The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารสัมพันธ์ศิษย์เก่า มสธ. รุ่น 39

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ben32_, 2022-09-08 23:29:16

สารสัมพันธ์ศิษย์เก่า มสธ. รุ่น 39

สารสัมพันธ์ศิษย์เก่า มสธ. รุ่น 39

Keywords: STOU

สำ�นักบริก�รก�รศึกษ�

ม ห า วิ ท ย า ลั ย สุ โ ข ทั ย ธ ร ร ม า ธิ ร า ช

พระราชดำรัส
เร่�อง การนำเทคโนโลยีีมาใช้กับคน

“เม่อื ก่อนน�ี ดา้ นการศกึ ษาคนในเมอื งไทยน่ี มีความรู้ การอ่านหนงั สอื เขียี น
หนังสือเป็็น มีมาก เป็รียบเทียบกับป็ระเทศอ่ืนค่อนขี้างจะสูงคือมีการอ่านเขีียนได้
เป็อรเ์ ซ็น็ ต์สงู แตม่ าป็ัจจบุ ันน�ีนอ้ ยลง เพราะว่าคนเพิ่ม แตโ่ รงเรียนหรอื ผูู้้ทม่ี ีหนา้ ที่สอน
นอ้ ยลง เป็รยี บเทยี บกนั อาจจะแยง้ วา่ สมยั นมี� เี ทคโนโลยสี งู ทำใหส้ ามารถทจ่ี ะทำกจิ การ
โรงเรยี น กจิ การสงั่ สอนแพรอ่ อกไป็ไดม้ ากกวา่ แตไ่ มม่ อี ะไรแทนการอบรม ไมม่ อี ะไรแทน
การบม่ นิสัย คอื การสอนนม่ี แี บง่ เป็็นอบรม แลว้ ก็บม่ นิสยั แตถ่ ้าไมม่ ผี ูู้ท้ อ่ี บรม ไมม่ ีผู้ทู้ ี่
บ่มนสิ ัย หรอื ผู้ทู้ ่อี บรมหรือผู้ทู้ ่บี ่มนิสยั เป็น็ คนทคี่ ุณภาพตำ่ ผู้้ทู ี่ไดร้ บั อบรมบม่ นสิ ยั ยอ่ ม
คุณภาพต่ำเหมือนกัน อาจจะย่ิงร้ายกว่า แม้จะมีเทคโนโลยีช�ันสูง เทคโนโลยีช�ันสูงนี�
คนส่วนมาก เดย�ี วนก�ี เ็ ขี้าใจ วา่ มีโทรทศั น์ มีดาวเทียม มีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แต่ว่าเคร่อื ง
เหล่าน�ี หรือส่ิงเหลา่ นเี� ป็็นสงิ่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ ดรู ปู ็ร่างทา่ ทางเหมอื นมีชวี ติ แตอ่ าจจะไมม่ ชี วี ิต
มีสีก็มีสีได้ แต่ว่าไม่มีสัน คือสีสันนั่นรวมแล้วมันครบถ้วน และยังไม่ครบ ยังไม่มีจิตใจ
อาจจะทำให้คนที่มีจิตใจอ่อนเป็ลี่ยนเป็็นคนละคนก็ได้ แต่ว่าที่จะอบรมโดยใช้ส่ือที่
กา้ วหนา้ ทม่ี เี ทคโนโลยสี งู นย่ี ากทสี่ ดุ ทจี่ ะอบรมบม่ นสิ ยั ดว้ ยเครอ่ื งเหลา่ นี� ฉะนนั� ไมม่ อี ะไร
แทน คนสอนคน คนสอนคนเดี๋�๋ยวน�เ๋ ขาใช้้ดี๋าวเที๋ยม คนเดี๋๋ยวสอนคนไดี๋้เป็็นพัันเป็็น
หมน่� ในคราวเดี๋ย๋ ว แต่ถ่ ่า่ ยทีอดี๋ความดี๋ย๋ าก ถ่า้ ถ่า่ ยทีอดี๋อาจจะต่อ้ งถ่า่ ยทีอดี๋ต่วั ต่อ่ ต่วั
ฉะนนั� การทีม๋� ค๋ วามกา้ วหนา้ เป็ลี่ย๋� นแป็ลี่งในป็ระเทีศ ในสงั คมไทีย กไ็ มไ่ ดี๋ห้ มายความวา่
จะเป็ลี่ย�๋ นแป็ลี่งในทีางดี๋๋ นอกจากต่อ้ งหาวธิ ีใ๋ หม้ ก๋ ารถ่า่ ยทีอดี๋โดี๋ย อาจจะใช้ต้ ่ำราหรอ่
หลี่กั สตู ่รอะไรทีท�๋ ีำใหค้ นเป็น็ คน จงึ ขอฝากความคดิ ี๋อนั นไ�๋ วเ้ พัราะวา่ เป็น็ สง�ิ ทีส�๋ ำคญั ”

พระราชดาำ รัสพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
เมอ่ื วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2539

ปณิิธาน

มหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราชในฐานะเป็็นมหาวิทยาลัยในระบบเป็ิด
ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตมุ่งพัฒนาคุณภาพขีองป็ระชาชนทั่วไป็ เพิ่มพูน
วิทยฐานะแก่ ผูู้้ป็ระกอบอาชีพและขียายโอกาสทางการศึกษาต่อสำหรับทุกคน
เพ่ือสนองความต้องการขีองบุคคลและสังคมด้วยการจัดระบบการเรียนการสอน
ทางไกล ซ็่ึงใช้ส่ือการสอนทางไป็รษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
สื่อออนไลน์ และวิธีการอ่ืนที่ผูู้้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเขี้า
ชั�นเรยี นตามป็กติ

วิิสัยีทัศน์

“เป็น็ มหาวิทียาลี่ยั เป็ดิ ี๋ช้ัน� นำของโลี่ก
ทีใ�๋ ช้้เทีคโนโลี่ยแ๋ ลี่ะนวตั ่กรรมการศึกษาทีางไกลี่เพั�่อสรา้ งโอกาส

การเรย๋ นรู้ดี๋้วยต่นเองต่ลี่อดี๋ช้๋วิต่สำหรบั ทีุกคน”

(3)

สารแสดงควิามยีินดีกับบัณิฑิิต
มหาวิิทยีาลัยีสุโขทัยีธรรมาธิราช

ในนามขีองมหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราช ผู้มขีอแสดงความยินดีกับ
ผู้สู้ ำเรจ็ การศกึ ษาทกุ ทา่ นจากมหาวทิ ยาลยั ทที่ รงเกยี รตแิ หง่ น�ี การสำเรจ็ การศกึ ษา
ถือเป็็นความภาคภมู ใิ จหนงึ่ ขีองบณั ฑิติ และครอบครวั แสดงใหเ้ ห็นถึงความวิริยะ
อตุ สาหะ พากเพยี ร พยายาม ค้นคว้าวิจัย และแก้ไขีป็ญั หาต่าง ๆ ทีผ่ ู้่านเขีา้ มา
ในระหวา่ งทีก่ ำลังศึกษาอยู่ขีองบณั ฑิิต อันสง่ ผู้ลตอ่ ความสำเรจ็ และได้รบั ป็ริญญา
ถือว่าเป็็นบัณฑิิตผูู้้มีความรู้ ความสามารถพ�ืนฐานท่ีจะนำไป็ป็ระกอบวิชาชีพตาม
ท่ีได้ศึกษามา ขีอให้บัณฑิิตนำความรู้ และป็ระสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาใน
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช ไป็ชว่ ยพฒั นาความคดิ สตปิ ็ญั ญา และนำพาชวี ติ
ขีองบัณฑิิตทุกคนไป็สู่เป็้าหมายตามป็ณิธานที่ต�ังไว้ ตลอดจนสามารถเป็็นพลังใน
การชว่ ยเหลือสังคม และป็ระเทศชาติ ตามโอกาส อนั สมควร ซ็ง่ึ ผู้้สู ำเรจ็ การศึกษา
ต้องไม่หยุดเรียนรู้ เพราะในการทำงานทุกวันนี�ความรู้และเทคโนโลยีนั�นมีการ
ป็รบั เป็ลยี่ นอยา่ งรวดเรว็ บณั ฑิติ ทกุ ทา่ นจะตอ้ งตดิ ตาม มกี ารพฒั นาความกา้ วหนา้
ทางวชิ าการรวมท�ังทักษะใหม่ ๆ อย่ตู ลอดเวลา เพ่อื ใหส้ ามารถป็รบั ตัวเขีา้ กับการ
เป็ลี่ยนแป็ลงที่เกิดขี�ึนได้ต่อไป็ เหมือนดังที่มหาวิทยาลัยได้เตรียมการสำหรับท่ี
จะพฒั นาตอ่ ยอดความรทู้ ที่ นั สมยั และทกั ษะใหม่ ๆ ตลอดจนการพฒั นานวตั กรรม
ใหม่ ๆ เพอ่ื ใหท้ นั ตอ่ การเป็ลยี่ นแป็ลงต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขี�ึนอย่างรวดเรว็ จะเห็นไดจ้ าก
เหตกุ ารณ์ New Normal ที่มหาวทิ ยาลยั ไดส้ รา้ งนวัตกรรมใหมด่ ้วยการเป็็นผูู้้นำ
ด้าน Online Education คือการพัฒนาระบบการสอบแบบออนไลน์ขีึ�น หรือท่ี

(4)

เรียกวา่ Online Examination ผู้มหวังเป็น็ อยา่ งยงิ่ ว่าผู้้สู ำเร็จการศึกษาทกุ ทา่ น
จะใชค้ วามรู้ และป็ระสบการณ์ทไ่ี ด้รับจากมหาวทิ ยาลัยแห่งนี� ให้เกดิ ความเจริญ
รุ่งเรือง ทั�งด้านการงาน การครองชีวิต เป็็นป็ระโยชน์ต่อป็ระเทศชาติ และสร้าง
ชื่อเสียงให้กบั มหาวทิ ยาลยั ได้อยา่ งสมภาคภมู ขิ ีองผู้เู้ ป็น็ บณั ฑิติ อยา่ งแท้จรงิ

ในโอกาสนี� ผู้มขีออาราธนาคุณพระศรรี ัตนตรัย บารมขี ีององค์พระบาท
สมเดจ็ พระป็รมนิ ทรมหาป็ระชาธปิ ็ก พระป็กเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และสง่ิ ทที่ า่ นเคารพบชู า
โป็รดป็ระทานพรให้ท่านป็ระสบความสุขี ความเจริญ สมป็รารถนาในส่ิงดีงาม
มสี ขุ ีภาพแขีง็ แรง และพลานามยั ที่สมบูรณ์ตลอดไป็

(รองศาสตราจารย์ ดร.มานติ จมุ ป็า)
กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทู้ รงคณุ วฒุ ิ
รกั ษาการแทนอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทัยธรรมาธริ าช

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 1

ถ้อ้ ยีแถ้ลงจากกองบรรณิาธิการ

มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าชเป็น็ มหาวทิ ยาลยั หนงึ่ เดยี วขีองป็ระเทศ
ที่จัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกลตามป็รัชญาและป็ณิธานการ
ศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
และนับแต่ก่อต�ังจนถึงป็ัจจุบันผู้่านมา 44 ป็ี มหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราชมี
วสิ ัยทศั นใ์ นการเป็็นมหาวทิ ยาลัยเป็ดิ ชน�ั นำขีองโลกทมี่ ีการเรยี นการสอนในระดับ
อุดมศึกษาโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ไม่มีช�ันเรียน ท่ีได้รับการจัดอันดับ
อยู่ในอนั ดับต้น ๆ ขีองมหาวทิ ยาลัยเป็ิดในภมู ิภาคเอเชีย มีผู้ลงานที่เป็น็ เลศิ ไดร้ บั
รางวัลในระดับสากล โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาทางไกล โดยการ
นำเอาสงิ่ ใหม่ ซ็ง่ึ อาจอยใู่ นรปู ็ขีองความคดิ สง่ิ ป็ระดษิ ฐ์ เทคโนโลยี หรอื การกระทำ
เขี้ามาใช้ในระบบการศึกษาเชื่อมโยงผูู้้เรียน ผูู้้สอนเขี้าด้วยกัน เพ่ือมุ่งหวังที่จะ
เป็ลี่ยนแป็ลงส่ิงที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีป็ระสิทธิภาพยิ่งขี�ึน ได้แก่
นวัตกรรมด้านหลักสูตร นวัตกรรมการเรียนการสอน นวัตกรรมส่ือการสอน
นวตั กรรมดา้ นการป็ระเมนิ ผู้ล และรวมถงึ นวตั กรรมดา้ นบรหิ ารจดั การ เพอื่ โอกาส
การเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิตสำหรับทุกคน โดยการศึกษาสามรูป็แบบ คือ
การศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศึกษาตลอดชวี ิต สามารถ
เทยี บโอนผู้ลการเรียนขีองผู้้เู รยี นได้ โดยความรู้ ทักษะ และป็ระสบการณท์ ไ่ี ดจ้ าก
การศึกษาในรูป็แบบต่าง ๆ และหรือจากการป็ระกอบอาชีพมาเทียบโอนเป็็นผู้ล
การเรียนขีองหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งในระดับที่กำลังศึกษาอยู่ซ็่ึงจะสอดคล้อง
ตามความตอ้ งการขีองบุคคล ชุมชน และส่งผู้ลต่อการพัฒนาป็ระเทศชาตใิ นท่สี ดุ
ดงั นั�น เพอ่ื เชอื่ มโยงสายใยระหว่างศษิ ยเ์ ก่าและสถาบนั มหาวทิ ยาลยั มสธ. จงึ ได้
จัดทำ “สารสมั พันธศ์ ษิ ยเ์ กา่ มสธ.” นี�ขี�ึนมา เพื่อหลอมรวมชาวเขีียวทองใหเ้ ป็็น
หน่งึ เดียวกัน

