวยเหตุนี้จึงกลายเป-นศิษย[เอก (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า. เรื่องย(อมหาภารตะ. 2562)
(ทม่ี า: อ.วีระธีรภทั รเล(ามหากาพยม[ หาภารตะ. 2556)

และโดยการช(วยชีวิตของโทรณาจารย[จากภยันตราย แสดงใหTเห็นถึงความไม(กลัวตายของเขาในการอุทิศ
ตน ความประทับใจในทักษะและการอุทิศตนของเขา,โทรณาจารย[ ตัดสินใจที่จะทำใหTอรชุนเป-นมือธนูที่ดีที่สุดใน
โลกา ในขณะเดียวกัน กรรณะพยายามหาอาจารย[ที่จะสอนวิชาใหTกับตนแต(เพราะการแบ(งชนชั้นวรรณะ ทำใหT
กรรณะตTองฝÄาความฝYนเพียงลำพัง และโกหกวรรณะตัวเองต(อปรศุราม เพื่อพิสูจน[ว(าเขาคือมือธนูที่ดีที่สุดในโลกา
เวลาผ(านมาจนจบการเล(าเรียนโทรณะจัดเวทีแข(งขันเพื่ออวดทักษะของปาณฑพและเการพแต(ละองค[ จนการต(อสูT
มาถึงอรชุนและทุรโยธน[ กับมีบุรุษแปลกหนTาคนหนึ่งกลับปรากฏกายขึ้นมาทTาทายอรชุนและมีฝ‹มือเชิงธนู
ทัดเทียมกบั อรชุน (ทม่ี า: สุรยิ ะบุตรเรอ่ื งเลา( เรือ่ งยอ( มหาภารตะ. 2562)

บุรุษคนนี้คือ กรรณะ ที่ผูTอ(านทราบมาแลTวว(าเป-นโอรสองค[แรกของกุนตี เกิดแต(สูรยเทพหรือเทพแห(ง
ตะวัน พระนางกุนตีมีความจำเป-นก(อนอภิเษกสมรสกับปาณฑุ จึงลอยกรรณะไปในตระกรTากับสายน้ำดังนั้น
กรรณะจึงเป-นเชษฐาองค[โตของภราดาปาณฑุนั่นเองอย(างไรก็ตามกรรณะไม(ทราบว(ามารดาที่แทTจริงของตนเป-น
ใคร สารถีเก็บไดTแลTวนำไปเลี้ยงจนเติบโต เหล(าปาณฑพไม(เห็นดTวยกับการประลองเพราะสถานภาพทางสังคมอัน
ตำ่ ตTอยของกรรณะและจะไมท( รงตอ( สูกT ับใครก็ตามท่ไี มม( ีพระชาติ เปน- ขตั ติยะมาตัง้ แตเ( กดิ

แต(ทุรโยธน[ลูกพี่ลูกนTองของภราดาปาณฑพเล็งเห็นโอกาสสรTางพันธมิตรกับกรรณะ โดยไม(ใส(ใจต(อกฎอัน
เขTมงวดแห(งวรรณะ ทุรโยธน[ยกอาณาจักรเล็กๆแห(งหนึ่งใหTแก(กรรณะ ทำใหTกรรณะซาบซึ่งใจจึงสาบานเป-นมิตร
กับเหล(าเการพตลอดไปในเวลาต(อมาเมื่อทTาวธฤตราษฎร[ทรงจะแต(งตั้งมกุฎราชกุมาร ที่จำเป-นตTองตกแก(เหล(า
ปานฑพ แต(เกิดความลำเองในใจโทรณาจารย[จึงขอใหTศิษย[ของตนไดT ไปทำศึกกับมหาราชย[แห(งปYณจาละ เพ่ือ
ตอบแทนอาจารณ[และหาผูTเหมาะสมกับ มกุฎราชกุมาร สุดทTายก็เป-นเหล(าปาณฑพที่ทำการสำเร็จก็แต(งตั้งใหT
ยุธิษฐิระพี่ชายคนโตของพวกปาณฑพขึ้นเป-นมกุฎราชกุมารแห(งแควTนกุรุมีสิทธิในการขึ้นครองราชย[ แต(เดิมของ
ทTาวปานฑุ ผลจากการนี้ทำใหTพวกปานฑพยิ่งไดTรับการยกย(องนับถือและมีอำนาจมากขึ้น การวางแผนเพื่อจะ
ทำลายลTางพวกปาณฑพ โดยทุรโยธน[พี่ชายคนโตของพวกเการพ เป-นตTนคิดก็เกิดขึ้นโดยมีนTองชายคนสำคัญคือ ธุ
ชาศันย[และลุงของพี่นTองเการพคือ ทTาวศุกุนิพี่ชายของพระนางคานธารี ซึ่งเป-นมีเล(ห[เหลี่ยมรTายกาจและเป-นจอม
วางแผนใหT รวมทั้งยังมีกรรณะเป-นคนใหTการสนับสนุนเป-นสำคัญรวมอยู(ดTวย แผนการสังหารพวกพี่นTองปาณฑ
พถูกวางเอาไวTอย(างแยบยล ดTวยการใหTมีการสรTางบTานรับรองที่ทำดTวยขี้ผึ้งติดไฟง(ายรอท(าไวT และหลังจากนั้นก็ไป
เชื้อเชิญใหTเจTาชายปาณฑพทั้งหTาพรTอมกับพระนางกุนตีไปพักผ(อน (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(าเรื่องย(อมหาภารตะ.
2562)

ในการนี้ทางราชสำนักกรุงอินทรปรัสถ[ไดTเชื้อเชิญพระราชาจากแว(นแควTนใกลTเคียงกัน ใหTมาร(วมพิธี
บวงสรวง ราชศูรยะ เพื่อเฉลืมพระเกียรติ การดำเนินการดังกล(าวของพวกปาณฑพเป-นไปท(ามกลางความอิจฉา
ริษยาและเกลียดชังของพวกเการพเป-นอันมาก และเพื่อเป-นการตอบโตแT ละลดทอนอิทธิพลของพวกปาณฑพ ทTาว

27

ศกุนิผูTเป-นลุงของทุรโยธน[ ไดTแนะนำใหTใชTวิธีเชิญทTาวยุธิษฐิระมาเล(นเกมทอดสกาพนันกัน เพราะศกุนิซึ่งไดTชื่อว(า
เป-นคนมีวิชาในการเล(นสกา เชื่อว(าตัวเองจะเอาชนะและสรTางความอับอายใหTกับพวกปาณฑพไดT (ที่มา: อ.วีระธีร
ภทั รเลา( มหากาพยม[ หาภารตะ. 2556)

มหาราชธฤตราษฎร[ผูTเป-นพ(อของทุรโยธน[ ไดTรับการรTองขอใหTเอ(ยปากชวนยุธิษฐิระมาเล(นสกากัน แมTว(า
ในตอนแรกทาT วธฤตราษฎรจ[ ะไม(ค(อยเห็นดวT ยกบั เลห( ก[ ลดังกล(าว แตใ( นที่สดุ กท็ ำตามคำขอรอT งของทุรโยธน[ โดยใหT
ท(านวิฑูรเป-นคนเชิญใหTยุธิษฐิระมาเล(นสกากันที่กรุงหัสตินาปุระการเล(นทอดสกาเกิดขึ้นภายในอาคารที่ประชุมท่ี
เรียกว(า สภา และเรื่องสำคัญเกิดขึ้น ณ ที่แห(งนี้จึงทำใหTตอนนี้ ของมหากาพย[มหาภาระมีชื่อว(า สภาตอน ในการ
เล(นทอดสกาเพื่อพนันขันต(อกันนั้น ปรากฎว(ายุธิษฐิระปราชัยอย(างย(อยยับตTองเสียทรัพย[สมบัติ อัญมณี
เครื่องประดับที่มีค(า รถมTาศึก ขTาทาสบริวาร ชTางมTา และในทTายที่สุดยุธิษฐิระไดTขอเดิมพันดTวยอาณาจักรที่ตนเอง
ปกครอง ซึ่งก็เสียพนันอีก ยุธิฐิระซึ่งบัดนี้ตกอยู(ในภาวะอันบTาคลั่งของการพนันขันต(อก็เอาตัวเองและพี่นTองปาณฑ
พอีกสี่คนเป-นเดมิ พัน

แต(ก็แพTอีกและถูกยั่วยุจากทุรโยธน[กับศกุนิใหTใชTพระนางเทราปตีเป-นเดิมพัน ยุธิษฐิระตTองการเอาชนะใหT
ไดT ก็ตงลงเดิมพันดTวยพระนางเทราปตีและตTองพ(ายแพTอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพ(ายแพT ทุรโยธน[ก็บังคับใหTส(งตัวพระนาง
เทราปตีซึ่งมีฐานะเป-นทาสจากการพนันใหT แต(พระนางเทราปตีไม(ยอมมาปรากฏตัว ทำใหTทุหศาสันลุแก(โทสะไป
จิกหัวลากตัวมาจากที่พักและนำตัวมายังที่ประชุมในสภา ทั้งยังดึงเสื้อผTาของนางออกแต(ไดTมนต[ของ กฤษณะช(วย
ไวทT ำใหผT าT ที่ดึงยาวจนไมห( ลดุ ออกจากตวั เทราปตี (ทมี่ า: สุริยะบตุ รเร่อื งเล(าเร่ืองยอ( มหาภารตะ. 2562)

แต(การกระทำย่ำยีครั้งนี้ทำใหTภีมะทนไม(ไดTประกาศกTองกลางที่ประชุมใหTสัตย[สาบานว(าจะฉีกอกทุหศา
สันเพื่อดื่มเลือดสดๆ ถTาหากจะตTองทำสงครามลTางอายในวันขTางหนTา ส(วนทุรโยธน[ซึ่งล(วงเกินพระนางเทราปตี
โดยบังคับใหTมานั่งบนตักนั้น ภีมะก็ประกาศว(าจะลTางแคTนดTวยการจะใชTคทาทุบสะโพกของทุรโยธน[ใหTหักสะบั้น
เมื่อเหตุการณ[รุนแรงลุกลามบานปลายมาจนถึงขั้นนี้ มหาราชธฤตราษฎร[ก็เขTามาไกล(เกลี่ยตามคำรTองขอของพระ
นางเทราปตี มหาราชธฤตราษฎร[ใหTยุติการเล(นพนันกินบTานกินเมืองแลTวสั่งใหTทุรโยธน[ส(งมอบทุกสิ่งทุกอย(างที่
ยุธิษฐิระแพTพนันกลับคืนใหTจนหมดสิ้นเพื่อใหTเลิกแลTวต(อกัน แต(ทุรโยธน[ซึ่งยังไม(หายแคTนก็ยังดันทุรังขอใหT
มหาราชธฤตราษฎร[ผูTเป-นบิดาซึ่งเป-นคนอ(อนไหวโลเล และตามใจลูกชายใหTเชิญยุธิษฐิระมาเล(นพนันทอดสกาเป-น
ครั้งสุดทTาย คราวนี้ตกลงกันว(าถTาหากใครแพTคนนั้นจะตTองลี้ภัยเป-นเวลาสิบสองป‹ และจะตTองซ(อนตัวไม(ใหTใครพบ
เห็นในป‹ที่สิบสามอีกหนึ่งป‹ ก(อนจะกลับมาอยู(อย(างปกติในป‹ที่สิบสี่ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า. เรื่องย(อมหาภา
รตะ. 2562) (ท่ีมา: อ.วีระธรี ภทั รเล(ามหากาพย[มหาภารตะ. 2556)

ในขณะที่ความพยายามจะหาทางตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามดำเนินไปนั้น ต(างฝÄายต(างก็พยายามก(อต้ัง
พันธมิตรเพื่อเตรียมทำสงครามใหญ( กฤษณะเองไดTรับการติดต(อจากสองฝÄายเพื่อใหTร(วมกับฝÄายตนและตกลงยก
กองทหารของตนใหTกับทุรโยธน[ไป ในขณะที่ตกลงใหTคำแนะนำทำหนTาที่ปรึกษาและใหTการสนับสนุนฝÄายปาณฑพ
ตามคำขอของอรชุน ทTาวศัลยะเขTาร(วมรบกับฝÄายเการพ แมTจะมีฐานะเป-นลุงของฝÄายปาณฑพโดยทำหนTาที่เป-น

28

สารถีใหTกับกรรณะ แต(ทTาวศัลยะก็รับปากกับยุธิษฐิระว(าแมTจะตTองทำหนTาที่เป-นสารถีบังคับรถมTาศึกใหTกรรณะ แต(
ก็จะพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อมืใหTกรรณะไดTเปรียบในการทำศึกในระหว(างการเจรจาเพื่อหาทางยุติสงคราม ทุร
โยธน[ปฏิเสธที่จะทำขTอตกลงสันติภาพ แมTว(าบรรดาผูTอาวุโสไม(ว(าจะเป-นทTาวธฤตราษฎร[ ผูTเป-นบิดาและพระนาง
คานธีผูTเป-นมารดาจะขอรTองก็ตามที ส(วนกฤษณะเองก็ใชTความพยายามอย(างหนัก เพื่อชักชวนใหTกรรณะมาอยู(ขTาง
ฝÄายปาณฑพเช(นเดียวกับพระนางกุนตีก็ยอมเป-ดเผยตัวในระหว(างไปพบเป-นการส(วนตัวกับกรรณะ ว(าเป-นแม(ที่ใหT
กำเนิดเพื่อขอใหTกรรณะยTายขTางมาอยู(กับฝÄายปาณฑพแต(ไม(เป-นผลสำเร็จ กรรณะตัดสินใจอยู(กับฝÄายเการพเพื่อย้ำ
มิตรภาพระหว(างตนกับทุรโยธน[ แมTจะรูTความลับชาติกำเนิดแลTวว(าตนเองเป-นลูกพระอาทิตย[กับพระนางกุนตีก็
ตามทีเมื่อถึงเวลากองทหารฝÄายเการพและปาณฑพก็เดินทางเขTาสู(สมรภูมิรบที่ทุ(งกุรุเกษตร ทางฝÄายปาณฑพมีธ
ฤตทยุมน[เป-นผูTบัญชาการรบ ส(วนทTาวภีษมะรับหนTาที่เป-นผูTบัญชาการรบฝÄายเการพ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า
เร่อื งย(อมหาภารตะ. 2562)

ถือเป-นเรื่องการต(อสูTระหว(างธรรมะกับอธรรมก็เกิดสงครามที่ทุ(งกุรุในมหากาพย[มหาภารตะที่เกิดขึ้นมา
ประมาณสามสี่พันป‹ ในระหว(างนั้น ยุธิษฐิระไดTแสดงความวิตกกังวลถึงความรTายกาจของกรรณะเพราะรูTว(า
กรรณะไดTรับของประทานจากเทพพระอาทิตย[โดยไม(มีใครสามารถทำลายชีวิตไดT ทำใหTพระอินทร[ซึ่งไดTรับ
คำแนะนำจากพราหมณ[ตTองดำเนินการแกTไขปYญหานี้ โดยที่กรรณะไดTรับคำเตือนจากเทพพระอาทิตย[ไวTก(อนแลTว
ว(าพระอินทร[ปลอมตัวไปขอเสื้อเกราะและต(างหูที่เป-นอุปกรณ[รักษาชีวิตจากกรรณะ ทำใหTกรรณะตTองคิดหนักใน
เรื่องนี้ ติดตามความเขTมขTนที่มาถึงจุดแตกหักกันถึงที่สุดแห(งมหากาพย[ ในตอนนี้เองที่เรื่องราวอันเป-นบทสนทนา
โตTตอบที่มีความยาวประมาณ 18 บทซึ่งรูTจักกันในชื่อว(า ภควัทคีตา ไดTสอดแทรกเขTามาเป-นเนื้อหาหลัก เนื้อหาใน
บทสนทนาเป-นตอนที่กฤษณะสั่งสอนอรชุนมิใหTลังเลในการทำสงคราม แมTว(าศัตรูจะเป-นญาติของตนก็ตามที บท
สนทนาอันสวยสดงดงามและมีความยาวพอสมควร รวมถึงมีฉากในการแสดงร(างอวตารของมหาเทพ การต(อสูTซ่ึง
ดำเนินไปเป-นเวลาสิบวัน มีเหตุใหTวาสุเทพกฤษณะ ไดTแสดงถึงอำนาจอีกครั้งโดยมีนักรบวีรชนคนกลTาของฝÄายต(าง
รบกันอย(างเอาเป-นเอาตาย จนมีเหตุใหTวาสุเทพกฤษณะ จนภีษมะว(าตนจะยุติการสูTรบวางอาวุธดTวยเหตุเดียวคือ
เม่ือเผชิญหนาT กบั ศขิ ณั ฑณิ แลTวเม่อื นนั้ จะวางอาวธุ (ท่มี า: อ.วีระธีรภทั รเล(ามหากาพย[มหาภารตะ. 2556)

พวกปาณฑพอาศัยคำแนะนำของภีษมะดังกล(าว ดำเนินการใหTศิขัณฑิณเผชิญหนTากับภีษมะ ภีษมะถูกลูก
ธนูของศิขัณฑิณไดTรับบาดเจ็บสาหัสจนรTองขอหลานของตนเหล(าปานฑพใหTทำการปลดปล(อยตนและลTมลงนอน
บนเตียงที่ทำจากลูกศรที่อรชุนยิงถล(มเขTาใส(ทั่วร(างกายนั่นเอง เรื่องราวมาจบลงตรงที่นักรบฝÄายปาณฑพและเกา
รพต(างไปชุมนุมเพื่อแสดงความเคารพต(อทTาวภีษมะที่นอนรอความตายอยู(บนเตียงลูกศรกลางสมรภูมิ เรื่องราวใน
ตอนต(อมา ในชื่อเรียกว(า โทรณตอน ซึ่งเป-นเรื่องราวการทำสงครามบนทุ(งกุรุเกษตรต(อไป และเนื่องจากโทรณา
จารย[ทำหนTาที่เป-นผูTบัญชาการรบฝÄายเการพแทนทTาวภีษมะ จึงเป-นตัวละครที่มีบทบาทมากที่สุดตามการเรียก
ขานชื่อนี้นั่นเองเรื่องราวดำเนินต(อไป เมื่อโทรณาจารย[รับช(วงต(อจากทTาวภีษมะเป-นผูTบัญชาการรบฝÄายเการพ ใน
การทำศึก และกำลังจะเกดิ การสราT งความโกรธแคนT ของทงั้ สองฝาÄ ยจนทำใหTเกดิ ความสญู เสยี ท่ไี มอ( าจจะเลี่ยงไดT

29

ตอนอวสานสงครามบนทุ(งกุรุเกษตร ถือเป-นตอนจบอย(างสมบูรณ[ ซึ่งเรื่องราวที่เหลือดำเนินไปถึงตอน
สุดทTายในกรุงทวารกาของ พระกฤษณะ ตามคำสาปของ พระนางคานธารี ก(อนจะยุติลงเป-นตอนอวสานเมื่อ พ่ี
นTองปาฑพ เดินทางสู(สวรรค[และตTองลTมตายระหว(างทางทีละคนจนเหลือ คนสุดทTายคือ ทTาวยุธิษฐิระ ความ
โกลาหลในโลกมนุษย[ จึงระงับลงไดTดTวยการอวตารลงมาปราบยุคของ พระกฤษณะ อันเป-นนารายณ[อวตารปางที่
8 ในที่สุด (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล(า. เรื่องย(อมหาภารตะ. 2562) (ที่มา: อ.วีระธีรภัทรเล(ามหากาพย[มหาภารตะ.
2556)

การแบXงกลXุมของปรัชญาอินเดยี จึงแบXงออกเปนQ กลุมX ใหญๆX ได# 2 กลมXุ คือ
1. กลุ(มอาสติกะ (Orthodox) คือ กลุ(มที่เชื่อถือคัมภีร[พระเวทและยอมรับความสำคัญของคัมภีร[

พระเวท กลุ(มอาสติกะยังแบ(งออกไปอีก 6 ระบบ คือ ปรัชญานยายะ ปรัชญาไวเศษิกะ ปรัชญาสางขยะ ปรัชญา
โยคะ ปรชั ญามีมางสา และ ปรัชญาเวทานตะ

2. กลุ(มนาสติกะ (Heterodox) คือ กลุ(มที่ไม(ยอมรับความสำคัญของคัมภีร[พระเวทและไม(เช่ือ
ถือในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร[พระเวท มี 3 ระบบ คือ ปรัชญาพุทธศาสนา ปรัชญาเชน และ ปรัชญาจารวาก
(พระมหามฆวินทร[ ปุริสุตฺตโม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย . ปรัชญาสากล : วิเคราะห[และวิจารณ[)
ปรัชญา 3 ระบบหลังนี้ปฏิเสธความสำคัญของพระเวทและแสดงท(าทีเป-นปฏิปYกษ[ต(อคัมภีร[พระเวท
โดยโจ(งแจTง เช(น นักปรัชญาจารวากกล(าวว(า “พระเวทมีเนื้อความคลุมเครือ ไม(แจTงชัด เต็มไปดTวยขTอความ
ที่หลอกลวง มีวิธีการชักจูงคนโง(เขลาใหTเชื่อตามอย(างงมงาย การกล(าวถึงความสุขในสวรรค[นั้นเป-นการ
กล(าวอย(างเลื่อนลอยและไรTสาระ” นักปราชญ[เชนก็เช(นกัน ไม(เชื่อถือในพระเวทและตำหนิอย(างรุนแรง พอๆ
กับพวกจารวาก ส(วนพุทธปรัชญานั้นแมTว(าจะไม(เชื่อถือและไม(ยอมรับความสำคัญของพระเวทก็ตาม แต(ก็ไม(ตำหนิ
เพียงแต(จะใหTผูTศรัทธานับถือใคร(ครวญดTวยปYญญาอันมีเหตุผลเท(านั้น (พระมหามฆวินทร[ ปุริสุตฺตโม.
มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั . ปรัชญาสากล : วิเคราะห[และวิจารณ[)

ศาสนาในอนิ เดีย

ศาสนาฮินดู
คัมภีร[พระเวทเป-นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเก(าแก(ที่เกิดขึ้นในแถบลุ(มแม(น้ำสินธุ มากกว(า 3,000 ป‹

พราหมณ[เป-นผูTแทนจากพระเจTา พระเจTาสมัยฮินดูเปลี่ยนจากการถือว(าพระพรหมเป-นเทพสูงสุด มานับถือ
นารายณ[เป-นเทพสูงสุดเรียกว(า ปรพรหม พระองค[ประสงค[จะสรTางโลกจึงแบ(งเป-นสามภาคเรียกว(าตรีเทพหรือตรี
มูรติถือพระพรหมใหTเป-นผูTสรTางโลก พระวิษณุใหTเป-นผูTบริหารโลก และพระศิวะใหTเป-นผูTทำลายโลก เป-นศาสนาที่
คนอินเดียนับถือมากที่สุด (ที่มา: สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โครงการ หอมรดกไทย. ประเทศเพื่อนบTาน
ของไทย. ประเทศอนิ เดยี )