“สารสมั พัันธี์ ศิษย์เกา่ มสธี. ถ่่อกำเนดิ ี๋ เกดิ ี๋ก่อ เพัอ�่ สร้างสรรค์
สร้างสายใย ดี๋้วยใจรัก แลี่ะผูกพััน ของพัวกเรา สถ่าบัน ช้าวเขย๋ วทีอง”

2 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

สารบัญ หนา้

• สารแสดงความยนิ ดกี บั บณั ฑิติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช...................... (3)
• ถอ้ ยแถลงจากกองบรรณาธกิ าร....................................................................... 1
• วตั ถปุ ็ระสงค์ขีองสารสัมพนั ธศ์ ษิ ยเ์ ก่า มสธ. .................................................. 3
• การเลือกแผู้นการศกึ ษาตามชดุ วิชา................................................................. 5
• โครงการสัมฤทธบิ ตั ร (เรยี นด้วยตนเอง 4 เดอื น)............................................ 10
• ป็ระชาสมั พันธ์การจดั การเรียนการสอนหลกั สูตรนกั ศึกษาทดลองเรยี น........ 13
• ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ ………………………………………………………………………………………. 17
• เกบ็ มาฝากจากแนะแนว.................................................................................. 22
• ทนุ การศกึ ษาขีองมหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช .............................................. 25
• แนะนำหลกั สตู รการศกึ ษาขีองมหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช..................... 29
• แนะนำสมาคมสุโขีทยั ธรรมาธริ าช.................................................................. 32
• เกบ็ มาเล่าเอามาฝาก...................................................................................... 38
• ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ.์ ................................................................. 41
• แบบสำรวจผู้สู้ ำเรจ็ การศกึ ษา ป็ระจำป็กี ารศกึ ษา 2561-2563 รนุ่ ที่ 37-39....... 43
• แบบสำรวจความสนใจเขี้าร่วมฝกึ อบรมเชงิ ป็ฏิิบัตกิ ารบณั ฑิิตอาสา………...... 45

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 3

วิัตถ้ปุ ระสงคข์ องสารสัมพนั ธ์ศษิ ยี์เกา่ มสธ.

• เพ่ือเป็็นแหล่งป็ระชาสัมพันธ์เผู้ยแพร่ขี้อมูลขี่าวสารกิจกรรมขีอง
มหาวิทยาลยั ถึงศษิ ยเ์ ก่า

• เพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับศิษย์เก่า
ให้มากขี�ึน

• เพ่ือเป็น็ สอ่ื กลางระหว่างศษิ ยเ์ กา่ ดว้ ยกนั เอง
• เพ่ือป็ระสานศิษย์เก่าในการช่วยเป็็นกำาลังสำาคัญในการพัฒนา
มหาวิทยาลัย

เส้นทีางสู่มหาวทิ ียาลี่ยั สุโขทีัยธีรรมาธีริ าช้

4 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

แผนผังอาคารมหาวทิ ียาลี่ัยสโุ ขทียั ธีรรมาธีิราช้

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 5

การเล่อกแผนการศึกษาตามชุดวิิชา
มหาวิิทยีาลัยีสุโขทัยีธรรมาธิราช

ในป็ีการศกึ ษา 2565 มหาวทิ ยาลัยสโุ ขีทัยธรรมาธริ าช ไดใ้ ช้เทคโนโลยี
และนวตั กรรมการศกึ ษาทางไกล ดว้ ยการพฒั นาระบบการเรยี นการสอนออนไลน์
สมบูรณ์แบบขี�ึน ต�ังแต่การรับสมัครนักศึกษาใหม่และลงทะเบียนเรียนออนไลน์
การเลือกแผู้นการศึกษาออนไลน์ การจัดสอบออนไลน์ และการจัดการเรียน
การสอนออนไลนช์ ดุ วชิ าในหมวดศกึ ษาทวั่ ไป็ ซ็งึ่ มกี ารป็รบั รปู ็แบบการจดั การเรยี น
การสอนตามแผู้นการศึกษา ก1 ก2 และ ก3 เป็็นรูป็แบบใหม่ท่ีจะช่วยส่งเสริม
การเรียนรู้ และเพิ่มโอกาสการป็ระสบความสำเร็จทางการศึกษาให้เป็็นไป็ตาม
ความคาดหวังขีองนกั ศกึ ษา มีรายละเอียดดังน�ี

1. ลักษณะขีองชดุ วิชาทเ่ี ป็ิดสอนระดบั ป็ริญญาตรี ในป็กี ารศกึ ษา 2565
มี 3 ลกั ษณะ คือ

(1) ชดุ วชิ าทีเ่ ป็ิดสอนแผู้น ก1 อยา่ งเดยี วเทา่ นั�น
(2) ชดุ วชิ าทเี่ ป็ิดสอนท�งั แผู้น ก1 และ ก2 โดยนักศึกษาจะต้องเลือก
แผู้นใดแผู้นหนง่ึ เท่าน�ันวา่ จะเลือกเรียนแบบ ก1 หรือ ก2
(3) ชดุ วชิ าที่เป็ดิ สอนทง�ั แผู้น ก1 และ ก3 โดยนกั ศกึ ษาจะต้องเลอื ก
แผู้นใดแผู้นหนงึ่ เทา่ น�ันว่าจะเลอื กเรยี นแบบ ก1 หรอื ก3
หากชดุ วชิ าท่นี กั ศกึ ษาลงทะเบียนเรยี นในภาคต้น ป็กี ารศึกษา 2565
มีการเป็ิดสอนแผู้น ก2 หรือ ก3 นักศึกษาจำเป็็นต้องเลือกแผู้นการศึกษาขีอง
ชุดวิชานั�น ๆ ท่ีเว็บไซ็ต์ https://dssj.stou.ac.th/chooseplan ภายในเวลาท่ี
มหาวทิ ยาลยั กำหนด นกั ศกึ ษาทไ่ี มเ่ ขีา้ มาเลอื กแผู้นการศกึ ษาภายในเวลาทก่ี ำหนด
มหาวิทยาลยั จะกำหนดใหเ้ ป็็นแผู้นการศึกษา ก1 โดยอตั โนมัติ
2. แผู้นการศึกษา ก1 ก2 และ ก3 ป็ีการศกึ ษา 2565 มหาวทิ ยาลัย
เป็ดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ ลอื กเรยี นแผู้นการศกึ ษาใดแผู้นการศกึ ษาหนง่ึ ในชดุ วชิ า
ตา่ ง ๆ ดังต่อไป็นี�

แผนการจัดการเรยี นการสอน ระดบั ปรญิ ญาตรี ปีการศึกษา 2565 6 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

แผนการจัดการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียน สอบกลางภาค การสอบประจาภาค คะแนน การสอบซอ่ ม
การสอนแบบนดั หมาย สอบปลายภาค สอบไล่ 100 คะแนน
แผน ก1 ไมม่ ี มี สอบซอ่ ม 100 คะแนน
ศึกษาด้วยตนเอง ผ่านส่อื ส่ิงพมิ พแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ ไมม่ ี หน่วยการเรียนรู้ 1-15 (หนว่ ยการเรยี นรู้ 1-15)
เอกสารการสอนรปู แบบสงิ่ พมิ พ์ ไมม่ ี รปู แบบ
สอ่ื ออนไลน์ (STOU e-Learning (ถา้ ม)ี , การสอนเสรมิ แบบเกบ็ - สอบออนไลน์ สอบไล่ 60 คะแนน กรณีมคี ะแนนเก็บจากการสอนเสรมิ แบบ
STOU media) คะแนน 2 คร้งั ๆ ละ มี - สนามสอบ การสอนเสริมแบบเกบ็ เก็บคะแนน
กจิ กรรมประจาชุดวิชา (มเี ฉพาะบางชดุ วิชา) 2 วนั รวม 40 คะแนน หน่วยการเรียนรู้ คะแนน 40 คะแนน - สอบซ่อม 60 คะแนน (หน่วยการเรยี นรู้ 1- 15)
แผน ก2  ออนไลน์ ผ่าน 1-7 มี - นาคะแนนการสอนเสริมฯ
ศึกษาด้วยตนเอง ผ่าน e-book และส่ือออนไลน์ Microsoft Teams รปู แบบสอบ หนว่ ยการเรยี นรู้ 1-15 สอบกลางภาคและ มาคดิ รวมเป็น 100 คะแนน
เอกสารการสอนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หากตอ้ งการ  เผชิญหน้า ออนไลน์เท่านั้น รปู แบบ สอบไล่ 60 คะแนน กรณไี ม่มีคะแนนเก็บจากการสอนเสรมิ แบบ
เอกสารการสอนรปู แบบสง่ิ พมิ พส์ ่งั ซ้อื เพิ่มเติมได้ (เฉพาะชุดวชิ าไทยศกึ ษา กจิ กรรมร่วมเรยี นรู้ เกบ็ คะแนน
สอ่ื ออนไลน์ (STOU e-Learning, STOU จัดเม่ือมนี กั ศกึ ษา 50 คน) - สอบออนไลน์ 40 คะแนน - สอบซ่อม 100 คะแนน (หน่วยการเรยี นรู้ 1-15)
media) กจิ กรรมร่วมเรยี นรู้ - สนามสอบ
กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบนัดหมาย (blender learning) กรณีมคี ะแนนเกบ็ จากกจิ กรรมรว่ มเรียนรู้
40 คะแนน (ตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรม) 2 คร้ัง ๆ ละ 2 วัน มี - สอบซอ่ ม 60 คะแนน (หนว่ ยการเรียนรู้ 1-15)
แผน ก3 รวม 40 คะแนน หนว่ ยการเรียนรู้ 8-15 - นาคะแนนกจิ กรรมร่วมเรียนรู้ มาคิดรวมเป็น
ศึกษาด้วยตนเอง ผา่ น e-book และสอ่ื ออนไลน์  ออนไลน์ ผา่ น รูปแบบ 100 คะแนน
เอกสารการสอนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หากต้องการ Microsoft Teams กรณไี ม่มีคะแนนเก็บจากกิจกรรมร่วมเรยี นรู้
เอกสารการสอนรูปแบบสง่ิ พมิ พ์ส่ังซอ้ื เพิม่ เตมิ ได้ - สอบออนไลน์ - สอบซ่อม 100 คะแนน (หนว่ ยการเรยี นรู้ 1-15)
ส่อื ออนไลน์ (STOU e-Learning, STOU - สนามสอบ
media)
กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบนดั หมาย
40 คะแนน (ตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรม)

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 7

หากนักศึกษาสอบไม่ผ่านในการลี่งทีะเบ๋ยนเร๋ยนคร�ังแรก ในการ
ลี่งทีะเบ๋ยนเร๋ยนช้ดุ ี๋วชิ ้านั�นคร�ังต่่อ ๆ มา แลี่ะไดี๋้เลี่่อกแผน ก2 แลี่ะ ก3 จะต่้อง
จ่ายค่าชุ้ดี๋วิช้า 300 บาที แลี่ะค่ากิจกรรมการเร๋ยนการสอนแบบนัดี๋หมาย
700 บาที

แผนการศึกษา ก1 คือการจัดการศึกษาชุดวิชาแบบการเรียนออนไลน์
โดยศกึ ษาดว้ ยตนเองและสอบป็ระจำภาค 100 คะแนน ในการป็ระเมนิ การเรยี นรู้
เนอื� หาชุดวิชา หนว่ ยท่ี 1-15

แผนการศึกษา ก2 คือการจัดการศึกษาชุดวิชาแบบการเรียนออนไลน์
และจัดให้มีการสอนเสริมออนไลน์แบบเก็บคะแนน 40 คะแนน และการสอบ
ป็ระจำภาคแบบออนไลนใ์ นการป็ระเมนิ ผู้ลการเรยี นรู้ 60 คะแนน

แผนการศึกษา ก3 คือการจัดการศึกษาชุดวิชาแบบการเรียนออนไลน์
และการจัดกิจกรรมร่วมเรยี นรู้ (Blended Learning) ตามสถานที่ หรอื ชอ่ งทาง
ออนไลน์ ตามวันและเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด มีคะแนนเก็บ 40 คะแนน
มกี ารสอบกลางภาคและการสอบป็ระจำภาคแบบออนไลน์ 60 คะแนน

3. ขี้อกำหนดและเงื่อนไขีการเลอื กแผู้นการศึกษา
(1) ในแต่ละภาคการศึกษา นักศึกษาสามารถเลือกแผู้นการศึกษา

ก1 ก2 หรือ ก3 ขีองแต่ละชดุ วิชาท่ีเหมอื นหรอื ตา่ งกนั กไ็ ด้
(2) นกั ศกึ ษาเลอื กแผู้นการศกึ ษาขีองชดุ วชิ าทล่ี งทะเบยี นเรยี นชดุ วชิ า

ในภาคการศึกษานั�นแล้ว จะไม่สามารถเป็ล่ียนแผู้นการศึกษาภายหลังได้จนกว่า
จะลงทะเบยี นเรยี นใหมใ่ นภาคการศกึ ษาถดั ไป็ (ยกเวน้ แผู้น ก3 ทมี่ นี กั ศกึ ษาสมคั ร
ลงไมถ่ งึ 15 คน จะป็รบั เป็น็ แผู้น ก1 อตั โนมตั ิ)

(3) นักศึกษาต้องเลือกแผู้นการศึกษาตามช่วงเวลาที่มหาวิทยาลัย
กำหนดเท่านั�น ทเี่ วบ็ ไซ็ต์ https://dssj.stou.ac.th/chooseplan

หากพ้นเวลาท่ีกำหนดให้เลือกแผู้นการศึกษาไป็แล้วชุดวิชาที่
ลงทะเบยี นเรยี นนน�ั จะถูกกำหนดให้เป็็นแผู้นการศกึ ษา ก1 เทา่ นนั�

(4) นกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบยี นเรยี นเพม่ิ ชดุ วชิ าในชว่ งเวลาทพี่ น้ ระยะเวลา
ที่กำหนดให้เลือกแผู้นการศึกษาไป็แล้วจะไม่สามารถเลือกแผู้นการศึกษา ก2
และ ก3 ได้ โดยชุดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนเพ่ิมชุดวิชานั�นจะถูกกำหนดให้เป็็น
แผู้นการศกึ ษา ก1 เท่านน�ั

8 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

(5) นกั ศกึ ษาลกั ษณะพเิ ศษ และนกั ศกึ ษาผู้ตู้ อ้ งขีงั ใหล้ งทะเบยี นเรยี น
เฉพาะแผู้นการศึกษา ก1 เทา่ น�ัน

❦ การสอบกลางภาคแบบออนไลน์ของนักศึกษาท�ีเล่อกแผน ก3

1. นักศึกษาท่ีเลือกแผู้นการศึกษา ก3 จะต้องเขี้าสอบกลางภาคแบบ
ออนไลน์ ตามวนั และเวลาทมี่ หาวทิ ยาลยั กำหนด โดยใหส้ อบหนว่ ยที่ 1-7 สว่ นการ
สอบป็ลายภาค (สอบป็ระจำภาค) สอบหนว่ ยท่ี 8-15

2. การสอบกลางภาคแบบออนไลนใ์ ชเ้ วลาสอบคาบละ 1 ชวั่ โมงครงึ่ โดย
มหาวิทยาลยั จะจัดสอบกลางภาคแบบออนไลน์ในวนั เสาร์ และวันอาทติ ยส์ ุดท้าย
ขีองเดือนพฤศจิกายนสำหรบั ภาคตน้ และเดอื นพฤษภาคมสำหรับภาคป็ลาย

3. คาบเวลาสอบกลางภาคแบบออนไลน์
- คาบที่ 1 เวลา 9.00-10.30 น.
- คาบท่ี 2 เวลา 13.00-14.30 น.
- คาบท่ี 3 เวลา 9.00-10.30 น.
- คาบที่ 4 เวลา 13.00-14.30 น.
ท�ังนี�ให้นักศึกษาติดตามการป็ระกาศวันและเวลาสอบกลางภาค

แบบออนไลนจ์ ากมหาวิทยาลัยในการสอบแตล่ ะคร�งั ต่อไป็
4. นักศึกษาที่เขี้าสอบกลางภาคแบบออนไลน์แล้ว มหาวิทยาลัยจะยัง

ไม่ป็ระกาศผู้ลสอบ หน่วยท่ี 1-7 โดยผู้ลสอบกลางภาคจะต้องนำไป็รวมกับผู้ล
การสอบป็ลายภาค หนว่ ยที่ 8-15 จงึ จะถอื วา่ ผู้ลการสอบสมบูรณ์ มหาวิทยาลัย
จงึ จะป็ระกาศผู้ลสอบ หากนกั ศกึ ษาขีาดสอบกลางภาคแบบออนไลนห์ รอื ขีาดสอบ
ป็ลายภาคจะถอื วา่ การสอบไมส่ มบรู ณห์ รือจะไดล้ ำดับขี�ัน I ท�ังนี� นกั ศกึ ษาที่เลือก
สอบกลางภาค มหาวทิ ยาลยั จะใชเ้ ฉพาะคะแนนจากการสอบกลางภาคและคะแนน
สอบป็ลายภาคในการป็ระเมนิ ผู้ลเท่านน�ั

5. นกั ศกึ ษาตอ้ งมอี ปุ ็กรณ์ ดงั นี� เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หรอื โนต้ บก�ุ ทม่ี กี ลอ้ ง
มรี ะบบเสียง (Audio) และเครอื ขี่ายอินเทอร์เนต็ ทมี่ คี วามเรว็ อยา่ งน้อย 10 Mbps
ทจี่ ะใชส้ ่อื สารระหวา่ งกันตลอดคาบสอบ

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 9

- กรณีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือโน้ตบุ�ก หรือแท็บเล็ตไม่สามารถใช้
กล้องได้ นักศึกษาสามารถใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีมีกล้องในตัวเพื่อยืนยันตัวตน
ป็ระกอบการสอบและใช้ถ่ายภาพกระดาษคำตอบหรือกระดาษทดได้ในการสอบ
อตั นัยหรอื ชดุ วิชาท่ีมีการคำนวณ

6. นักศึกษาสามารถทดลองเขี้าทดสอบการใช้ระบบสอบออนไลน์ตาม
อธั ยาศัยไดท้ ี่ https://etesting.stou.ac.th

7. กอ่ นวนั สอบออนไลน์ นกั ศกึ ษาจะตอ้ งเขีา้ ทดสอบออนไลนเ์ สมอื นจรงิ
ตามวันและเวลาทมี่ หาวทิ ยาลัยกำหนดไว้ในแตล่ ะภาคการศกึ ษา

8. การยืนยันตัวตนเขี้าสอบออนไลน์ นักศึกษาสามารถยืนยันตัวตนได้
2 วธิ ี ได้แก่

- นักศึกษาต้องเตรียมบัตรป็ระจำตัวนักศึกษา และบัตรป็ระจำตัว
ป็ระชาชน หรอื บัตรป็ระจำตวั เจ้าหน้าท่ีขีองรัฐ หรอื หนังสือเดนิ ทาง หรือหนงั สอื
สทุ ธิ หรือบตั รอน่ื ใดที่ออกโดยหนว่ ยงานขีองรฐั ทแี่ สดงรปู ็ถา่ ย และเลขีป็ระจำตวั
ป็ระชาชนสิบสามหลักท�ังสองบัตรมาแสดงตนในการเขี้าสอบออนไลน์ หาก
นกั ศกึ ษาขีาดบตั รใดบตั รหนงึ่ ใหย้ นื่ คำรอ้ งขีอทำบตั รเขีา้ สอบออนไลน์ (บตั รเหลอื ง)
หรอื ศกึ ษาการเขีา้ สอบออนไลนไ์ ดท้ เ่ี วบ็ ไซ็ตข์ ีองมหาวทิ ยาลยั https://web4.stou.
ac.th/online_exam/

- หลักฐานการแสดงตนใน Menu “นักศึกษา” ท่ีแสดงถึงป็ระวัติ
ส่วนตัวและขี้อมูลทัว่ ไป็ขีองนกั ศกึ ษาที่ป็รากฏิบนแอป็พลิเคชัน STOU SISA

สามารถ่สอบถ่ามขอ้ มลู ี่เพัมิ� เต่มิ ไดี๋ท้ ีศ�๋ นู ยส์ ารสนเทีศ โทีร. 02 504 7788
หรอ่ Line @examstou

10 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

โครงการสัมฤทธิบัตร (เรียีนด้วิยีตนเอง 4 เด่อน)

โครงการสัมฤทธิบัตร เป็็นโครงการท่ีให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
โดยเผู้ยแพร่ความรู้ในแขีนงวิชาต่าง ๆ สู่ป็ระชาชนทั่วไป็ ไม่จำกัดี๋อายุแลี่ะวุฒิิ
การศกึ ษา เป็น็ โครงการทเ่ี ป็ดิ โอกาสใหท้ กุ คนทอ่ี ยากเรยี นรจู้ ากชดุ วชิ าทเ่ี ป็ดิ สอน
ในหลกั สูตรป็ริญญาตรี ทั�ง 12 สาขีาวิชาขีองมหาวทิ ยาลัย (สมคั รเรียนโดยไม่ตอ้ ง
ใชว้ ุฒกิ ารศึกษา) เอกสารการเรยี นการสอน ขี้อสอบ ตารางสอบ กค็ อื ชดุ เดยี วกบั
นกั ศกึ ษาป็รญิ ญาตรี มสธ. สอบผู้า่ นจะไดร้ บั ใบสมั ฤทธบิ ตั ร (คอื เอกสารแสดงความ
สำเร็จหรอื รบั รองวา่ ได้สอบผู้่านชดุ วชิ านัน� ๆ แล้ว)

นกั ศกึ ษา มสธี. ทีล๋� ี่งทีะเบ๋ยนต่ามป็กต่ิ สามารถเขี้าศึกษาในโครงการน�ี
ควบค่ไู ป็ดว้ ยได้ เมอื่ สอบผู้า่ นขีอโอนชดุ วิชาเขีา้ ในหลักสตู รป็ริญญาตรีสาขีาวิชาที่
กำลงั ศึกษาอยู่ขีณะนนั� ได้ จะทีำใหจ้ บป็รญิ ญาต่ร๋เรว็ ขน�ึ

นักศึกษาที๋�กำลี่ังศึกษาอยู่ในทีุกระดี๋ับช้ั�น เขี้าสู่ “การเรียนป็ริญญาตรี
ล่วงหน้ากับโครงการสัมฤทธิบัตร” เพ่ือให้นักเรียนทุกคนได้รับโอกาสท่ีดี
เรียนป็ริญญาตรีก่อนจบมัธยมป็ลาย และสะสมชุดวิชาที่สอบผู้่าน เม่ือพร้อม
จงึ โอนเขีา้ หลกั สตู รป็รญิ ญาตรขี ีอง มสธ. ตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร “จบป็รญิ ญาต่ร๋
อายยุ งั นอ้ ย พัรอ้ มเพัิม� ทีางเลี่อ่ กในการศกึ ษาต่่อแลี่ะป็ระกอบอาช้พ๋ ั”

ผูป้ ็ระกอบอาช้พ๋ ัทีกุ หนว่ ยงาน ศกึ ษาชดุ วชิ าในโครงการฯ เพอื่ นำความรู้
ไป็พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับวิทยฐานะในวิชาชีพขีองตน เป็็นการส่งเสริม
ความกา้ วหน้า และพัฒนาการทำงานให้ดยี ิ่งขีึ�น

โครงการสัมฤทธิบัตรยังได้เป็ิดโอกาสทางการศึกษาแก่ผูู้้ต้องขีัง ได้ใช้
เวลาว่างให้เป็็นป็ระโยชน์ด้วยกิจกรรมทางการศึกษา สนับสนุนและส่งเสริม
การเรียนรู้ตามอัธยาศัยและตลอดชีวิต เพื่อนำความรู้ไป็พัฒนาศักยภาพขีองตน
อย่างมปี ็ระสทิ ธภิ าพ เมอ่ื พน้ โทษออกสสู่ งั คมภายนอกทำใหม้ คี ณุ ภาพทดี่ ขี ีนึ� และ
คนื คนดสี สู่ งั คม

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 11

❦ ประโยีชน์ท�ีผ้เรียีนจะได้รับ

1. มคี วามรู้ทางวชิ าการดา้ นต่าง ๆ ท่ีนา่ สนใจเพิ่มเติมมากขีึ�น
2. สามารถนำความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากการเรยี นไป็ใชใ้ นการป็ระกอบอาชพี และ
พัฒนาวิชาชพี ขีองตน
3. นำความร้ไู ป็ใชใ้ นการดำเนินชวี ิตป็ระจำวันขีองตนอยา่ งมีคณุ ภาพ
4. ได้ทดสอบความสามารถขีองตนในการเรียนตามระบบการศึกษา
ทางไกลขีองมหาวิทยาลยั เป็ิด
5. สามารถขีอโอนชดุ วชิ าทไ่ี ดร้ บั ใบสมั ฤทธบิ ตั รเขีา้ ในหลกั สตู รการศกึ ษา
ระดบั ป็ริญญาตรแี ละป็ระกาศนยี บัตร มสธ. ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รป็จั จุบนั เม่อื
สมัครเป็็นนักศกึ ษาใหม่ขีอง มสธ.
6. ผูู้้เรียนสามารถเรียนโครงการสัมฤทธิบัตรไป็พร้อมกับการป็ระกอบ
อาชพี ไดโ้ ดยไม่ต้องแยกจากชวี ติ ครอบครัว
7. ผูู้้เรียนสามารถศึกษาอยู่ที่บ้านได้โดยไม่ต้องเขี้าชั�นเรียนตามป็กติ
ป็ระหยัดทง�ั เวลาและคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางและอนื่ ๆ
8. ผูู้้เรียนมีอิสระในการจัดการเรียนให้เหมาะสมกับความสามารถและ
สภาพแวดลอ้ มขีองตนเอง สามารถคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ ไดจ้ ากหอ้ งสมดุ ป็ระชาชนป็ระจำ
จังหวดั “มมุ มสธ.” (ทกุ จังหวดั ท่วั ป็ระเทศ)
9. ผูู้้เรียนสามารถเรียนได้ตามอัธยาศัยและตลอดชีวิต ไม่จำกัดในเร่ือง
ขีองเวลาเรยี น
10. นกั เรยี น นกั ศกึ ษาทก่ี ำลงั ศกึ ษาอยใู่ นสถาบนั อน่ื ๆ และนกั ศกึ ษา มสธ.
ท่ีลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตรป็กติ สามารถสมัครเรียนโครงการสัมฤทธิบัตร
ควบคใู่ นเวลาเดยี วกันได้

❦ การสมัครเรียีนโครงการสัมฤทธิบัตร (ปีละ 4 คร�ัง 4 รุ่น)

1. สมคั รทีางไป็รษณีย๋ ์
ดาวน์โหลดใบสมัคร และกรอกขี้อมูลให้เรียบร้อย นำใบสมัครไป็

ชำระเงนิ ท่ี 7 – 11 หรอื ไป็รษณีย์ระบบ Pay at Post จากนน�ั นำเอกสารท�งั หมด
ใส่ซ็อง (ตดิ แสตมป็์) พร้อม