30

ศาสนาพุทธ
ถือกำเนิดในอินเดีย มากว(า2,500 กว(าป‹ เป-นศาสนาที่มีพระพุทธเจTาเป-นศาสดา พระพุทธเจTา

คัมภีร[ คือ พระไตรป-ฎก ไดTทรงเริ่มออกเผยแผ(คำสอนในชมพูทวีป ตั้งแต(สมัยพุทธกาล แต(หลังปรินิพพานของ
พระพุทธเจTา ไดTถูกรวบรวมเป-นหมวดหมู(ดTวยการสังคายนาพระธรรมวินัย จนมีขึ้นเป-นพระไตรป-ฎก
พุทธปรัชญาเป-นปรัชญาที่คTนพบโดยพระพุทธเจTา เป-นปรัชญาที่หนักในความจริงที่เรียกว(า สัจนิยม (ที่มา:
พระไตรปฎ- ก เลม( ที่ 9 พระสุตตันตป-ฎก เลม( ท่ี 1 ทีฆนกิ าย สลี ขันธวรรค กฏู ทนั ตสูตร. พระไตรป-ฎกฉบบั สยามรัฐ)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนเกิดขึ้นในประเทศอินเดีย “เชน” มาจากภาษาสันสกฤตว(า ไชน แปลว(าผูT

ชนะ ศาสนาเชนมีศาสดามาแลTว 24 องค[ดTวยกัน ศาสดาองค[สุดทTายมีนามว(า มหาวีระ มีชีวิตอยู( ในยุคเดียวกับ
พระพุทธเจTาคำว(า คัมภีร[ที่สำคัญ คือ คัมภีร[อาคมะ หรือเรียกอีกอย(างหนึ่งว(า สิทธานตะ (ที่มา: บริษัท อมรินทร[พ
ร้ินติ้งแอนด[พบั ลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน). ศาสนาเชน: วิถแี หง( อหงิ สา)

ศาสนาซิกข?
ศาสนาซิกข[ หรือ ศาสนาสิข เป-นศาสนาใหม( ถือกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ. 2012

เกิดขึ้นระหว(างความขัดแยTงของศาสนาฮินดูกับศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข[เป-นศาสนาโดยคุรุศาสดาพระองค[แรก
คุรุนานัก และถูกนิยามว(าเป-นทั้งศาสนาเอกเทวนิยม และ พหุเทวนิยม ใหTถือพระคัมภีร[ คุรุกรันตสาหิบ (ที่มา:
เบญจภรณ[ ศรเี มอื ง. ศาสนาซิกข)[

ปรัชญาจีน

ศาสนาในจนี
ลัทธิเล(าจื๊อ -เตÀา เกิด 600 ป‹ก(อนค.ศ. เล(าจื้อเป-นปรมาจารย[ผูTใหTกำเนิดปรัชญาเตÀา มีชีวิตอยู(ในช(วงร(วม

สมัยกบั ขงจ้ือ เตÀาใชเT รียกแทนสิ่งสมบูรณ[อนั เป-นเอกภาพของจกั รวาล เลา( จ๊อื สอนใหมT ีเตาÀ เป-นอดุ มคติเป-นจุดหมาย
ปลายทางสูงสุด มีจุดมุ(งหมายใหTคนมุ(งเขTาทางธรรมหรือสัจธรรม สละทางโลก ไม(สนใจลาภยศ มุ(งหาความสงบ
ดำรงชีวิตอย(างเรียบง(าย กลมกลืนกับธรรมชาติ มีคติมีเมตตากรุณา (ที่มา: ปานทิพย[ ศุภนคร มหาวิทยาลัย
รามคำแหง. ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy). E-book)

เคร่ืองหมายหยิน – หยาง ของลทั ธิเลา( จอื๊ -เตาÀ
สญั ลักษณ[ประจำลัทธิเตาÀ อนั หมายถึง อำนาจที่มบี ทบาทต(อกนั ของจกั รวาลนกั ปราชญ[

สีดำ คือ หยิน หมายถึง ดวงจันทร[ เป-นตัวแทนของการเต็มใจ รับหรือยอมเป-นฝÄายถูกกระทำ เป-นพลัง
แหง( สตรเี พศ ความเยือกเยน็ การหยดุ นงิ่ การเคล่ือนลงตำ่ การเกบ็ รักษา การยับย้งั

สีขาว คือ หยาง หมายถึง ดวงอาทิตย[ อันเป-นสัญลักษณ[ของพลังแห(งบุรุษเพศ การเคลื่อนไหว ความ
กระตือรอื รTน การเคล่ือนข้นึ ไปดาT นบน การเจริญเตบิ โต เจรญิ ร(ุงเรอื ง ความรอT นแรง

31

สัญลักษณ[หยิน-หยาง จึงแทนความสมดุลของพลังในจักรวาล (ที่มา: พิพิธภัณฑสถานแห(งชาติ มหาวีร
วงศ[ นครราชสมี า. เคร่ืองหมายหยนิ – หยาง)

ลัทธิขงจื๊อ เกิด 551 ป‹ก(อนค.ศ. ขงจื้อเป-นนักปราชญ[ที่มีชื่อเสียงที่สุดในจีน เป-นปYจจัยที่มีอิทธิพลทาง
ความคิดมากที่สุดคงจะเป-นผูTใหTกำเนิดลักษณะเด(นของปรัชญาจีน คือ มันมนุษยนิยม ซึ่งหมายถึงการใหT
ความสำคัญแก(บุคคลและสังคมมากกว(าพระเจTาหรืออำนาจนอกเหนือธรรมชาติอื่นๆ (ที่มา: ปานทิพย[ ศุภนคร
มหาวิทยาลยั รามคำแหง. ปรชั ญาจีน (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิม(อจื๊อ เกิด 479-438 ป‹ก(อนค.ศ. ยึดความดีของกษัตริย[โบราณ คือเป-นผูTอุทิศตนเพื่อคนอื่นอย(างไม(
เห็นแก(ตัวไม(เห็นแก(ความเหน็ดเหนื่อย ตั้งใจที่จะมีชีวิตอยู(เพื่อช(วยเหลือผูTตกทุกข[ไดTยาก สนใจที่จะแต(งกายใหT
งดงามและสานุศิษย[แต(งกายดTวยเสื้อผTาหยาบ รองเทTาฟาง ทำงานหนักทั้งวันทั้งคืนโดยไม(หยุด (ที่มา: ปานทิพย[
ศภุ นคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรชั ญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิหยางจื้อ-เอี้ยงจื๊อ เกิด 440-366 ป‹ก(อนค.ศ. หยางจื้อ กล(าวว(า ความสุขของชีวิตนั้นคือ อาหารอัน
โอชะ เสื้อผTาอันสวยงาม ดนตรีที่ไพเราะ และสิ่งสวยงามเจริญตาเจริญใจทั้งปวง หยางจื้อสอนใหTแสวงหาความ
เกษมสำราญ ความอภิรมย[ของชีวิต เขาสอนใหTคำนึงถึงผลประโยชน[ของตัวเองในจุดสำคัญเพราะสัญชาตญาณ
ของสัตว[โลกย(อมมีความรักตัวเอง ซึ่งหยางจื้อขัดกับลัทธิม(อจื้อที่อุทิศตนทำเพื่อคนอื่น (ที่มา: ปานทิพย[ ศุภนคร
มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิเม(งจื๊อ เกิด 390-305 ป‹ก(อนค.ศ. เม(งจื๊อหนึ่งในกลุ(มผูTตีความของขงจื้อที่มีชีวิตอยู(ช(วงก(อนราชวงศ[
ฮั่น เพ่ิงจะรจTู ักกนั ดีวา( เป-นปราชญ[ผูยT ง่ิ ใหญค( นหนึ่ง ถือว(าเปน- ศิษยเ[ อกของขงจอื้ เพราะเปน- คนรวบรวมคำสอนของ
ขงจื้อ (ท่มี า: ปานทิพย[ ศภุ นคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิจังจื้อ - จวงจื้อ เกิด 369-286 ป‹ก(อนค.ศ. จังจื้อ เลื่อมใสในคำสอนของเล(าจื๊อมาก ไดTอุทิศตน
ประกาศคำสอนของเล(าจื๊อไปอย(างกวTางขวาง ปรัชญาของจังจื้อมุ(งสอนใหTคนดำเนินชีวิตที่สอดคลTองกับธรรมชาติ
กลมกลืนกับธรรมชาติ ดำรงชีวิตอยู(อย(างเรียบง(ายเป-นอิสระโลกและชีวิตเป-นสรรพสิ่งลTวนเกิดจากธรรมชาติ จังจื้
อปฏิเสธการสรTางโลกของพระเจTาเพราะทกุ อย(างเกิดขึน้ มาและเป-นไปตามกฎธรรมชาติ

ลัทธิซุนจื๊อ เกิด 298-238 ป‹ก(อนค.ศ. ซุนจื่อ มีชีวิตอยู(ในช(วงปลายราชวงศ[โจว หลังจากที่เม(งจื้อเสียชีวิต
จึงไดTเป-นขึ้นชื่อว(าผูTที่เด(นอีกคนหนึ่ง คำสอนของซุนจื้อ ค(อนขTางจะแตกต(างจากคำสอนของเม(งจื้ออยู(มาก เพราะ
ซุนจื้อเชื่อว(าธรรมชาติของมนุษย[มีความคิดที่แตกต(างจากของเม(งจื้อที่เชื่อถือว(ามนุษย[มีธรรมชาติที่ดีโดยธรรมชาติ
ส(วนซุนจื้อกลับมีความเชื่อว(ามนุษย[มีธรรมชาติที่ชั่วรTายโดยธรรมชาติ ซึ่งกล(าวว(าธรรมชาติของมนุษย[นั้นชั่วรTาย
ความดีของมนุษย[เป-นผลจากการกระทำ (ที่มา: ปานทิพย[ ศุภนคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจีน
(Chinese Philosophy). E-book)

ศาสนาพุทธในจีน พระพุทธศาสนาไดTเขTามาในประเทศจีน เมื่อประมาณ พ.ศ. 608 ในสมัยของ พระ
จักรพรรดิเม(งเตTแห(งราชวงค[ฮั่น ไดTจัดส(งคณะทูต 18 คน พระพุทธศาสนาจะเป-นที่เลื่อมใสแต(ก็ยังจำกัดอยู(ในวง

32

แคบ นักปราชญ[ไดTแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ใหTชาวเมืองไดTเห็นถึงพระพุทธศาสนาเหนือกว(าลัทธิเดิม
กับอาศัยความประพฤติอันบริสุทธิ์ของพระสงฆ[เป-นเครื่องจูงใจใหTชาวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใส จนทำใหTชาวเมืองหัน
มานับถือพระพุทธศาสนามากกว(าลัทธิศาสนาอื่นๆ พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ(งเรือง เริ่มเสื่อมลงเมื่อพระเจTาบู£จงข้ึน
ปกครองประเทศ เพราะพระเจTาบู£จงทรงเลื่อมใสในลัทธิเตÀา ปYจจุบันไดTมีการฟÈÉนฟูพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน
ข้ึนใหม( นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังใหTการสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห(งประเทศจีน และสภาการศึกษา
พระพุทธศาสนาแห(งประเทศจีนขึ้นในกรุงปYกกิ่งอีกดTวย เพื่อเป-นศูนย[กลางการติดต(อเผยแผ(พระพุทธศาสนากับ
ประเทศต(างๆ ทั่วโลก และชาวจีนส(วนใหญ(นับถือพระพุทธศาสนาคู(ไปกับลัทธิขงจ้ือ และเตÀา (ที่มา: กองคลัง
มหาวทิ ยาลยั หัวเฉียวเฉลมิ พระเกียรติ. พระพทุ ธศาสนาบนแผ(นดนิ จีน)