12 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

1.1 สำเนาบตั รป็ระจำตวั ป็ระชาชน หรอื สำเนาทะเบยี นบา้ น อยา่ งใด
อย่างหนึ่ง

1.2 รปู ็ถา่ ยสี 1 นิ�ว จำนวน 2 รปู ็
1.3 ใบเสร็จจากการชำระเงนิ
จา่ หน้าซองมาที๋�
ฝา่ ยรบั นกั ศกึ ษา สำนกั ทะเบยี นและวดั ผู้ล มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางพูด อำเภอป็ากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี 11120 วงเล็บท่ี
มุมซ็องวา่ (โครงการสัมฤทธบิ ัตร รุ่นท่ี.....)
2. สมัครดี๋ว้ ยต่นเอง ณี มหาวิทียาลี่ยั สโุ ขทียั ธีรรมาธีริ าช้
สอบถาม มสธ. โทร. 0 2504 7788
@Line โครงการสัมฤทธบิ ตั ร มสธ.
เพจ Facebook โครงการสัมฤทธบิ ตั ร

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 13

ประชาสัมพันธ์การจัดการเรียีนการสอนหลักส้ตร
นักศึกษาทดลองเรียีน ปีการศึกษา 2565

จากแนวคิดขีองมหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราชท่ีพยายามจะขียาย
โอกาสทางการศกึ ษาใหแ้ กป่ ็ระชาชนใหม้ ากทส่ี ดุ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
จึงได้มีนโยบายจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาทดลองเรียนขี�ึน เพ่ือขียาย
โอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ป็ระชาชนให้กว้างขีวางยิ่งขี�ึน โดยเป็ิด
โอกาสให้บุคคลท่ัวไป็ท่ีมีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ป็ี นับถึงวันท่ีเป็ิดรับสมัครขีองแต่ละ
ภาคการศึกษา โดยไม่ต้องแสดงวุฒิการศึกษาใด ๆ สามารถเขี้าศึกษาหลักสูตร
ทดลองเรียนกับมหาวิทยาลัยได้ โดยตลอดหลักสูตรศึกษาชุดวิชาในหมวดชุดวิชา
ศกึ ษาทวั่ ไป็ จำนวน 4 ชุดวชิ า ระยะเวลาในการศึกษา 2 ป็ี เม่ือสอบผู้า่ นการศึกษา
ทดลองเรยี น จำนวน 4 ชดุ วิชาแลว้ สามารถป็รบั สถานภาพเป็็นนกั ศกึ ษาสามญั
ระดับป็รญิ ญาตรีในสาขีาวชิ าท่มี หาวิทยาลยั เป็ิดสอน ไดแ้ ก่

1. สาขีาวิชาศิลป็ศาสตร์
2. สาขีาวิชานิเทศศาสตร์
3. สาขีาวชิ าศกึ ษาศาสตร์
4. สาขีาวิชาวทิ ยาการจดั การ
5. สาขีาวชิ านิติศาสตร์
6. สาขีาวิชาวทิ ยาศาสตร์สขุ ีภาพ
7. สาขีาวิชาเศรษฐศาสตร์
8. สาขีาวชิ ามนุษยนิเวศศาสตร์
9. สาขีาวิชารฐั ศาสตร์
10. สาขีาวิชาเกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
11. สาขีาวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

14 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

❦ เง่�อนไขการเปล�ียีนสถ้านะจากนักศึกษาทดลองเรียีนเป็นนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี

1. นกั ศกึ ษาทดลองเรยี นจะตอ้ งสอบผู้า่ น (เกรด S หรอื H) ในชดุ วชิ าตาม
โครงสร้างหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป็ขีองหลักสูตรที่นักศึกษาทดลองเรียน
มีแผู้นต่อยอดการศึกษาระดบั ป็ริญญาตรีภายในระยะเวลา 2 ป็ี

2. เม่ือนกั ศกึ ษาทดลองเรยี นสอบผู้า่ นครบโครงสรา้ งหลกั สตู ร 4 ชดุ วิชา
แล้ว ต้องดำเนินการสมัครเป็็นนักศึกษาระดับป็ริญญาตรีตามช่วงเวลาและ
ช่องทางการสมัครที่มหาวิทยาลัยกำหนด

3. จดั เตรียมเอกสารหลักฐานการสมคั ร ดังน�ี
3.1 รปู ็ถา่ ยสีขีนาด 2 นวิ� หน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ

แต่งกายสภุ าพ (ไมส่ วมเสอ�ื ยดื คอกลม) ฉากหลงั ขีองภาพเป็็นสพี �ืนเทา่ นั�น
3.2 สำเนาบตั รป็ระจำตวั ป็ระชาชน หรอื สำเนาทะเบยี นบา้ น อยา่ งใด

อย่างหนึง่ จำนวน 1 ฉบบั กรณใี ช้สำเนาทะเบียนบ้าน ใหถ้ า่ ยสำเนาทะเบยี นบ้าน
ทั�งหน้ารายการเกี่ยวกับบ้าน และหน้าท่ีมีช่ือผูู้้สมัครป็รากฏิอยู่ กรณีพำนักอยู่
ในตา่ งป็ระเทศสามารถใชส้ ำเนาหนงั สอื เดนิ ทาง (Passport) เป็น็ หลกั ฐานการสมคั ร
แทนได้

3.3 สำเนาหลักฐานการเป็ล่ียนคำนำหน้าช่ือ ชื่อ ช่ือสกุล จำนวน
1 ฉบับ (กรณคี ำนำหน้าชื่อ ช่ือ ชื่อสกุลในหลักฐานการสมคั รไม่ตรงกนั )

4. เลอื กชดุ วชิ าลงทะเบยี นเรยี นตามหลกั สตู รทส่ี มคั รเรยี นในแตล่ ะสาขีาวชิ า
5. ชำระเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการสมัคร จำนวน 1,400 บาท ไดแ้ ก่

1) ค่าธรรมเนียมแรกเขี้า 800 บาท (ชำระคร�ังเดียวเมื่อสมัครเป็็น
นกั ศกึ ษาใหม)่ ยกเวน้ ผู้สู้ มคั รทมี่ อี ายคุ รบ 60 ป็ขี ีนึ� ไป็ นบั ถงึ วนั เป็ดิ ภาคการศกึ ษา
ท่ีสมคั ร (ภาคตน้ เป็ิดภาคการศกึ ษา 15 กันยายน ภาคป็ลาย เป็ดิ ภาคการศึกษา
15 มนี าคม ป็ีถดั ไป็) ไมต่ ้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเขี้า 800 บาท

2) ค่าบำรุงการศกึ ษา 500 บาท
3) คา่ ธรรมเนยี มการเป็ลยี่ นแป็ลงทะเบยี นป็ระวตั นิ กั ศกึ ษา 100 บาท
(ชำระคร�งั เดียวตลอดอายุขีองการเป็็นนักศึกษา)

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 15

6. เมอื่ ไดร้ บั การขีน�ึ ทะเบยี นเป็น็ นกั ศกึ ษาใหมเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ มหาวทิ ยาลยั
จะโอนยา้ ยป็ระวตั ิการศึกษา หลกั สตู รทดลองเรียน จำนวน 4 ชุดวชิ าทส่ี อบผู้่าน
มายงั หลักสตู รระดบั ป็ริญญาตรใี ห้โดยอัตโนมัติภายในภาคการศึกษาแรก

กรณี๋นักศึกษาทีดี๋ลี่องเร๋ยนศึกษาไม่ครบ/สอบไม่ผ่านต่ามโครงสร้าง
หลี่ักสูต่ร จำนวน 4 ชุ้ดี๋วิช้า มหาวิทียาลี่ัยจะมอบใบสัมฤทีธีิบัต่รในชุ้ดี๋วิช้าที๋�
สอบผ่านให้แกน่ กั ศกึ ษาทีดี๋ลี่องเรย๋ น หร่อสามารถ่สมัครเขา้ เรย๋ นเป็น็ นกั ศกึ ษา
ทีดี๋ลี่องเรย๋ นไดี๋อ้ ก๋ โดี๋ยขอเทีย๋ บผลี่การศกึ ษาในช้ดุ ี๋วชิ ้าทีส๋� อบผา่ นมาในหลี่กั สตู ่ร
ทีดี๋ลี่องเร๋ยนทีส�๋ มัครใหม่ไดี๋้

❦ แนวิทางการเล่อกสาขาวิิชา

เมื่อผูู้้สนใจได้รับทราบรายละเอียดในเร่ืองต่าง ๆ เก่ียวกับมหาวิทยาลัย
สุโขีทัยธรรมาธิราชแล้ว สนใจสมัครเป็็นนักศึกษาขีองมหาวิทยาลัย ซ็ึ่งการศึกษา
จะป็ระสบความสำเรจ็ ไดต้ ามความตงั� ใจนน�ั จะตอ้ งศกึ ษาและพจิ ารณารายละเอยี ด
แนวทางในการเลอื กเขี้าศึกษาในสาขีาวชิ า/แขีนงวชิ า/วชิ าเอก ดังต่อไป็นี�

1. สำรวจความสนใจขีองตนเอง สำรวจบคุ ลิกภาพขีองตนเอง ตรวจสอบ
ความสามารถทางการเรยี น ศกึ ษาความรเู้ กย่ี วกบั อาชพี และวเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย
ขีองตนเองอย่างเป็น็ ธรรมว่าตนเองเหมาะสมกบั การศึกษาในสาขีาวิชาใด

2. ศึกษาโครงสร้างหลักสูตรขีองสาขีาวิชาท่ีนักศึกษาทดลองเรียน
มีแผู้นการต่อยอดการศึกษาระดับป็ริญญาตรีว่าจะต้องศึกษากี่ชุดวิชา ป็ระเมิน
เบอื� งต้นจากชื่อชดุ วชิ าว่ายากหรือง่ายสำหรับความสามารถขีองตวั เรา

3. ศกึ ษาเป็รียบเทียบระหว่างสาขีาวชิ าทส่ี นใจ ในป็ระเดน็ ต่อไป็นี�
- สนใจสาขีาวิชาใดมากกว่ากนั เพราะเหตใุ ด
- สาขีาวิชาที่เรียนเกีย่ วขี้องกับการทำงานหรือไม่
- ความจำเป็็นในเรอ่ื งระยะเวลาที่ศกึ ษา
- ความยาก-ง่ายในการเรยี นให้สำเรจ็ การศึกษา
- การป็ระกอบอาชพี หลังจากสำเรจ็ การศกึ ษา

4. ตดั สนิ ใจเลอื กสาขีาวชิ าทเี่ หมาะสมกบั ตนเองจะมแี นวโนม้ ทจี่ ะป็ระสบ
ความสำเร็จมากที่สุด

16 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

หากตอ้ งการคำป็รกึ ษา โป็รดตดิ ตอ่ ฝา่ ยแนะแนวการศกึ ษา สำนกั บรกิ าร
การศกึ ษา โทร. 0 2504 7631-7 e-mail: [email protected] ผู้้สู นใจสมคั ร
เป็็นนักศึกษาทดลองเรียน สามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมผู้่านเว็บไซ็ต์ขีอง
มหาวทิ ยาลยั ท่ี https://www.stou.ac.th

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 17

ศิษยี์เก่าดีเด่น

มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าชจดั ใหม้ พี ธิ มี อบโลป่ ็ระกาศเกยี รตคิ ณุ แก่
นักศึกษาและศษิ ยเ์ กา่ ดีเด่นป็ระจำป็กี ารศกึ ษา 2563 มีวตั ถปุ ็ระสงค์เพอื่ เป็น็ การ
สรา้ งขีวญั และกำลงั ใจแกน่ กั ศกึ ษา และศษิ ยเ์ กา่ ทสี่ รา้ งชอื่ เสยี งใหแ้ กม่ หาวทิ ยาลยั
สงั คม และป็ระเทศชาติ โดยการผู้า่ นการคัดเลือกจากคณะกรรมการการพจิ ารณา
คดั เลอื กนกั ศกึ ษา และศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ ซ็งึ่ เป็น็ บคุ คลทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั มผี ู้ลงานเป็น็
ทป่ี ็ระจกั ษต์ อ่ สงั คมภายนอกจนไดร้ บั การป็ระกาศเกยี รตคิ ณุ ยกยอ่ งจากหนว่ ยงาน
ต่าง ๆ ทั�งในระดับชาติ และนานาชาติ โดยผู้ลงานเหล่านั�นล้วนเกิดจากความรู้
ความสามารถขีองนักศึกษาและศิษย์เก่าทั�งส�ิน ซ็่ึงถือเป็็นความภาคภูมิใจแก่
มหาวทิ ยาลยั เป็น็ อยา่ งมาก ในป็กี ารศกึ ษา 2563 มผี ู้ผู้ ู้า่ นการพจิ ารณาคดั เลอื กจาก
คณะกรรมการฯ เพอื่ มอบโล่จำนวน 44 ราย ป็ระกอบดว้ ย

1. นกั ศกึ ษาและศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ ดา้ นความสำเรจ็ ในอาชพี จำนวน 16 ราย
2. นักศึกษาและศษิ ยเ์ ก่าดีเด่น ดา้ นผู้ลงานเด่น จำนวน 13 ราย
3. นักศึกษาและศิษย์เก่าดีเด่น ด้านสร้างคุณป็ระโยชน์แก่สังคมและ
สถาบนั จำนวน 15 ราย

18 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

รายนามศิษยเ์ กา่ ดี๋๋เดี๋่นดี๋า้ นความสำเร็จในอาช้พ๋ ั

ลี่ำาดี๋ับ ช้อ�่ – นามสกุลี่ (อาช้พ๋ ั) สาขาวชิ ้า

1 นายกติ ติพงษ์ สาริวงษ์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
แพทย์เฉพาะทางออร์โธป็ดิ ิกส์ คลนิ ิกเฉพาะทางดา้ นเวชกรรม
กระดกู และขีอ้ จ.เชยี งใหม่

2 นางคณภัสร์ วรรณพฤกษ์ นิเทศศาสตร์
กรรมการบริหารบริษทั คอสเม่ จำากัด และบรษิ ัทซ็ซี ็ไี ทย
อนิ เตอร์เนช่นั แนล จาำ กัด

3 นางสาวจารวุ รรณ นธิ ไิ พบูลย์ นเิ ทศศาสตร์
พนักงานมหาวทิ ยาลัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

4 ศาสตราจารย์ ดร.ฉตั รสุมน พฤฒิภญิ โญ วทิ ยาศาสตรส์ ุขีภาพ
อาจารย์ป็ระจำาคณะสาธารณสุขีศาสตร์ นติ ิศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

5 นายทรงยศ นาคฤทธ์ิ วทิ ยาการจดั การ
ป็ระกอบธุรกจิ สว่ นตวั

6 นางพรรณอร วนั ทอง วิทยาการจัดการ
พนกั งานมหาวทิ ยาลยั

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ินครสวรรค์

7 นายไพศาล เรืองฤทธ์ิ เศรษฐศาสตร์
ทนายความและนักธรุ กจิ

8 นายฟาอิส วาเลาะแต ศกึ ษาศาสตร์
อาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาลศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราชนครนิ ทร์

9 นางสาวภทรวรรณ อักษร วิทยาการจดั การ
ผู้อู้ าำ นวยการกองแผู้นงาน

มหาวทิ ยาลัยสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช

10 นายแพทยว์ ิษณุ อนลิ บล วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ีภาพ
นายแพทย์ชำนาญการ รกั ษาการในตำแหนง่ ผู้อู้ ำนวยการ
โรงพยาบาลป็ากนำ� หลงั สวน จ.ชุมพร

11 วา่ ท่รี ้อยตรีสมสวย ป็ัญญาสิทธ์ิ เกษตรศาสตร์และสหกรณ์
ขีา้ ราชการ

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 19

ลี่าำ ดี๋ับ ช้�อ่ – นามสกุลี่ (อาช้๋พั) สาขาวชิ ้า
12 นางสาวสพุ ร สเี งนิ ยวง ศึกษาศาสตร์

ครูชาำ นาญการ วิทยาลยั เทคนิคสตลู นิเทศศาสตร์
จ.สตูล ศกึ ษาศาสตร์
ศลิ ป็ศาสตร์
13 นายสุภนนั ท์ ฤทธิม์ นตรี มนษุ ยนเิ วศศาสตร์
ขีา้ ราชการ กรมป็ระชาสัมพนั ธ์
ศึกษาศาสตร์
14 นางสาวอนงค์นารถ เหลีย่ มฤดี
ผู้อู้ ำานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศยั อำาเภอเมอื งจันทบรุ ี

15 นายอทุ ัย เพ็ญสุขีสันต์
ผู้อู้ ำานวยการสำานักอำานวยการ
ป็ระจาำ ศาลจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

16 นายเอกวุฒิ ไกรมาก
ผูู้้อำานวยการเชีย่ วชาญ

โรงเรยี นสะอาดเดมิ วิทยา จ.ชุมพร

รายนามศษิ ยเ์ กา่ ดี๋๋เดี๋่นดี๋้านผลี่งานเดี๋น่

ลี่าำ ดี๋บั ช้อ�่ – นามสกุลี่ (อาช้พ๋ ั) สาขาวชิ ้า

1 พระราชเวที (สุรพล ชิตญาโณ) ศกึ ษาศาสตร์
ผูู้้ชว่ ยเจา้ อาวาส วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม

2 นายจกั รพงศ์ ป็ติ โิ ชคโภคนิ ท์ พยาบาลศาสตร์
พยาบาลวิชาชพี ชาำ นาญการ โรงพยาบาลนาตาล
จ.อุบลราชธานี

3 นายธีรวฒุ ิ เขีอ่ื นแก้ว วิทยาการจดั การ
ผูู้้จัดการท่วั ไป็ ฝ่ายผู้ลติ ภณั ฑิใ์ หม่

บริษทั โยโกยาม่า โกเกียว ไทยแลนด์ จำากดั

4 นายบญุ เกิด รอ่ งแก้ว นติ ศิ าสตร์
ผู้อู้ ำานวยการสำานักงานทรพั ยากร เกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
และสิง่ แวดลอ้ ม จ.เชียงราย

5 นางบษุ กร กนแกม พยาบาลศาสตร์
พยาบาลวิชาชพี ชำานาญการ

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ีภาพตำาบลบ้านป็ลายทา่

20 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

ลี่ำาดี๋ับ ช้�่อ – นามสกลุ ี่ (อาช้พ๋ ั) สาขาวชิ ้า

6 นายป็รชี า มะโนยศ นิเทศศาสตร์
ขี้าราชการ โรงพยาบาลเทิง จ.เชียงราย

7 นางสาวพลอยป็ระกาย ฉลาดล้น พยาบาลศาสตร์
พยาบาลวิชาชพี ชาำ นาญการพิเศษ

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนจี กั รรี ัช

8 นายภมู ิพัฒน์ วนพพิ ฒั นพ์ งศ์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ขีา้ ราชการ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาพิษณุโลก

9 รองศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชียร อินทะสี รฐั ศาสตร์
รองคณบดีฝา่ ยบริหาร คณะสังคมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั นเรศวร นิติศาสตร์
ศึกษาศาสตร์
10 นายวรี พงศ์ วัฒนาวนิช
พนักงานหาวทิ ยาลัย คณะแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยสงขีลานครินทร์

11 พนั ตำารวจเอก ดร.วรี ะวุธ ชยั ชนะมงคล
รองผู้บู้ ังคับการ ตำารวจภูธรจงั หวัดลำาป็าง

12 นางสาวเสาวลกั ษณ์ วิชยั รัตน์ พยาบาลศาสตร์
พยาบาลวชิ าชีพชาำ นาญการ วทิ ยาการจดั การ
วิทยาการจดั การ
โรงพยาบาลวงั ทรายพนู จ.พิจติ ร
13 นายอภชิ ยั อุน่ ตา

ป็ระกอบธรุ กิจส่วนตวั

รายนามศิษยเ์ กา่ ดี๋เ๋ ดี๋น่ ดี๋้านสรา้ งคณุ ีป็ระโยช้นแ์ ก่สังคม
แลี่ะมหาวทิ ียาลี่ัยสุโขทียั ธีรรมาธีิราช้

ลี่ำาดี๋ับ ช้�อ่ – นามสกุลี่ (อาช้๋พั) สาขาวิช้า

1 นายกรกฎ เพียรคาำ พร วิทยาการจัดการ
กรรมการผูู้จ้ ดั การ นติ ศิ าสตร์

บรษิ ทั หัวหินแอ�ดไวเซ็อร์จาำ กดั วิทยาการจดั การ
2 นายคมสัน กองเพชร นิตศิ าสตร์

ผู้้ใู หญ่บ้านดอนบม จ.ขีอนแก่น
3 นายเฉลิมศักดิ์ นอ้ ยศรี

นายกเทศมนตรีเทศบาลตำาบลนาดนิ ดำา
อาำ เภอเมืองเลย จ.เลย

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 21

ลี่าำ ดี๋ับ ช้อ่� – นามสกลุ ี่ (อาช้๋พั) สาขาวิช้า

4 นายชฏิิภกรน์ ทรายหมอ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ทป่ี ็รกึ ษาระบบโป็รแกรม โรงพยาบาลป็ทุมธานี

5 นายณภัทรพงศ์ ทรงแก้ว เกษตรศาสตร์และสหกรณ์
ขี้าราชการ สำานกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั�ง
ป็ระจำาจงั หวัดนครศรธี รรมราช

6 นายบญุ ญฤทธ์ิ ชลวถิ ี นเิ ทศศาสตร์
ผูู้ช้ ว่ ยหวั หน้าส่วนผู้ลติ ไพ่ โรงงานไพ่กรมสรรพสามติ

7 พนั ตรพี บิ ุญชยั ณ ลำาพูน ศกึ ษาศาสตร์
ป็ระกอบธรุ กิจส่วนตัว

8 นางสาวฟาตีม�ะ อาดำา วทิ ยาการจัดการ
พนกั งานขีาย ร้านวณิ าการไฟฟา้

9 นางมาลัย เขีียวทอง วทิ ยาการจัดการ
ป็ระกอบธุรกจิ ส่วนตวั มนษุ ยนิเวศศาสตร์

ศิลป็ศาสตร์

10 นายรณยุทธ์ ทำามา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พนักงานราชการ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี

11 นายสน่ัน เสมาธรรมจักร์ วทิ ยาการจัดการ
ผู้ใู้ หญบ่ า้ นบา้ นควนจง จ.สงขีลา

12 นายสมเกยี รติ สมเกยี รติสกลุ นติ ศิ าสตร์
ทนายความ สาำ นกั งานสมเกยี รตสิ กลุ และเพอ่ื นทนายความ

13 นายสุรพนั ธุ์ ช่อจอหอ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เจ้าหนา้ ทไี่ อที โรงแรมบูตกิ ซ็ิตีพ� ัทยาและโรงแรมในเครอื

14 นางสาวอนันตยา ผู้ดุ กระจา่ ง ศกึ ษาศาสตร์
ผูู้้อาำ นวยการโรงเรียนวดั ป็ทุมาวาส จ.ระยอง

15 นายอัครพัฒน์ เอ่ยี มสมบญุ รฐั ศาสตร์
เจ้าหน้าท่ีรักษาความป็ลอดภัย บริษทั มน่ั คงพิทักษท์ รัพยจ์ ำากดั

22 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

เก็บมาฝากจากแนะแนวิ

การพัฒนาตนเองเพ�่อควิามก้าวิหน้าในอาชีพ

เมอื่ เขีา้ มาอยใู่ นชว่ งชวี ติ ขีองการทำงาน ไมว่ า่ ใครกอ็ ยากใหต้ นเองมคี วาม
กา้ วหนา้ ในการทำงาน เพอื่ สรา้ งโอกาสดี ๆ หลายอยา่ งในชวี ติ ใหก้ บั ตนเอง แตว่ า่
การทำงานให้ป็ระสบความสำเร็จนั�น จำเป็็นต้องอาศัยป็ัจจัยหลายอย่างเขี้ามา
ป็ระกอบ เพ่ือช่วยกระตุ้นให้ผูู้้ป็ฏิิบัติงานสามารถทำงานน�นั ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไป็
ไดด้ ว้ ยดี ฉะนน�ั หากเราคดิ วา่ แคท่ ำงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหอ้ อกมาดที ส่ี ดุ กเ็ ทา่ กบั
ความสำเร็จในหน้าท่ีการงาน เราอาจต้องเป็ลี่ยนความคิดเสียใหม่ เพราะยังมีอีก
ส่งิ หนึง่ ทจี่ ำเป็็น น่ันกค็ ือ “การพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ” เพอื่ ใหส้ ามารถเดนิ ตอ่ ใน
เส้นทางการทำงานได้อย่างเช่ียวชาญ ซ็่ึงการพัฒนาตนเองในการทำงาน มีผู้ลต่อ
ความกา้ วหน้าที่จะเกดิ ขีึน� ตอ่ ไป็ โดยขีอแนะนำแนวทางการพัฒนาตนเองดังนี�

1. เรียนรู้ในสิ่งที่ตนไม่ถนัด เม่ือต้องทำงานที่ไม่มีความถนัด ลำดับแรก
ควรพยายามมองหาขี้อดีในงานนั�น ๆ ก่อน อาทิ เป็็นการฝึกทักษะความอดทน
หรอื ช่วยให้ไดเ้ รยี นร้ทู กั ษะใหม่ ๆ ซ็ง่ึ มีป็ระโยชนต์ อ่ การทำงานในอนาคต เมื่อเป็น็
เช่นนี� ต่อให้เจองานที่ตนไม่ถนัดจริง ๆ ก็เป็ลี่ยนความคิดตัวเองเสียใหม่ แล้ว
พยายามเรยี นรู้ ศึกษา พัฒนาในเร่ืองดังกล่าว แม้ชว่ งแรกอาจเป็็นเรอ่ื งยาก แต่พอ
ป็รับตวั ไดท้ ุกอย่างก็ไมย่ ากอยา่ งทคี่ ดิ

2. โฟกัสจุดที่ควรพัฒนาในการทำงาน การเลือกพัฒนาในส่ิงที่เราชอบ
และถนดั เป็น็ ทางลดั ในการพฒั นาตนเอง เพราะเวลาทเ่ี ราไดท้ ำในสง่ิ ทต่ี วั เองถนดั
สงิ่ ทีต่ วั เองชอบ สง่ ผู้ลให้เรารสู้ กึ สนุกกับงานที่ทำจนลืมเวลา แม้มีเรอื่ งใหม่ ๆ มา
ใหเ้ รียนรกู้ ็ไม่รู้สึกเบือ่ และอาจเป็น็ ตัวกระตุน้ ให้เกดิ ความกระตอื รอื ร้นทจี่ ะเรียนรู้
สิง่ ใหม่อยตู่ ลอดเวลา

3. ไม่หยุดยั�งการพัฒนา ผูู้้ที่จะป็ระสบความสำเร็จในหน้าที่การงานได้
จำเป็็นต้องมีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็็นเร่ืองขีองบุคลิกภาพ
ลักษณะพฤติกรรม หรอื แมแ้ ตว่ ิธกี ารทำงาน เราจะตอ้ งเป็น็ ผู้สู้ ำรวจและป็ระเมิน
ความสามารถตนเองอยา่ งสมำ่ เสมอ หาขีอ้ บกพรอ่ ง ป็รับป็รุงใหด้ ีขี�นึ