ปรัชญาการศึกษา

ในชว( งตTนของการสรTางกรงุ รัตนโกสินทร[ คือ ระหว(างป‹ พ.ศ.2325-2426ความมุง( หมายของการศกึ ษาใน
ขณะนั้นคอื การใหTสามารถ อ(าน-เขียนภาษาไทย และคดิ เลข สมัยรชั กาลท่ี 5 ประเทศไทยไดรT บั อิทธิพลจาก
แนวคิดการจัดการศึกษาของประเทศยุโรป พระองค[ทรงตงั้ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบขนึ้ สมัยรัชกาลท่ี 6
ประเทศไทยเร่ิมมแี ผนการศกึ ษาและเร่ิมมีการนำปรัชญาและทฤษฏีการศึกษาจากประเทศยโุ รปมาดดั แปลงใชใT น
โรงเรียนฝก¡ หดั ครู

การแบงX ยุคของการศึกษาไทย
การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาตั้งแต(สมัยโบราณเรื่อยมาจนถึงปYจจุบัน ดTวยความเชื่อที่ว(า
การศึกษาช(วยกำหนดทิศทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยใหTมีความพรTอมที่จะเป-นกำลังสำคัญสำหรับการพัฒนา
ประเทศใหTเจริญกาT วหนาT การศึกษาไทยแบง( ออกเป-น 3 ยุค ดังนี้ (การศึกษาในสังคมไทย, 2554 : ออนไลน[)
1. การศกึ ษาไทยสมัยโบราณ (พ.ศ.1780 – 2411)

1.1 การศกึ ษาไทยสมยั กรงุ สุโขทัย (พ.ศ.1781 – 1921)
1.2 การศกึ ษาไทยสมยั กรุงศรอี ยุธยา (พ.ศ.1893 – 2310)
1.3 การศึกษาไทยสมยั กรงุ ธนบุรีและกรุงรัตนโกสนิ ทรต[ อนตTน (พ.ศ.2311 – 2411)
2. การศกึ ษาไทยสมยั ปฏริ ปู การศกึ ษา (พ.ศ.2412 - พ.ศ.2474)
3. การศึกษาไทยสมยั การปกครองระบอบรฐั ธรรมนญู ถึงปYจจบุ นั (พ.ศ.2475 – 2554)
การศึกษาในรูปแบบโรงเรียนของไทยนั้น เพิ่งจะเกิดขึ้นอย(างเป-นทางการในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลTาเจTาอยู(หัวฯ เป-นตTนมา การศึกษาของก(อนหนTานั้นจะเป-นอย(างไรหลักฐานที่แน(นอนถูกตTองตาม
ความในเรื่องนี้มีอยู(ไม(มากนัก และที่มีอยู(ก็เป-นแค(การสันนิษฐานเอาเอง โดยอาศัยหลักฐานแวดลTอมจาก
พงศาวดารหลายฉบับ แต(ก็พอจะทราบว(าการจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาโดยตลอด อาจจะเป-นเพราะ
มีปYจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทำใหTสังคมมีการเปลี่ยนแปลง กล(าวคือปYจจัยภายในเกิดจากความตTองการ
พัฒนาสงั คมใหTมีความเจรญิ และทนั สมยั สว( นปจY จยั ภายนอกเกิดจากกระแสความเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก

33

ท้ังดTานเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต(อสื่อสารกันทำใหTไทยตTองปรับตัวเพื่อความอยู(รอดและพัฒนา
ประเทศใหTทัดเทียมกับนานาประเทศ การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเรื่อยมา ซึ่งเป-นปYจจัยที่ช(วยเสริม
ความเจริญกาT วหนาT ทง้ั ทางดTานสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองของชาติ

ปรชั ญาการศกึ ษา ตามแนวพุทธธรรมโดยพระธรรมปฎ• ก

จากพระธรรมป-ฎกตั้งแต(ครั้งยังดำรงสมณศักดิ์เป-นพระราชวรมุนี ไดTอธิบายว(า ชีวิตเกิดจาการรวมตัวของ
องค[ประกอบต(าง ๆ จำนวนมากจึงไดTจัดเป-น 2 ประเภท คือ องค[ประกอบทางร(างกายและจิตใจ ซึ่ง ทุกส(วนจะมี
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไปตามสัมพันธ[แห(งเหตุปYจจัยต(าง ๆ “การศึกษามีวัตถุประสงค[เพื่อทำใหTชีวิตเขTาถึง
อิสรภาพคือ ทำใหTชีวิตหลุดพTนจากอำนาจครอบงำของปYจจัยแวดลTอมภายนอกใหTมากที่สุด และมีความเป-นใหญ(
ในตวั ในการทกี่ ำหนดความเป-นอยขู( องตนใหมT ากท่สี ุด

การมีความรูT ความเขTาใจในสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความจริง เพื่อประโยชน[ในการปรับตัวและ
สิ่งแวดลTอมอย(างถูกตTองและการแกTปYญหาอย(างถูกตTอง การทำลายอวิชชา เป-นภาวะแห(งความไม(รูTหรือหลงผิด
และการทำลายตัณหา

การปรับตัวเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการดำรงอยู( การพัฒนาทางองค[ประกอบทางดTานร(างกายใหTมี
สุขภาพดี แข็งแรง และการพัฒนาองค[ประกอบทางดTานจิตใจใหTมีสติปYญญา และคุณธรรมมากขึ้นการรูTจักและ
เขTาใจ ถึงความเกี่ยวขTองสัมพันธ[กันของตนกับสิ่งแวดลTอมและการรูTจักปรับสิ่งแวดลTอมเป-นประโยชน[แก(ตน โดย
การรจูT ักเอาประโยชน[จากส่งิ แวดลอT มแตพ( อสมควรเท(าที่มีอย(ู

ปรชั ญาการศึกษาไทยตามแนวพระราชดำรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา# อยูXหัวภูมิพลอดุลยเดช
ประเทศไทยเช(นเดียวกับประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกที่ตTองเผชิญกับภาวะวิกฤตดTานต(าง ๆที่เปลี่ยนแปลงทาง
สงั คม เศรษฐกจิ การเมือง และสงิ่ แวดลอT ม

ความหมายของการศึกษา
จากกระแสพระราชดำรัสและพระราชกรณียกิจต(าง ๆ การศึกษาเป-นเสมือนเครื่องมือในการพัฒนา
มนษุ ย[ทกุ ดTาน ทง้ั ดTานร(างกาย จติ ใจ และสติปญY ญา เพ่อื ช(วยใหTเป-นพลเมอื งดีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ

จดุ มXุงหมายของการศึกษา
การศึกษาตTองมุ(งพัฒนาและเพิ่มพูนองค[ความรูTใหม( พัฒนาศักยภาพของผูTเรียน มุ(งสรTางปYญญา และ
คณุ ธรรมของชีวิตเพือ่ ชว( ยใหผT ูTเรยี นสามารถดำรงชีวติ เพ่ือตนเอง พึง่ พาตนเองไดT
แนวทางการจัดการศกึ ษา
เพื่อใหTบรรลุจุดมุ(งหมายของการศึกษา การจัดการศึกษาดTานวิชาการโดยการต(อยอดความรูTควบคู(ไปกับ
การฝ¡กฝน ขัดเกลาทางความคิดความประพฤติและคุณธรรมโดยใหTมีความเขTาใจในหลักเหตุผล มีความซ่ือสัตย[
สจุ รติ รูTจักรับผิดชอบและตดั สนิ ใจในทางทีถ่ กู ตTอง

34

หลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู(บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม(
ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรTางภูมิคุTมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใชTความรูTความ
รอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทำ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีหลกั พจิ ารณาอยูX 5 สวX น ดังน้ี

• กรอบแนวคิด เป-นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู(และปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป-น โดย มีพื้นฐานมา
จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยุกต[ใชTไดTตลอดเวลา และเป-นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู(ตลอดเวลา มุ(งเนTนการรอดพTนจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ
พฒั นา

• คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต[ใชTกับการปฏิบัติตนไดTในทุกระดับ โดยเนTนการ
ปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอย(างเปน- ขั้นตอน
คำนยิ าม ความพอเพียงจะตอT งประกอบดวT ย 3 คณุ ลักษณะ พรอT ม ๆ กนั ดงั น้ี

• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม(นTอยเกินไปและไม(มากเกินไปโดยไม(เบียดเบียนตนเองและผูTอ่ืน
เชน( การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ย(ใู นระดับพอประมาณ

• ความมีเหตุผล หมาย ถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะตTองเป-นไปอย(างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปYจจัยที่เกี่ยวขTองตลอดจนคำนึง ถึงผลท่ีคาดว(าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย(าง
รอบคอบ

• การมีภูมิคุTมกันที่ดีในตัว หมาย ถึง การเตรียมตัวใหTพรTอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดTานต(าง ๆ ที่
จะเกดิ ข้ึนโดยคำนงึ ถงึ ความเปน- ไปไดTของสถานการณ[ ต(าง ๆ ที่คาดว(าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทง้ั ใกลแT ละไกล

• เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต(าง ๆ ใหTอยู(ในระดับพอเพียงนั้น ตTองอาศัยทั้งความรูT และ
คณุ ธรรมเปน- พนื้ ฐาน กล(าวคือ

• เงอ่ื นไขความรูT ประกอบ ดTวย ความรอบรเTู กีย่ วกบั วิชาการต(าง ๆ ท่เี ก่ียวขอT งอย(างรอบดาT น ความรอบคอบ
ท่ีจะนำความรูTเหลา( นน้ั มาพจิ ารณาใหTเชือ่ มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

• เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตTองเสริมสรTางประกอบดTวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย[สุจริตและมี
ความอดทน มีความเพยี ร ใชTสตปิ Yญญาในการดำเนินชวี ิต

• แนวทางปฏบิ ตั /ิ ผลทค3ี าดว่าจะไดร้ บั จาก การนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกต์ใช้ คอื
การพฒั นาทส3ี มดุลและยงั3 ยนื พรอ้ มรบั ต่อการเปลย3ี นแปลงในทุกดา้ น ทงัO ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สง3ิ แวดลอ้ ม
ความรแู้ ละเทคโนโลยี

35

“ ถTาไม(มี เศรษฐกจิ พอเพียง เวลาไฟดับ …
จะพังหมด จะทำอย(างไร. ทีท่ ต่ี TองใชไT ฟฟาž กต็ Tองแย(ไป.

… หากมี เศรษฐกิจพอเพยี ง แบบไมเ( ต็มท่ี
ถาT เรามีเครอื่ งปYนÆ ไฟ กใ็ หปT YนÆ ไฟ

หรอื ถTาขัน้ โบราณกวา( มืดกจ็ ดุ เทียน
คือมที างที่จะแกปT Yญหาเสมอ.