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 23

4. คิดบวก มองโลกในแง่ดีเสมอ ความคิดทางบวก เป็็นส่วนช่วยให้เรา
สามารถทำงานไดอ้ ย่างมคี วามสุขีมากยิ่งขีึน� เมอื่ เราพบป็ญั หาหรอื อปุ ็สรรคต่าง ๆ
เวลาทำงาน เพยี งเรามีความคิดในทางทดี่ ี เรากส็ ามารถกา้ วขี้ามป็ัญหาเหลา่ นั�นได้
โดยงา่ ย และรวดเรว็ ความสำเรจ็ ในหน้าที่การงานอาจจะไมม่ าในวันน�ี แตจ่ ะตอ้ ง
มาหาเราในสกั วัน การคิดแตเ่ รอ่ื งดี ๆ หรือการมองโลกในแง่ดี จะทำให้การทำงาน
ขีองเรามแี ต่ความสขุ ีได้

5. มงุ่ เนน้ ความอดทน ความอดทนเป็น็ พลังขีองความสำเร็จ การอดทน
ตอ่ คำพดู อดทนตอ่ พฤติกรรมการดหู มิน่ อดทนต่อความเครียดในการทำงาน เป็น็
อีกสิ่งที่สำคัญ และเป็็นแรงผู้ลักดันให้เราก้าวไป็หาความสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว
เนอ่ื งจากการทำงานไม่ว่าจะเป็น็ อาชีพอะไรกแ็ ลว้ แต่ จะต้องพบกับผูู้้คนทอ่ี าจจะ
มีคำพูดที่ไม่ดี หรือมีพฤติกรรมท่ีเราไม่สามารถรับได้ แต่การท่ีเรามีความอดทน
อดกลน�ั จะทำใหเ้ ราสามารถเผู้ชญิ หนา้ กบั ป็ญั หาขีองคนเหลา่ นน�ั ได้ หนา้ ทก่ี ารงาน
ขีองเราก็จะไม่เสียและสามารถดำเนินการตอ่ ไป็ไดอ้ ย่างราบรน่ื เราอาจจะลดการ
ใสใ่ จกบั ป็ัญหาคนอน่ื ๆ ลงบ้าง เราก็สามารถพบกบั ความสำเรจ็ ได้อยา่ งแนน่ อน

6. มีนำ� ใจ ให้แก่เพ่อื นร่วมงาน นิยามความสำเรจ็ ในหน้าท่กี ารงาน ไมไ่ ด้
ขีน�ึ อยกู่ บั ระดบั ความสงู ขีองตำแหนง่ แตก่ ารทำงานอยา่ งมคี วามสขุ ีถอื เป็น็ เสน้ ทาง
แห่งความสำเรจ็ ในหน้าทก่ี ารงาน ไม่วา่ คณุ จะทำหน้าท่อี ะไรก็แลว้ แต่ การทค่ี ณุ มี
นำ� ใจกับทุกคน มคี วามเป็น็ มิตรกบั เพือ่ นรว่ มงาน และให้ความเป็น็ กนั เองกบั ผูู้้คน
ภายนอก จะทำให้ชีวิตขีองคุณมีแต่ความสุขีและสามารถร่วมงานกันได้อย่าง
สบายใจ

7. ทมุ่ เทกบั การทำงาน การทำงานทกุ อยา่ งตอ้ งมคี วามตง�ั ใจ ใสใ่ จทกุ ราย
ละเอยี ด เพอ่ื ใหผ้ ู้ลงานออกมาดที สี่ ดุ หากทกุ ครงั� มคี วามตงั� ใจทำงาน ผู้ลงานกย็ อ่ ม
ออกมาดี เม่ือเวลาทำงานก็ต้องให้ความสนใจกับเร่ืองงานมาเป็็นอันดับแรก และ
ใหท้ ำงานดว้ ยความสนกุ ไมค่ วรเครยี ดเรอื่ งอนื่ ๆ ทอี่ ยนู่ อกเหนอื จากงานทที่ ำมาก
เกินไป็ การทุ่มเทกับการทำงานในทุกวัน ในไม่ช้าคุณก็จะป็ระสบความสำเร็จกับ
การทำงานได้

8. ยนิ ดแี ละยอมรบั การเป็ลยี่ นแป็ลง การพฒั นาตวั เองใหด้ ขี ีนึ� เราจำเป็น็
จะต้องมคี วามตอ้ งการอย่างมากทจี่ ะเป็ลยี่ นแป็ลงตัวเอง คนส่วนใหญไ่ มช่ อบและ

24 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

ตอ่ ตา้ นการเป็ลยี่ นแป็ลงซ็ง่ึ จะเป็น็ แรงฉดุ ทท่ี ำใหอ้ ยกู่ บั ที่ พยายามเป็ดิ ใจ ยนิ ดแี ละ
ยอมรับกับความเป็ลยี่ นแป็ลงทีต่ ัดสนิ ใจทำ คดิ ถึงความสขุ ีและความสำเรจ็ ที่ได้รับ
เสมือนหน่ึงว่า เราสามารถพัฒนาตัวเองสำเร็จแล้ว เม่ือทำสิ่งใดแล้วไม่ได้ผู้ลลัพธ์
ตามทเี่ ราตอ้ งการ ยดื อกแลว้ ยอมรบั วา่ เป็น็ เพราะตวั ขีองเราเอง ใชม้ นั เป็น็ บทเรยี น
เพ่อื พฒั นาตัวเองใหด้ ขี ี�ึนจะดีกวา่

9. พร้อมพัฒนาตนเองอยู่เสมอ นอกจากจะทุ่มเทให้แก่การทำงานแล้ว
การป็รบั ป็รงุ และพัฒนาตนเอง เพิม่ ความสามารถในการทำงานใหเ้ กิดทกั ษะและ
มีความชำนาญในงานน�ัน ๆ และสามารถป็รบั เป็ล่ยี นรูป็แบบการทำงานใหม้ คี วาม
สอดคล้องกับตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หากสามารถทำไดอ้ ยา่ งนแี� ล้ว ความสำเรจ็
ก็จะเขี้ามาหาไดอ้ ย่างทต่ี อ้ งการ

ทก่ี ลา่ วมานเี� ป็น็ แนวทางสว่ นหนงึ่ ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การพฒั นาตนเองในการทำงาน
เพ่ือการเติบโตก้าวหน้าในการทำงานขีองตนเอง เพราะการทำงานนั�นไม่เพียงแต่
เป็็นการทำงานเพื่อเงินเดือนหรือเป็็นการทำงานเพียงเพ่ือการเติบโตขีองบริษัท
แต่การทำงานท่ีมีป็ระสิทธิภาพที่ดีนั�นคือ การเพิ่มพูนทักษะท่ีดีและเติบโตไป็
พรอ้ มกบั องคก์ ร การพฒั นาตนเองในการทำงาน เป็น็ อกี หนทางหนง่ึ ทจี่ ะทำใหเ้ รา
ป็ระสบความสำเรจ็ ในชวี ติ ควบคกู่ บั มคี วามสขุ ีในการทำงาน ทง�ั ชว่ ยใหเ้ รากา้ วขีา้ ม
อปุ ็สรรคตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขีนึ� ในอนาคต

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 25

ทุนการศึกษาของมหาวิิทยีาลัยีสุโขทัยีธรรมาธิราช

กองทุนการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราช แต่เดิมใช้ชื่อว่า
“กองทนุ การศึกษากลมุ่ บริษทั สุราทพิ ย์” ซ็่งึ ได้เริม่ ดำเนนิ การมาต�ังแตป่ ็ีการศกึ ษา
2541 โดยมหาวิทยาลัยได้รับเงินบริจาคเน่ืองในโอกาสพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ครองศริ ริ าช
สมบตั ิครบรอบ 50 ป็ี จำนวนเงิน 300,000 บาท (สามแสนบาทถว้ น) เพอื่ นำฝาก
ธนาคารและนำดอกเบ�ียท่ีได้มาจัดสรรทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาท่ีเรียนดี
และขีาดแคลนทนุ ทรพั ย์ในแตล่ ะป็ี

ในป็ีการศึกษา 2546 ได้มีการเป็ล่ียนแป็ลงชื่อกองทุนการศึกษาจาก
กองทุนการศึกษากลุ่มบริษัทสุราทิพย์ มาใช้ชื่อ “กองทุนการศึกษามหาวิทยาลัย
สุโขีทยั ธรรมาธริ าช” โดยมีทนุ ป็ระเดิมจำนวน 10,400,000 บาท (สบิ ลา้ นสี่แสน
บาทถ้วน) โดยจดั สรรจากเงนิ คงคลงั ขีองมหาวิทยาลยั จำนวน 10,000,000 บาท
(สบิ ลา้ นบาทถ้วน) รวมกับทนุ กลุ่มบรษิ ัทสุราทิพย์ จำนวน 300,000 บาท (สาม
แสนบาทถ้วน) และเงินบริจาคจากผู้้มู จี ติ ศรัทธาโดยจะนำดอกผู้ลท่ีไดจ้ ากกองทนุ
ไป็จดั สรรเป็น็ รายป็ี เพอ่ื เป็น็ ทนุ การศกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษาทมี่ คี ณุ สมบตั คิ รบตามเกณฑิ์
และเงอื่ นไขีทมี่ หาวทิ ยาลยั กำหนดตอ่ ไป็ ซ็งึ่ ผู้ทู้ ผี่ ู้า่ นการพจิ ารณาจะไดร้ บั ทนุ คนละ
5,000 บาท โดยตง�ั แต่ป็ีการศกึ ษา 2557 เป็น็ ตน้ มา ได้มกี ารเป็ล่ียนแป็ลงจำนวน
เงนิ เป็็น 8,000 บาท ตอ่ 1 ทนุ ทัง� นี� ในแตล่ ะป็ีการศกึ ษา ไดม้ ีผู้บู้ ริจาคสมทบทนุ
เพิ่มเตมิ (อาทิ คณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ ฯ ศิษยเ์ ก่าขีองมหาวทิ ยาลัย) ใหแ้ ก่
นักศึกษาทมี่ ีคณุ สมบัติเป็็นไป็ตามเกณฑิ์ท่มี หาวทิ ยาลยั กำหนด เชน่ กล่มุ ผูู้้ตอ้ งขีัง
เป็็นตน้ เพ่ือเป็็นทนุ การศกึ ษาใหแ้ กน่ ักศึกษาท่ีขีาดแคลนทุนทรพั ย์ ใช้จ่ายเป็็นค่า
บำรุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน และค่าวัสดุการศึกษา เพ่ือจะได้สำเร็จการ
ศึกษาตามระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกำหนด โดยนักศึกษาไม่ต้องกลับมาชำระหน�ี
คนื ให้แกม่ หาวิทยาลัยแตอ่ ย่างใด

26 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

❦ ท่านสามารถ้บริจาคทุนการศึกษาได้ตามช่องทางต่อไปนี�

1. มอบเงนิ บริจาคไดด้ ้วยตนเองท่ี ฝา่ ยแนะแนวการศึกษา สำนักบรกิ าร
การศกึ ษา มหาวิทยาลัยสโุ ขีทยั ธรรมาธิราช

2. โอนเงินเขี้าบัญชีธนาคาร “กองทุนการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขีทัย
ธรรมาธิราช” ธนาคารกรุงศรอี ยุธยา สาขีาเพลินจิต เลขีทบี่ ัญชี 001-9-15718-6

3. โอนเงินเขี้าบัญชีธนาคาร “กองทุนการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขีทัย
ธรรมาธิราช” ธนาคารกรุงไทย สาขีาเมืองทองธานี เลขีท่บี ญั ชี 147-0-26783-7
หรอื สแกนผู้่าน QR-Code

กรณผี ู้บู้ รจิ าคตอ้ งการลดหยอ่ นภาษี โป็รดกรอกรายละเอยี ดในแบบแสดง
ความจำานงบรจิ าคเงินทนุ การศึกษา โดยขีอรับได้ที่ ฝา่ ยแนะแนวการศกึ ษา สำนัก
บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราช หรือ ดาวน์โหลดจากเว็บไซ็ต์
https://www.stou.ac.th ➔ สำนกั บรกิ ารการศกึ ษา ➔ ขีา่ วป็ระชาสมั พนั ธท์ ว่ั ไป็

❤ ❤ กรณี๋บริจาคเงินเกนิ 100,000 บาที (หนง�ึ แสนบาทีถ่้วน) ข�ึนไป็
ที่านสามารถ่จัดี๋ต่งั� เป็็นช้อ่� กองทีนุ ต่ามความป็ระสงคข์ องผู้บริจาค ❤ ❤

สำนกั บรกิ ารการศกึ ษาจะนำเงนิ ทนุ การศกึ ษาสง่ เขีา้ บญั ชเี งนิ รบั ฝากขีอง
มหาวิทยาลัยตามระเบียบ ก่อนทำการมอบทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาที่ได้รับ
คัดเลือก คณะกรรมการบริหารกองทุนการศกึ ษามหาวิทยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
จะคัดเลือกนักศกึ ษาที่มคี ณุ สมบตั คิ รบตามเกณฑิเ์ พ่ือรบั มอบทนุ การศกึ ษาตอ่ ไป็

ฝ่ายแนะแนวการศึกษา สำนักบริการการศึกษา จัดทำเรื่องเบิกเงินทุน
การศึกษาและจดั ซ็�ือธนาณตั ใิ หแ้ ก่นักศกึ ษาท่ไี ดร้ ับทนุ การศกึ ษา

❤ ❤ บริจาคเงินสามารถ่นำไป็หักลี่ดี๋หย่อนภาษไ๋ ดี๋้ ❤ ❤

หมายเหตุ่ : 1. มหาวทิ ยาลัยจัดสรรใหก้ บั นกั ศึกษาป็กี ารศกึ ษาละ 1 ครัง�
2. กรณีบริจาคเงิน 100,000 บาทขีึ�นไป็ มหาวทิ ยาลยั จะต�ังช่อื ทุน