… ฉะน้นั เศรษฐกิจพอเพียง นี้ กม็ เี ป-นขนั้ ๆ
แตจ( ะบอกว(า เศรษฐกิจพอเพยี ง น้ี

ใหพT อเพยี งเฉพาะตวั เองรTอยเปอรเ[ ซน็ ต[ น่ีเป-นสงิ่ ที่ทำไมไ( ด.T
จะตTองมีการแลกเปลี่ยน ตTองมกี ารชว( ยกัน.

…… พอเพียงในทฤษฎีหลวงน้ี คือใหTสามารถทจ่ี ะดำเนนิ งานได.T “
พระราชดำรัสเนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา 23 ธันวาคม 2542

การขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี งดา` นการศกึ ษา

ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษานั้น จะตTองมุ(งพัฒนาที่ตัวครูก(อนเป-น
อันดับแรก เพราะครูถือว(าเป-นทรัพยากรที่สำคัญในการถ(ายทอดความรูT และปลูกฝYงสิ่งต(างๆ ใหTแก(เด็ก ดังนั้นจึง
ควรส(งเสริมครูใหTมีความรูT ความเขTาใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย(างถ(องแทTก(อน เพราะเมื่อครูเขTาใจ ครูก็
จะไดTเป-นแบบอย(างทีดีใหTแก(เด็กไดT ครูจะสอนใหTเด็กรูTจักพอ ครูจะตTองรูTจักพอก(อน โดยอยู(อย(างพอเพียงและ
เรียนรูTไปพรTอมๆ กับเด็ก โดยเฉพาะอย(างยิ่ง ตTองมีสติในการเลือกรับขTอมูลต(างๆ ที่เขTามา รูTจักเลือกรับและรูTจัก
ต(อยอดองค[ความรูTที่มีอยู( หมั่นศึกษา เพิ่มพูนความรูT อย(างเป-นขั้นเป-นตอน ไม(กTาวกระโดด ในการเลือกรับขTอมูล
นั้น ตTองรูTจักพิจารณารับอย(างเป-นขั้นเป-นตอน รูTจักแกTไขปYญหาอย(างเป-นขั้นเป-นตอน ประเมินความรูTและ
สถานการณ[อยู(ตลอดเวลา จะไดTรูTจัก และเตรียมพรTอมที่จะรับมือกับสภาพ และผลจากการเปลี่ยนแปลงในมติ
ตา( งๆไดอT ยา( งรอบคอบและระมดั ระวัง

เปžาหมายสำคัญของการขับเคลื่อน คือ การทำใหTเด็กรูTจักความพอเพียง ปลูกฝYง อบรม บ(มเพาะใหTเด็กมี
ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลTอม และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ใหTเขTาเป-นส(วนหนึ่งของหลักสูตร สาระเรียนรูTต(างๆเพื่อสอนใหTเด็กรูTจักการใชTชีวิตไดTอย(างสมดุล ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค(าของทรัพยากรต(างๆ รูTจักอยู(ร(วมกับผูTอื่น รูTจักเอื้อเฟÈÉอเผื่อแผ(และแบ(งปYน มีจิตสำนึก
รักษ[สิ่งแวดลTอม และเห็นคุณค(าของวัฒนธรรมค(านิยม ความเป-นไทย ท(ามกลางการเปลี่ยนแปลงต(างๆ รูTว(าตนเอง
เป-นองค[ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดลTอมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย(อมมีผลและเชื่อมโยงกับ
สภาพแวดลTอมในโลกที่ตนเองเป-นสมาชิกอยู(ดTวย ซึ่งการจะบรรลุเปžาหมายดังกล(าวขTางตTน สำคัญคือครูจะตTอง
รูTจักบูรณาการการเรียนการสอนใหTเด็กและเยาวชนเห็นถึงความเชื่อมโยงในมิติต(างๆ ทั้งดTานสิ่งแวดลTอม

36

วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ ซึ่งความเป-นองค[รวมนี้จะเกิดขึ้นไดT ครูตTองโดยใชTความรูTและคุณธรรมเป-นปYจจัย
ในการขับเคลือ่ น

นอกจากนี้ ในการส(งเสริมใหTนำหลักปรัชญาฯไปใชTในสถานศึกษาต(างๆ นั้น อาจจะใชTวิธี “เขTาใจ เขTาถึง
และพัฒนา” ตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจTาอยู(หัวว(า สำคัญที่สุดครูตTองเขTาใจเรื่องปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงก(อน โดยเขTาใจว(าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป-นแนวคิดที่สามารถเริ่ม ตTน และ
ปลูกฝYงไดTผ(านการทำกิจกรรมต(างๆ ในโรงเรียน เช(น กิจกรรมการรักษาสิ่งแวดลTอมในโรงเรียนการกำจัดขยะใน
โรงเรยี นการสำรวจทรพั ยากรของชมุ ชนฯลฯ

ก(อนอื่น ครูตTองเขTาใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทำตัวเป-นแบบอย(างที่ดี โดยกลับมาพิจารณาและวิเคราะห[ดู
ว(า ในตัวครูนั้นมีความไม(พอเพียงในดTานใดบTาง เพราะการวิเคราะห[ปYญหาจะทำใหTรูTและเขTาใจปYญหา ที่เกิดจาก
ความไม(พอเพียง รวมทั้งควรใหTเด็กมีส(วนร(วมในการวิเคราะห[ปYญหาดTวย โดยการวิเคราะห[นี้ตTองดำเนินไปบน
พื้นฐานของความรูTและคุณธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมนั้น เป-นสิ่งที่ควรปลูกฝYงใหTเกิดขึ้นในใจเด็กใหTไดTก(อน ผ(าน
กิจกรรมที่ครูเป-นผูTคิดขึ้นมา โดยครูในแต(ละโรงเรียนจะตTองมานั่งพิจารณาก(อนว(า จะเริ่มตTนปลูกฝYง แนวคิด
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากจุดไหน ทกุ คนควรมารว( มกันคิดรว( มกนั ทำ สามคั คกี นั ในกระบวนการหารือ

หลังจากที่ครูไดTคTนหากิจกรรมที่จะปลูกฝYงแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแลTว ครูควรจะตTองต้ัง
เปžาหมายการสอนก(อนว(าครูจะสอนเด็กใหTรูTจักพัฒนาตนเองไดTอย(างไรโดยอาจเริ่มตTนสอนจากกิจกรรม
เล็กๆนTอยๆ ที่สามารถเริ่มตTนจากตัวเด็กแต(ละคนใหTไดTก(อน เช(น การเก็บขยะ การประหยัดพลังงาน ฯลฯ เพื่อใหT
เดก็ ไดTเรียนรูTถึงความเชื่อมโยงระหวา( งปจY จยั ที่ตนเองมีต(อสง่ิ แวดลอT มภายนอกในดาT นต(างๆ 4 มติ ิ

ในส(วนของการเขTาถึงนั้น เมื่อครูเขTาใจแลTว ครูตTองคิดหาวิธีที่จะเขTาถึงเด็ก พิจารณาดูก(อนว(าจะสอดแทรก
กิจกรรมการเรียนรูTเศรษฐกิจพอเพียง เขTาไปในวิธีคิดและในวิชาการต(างๆ ไดTอย(างไร ทั้งนี้ อาจจัดกิจกรรมกลุ(มใหT
นักเรียนไดTร(วมกันคิด ร(วมกันทำ รูTจักแบ(งหนTาที่กันตามความสามารถของเด็กในแต(ละช(วงชั้น เช(น ในกิจกรรม
การเก็บขยะเพื่อรักษาความสะอาดของโรงเรียนนั้น ครูอาจจัดกิจกรรมสำหรับเด็กในแต(ละช(วงชั้น คือ ช(วงชั้นที่ 1
สรTางกิจกรรมที่สนับสนุนใหTเด็กช(วยกันเก็บขยะ (ใหTเด็กรูTหนTาที่ของตน ในระดับบุคคล)/ ช(วงชั้นที่ 2 สรTาง
กิจกรรมที่สนับสนุนใหTเด็กช(วยกันเก็บขยะและนับขยะ (ใหTรูTจักการวิเคราะห[และรูTถึงความเชื่อมโยงของตนเองกับ
สมาชิกคนอื่นๆ ในโรงเรียน) / ช(วงชั้นที่ 3 สรTางกิจกรรมที่สอนใหTเด็กรูTจักเชื่อมโยงกับชุมชนภายนอกรอบๆ
โรงเรียน เช(น สรTางกิจกรรมที่สอนใหTเด็กรูTจักแบ(งแยกขยะ ร(วมมือกับชุมชนในการรักษาสิ่งแวดลTอมในพื้นที่ที่
โรงเรยี นและชมุ ชนของเขาตงั้ อย(ดู วT ย

กิจกรรมทั้งหมดนี้สำคัญคือ ตTองเนTนกระบวนการมีส(วนร(วมของทุกฝÄาย โดยสถานศึกษาควรตั้งเปžาใหTเกิด
การจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรกเขTาไปในกระบวนการเรียนรูT สอนใหTเด็กพึ่งตนเอง
ใหTไดกT (อนจนสามารถเป-นทพี่ ่งึ ของคนอื่นๆในสงั คมไดตT อ( ไป

37

การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง

การจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดำเนินการไดTใน 2 ส(วน ส(วนที่เกี่ยวขTองกับ
การบริหารสถานศึกษา และส(วนที่เป-นการจัดการเรียนรูTของผูTเรียน ซึ่งส(วนที่ 2 นี้ ประกอบดTวย การสอดแทรก
สาระเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรและสาระเรียนรูTในหTองเรียนและประยุกต[หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพฒั นาผเูT รยี น

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดTานการศึกษาในระยะแรก ไดTเริ่มจากการไปคTนหากิจกรรมพัฒนาผูTเรียนท่ี
มีคุณลักษณะ และการจัดการที่สอดคลTองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือพอประมาณกับศักยภาพของนักเรียน
พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง เช(น เด็กช(วงชั้นที่ 2 ทำสหกรณ[ไดT เด็กช(วงชั้นที่ 4 ดูแล
สิ่งแวดลTอม มีการส(งเสริมใหTใชTความรูTอย(างรอบคอบระมัดระวัง ฝ¡กใหTเด็กคิดเป-นทำเป-นอย(างมีเหตุผล และมี
ภูมิคุTมกันส(งเสริมใหTเด็กทำงานร(วมกับผูTอื่น มีความซื่อสัตย[ สุจริต รับผิดชอบ ไม(เอารัดเอาเปรียบผูTอื่น มีวินัย มี
สัมมาคารวะ ปลูกฝYงจิตสำนึกรักษ[สิ่งแวดลTอม สืบสานวัฒนธรรมไทย กล(าวคือ สอนใหTผูTเรียน ยึดมั่นในหลัก
ศีลธรรม พัฒนาคนใหTเขารูTจักทำประโยชน[ใหTกับสังคมและช(วยดูแลรักษาสิ่งแวดลTอม และตัวกิจกรรมเองก็ตTอง
ยง่ั ยืน โดยมภี ูมคิ มTุ กนั ในดTานต(างๆ ถงึ จะเปลย่ี นผTอู ำนวยการแตก( จิ กรรมกย็ ังดำเนินอยูอ( ย(างนเี้ รียกว(ามภี มู คิ ุTมกนั