ตามทผี่ ู้บู้ รจิ าคเสนอ

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 27

สอบถ่ามขอ้ มูลี่เพัม�ิ เต่ิมไดี๋ท้ ี�๋
ฝ่ายแนะแนวการศึกษา สำนกั บริการการศึกษา
มหาวิทียาลี่ัยสุโขทีัยธีรรมาธีริ าช้ ต่.บางพัดู ี๋ อ.ป็ากเกรด็ ี๋

จ.นนทีบรุ ๋ 11120
โทีรศพั ัที์ 0 2504 7633 โทีรสาร 0 2503 3868

E-mail : [email protected]

❤❤

28 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 29

แนะนำหลักส้ตรการศึกษา
ของมหาวิิทยีาลัยีสุโขทัยีธรรมาธิราช

การศึกษามีความสำคัญและจำเป็็นย่ิงต่อการดำรงชีวิตในทุกด้าน การ
ศกึ ษาสามารถพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ขีองคนในทกุ สงั คมตลอดจนสามารถพฒั นาความ
คดิ และจติ ใจคนได้ สงั คมใดทสี่ มาชกิ สว่ นใหญไ่ ดร้ บั การศกึ ษา สงั คมนน�ั จะสามารถ
พัฒนาได้ทุกด้านและในป็ัจจุบันสังคมมีการเป็ล่ียนแป็ลงอย่างรวดเร็วสมาชิกใน
สังคมจึงต้องศึกษาเรยี นรเู้ พ่ิมขีึ�นหรอื เรยี นรไู้ ป็พรอ้ ม ๆ กบั การเป็ลยี่ นแป็ลงที่เกดิ
ขีน�ึ อย่างตอ่ เนือ่ งและตลอดชวี ติ

หลี่กั สตู ่รการศกึ ษาระดี๋บั ป็รญิ ญาต่รข๋ อง มสธี. เป็ดิ สอนระดบั ป็รญิ ญาตรี
12 สาขีาวิชา ที่สามารถตอบสนองความต้องการการพัฒนาตนเองได้เป็็นอย่างดี
ด้วยเน�อื หาหลักสูตรที่เขี้มขี้น ทันสมัย คณาจารย์ท่ีมีความรู้ ความสามารถ และ
มีป็ระสบการณ์ตรงตามสาขีาวิชารวมท�ังการให้บริการการศึกษาที่ครอบคลุม
ทกุ จงั หวดั โดยมบี คุ ลากรขีองมหาวทิ ยาลยั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื บรกิ ารแนะแนวและ
การพัฒนานักศึกษาที่จะช่วยให้ผูู้้เรียนป็ระสบความสำเร็จได้โดยง่าย ซ็ึ่ง มสธ.
เป็ิดทำการเรยี นการสอน 12 สาขีาวิชา ดงั น�ี

1. สาขีาวชิ าศิลป็ศาสตร์ 8. สาขีาวชิ ามนษุ ยนเิ วศศาสตร์
2. สาขีาวิชานเิ ทศศาสตร์ 9. สาขีาวชิ ารฐั ศาสตร์
3. สาขีาวิชาศกึ ษาศาสตร์ 10. สาขีาวชิ าเกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
4. สาขีาวชิ าวทิ ยาการจดั การ 11. สาขีาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
5. สาขีาวชิ านิติศาสตร์ 12. สาขีาวิชาพยาบาลศาสตร์
6. สาขีาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ีภาพ
7. สาขีาวชิ าเศรษฐศาสตร์
* ระยะเวลาการศึกษา 1 ป็ี สำหรับหลักสูตรป็ระกาศนียบัตร 2-4 ป็ี
สำหรับหลักสูตรป็ริญญาตรี โดยมหาวิทยาลัยให้ระยะเวลาศึกษา 3 เท่าขีอง
หลกั สูตร

30 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

หลี่ักสูต่รการศึกษาระดี๋ับบัณีฑิิต่ศึกษา เป็ิดสอนระดับป็ริญญาโท 12
สาขีาวิชา เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตการเพ่ิมวิทยฐานะ การต่อยอดทางการศึกษา
และความสนใจเพมิ่ เตมิ ทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ ู้เู้ รยี นป็ระสบความสำเรจ็ ไดโ้ ดยงา่ ยดว้ ยระบบ
การศึกษาทางไกลมีลักษณะเช่นเดียวกับระดับป็ริญญาตรี มีการเขี้าร่วมกิจกรรม
สมั มนาเสรมิ หรอื สมั มนาเขีม้ ป็ระจำชดุ วชิ าเพอื่ เสนอรายงาน และแลกเป็ลยี่ นความ
คิดเห็นเชิงวิเคราะห์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษาตามช่วงเวลาต่าง ๆ รวมท�งั การ
จัดให้คำป็รึกษาแนะนำอย่างมีระบบด้วยวิธีการนัดหมายระหว่างอาจารย์และ
นักศึกษาตามช่วงเวลาท่ีเหมาะสม ในระดับบัณฑิิตศึกษาเป็ิดหลักสูตรสำหรับ
นักศึกษาเลอื กทำวทิ ยานพิ นธแ์ ผู้น ก และแผู้น ขี สำหรับนักศกึ ษาท่เี ลอื กค้นคว้า
อิสระและหลกั สูตรระดับป็ระกาศนยี บตั รบัณฑิติ 12 สาขีาวิชาดังนี�

1. สาขีาวิชาศลิ ป็ศาสตร์ 8. สาขีาวชิ ามนษุ ยนเิ วศศาสตร์
2. สาขีาวิชานิเทศศาสตร์ 9. สาขีาวิชารัฐศาสตร์
3. สาขีาวิชาศึกษาศาสตร์ 10. สาขีาวชิ าเกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
4. สาขีาวชิ าวทิ ยาการจดั การ 11. สาขีาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
5. สาขีาวชิ านิติศาสตร์ 12. สาขีาวิชาพยาบาลศาสตร์
6. สาขีาวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ุขีภาพ
7. สาขีาวชิ าเศรษฐศาสตร์
หลี่กั สตู ่รการศกึ ษาระดี๋บั ดี๋ษุ ฎีบ๋ ณั ีฑิติ ่ เป็ดิ สอนระดบั ป็รญิ ญาเอกจำนวน
8 สาขีาวชิ า เพอ่ื พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยท์ จ่ี ะนำมาซ็งึ่ ความเจรญิ กา้ วหนา้ และความ
มน่ั คงตอ่ ตนเองและป็ระเทศชาติ มหาวทิ ยาลยั มงุ่ สรา้ งผู้สู้ ำเรจ็ การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ
และมคี ณุ ธรรมสสู่ งั คม เพอ่ื สามารถนำความรไู้ ป็ใชป้ ็ระโยชนต์ อ่ ตนเอง วชิ าชพี และ
สงั คมต่อไป็ เกณฑิ์มาตรฐานหลกั สตู รแบง่ เป็น็ แผู้นการศึกษาทีเ่ น้นการวิจัย โดยมี
การทำดุษฎีนิพนธ์โดยผูู้้เขี้าศึกษาที่สำเร็จป็ริญญาโท จะต้องทำดุษฎีนิพนธ์ 4
ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หน่วยกติ และศกึ ษาชุดวิชาอกี ไมน่ ้อยกวา่ 18 หน่วยกติ
มห๋ ลี่ักสตู ่รระดี๋ับดีุ๋ษฎีบ๋ ัณีฑิติ ่ 8 หลี่ักสูต่ร ดี๋ังน�๋
1. ป็รชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิติ แขีนงวชิ าสารสนเทศศาสตร์ สาขีาวชิ าศลิ ป็ศาสตร์
2. ป็รัชญาดุษฎีบัณฑิิต สาขีาวชิ านิเทศศาสตร์ และแขีนงวิชานวัตกรรม
การสอ่ื สารทางการเมืองและการป็กครองทอ้ งถิน่

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 31

3. ป็รัชญาดุษฎีบัณฑิิต สาขีาวิชาศึกษาศาสตร์ ป็รัชญาดุษฎีบัณฑิิต
แขีนงวชิ าบริหารการศกึ ษา แขีนงวิชาหลกั สูตรและการสอน แขีนงวิชาการวัดผู้ล
และป็ระเมินผู้ลการศึกษา แขีนงวิชาการแนะแนวและการป็รึกษาเชิงจิตวิทยา
แขีนงวิชาเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา สาขีาวิชาศึกษาศาสตร์

4. ป็รัชญาดุษฎีบัณฑิิต วิชาเอกการจัดการการผู้ลิตพืชและพัฒนา
วิชาเอกสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตร สาขีาวชิ าเกษตรศาสตร์และสหกรณ์

5. บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิิต แขีนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ
ป็รัชญาดุษฎีบณั ฑิติ แขีนงวิชารัฐป็ระศาสนศาสตร์ สาขีาวชิ าวทิ ยาการจัดการ

6. รัฐศาสตรดษุ ฎีบัณฑิิต สาขีาวิชารฐั ศาสตร์
7. ป็รัชญาดุษฎีบัณฑิิต แขีนงวิชาสาธารณสุขีศาสตร์ สาขีาวิชา
วิทยาศาสตรส์ ุขีภาพ
8. นิติศาสตรดุษฎบี ณั ฑิิต สาขีาวชิ านิติศาสตร์

32 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

แนะนำสมาคมสุโขทัยีธรรมาธิราช
ในพระราช้ปถ้ัมภ์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

สยีามมกุฎราชกุมาร

✦ ความเป็็นมา
สมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราช ได้รับอนุญาตจัดตั�ง เม่ือวันท่ี 20 มีนาคม

พ.ศ. 2527 และได้รบั พระราชานญุ าตใหอ้ ยู่ในพระราชปู ็ถมั ภข์ ีองสมเดจ็ พระบรม
โอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอื่ วนั ที่ 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2532 โดยมสี มาชกิ
ผู้เู้ รม่ิ กอ่ ตง�ั คอื ศาสตราจารย์ ดร.วจิ ติ ร ศรสี อา้ น ในขีณะทดี่ ำรงตำแหนง่ อธกิ ารบดี
มหาวทิ ยาลัยสุโขีทัยธรรมาธริ าช และบัณฑิติ รุ่นแรกอีก 2 ท่าน คือ พลโทฝังพร
บุญเลี�ยง และนายป็ระเสริฐ สภุ ากรณ์
✦ วัต่ถุ่ป็ระสงค์

1. เพอ่ื ส่งเสรมิ สามคั คธี รรมและผู้ดุงเกยี รตขิ ีองสมาชกิ
2. เพื่อส่งเสริมการแลกเป็ลี่ยนความรู้และความคิดเห็นทางวิชาการ
ระหว่างมวลสมาชิก
3. เพอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กจิ การขีองมหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
4. เพ่อื บำเพญ็ สาธารณป็ระโยชน์แกส่ งั คม
5. สมาคมนีไ� มเ่ กีย่ วขีอ้ งกับการเมอื ง
บณั ฑิติ มสธ. มที กุ สาขีาวชิ าชพี กระจายอยทู่ ว่ั ทกุ ภมู ภิ าคขีองป็ระเทศไทย
สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธิราช ไดเ้ ลง็ เห็นความสำคญั ขีองบณั ฑิติ มสธ. ทกุ คน จงึ ได้
จัดต�ังชมรมบัณฑิิต มสธ. ทั่วป็ระเทศครบทั�ง 76 จังหวัด เพื่อเป็็นศูนย์รวมขีอง
สมาชิกในการจัดทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 33

✦ สมาช้กิ ภาพัของสมาช้กิ
1. คณุ ีสมบัต่ขิ องสมาช้ิก
1.1 เคยศกึ ษาเลา่ เรยี นในมหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าชมาแลว้ และ

มอี ายตุ ง�ั แต่ 20 ป็ีบรบิ ูรณข์ ี�นึ ไป็
1.2 เป็็นหรือเคยเป็็นคณาจารย์ป็ระจำ ขี้าราชการป็ระจำ พนักงาน

ขีองมหาวทิ ยาลยั ลกู จา้ งป็ระจำเงนิ รายได้ ผู้อู้ ำนวยการศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชน
สมั พนั ธ์ คณาจารยพ์ เิ ศษ อาจารยส์ อนเสรมิ ผู้ผู้ ู้ลติ ชดุ วชิ า และหวั หนา้ ศนู ยบ์ รกิ าร
การศึกษาขีองมหาวทิ ยาลยั สุโขีทัยธรรมาธริ าช

1.3 เป็น็ นกั ศกึ ษาและผู้เู้ รยี นป็จั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
1.4 เป็็นผูู้้มีอุป็การคุณต่อมหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราช และ
สมาคม ซ็่งึ ไดร้ ับเชิญจากสมาคมใหเ้ ป็น็ สมาชกิ
2. ป็ระเภทีของสมาช้ิก
สมาคมแบ่งสมาชิกเป็น็ 2 ป็ระเภท
2.1 สมาชิกสามัญ ไดแ้ ก่ ผูู้้ทม่ี ีคุณสมบตั ิตามขีอ้ 1.1, 1.2 และ 1.3
ซ็ง่ึ ไดย้ ื่นคำขีอเขีา้ เป็็นสมาชิก
2.2 สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผูู้้ท่ีสมาคมเห็นสมควรเชิญเขี้าเป็็น
สมาชิกตามขี้อ 1.4
✦ คา่ บำรุงสมาช้กิ
1. สมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราช เรียกเก็บค่าบำรุงจากสมาชิกสามัญ
คราวเดียว 500 บาท ตลอดชพี
2. สมาชกิ กติ ตมิ ศักด์ิไม่ตอ้ งเสยี ค่าบำรุง
✦ การสมัครเป็น็ สมาช้กิ
- ชำระค่าบำรงุ สมาชกิ 500 บาท ตลอดชีพ
โดยผู้่านระบบออนไลนโ์ ดยสแกน QR Code
หรอื เมนูสมคั รสมาชกิ สมาคม

34 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

ช้มรมบณั ีฑิิต่ มสธี.
สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช มเี ครอื ขีา่ ยคอื ชมรมบณั ฑิติ มสธ. ทวั่ ป็ระเทศ

76 จงั หวดั โดยมวี ตั ถปุ ็ระสงค์ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ ขีองสมาคม ไดม้ โี อกาสรว่ มกนั
ดำเนนิ กจิ กรรมในท้องถิน่ ในฐานะตัวแทนขีองสมาคมในรปู ็ขีองชมรม

การดี๋ำเนินงานของคณีะกรรมการบริหารสมาคมสโุ ขทียั ธีรรมาธีริ าช้
ต่ามอุดี๋มการณี์ 3 ส.