การคTนหาตัวอย(างกิจกรรมพัฒนาผูTเรียน ก็เพื่อใหTมีตัวอย(างรูปธรรม ในการสรTางความเขTาใจภายในวง
การศึกษาว(าหลักเศรษฐกิจพอเพียงหมายความว(าอย(างไร และสามารถนำไปใชTในกิจกรรมพัฒนาผูTเรียนไดTอย(างไร
บTาง หลังจากนั้น ก็ส(งเสริมใหTบูรณาการการเรียนรูTผ(านกิจกรรมเหล(านี้ เขTาไปในการเรียนรูTสาระต(างๆ บูรณาการ
เขTากับทุกสาระเรียนรูT เช(น วิทยาศาสตร[ เพื่อทำใหTเกิดสมดุลทางสิ่งแวดลTอม บูรณาการเขTากับวิชาคณิตศาสตร[
ในการสอนการคำนวณที่มีความหมายในการดำรงชีวิตอย(างพอเพียง หรือบูรณาการเขTากับสาระภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ สุขศกึ ษา พลศึกษา การงานอาชพี เทคโนโลยีต(างๆ ไดTหมด นอก เหนอื
จากการสอนในสาระหลกั คอื ในกลมุ( สาระสังคมศึกษาศาสนาวัฒนธรรมเท(านั้น

สำหรับมาตรฐานการเรียนรูT มีวัตถุประสงค[ใหTทุกช(วงชั้นเขTาใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
ประยุกต[ใชTไดT แต(ถTามาตรฐานเรียนรูTของทุกช(วงชั้นเหมือนกันหมดก็จะมีปYญหาทางปฏิบัติ จึงตTองกำหนดขอบเขต
ทชี่ ดั เจนในการเรียนการสอนของแตล( ะช(วงช้นั และแตล( ะช้ันปด‹ ังนี้

ช(วงชั้นที่ 1 เนTนใหTเด็กพึ่งตนเองไดT หรือใชTชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว เช(น ประถม 1
ช(วยเหลือคุณพ(อคุณแม(ลTางจานชาม เก็บขยะไปทิ้ง กวาดบTาน จัดหนังสือไปเรียนเอง แบ(งปYนสิ่งของใหTเพื่อน กิน
อาหารใหTหมดจาน ประถม 2 วิเคราะห[รายจ(ายของครอบครัว จะมีเป-นตารางกรอกค(าใชTจ(ายต(างๆ ของ
ครอบครัว คุณแม(ซื้ออะไรบTาง คุณพ(อซื้ออะไรบTาง เด็กจะไดTรูTพ(อแม(หาเงินมายากแค(ไหน เช(น ยาสีฟYนหลอดละ
46 บาท จะตTองไม(เอามาบีบเล(น จะตTองสอนใหTเด็กเห็นคุณค(าของสิ่งของ ใหTเด็กตระหนักถึงคุณค(าของเงินทอง
จะไดTฝ¡กนิสัยประหยัด ครอบครัวมีรายไดTและรายจ(ายเท(าไร เด็กจะไดTฝ¡กจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง มหี ลาย
โรงเรยี นทําแลว้ ประถม 3 สอนใหร้ ูจ้ กั ช่วยเหลอื ครอบครวั อย่างพอเพยี งและรูจ้ กั แบ่งปันช่วยเหลอื ผอู้ 3นื มี
สว่ นรว่ มสรา้ งครอบครวั พอเพยี ง

38
ช่วงชนัO ท3ี 2 ฝึกใหเ้ ดก็ รจู้ กั ประยุกต์ใชห้ ลกั ความพอเพยี งในโรงเรยี น สามารถวเิ คราะหว์ างแผนและ
จดั ทําบนั ทกึ รายรบั -รายจ่ายของตนเองและครอบครวั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มสี ่วนร่วมในการสรา้ งความ
พอเพยี งระดบั โรงเรยี น และชุมชนใกลต้ วั โดยเรมิ3 จากการสาํ รวจทรพั ยากรต่างๆ ในโรงเรยี นและชุมชน มี
ส่วนร่วมในการดูแลบํารุงรกั ษาทรพั ยากรต่างๆ ทงัO ด้านวตั ถุ สง3ิ แวดล้อม ภูมปิ ัญญา วฒั นธรรม และ
รวบรวมองคค์ วามรตู้ ่างๆ มาเป็นขอ้ มลู ในการเรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ ของชุมชนและเหน็ คุณค่าของการใชช้ วี ติ อยา่ ง
พอเพยี ง
ช่วงชนัO ท3ี 3 ประยุกต์ใช้หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ชุมชน มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ของชุมชน
สามารถสาํ รวจและวเิ คราะหค์ วามพอเพยี งในระดบั ต่างๆ และในมติ ติ ่างๆ ทงัO ทางวตั ถุ สงั คม สง3ิ แวดลอ้ ม
และวฒั นธรรมในชุมชนใกล้ตวั เหน็ คุณค่าของการใชห้ ลกั พอเพยี งในการจดั การชุมชน และในท3สี ุดแล้ว
สามารถนําหลกั การพอเพยี งมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวนั ของแต่ละคน จนนําไปสู่การปรบั เปล3ียน
พฤตกิ รรมสคู่ วามพอเพยี งไดใ้ นทส3ี ดุ
ช่วงชนัO ท3ี 4 เตรยี มคนใหเ้ ป็นคนทด3ี ตี ่อประเทศชาตสิ ามารถทาํ ประโยชน์ใหก้ บั สงั คมได้ ตอ้ งเรมิ3 เขา้
ใจความพอเพียงระดบั ประเทศ และการพฒั นาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ เช่น การวิเคราะห์
สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ หรอื การศกึ ษาสถานการณ์สงิ3 แวดล้อมสภาพปัญหาด้านสงั คมเป็น
อยา่ งไรแตกแยกหรอื สามคั คเี ป็นตน้
ขณะนOีคณะทาํ งานขบั เคลอ3ื นดา้ นการศกึ ษาและเยาวชน ทาํ งานรว่ มกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และอกี
หลายหน่วยงาน วสิ ยั ทศั น์ของการขบั เคล3อื น คอื สานเครอื ข่าย ขยายความรู้ ควบคู่ประชาสมั พนั ธ์ เพ3อื
ส่งเสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั ปรชั ญาฯ และใหบ้ ุคลากรดา้ นการศกึ ษา สามารถนําหลกั คดิ หลกั ปฏบิ ตั ิ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง มาบรู ณาการสกู่ ารเรยี นการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรขู้ องทุกระดบั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
ชดั เจน และเป็นรปู ธรรม ตลอดจนผบู้ รหิ ารสามารถนําหลกั ปรชั ญาฯ ไปใชใ้ นการบรหิ ารสถานศกึ ษาเพอ3ื ให้
เกดิ ประโยชน์และความสขุ

39

ปรชั ญาตะวนั ตก

ประยรู ธมมุ จิตุโต (ม.ป.) ไดTศึกษาหลักการทางปรชั ญาตะวันตกพบวา( แบง( ออกเปน- 5 ยคุ ไดแT ก(
1.ยุคดึกดำบรรพ? (Primitive Paradigm) ถือว(ามนุษย[คนแรกก็เริ่มคิดไดTเมื่อ 2-3 ลTานป‹ที่แลTว และสืบ

ตอ( ความคิดมาอย(างตอ( เน่อื ง ความกลวั ภัยธรรมชาตทิ ำใหคT ิดหาคำตอบวา( ภัยธรรมชาตมิ าจากไหน
- มนุษย[คิดว(าความน(ากลัวของภัยธรรมชาติเกิดจากอำนาจลึกลับของสิ่งศักดิ์สิทธิ์เบื้องบนดังน้ัน

เพื่อความอยู(รอด มนุษย[จึงไดTพยายามเอาใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เบื้องบนดTวยการแสดงความเคารพสักการะเยื้องบนโดย
หวังว(าสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะคุTมครองพวกเขาใหTปลอดภัยจากภัยธรรมชาติท้ังปวง พยายามเอาใจเบื้องบนใหTท(านพึง
พอใจมากทสี่ ดุ ท(านจะไดTเมตตาตน ไมใ( หเT กิดภัยธรรมชาติแก(ตน

- จึงไดTคตแิ ห(งยคุ ว(า “ทุกอยา( งอยูท( ่นี ำ้ พระทยั ของเบ้ืองบน”
- โลกตามยุคน้ีไดTชื่อวา( กลีภพ (Chaos)
2.ยุคโบราณ (Ancient Paradigm) มองทุกอย(างว(ามาจากกฏเกณฑ[ตายตัว ซึ่งอาจเป-นกฎไสยศาสตร[
ตำนานปรมั ปรา หรอื ระบบเครอื ขา( ยของเจาT สำนัก แบ(งเปน- 3 ยุค ไดTแก( ยุคเรม่ิ ตนT ยุครุ(งเรืองและยคุ เส่อื ม
- มนุษย[ในยุค 1,000 ป‹ก(อนคริสตศักราช ไม(พอใจกับความรูTเท(าที่รูT เริ่มมีปYญหาว(าเราจะอธิบาย
เหตุการณ[ทั้งหลายในธรรมชาติโดยไม(ตTองอTางเบื้องบนจะไดTไหม คำตอบ คือ ไดTพวกเขารับรูTว(าโลกมีกฎระเบียบ
ซึ่งปYญญาเขTาถึงไดTจากการสังเกต และเก็บรวบรวมขTอมูล จนสามารถสรุปไดTว(า ภัยธรรมชาติมักเกิดขึ้นซ้ำไปซ้ำมา
เป-นวงจรของธรรมชาติ คอื มกี ฎ (Law of Nature) ท่ตี ายตัวไม(เขTาใครออกใคร
- ความรูTไดTถูกรวบรวมเพื่อสรุปเป-นระเบียบแบบแผนไวT และกำหนดกฎเกณฑ[ต(างๆ โดยมี
เปžาประสงค[ในการที่มนุษย[จะไดTมีความสุขในโลกนี้ โดยรูTและทำตามกฎธรรมชาติ จึงไดTคติแห(งยุคว(า “Ipse
dixit” “ดังท(านวา( ไวT”
- โลกในยคุ นไ้ี ดชT ่ือวา( เอกภพ (Cosmos)
3.ยุคกลาง (Medieval Paradigm) มนุษย[เริ่มพบว(าแมTจะรูTกฎธรรมชาติและปฏิบัติตามแลTวก็ยังคงมี
ความทุกขจ[ งึ พยายามหาความสุขอยา( งมีหวงั
- ศาสนาไดTเขTามามีบทบาทหลัก เกิดความเชื่อที่ว(าทุกอย(างที่กระทำในโลกนี้ก็เพื่อส(งผลดีในโลก
หนTา เกดิ ความศรทั ธาตอ( ศาสนาและปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ[คำสอนของศาสนาอย(างเคร(งครดั
- มนุษยจ[ ึงสละโลก บำเพญ็ พรต ศึกาคัมภีร[
- ตTองอดทนและหมนั่ กระทำความดี หลีกเลี่ยงความชั่ว เพราะจะมีความสุขในโลกหนTาที่รออย(ู
- จึงมีคตแิ ห(งยคุ ว(า “ความดีบัญญัติไวTตามคัมภีร[”
4.ยุคใหมX (Modern Paradigm) เริ่มเมื่อคริศต[ศตวรรษที่ 16 จากการคTนพบวิธีการทางวิทยาศาสตร[
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร[ กระบวนการทางวิทยาศาสตรจ[ ะทำใหรT กTู ฏเกณฑ[ท้งั หมดของโลก
- วิทยาศาสตร[จะแกTปYญหาทุกอย(างของมนุษย[ไดT และโลกนี้จะน(าอยู(ดุจสวรรค[โดยไม(ตTองรอโลก
หนTา
- ความกาT วหนาT ทางวิทยาศาสตรแ[ ละเทคโนโลยีจะทำใหคT ณุ ภาพชีวติ มนุษย[ดขี ้นึ
- ศาสนาเปน- เพียงส่ิงมอบเมาประชาชน

40

- คตแิ ห(งยคุ วา( “ทกุ อย(างเป-นไปตามกระบวนการวทิ ยาศาสตร[”
- ยุคใหม(เชื่อมั่นว(ามนุษย[สามารถเขTาใจกฎและระบบเครือข(ายไดTตามความเป-นจริงและสามารถ
สราT งภาษาอุดมการณ[เพอ่ื ส่อื ความรูTไดTตรงตามความเขTาใจ
5.หลังยุคใหมX-ป:จจุบัน (Postmodern Paradigm) เริ่มเมื่อปรัชญาของคานท[ (Immanuel Kant,
1724-1804) ไดTเสนอว(ามนุษยม[ รคูT วามจริงกจ็ ากกระบวนการของสมอง ดังนน้ั มนุษยจ[ งึ ไมร( คTู วามเป-นจรงิ
- วทิ ยาศาสตร[พฒั นาโลก แตก( ็ทำลายลTางโลกดTวยสงครามโลกครั้งท่ี 2 ครั้ง
- วิทยาศาสตร[คนT พบกฎของความไม(แน(นอน แลTวจะมีสิง่ ใดท่แี น(นอน
- เพราะมนุษย[ยึดมั่นถือมั่น ทำใหTจับกลุ(มคนที่คิดเหมือนกัน และแยกกลุ(มกับคนที่คิดไม(
เหมอื นกันเกดิ การแขง( ขนั ใหTมีพวกมากเขาT ไวTเพ่ือม่นั คง ปลอดภัย จนกลายเปน- ความขัดแยงT
- โลกตอT งม(ุงสราT งสันตภิ าพและการเนTนศกั ดศ์ิ รีความเปน- มนษุ ย[
- ตTองลดความยึดม่ันถือมนั่ ผ(านการวิเคราะห[ วิพากษแ[ ละการตีความใหม(
- คติยุคปจY จุบัน คือ จงรอ้ื ถอนความหมาย
- คตยิ คุ ปจY จุบนั สายกลาง คอื การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพอ่ื ความสุขแทตT ามความเป-นจรงิ

ยุคดกึ ดำบรรพE

ชาวกรีกเชื่อตาม Cosmogony of Hesiod (7-8 รTอยป‹ ก(อน ค.ศ.) ว(าดTวยกำเนิดโลกจาก Chaos Gaia
Tartarus Eros ซงึ่ ถือกำเนดิ เทพองค[แรกคอื Gaia

- เทพแห(งฟžาคือ Urenus เทพแหง( ดิน คอื Gaia เกิดไททนั 12 องคแ[ ละอ่นื ๆ
- Urenus จับลูกๆขังไวTในคุกนรกทาร[ทารัส ต(อมา Gaia จึงสรTางเคียววิเศษและปล(อย Cronus ออกมา
ยึดอำนาจ Urenus ไดT
- Cronus กับ Rhea ใหTกำเนิด Hera, Zeus, Poseidon, Hades, Demeter, Hestia แต(ก็กลัวลูกจะฆ(า
ตัวเองจึงกลืนลูกตัวเองเขTาไปในทTอง แต( Rhea ก็สามารถช(วยลูกคนสุดทTายไดTก็คือ Zeus ออกมาไดTและยึด
อำนาจของ Cronus สำเร็จจนเกดิ เร่อื งราวของมหาเทพแหง( โอลิมปสY

เร่ืองราวเทพ

- Zeus : เป-นพระโอรสองค[สุดทTายของ Cronus & Rhea ซึ่งเป-นเทพไททัน Zeus ถือเป-นราชาแห(งทวย
เทพ ผูTปกครองเขาโอลิมปYส และเทพแห(งทTองฟžา ลักษณะนิสัยเป-นเทพที่มีความเจTาชูT มีบุตรที่สำคัญคือ Ares
Hephaestus Hermes Apollo Artemis เป-นตTน และมีภรรยาเอกคือ Hera ซึ่งเป-นลูกพ่ีลูกนTองและภรรยานTอย
ทส่ี ำคัญคือ Maia Leto เป-นตนT

- Poseidon : เป-นเทพแห(งมหาสมุทรและพายุ มีภรรยาคอื Medusa
- Hades : เป-นเทพเจTาผูTปกครองนรกและโลกหลังความตาย ในตำนานถือว(ามีศักดิ์เป-นพี่ชายของ Zeus
มีภรรยาคอื Persephone ซ่ึงเป-นธดิ าแห(ง Demeter
- Hera : ถอื เป-นราชนิ ขี องเทพธิดาทั้งปวง เพราะเธอเปน- ชายาของ Zues
- Demeter : เป-นเทวีผูTถือครองสัญลักษณ[คือรวงขTาวซึ่งหมายถึงการเกษตรกรรมนั้นเอง มีธิดาหนึ่งองค[
นามว(า Persephone

41

- Hestia : เป-นเทพีแห(งไฟที่มีการเคารพนับถือเป-นอย(างมาก ซึ่ง Hestia เป-นเทวีที่ครองพรหมจารีอย(าง
ยอดเย่ยี ม ซงึ่ ทำใหTประชาชนส(วนใหญใ( หคT วามเคารพนบั ถือ

- Apollo : เปน- บตู รของ Zeus & Leto ซ่งึ ถือวา( เปน- เทพแหง( ดวงอาทิตย[
- Artemis : เปน- ธิดาของ Zeus & Leto ซง่ึ ถือวา( เปน- เทพีแหง( ดวงจันทร[
- Hermes : เป-นบุตรของ Zeus & Maia ซึ่งถือว(าเป-นเทพผูTคุTมครองเหล(านักเดินทางและคนเลี้ยงแกะ
ซงึ่ มขี องพเิ ศษคอื หมวกและรองเทาT ป‹ก
- Ares : คือบุตรของ Zeus & Hera ซึ่งถือเป-นเทพแห(งสงคราม การต(อสูTและศาสตาวุธต(างๆ แต(มีนิสัย
ปาÄ เถอ่ื น หยาบชาT และมีบตุ รท่สี ำคัญกับ Aphrodite คอื Cupid
- Hephaestus : คือบุตรของ Zeus & Hera ตามตำนานตอนเกิดมาไม(ไดTมีหนTาตาตTองตาเฉกเช(นเทพ
องค[อื่น จึงถูกมารดาโยนลงจากเขาโอลิมปYส แต(ดTวยความสามารถที่สามารถสรTางอาวุธพิเศษไดTจึงไดTกลับข้ึน
สวรรค[อกี ครง้ั และZeus ยังประทาน Aphrodite ใหเT ป-นรางวลั
- Aphrodite : ตามตำนานกล(าวว(าเทพองค[นี้งดงามมากและยังเป-นภรรยาของเทพ Hephaestus ดTวย
ซ่ึงเป-นแคใ( นนามเทา( นัน้ แต(กลบั ไปเปน- ชTูกับเทพ Ares จนถือกำเนดิ ลกู มากมายแต(ทีส่ ำคญั คอื Cupid
- Cupid : เปน- บุตรของ Ares & Aphrodite ซึ่งถือวา( เป-นกามเทพแห(งความรัก
- Athena : ตามตำนานเล(าว(าเกดิ จาก Zeus ปวดหวั จึงใหT Hephaestus เอาขวานมาผ(าหวั และ Athena
กระโจนออกมาพรอT มชุดเกราะ และ Athena ถอื ว(าเป-นเทพแหง( สติปญY ญา (ชยั จกั ร ทวยทุ ธานนท,[ 2560)

ยุคดกึ โบราณ แบ*งเปfน 3 ยคุ ด`วยกนั (ก.ค.ศ.650 - ค.ศ.529)

Pre-Socratic philosophyเปน- ชว( งเร(งหากฎของโลกคอื ยคุ ปรชั ญากรกี สมัยเริม่ ตนT (ก.ค.ศ.650-450)
1. ปรัชญายุคดึกดำบรรพ[ถูกสั่นคลอนจนกลายเป-นปรัชญาโบราณเมื่อ ธาเรส (Thales of

Miletus, 624-546 B.C.) เขาเริ่มปรัชญาดTวยคำว(าอะไรคือปฐมธาตุของโลกธาเรสตอบว(าน้ำเป-นปฐมธาตุของโลก
ไดTรบั ยกยอ( งใหTเป-นบดิ าของปรชั ญาตะวนั ตก

2. Anaximander of Miletus (ก.ค.ศ.610-545) เป-นลูกศิษย[ของ Thales เป-นลูกศิษย[สูTครู คือ
เห็นดTวยกับทุกคำสอน ยกเวTนปฐมธาตุคือน้ำ โดยคิดว(า เพราะน้ำมีอยู(ทั่วไปจนเหมือนเป-นสิ่งสำเร็จรูป ปฐมธาตุ
ควรเป-นสิ่งที่ไม(มีลักษณะของการเป-นของสำเร็จรูป จึงเสนอว(าปฐมธาตุคือ สารไรTรูT (formless material) เรียกว(า
apeiron ซง่ึ แปลว(าอนนั ต[ มีอย(เู ต็มไปหมด

3. Anaximenes of Miletus (ก.ค.ศ.585-528) เชื่อว(าเป-นลูกศิษย[ของ Thales และ
Anaximander จึงเห็นว(ามีปฐมธาตุจริง และควรมีอยู(มาก จึงเสนอว(าปฐมธาตุคือธาตุชื่อ aither เป-นสารที่มี
ลักษณะเจือจางลอยอยู(เต็มหTวงอากาศ เมื่อเขTมขTนถึงจุดหนึ่งก็จะเป-นอากาศที่เราหายใจ เขTมขTนไปอีกก็เป-นน้ำ
เปน- กอT นหนิ ตนT ไมT สัตว[ ซึง่ สิง่ ตา( งๆ เมื่อตายลง จางลง ก็จะกลับไปเป-น aither นัน่ เอง

4. Empedocles (ก.ค.ศ. 492-430) อยู(ในอาณานิคมกรีก Argrigento ตอนใตTของอิตาลี เสนอ
วา( ปฐมธาตุมี 4 (4 classic elements) อยา( ง คอื ดนิ นำ้ ลม ไฟ

5. Democritus (ก.ค.ศ. 460-370) ปฐมธาตุคอื สง่ิ ทย่ี (อยเลก็ ท่ีสกุ เรยี กว(า atom

42

Classical Greek philosophy เป-นช(วงเร(งหากฎความจริง คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยรุ(งเรือง (ก.ค.ศ.
450-322)

1. Socrates (ก.ค.ศ.470-399) Socrates เสนอแนวคิดที่จะทำใหTสังคมอยู(อย(างสงบสุข นั่นคือมี
ความยุติธรรม ยุติธรรมจะเกิดไดTตTองมีมาตรการเดียวสำหรับตัดสินความจริงและความดี มาตรการสากลคือ
ความรูTที่ตรงกับวัตถุแห(งความรูT มนุษย[มีปYญญาคิดไดTเอง (Know thyself) แต(มีกิเลสจึงทำใหTเห็นผิดไดT จึงควรฝ¡ก
เพ(งพนิ จิ (contemplation) Socrates เสนอ

2. Plato (ก.ค.ศ.427-347) เสนอใหTมีการรื้อฟÈÉนความทรงจำ (reminiscence) ผ(าน 3 ขั้นตอน
มีประสบการณ[ (experience) การเรียนรTู (learning) การเพ(งพนิ ิจ (contemplation)
โลกน้ีเปลยี่ นแปลงไปเร่อื ยๆ จึงไมอ( าจบรรจคุ วามจริงสากลไดT ความจรงิ สากลจงึ ตTองอยูใ( นอีกโลกหนึ่ง

3. Aristotle (ก.ค.ศ.384-322) เกิดในตระกูลแพทย[ เรียนที่สำนัก Academic เมื่อไดTไปสอน
Alexander of Macedon จึงไดTตั้งสำนัก Lyseum โดยเสนอว(ามาตรการความจริง คือ ประสบการณ[

4. จากประสบการณ[ตTองถอดความจริงสากล (abstractation) ดTวย
วิเคราะห[ (analysis)
คัดออก (elimination)
สงั เคราะห[ (synthesis)

Hellenistic philosophy เปน- ช(วงเรง( หากฎความสขุ คอื ยุคปรัชญากรกี สมยั เสอ่ื ม (ก.ค.ศ.322- ค.ศ.529)
ยุคนี้นับตั้งแต( Aristotle เสียชีวิต จนถึงจักรพรรดิ Justinian ประกาศรับรองศาสนาคริสต[เป-นศาสนา

ประจำอาณาจักรโรมัน เมื่อ Alexander the great สิ้นพระชนม[ (ครองราชย[ ก.ค.ศ.336-323) ทำใหTอาณาจักร
Macedon แตก แม(ทัพแต(ละส(วนไดTแยกปกครองตนเอง แย(งชิงอำนาจระหว(างกัน นครรัฐในกรีกรบกันเอง
นักการเมืองแบ(งฝYกแบ(งฝÄาย มีการลอบสังหาร และติดสินบนอย(างรุนแรง นักปรัชญาเพียงรื้อฟÈÉนคำสอนเพื่อชี้ถึง
การดำรงชวี ิตอย(างมีความสขุ ในสงั คมไดT เนTนจริยศาสตร[ 6 สำนกั เพือ่ ตอบคำถาม How to live well?

ปรชั ญาตะวนั ตกยคุ กลาง (Medieval Philosophy) (ค.ศ.529-1600)

จำแนกตามพื้นฐานความเชื่อเรื่องโลกหนTาอันเป-นคำสอนทางศาสนาของศาสนาที่นับถือพระเจTา และ
ศาสนาท่เี ช่ือวา( มีเทวะ การแบง( ขอบเขตยุคจึงยุ(งยากในแต(ละศาสนา

1. ยุคกลางของตะวันตก นับจากป‹ ค.ศ.529 ซึ่งศาสนาคริสต[ไดTรับการยกเป-นศาสนาประจำ
อาณาจักรโรมัน และมีการหTามนับถือศาสนาอื่น ทำใหTอิทธิพลของศาสนาคริสต[เกิดขึ้นอย(างกวTางขวางกว(า
1,000 ป‹

2. ยคุ กลางในศาสนาอิสลามนบั เรม่ิ ตง้ั แต( ป‹ ค.ศ.622 ซ่ึงเปน- ปท‹ ี่ 1 แห(งฮจิ เราะห[ศักราช
3. ยคุ กลางในศาสนาพทุ ธ นบั เริม่ ตัง้ แต( ป‹ ก.ค.ศ.543 ซง่ึ เป-นปท‹ ่ี 1 แหง( พุทธศักราช

43

นกั ปรชั ญาท่เี ป-นแกนแห(งยุคกลาง ( Augustine 354-430) เสนอลัทธิไตรเอกานุภาพ (Doctrine of The
Trinity) พระเจาT นน้ั เปน- หนงึ่ คอื เป-นองค[เดียวแตแ( บ(งเปน- 3 ภาค คือ พระบดิ า (The Father),
พระบุตร (The Son), พระจิต (The Spirit)ความรูTมีค(าที่สุด หรือความรูTเกี่ยวกับพระเป-นเจTาและวิญญาณ ความรTู
ประเภทอื่นจะมีค(าก็ต(อเมื่อนำมาสนับสนุนความรูTเกี่ยวกับพระเจTา เพื่อใหTเขTาใจพระเจTาเท(านั้น เป-นหนTาที่ของ
มนุษย[ที่จะตTองเขTาใจสิ่งที่ตนเองเชื่ออย(างแน(วแน( และพยายามหาพื้นฐานของศรัทธาดTวยเหตุผล (กีรติ บุญเจือ,
2558)

ยคุ ใหม*

ปรัชญากระบวนทรรศน[นวยุค (Modern Philosophy) นับเริ่มประมาณ ค.ศ.1600 ทำไมจึงเปลี่ยน
กระบวนทรรศน[ เพราะว(าปรัชญายุคกลางในสมัยอัสสมาจารย[ (scholastic period) ไดTนำปรัชญาของ Aristotle
มาอธิบายศาสนา ทำใหTเกิดการถกปYญหาปรัชญาศาสนาจนถึงระดับอิ่มตัว นักปรัชญาจึงหันมาสนใจปรัชญา
วิทยาศาสตร[ (science=ความรูT) ซึ่งในระหว(างยุคกลางนั้นชาวยุโรปไดTรับวิชาเคมีมาจากทางเปอร[เซีย จึงนำมา
ทดลองในชื่อ Alchemy ซึ่งศาสนจักรออกกฎหมายหTาม เมื่ออาณาจักรไบเซนไทน[แตก ทำใหTนักปรัชญาและ
ตำราต(างๆ กลับมาสู(ยุโรป มีการรื้อฟÈÉนความรุ(งเรืองของกรีก-โรมัน เรียกว(ายุคฟÈÉนฟู (Renaissance) เกิดปYญหา
การเมืองกับศาสนจักร ทำใหTหมดความศรัทธาในองค[กรศาสนา จึงมีกระแสแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร
สนใจวิธีการวิทยาเพื่อคTนหาความจริง เกิดคำถามสำคัญ คือ “คิดอย(างไรจึงจะไดTความจริง” นักปรัชญาคนสำคัญ
ไดแT ก(

• Francis Bacon (1561-1626) แมTมนุษย[ไม(มีกิเลส คนเราก็คิดไม(ตรงกัน นั่นคือนักบุญทั้งหลายก็ไม(ไดTคิด
ตรงกัน จึงเป-นไปไดTว(าน(าจะมีอคติ (prejudices = สิ่งที่อยู(ก(อนการตัดสินใจ) ซึ่งน(าจะมีไดT Idols คือ
เทวรูปทค่ี นอ่นื เคารพ แต(เราไม(เคารพ 4 ประการ
Idol of the tribe ความโนTมเอียงเนื่องจากสายเลอื ด สายตระกูล เผ(าพันธ[ุ
Idol of the den ความโนTมเอยี งจากส่ิงแวดลTอมและการเลยี้ งดู
Idol of the marketplace ความโนTมเอยี งจากภาษาท่ใี ชจT นเคยชิน
Idol of the theatre ความโนTมเอียงจากขนมธรรมเนียม ประเพณี ศาสนา
มาตรการความจริง คอื ความรTูทหี่ ามาไดอT ย(างถกู วธิ แี ละไรTอคตใิ ดๆ ทั้งสิน้

วิธีการวิทยาคือ Induction by elimination หาสิ่งเฉพาะหน(วยใหTมาก แลTวคัดไวTเฉพาะหน(วยที่มีลักษณะที่
ตอT งการเอามาเรียงลำดับเพือ่ เขTาใจสาเหตุ และจะไดTตัดอคติออกไปไดT

• Rene Descartes (1596-1650) ปYญหาของวิธีคิดต(างหากเป-นปYญหาที่แทTจริง ประสบการณ[เฉพาะ
หน(วยย(อมหลอกเราไดT มาตรการความจริง คือ เรขาคณิต ซึ่งเริ่มจากมูลบท (postulate) และสัจพจน[
(axiom) อนั นำไปสป(ู ฐมบท (assumption) เสนอมูลบท 3 ไดแT ก( I doubt, I think therefore I am.

44

ทฤษฎีบท 3 ไดTแก( what is clear and distinct is true, God is exists, matter exists as
extension เสนอวธิ ี Methodical (universal) Doubt

• Benedict of Spinoza (1632-1677) ส(งเสริมวิธีคิดของ Descartes โดยเสนอการพิสูจน[ทฤษฎีบท มา
เพิ่มเป-นส(วนของ E.D. (quod erat demonstradum; ซึ่งตTองพิสูจน[) โดยมีนิยาม 8 ขTอความ มูลบท 7
ขTอความ รวมปฐมบททั้งหมด 15 ขTอความ พิสูจน[ทฤษฎีบทใดแลTว เอามาใชTอTางเพื่อยืนยันเหตุผลต(อไป
ไดT เพราะพระเจTาสรTางปYญญามนุษย[มาใหTพิสูจน[ความรูTทุกอย(างไดTตามความเป-นจริง ดังคติ God
doesn’t fail

• John Locke (1632-1704) เสนอว(าไม(มีมูลบทใดที่ดีพอ ดังนั้นความรูTน(าจะเริ่มตTนจากประสบการณ[
มนุษย[เกดิ มาเหมือนกระดาษเปล(า (tabula rosa) All knowledge comes from experience
ศาสนากับศีลธรรม มูลบทไม(ไดTมาจากประสบการณ[แต(มาจากวิวรณ[ (revelation) ของพระเจTา แลTว
จงึ คอ( ยพิสูจน[ตอ( ไป
ล็อกทำใหTเกิดแนวคิดเบื้องตTนสำหรับ Enlightenment movement คือ มนุษย[เชื่อไดTเฉพาะ

ประสบการณแ[ ละความจรงิ ทพี่ ิสจู นไ[ ดTจากประสบการณ[เท(าน้นั ความรTูอนื่ ถอื เปน- สิ่งงมงาย

• David Hume (1711-1776) เสนอว(าความรูTเริ่มตTนจากประสบการณ[ อะไรที่มีประสบการณ[ไม(ไดTก็ไม(
ควรรบั รอง และเสนอหลกั การใหมท( เี่ คร(งครดั วา(
All knowledge is analysed into ideas.
All ideas come from experiences.
All experiences come by way of the senses.
มนุษย[เสียเวลาศึกษาเรื่องที่เกินกว(าประสบการณ[ งมงายในความเชื่อโบราณ อันไดTแก( Substance,

Matter, Spirit, Principle of causality และ Uniformity of nature

• Immanuel Kant (1724-1804) เห็นว(าเหตุผลนิยมไดTทำลายศาสนาและศีลธรรม ประสบการณ[นิยม
ทำลายคณิตศาสตร[และวิทยาศาสตร[ ความจริงมิไดTขึ้นกับผัสสะและเหตุผล แต(ขึ้นกับโครงสรTางสมอง
(ปYญญา) ของมนุษย[ ความรูTของมนุษย[จึงเป-นเพียงความรูTเท(าที่ปรากฏ (phenomena) และไม(มีทางรูT
noumena ปYญญามกี ลไกสำคัญ คือ
Pure forms of sensation รูTสง่ิ เฉพาะหน(วยในระบบ time-space
Pure forms of understanding ความรTเู ฉพาะหนว( ยกลายเป-นความรTสู ากล
สมรรถภาพปYญญาไดบT ดิ ผนั ความเป-นจริงท่รี บั รูT โดยปรงุ แตง( เปน- ความจริงสำเร็จรูป
Pure reason สำหรับรับรคTู ณติ ศาสตร[และวิทยาศาสตร[


Click to View FlipBook Version