ส.สมาช้กิ ส.สถ่าบัน มสธี. แลี่ะ ส.สงั คม
1. กิจกรรมเพั�่อสง่ เสริมสามคั ค๋ธีรรมแลี่ะผดี๋งุ เก๋ยรต่ิของสมาช้ิก

1.1 จดั ทำวารสารจดหมายขีา่ ว ส.ส.ธ. สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าชมสี มาชกิ
กระจายอยู่ทุกจังหวัดท่ัวป็ระเทศ ดังน�ันสมาคมจึงได้จัดทำวารสารจดหมายขี่าว
ส.ส.ธ. ซ็ง่ึ มบี ทความทใี่ หป้ ็ระโยชนแ์ กส่ มาชกิ เขียี นโดยนกั วชิ าการทม่ี คี วามรู้ ความ
สามารถ เผู้ยแพร่ขี่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ให้แก่สมาชิกสมาคมทางจดหมาย
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทกุ ๆ 3 เดอื น และสามารถตดิ ตามอา่ นวารสารจดหมายขีา่ ว ส.ส.ธ.
ได้ทางเว็บไซ็ตข์ ีองสมาคม www.stastou.org

1.2 รับสมัครสมาชิก ป็ัจจุบันสมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราช มีนักศึกษา
บณั ฑิิตและมหาบัณฑิติ ขีองมหาวิทยาลยั สโุ ขีทัยธรรมาธริ าช ทสี่ มัครเป็น็ สมาชิก
สมาคมมากกวา่ 15,000 คน ซ็งึ่ สมาคมได้ป็ระชาสมั พนั ธ์เชญิ ชวนสมคั รสมาชิกใน
จดหมายขี่าว มสธ. ท่ีมหาวิทยาลัยส่งให้กับผูู้้สำเร็จการศึกษา นอกจากน�ีชมรม
บณั ฑิติ มสธ. ไดร้ ณรงคห์ าสมาชกิ สมาคมเพมิ่ เตมิ ทำใหใ้ นแตล่ ะป็สี มาคมมสี มาชกิ
เพ่ิมขี�ึนอย่างต่อเนื่อง ทั�งน�ีเพื่อมุ่งเน้นให้สมาชิกสมาคมได้ร่วมจัดกิจกรรมและ
ทำคณุ ป็ระโยชนต์ ามอดุ มการณ์ 3 ส. ซ็ง่ึ สมาคมจะเขีม้ แขีง็ ไดต้ อ้ งมกี ำลงั ขีองสมาชกิ
สนับสนุน

1.3 เครอื ขีา่ ยป็ฏิบิ ตั กิ าร มสธ. สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช ใหก้ ารสนบั สนนุ
การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีศูนย์วิทยบริการและชุมชนสัมพันธ์ มสธ. ชมรมบัณฑิิต
และชมรมนักศึกษา จัดขีึ�นในจังหวัดต่าง ๆ ซ็่ึงคณะกรรมการบริหารสมาคมจะ
เดินทางไป็ร่วมกิจกรรมทุกครั�งเม่ือมีโอกาส เพ่ือเป็็นขีวัญและกำลังใจในการทำ
กิจกรรมต่าง ๆ ขีองเครือขีา่ ยป็ฏิิบัติการ มสธ.

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 35

1.4 จัดกิจกรรมฟ้�นฟูชมรมบัณฑิิต มสธ. สมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราช
มเี ครือขี่ายคอื ชมรมบัณฑิติ มสธ. ทวั่ ป็ระเทศ 76 จังหวัด โดยมวี ัตถปุ ็ระสงคเ์ พื่อ
สง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ ขีองสมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช ไดม้ โี อกาสรว่ มกนั ดำเนนิ กจิ กรรม
ในท้องถ่ินในฐานะตวั แทนขีองสมาคมในรูป็ขีองชมรม ดังนนั� สมาคมจงึ ดำเนินการ
ฟน้� ฟชู มรมบณั ฑิิต มสธ. ขี�นึ เพอ่ื สร้างความเขี้มแขี็งให้กับชมรม โดยแนะนำใหม้ ี
การจดั กิจกรรมต่าง ๆ อยา่ งตอ่ เนื่อง ตามอดุ มการณ์ 3 ส.

1.5 จัดสมั มนาชมรมบัณฑิติ มสธ. ทวั่ ป็ระเทศ และป็ระชุมใหญส่ ามัญ
ป็ระจำป็ี สมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราชจัดการป็ระชุมสัมมนาชมรมบัณฑิิต มสธ.
ทวั่ ป็ระเทศ และป็ระชมุ ใหญส่ ามญั ป็ระจำป็ี หมนุ เวยี นไป็ตามภาคตา่ ง ๆ โดยจดั ขีน�ึ
ป็ีละหนึ่งคร�ัง เพื่อให้คณะกรรมการบริหารสมาคม สมาชิกสมาคม ผูู้้แทนชมรม
บัณฑิิต ผู้แู้ ทนชมรมนักศกึ ษา และผูู้้แทนศนู ยว์ ทิ ยบริการและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ.
ได้มีโอกาสพบป็ะสังสรรค์ทำกิจกรรมร่วมกัน ป็ระชุมเครือขี่ายป็ฏิิบัติการ มสธ.
เพื่อรายงานผู้ลการจัดกิจกรรมป็ระจำป็ี/วางแผู้นการจัดกิจกรรมป็ีต่อไป็ และ
เลอื กตงั� คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมชุดใหม่เมื่อชุดเกา่ ครบวาระ

1.6 พจิ ารณาคดั เลอื กชมรมบณั ฑิติ มสธ. ดเี ดน่ สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
มีวัตถุป็ระสงค์ท่ีจะส่งเสริมให้ชมรมบัณฑิิตได้ทำกิจกรรมที่เป็็นคุณป็ระโยชน์
แก่สมาคม มหาวิทยาลัย และกิจกรรมสาธารณป็ระโยชน์ สมาคมจึงพิจารณา
คดั เลอื กชมรมบณั ฑิติ ทม่ี ผี ู้ลงานดเี ดน่ เพอ่ื ป็ระกาศเกยี รตคิ ณุ และเป็น็ แนวทางให้
ชมรมบณั ฑิิตอืน่ ไดย้ ึดถอื เป็็นแบบอย่างทด่ี ีในการบริหารชมรมบัณฑิิตตอ่ ไป็
2. กจิ กรรมเพัอ่� ส่งเสรมิ แลี่ะสนบั สนนุ กิจกรรม

ของมหาวทิ ียาลี่ยั สุโขทียั ธีรรมาธีริ าช้
2.1 ร่วมถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระ

ป็กเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อน้อมรำลึกถึงพระเกียรติคุณและแสดงความกตัญญููกตเวที
ตอ่ พระองค์ ผู้ทู้ รงบำเพ็ญป็ระโยชนแ์ กป่ ็ระเทศชาตนิ านัป็การ ได้แก่ วนั คลา้ ยวนั
สวรรคต (30 พฤษภาคม) วนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพ (8 พฤศจกิ ายน) และวนั คลา้ ย
วันพระราชทานรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (10 ธนั วาคม) ขีองทุกป็ี

36 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

2.2 งานการกุศลท่ีมหาวิทยาลัยจัดขีึ�นในโอกาสต่าง ๆ เช่น ทำบุญ
ตักบาตร ฟังธรรม: วันขีึน� ป็ใี หม่ วันมาฆบชู า วันวสิ าขีบูชา วันอาสาฬหบูชาและ
วันเขี้าพรรษา วันเฉลิมพระชนมพรรษา บริจาคเงินทำบุญงานกฐินพระราชทาน
มหาวทิ ยาลยั เป็็นตน้

2.3 งานพิธีพระราชทานป็ริญญาบัตรขีองมหาวิทยาลัย สมาคมสุโขีทัย
ธรรมาธริ าชดำเนินการกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีมหาวทิ ยาลัยมอบหมาย เชน่ การให้เชา่ /
จำหน่ายเส�ือครุย ชุดขีาว แหวนรุ่น และเขี็มวิทยฐานะ การจัดหาร้านจำหน่าย
อาหาร-เครื่องดื่ม ดอกไม้ ป็กพลาสตกิ และสง่ิ ขีองต่าง ๆ การจัดหาร้านให้บรกิ าร
ทำผู้ม-แต่งหน้า บัณฑิิตท่ีเขี้ารับพระราชทานป็ริญญาบัตร การจัดหาผูู้้ถ่ายภาพ
บณั ฑิติ ทเ่ี ขีา้ รบั พระราชทานป็รญิ ญาบตั ร จดั ดอกไมป้ ็ระดบั ตกแตง่ บรเิ วณพระบรม
ราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็ พระป็กเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และบรเิ วณหนา้ มหาวทิ ยาลยั
ใหเ้ กดิ ความสวยงามในชว่ งงานพธิ พี ระราชทานป็รญิ ญาบตั ร ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ
เชน่ ธนาคาร ฯลฯ เพอ่ื จดั ซ็มุ้ ดอกไมแ้ สดงความยนิ ดกี บั ผู้สู้ ำเรจ็ การศกึ ษา เป็น็ ตน้

2.4 กจิ กรรมอนื่ ๆ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ดำเนนิ การและขีอรบั การสนบั สนนุ จาก
สมาคม เช่น งานสงกรานตอ์ นรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย การแขี่งขีันกีฬาบุคลากรภายใน
(กฬี าส)ี การแขีง่ ขีนั กฬี าโบวล์ งิ่ การกศุ ล งานเกษยี ณอายขุ ีา้ ราชการและลกู จา้ งขีอง
มหาวิทยาลัย งานสถาป็นามหาวทิ ยาลัยสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช เป็น็ ตน้
3. กิจกรรมเพัอ�่ บำเพั็ญป็ระโยช้นต์ ่อ่ สังคม

3.1 บริจาคเงินเพ่ือกิจกรรมการกุศลและสาธารณป็ระโยชน์ต่าง ๆ
รว่ มกบั ชมรมบัณฑิติ ชมรมนกั ศึกษา ศูนยว์ ทิ ยบรกิ ารและชุมชนสัมพนั ธ์ มสธ.

3.2 บรจิ าคเงนิ เพ่ือสนบั สนุนกิจกรรมทางการศกึ ษา
3.3 กจิ กรรมอื่น ๆ แลว้ แต่โอกาส

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 37

การต่ดิ ี๋ต่่อ
บณั ฑิติ สามารถตดิ ตอ่ สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช เพอื่ เขีา้ รว่ มกจิ กรรมหรอื

ตดิ ตามขีา่ วสารความเคลอื่ นไหวในการทำกจิ กรรมขีองสมาคม ชมรมบณั ฑิติ มสธ.
ไดท้ ่ี www.stastou.org โทร. 0 2504 7797, 0 2503 3619
สถ่านที�ต๋ ่ง�ั

สมาคมสุโขีทัยธรรมาธิราช เลขีที่ 9/9 หมู่ท่ี 9 อาคารสุโขีสโมสร
ห้อง 202 ชัน� 2 มหาวทิ ยาลยั สุโขีทัยธรรมาธริ าช ตำบลบางพดู อำเภอป็ากเกรด็
จงั หวัดนนทบุรี 11120

38 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

เก็บมาเล่า เอามาฝาก

มสธ. เตรียีมเข้าส้่การเป็น “Green University” ของโลก

มหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราช (มสธ.) เป็็นมหาวิทยาลัยเป็ิดในระบบ
การศึกษาทางไกล ดำเนินภารกิจโดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต มุ่งเน้นการ
จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ สามารถตอบสนองต่อการ
พัฒนาป็ระเทศได้อย่างย่ังยืน ในระยะแรกขีองการก่อต�ังระหว่างป็ี พ.ศ. 2521-
2527 มสธ. ยังไม่มีท่ีทำการถาวรต้องเช่าอาคารต่าง ๆ ขีองหน่วยงานรัฐในเขีต
กรงุ เทพมหานครเพือ่ ใชเ้ ป็็นที่ทำการชวั่ คราว ตอ่ มาในป็ลายป็ี พ.ศ. 2527 มสธ.
ไดย้ า้ ยเขีา้ สทู่ ท่ี ำการถาวร ตงั� อยทู่ ่ี ต.บางพดู อ.ป็ากเกรด็ จ.นนทบรุ ี มพี น�ื ทปี่ ็ระมาณ
90 ไร่ ซ็ึ่งเป็็นท่ีดินได้รับบริจาคมาจำนวน 30 ไร่ และมหาวิทยาลัยซ็ื�อเพ่ิมเติม
อกี 60 ไร่

ในสมยั นน�ั ทา่ นศาสตราจารย์ ดร.วจิ ิตร ศรีสอา้ น อธกิ ารบดีผู้้กู อ่ ตั�งได้มี
แนวคดิ และวางนโยบายทจี่ ะป็รบั ป็รงุ ภมู ทิ ศั นท์ ท่ี ำการขีองมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ป็น็ ทง�ั
ท่ีทำงานและที่พักผู้่อนหย่อนใจในยามว่างขีองชาว มสธ. โดยยึดหลัก “สะอาด
สวยงาม และเป็็นระเบียบเรียบร้อย” มีการจัดบริเวณให้ร่มร่ืน สวยงาม ไม่เป็็น
ป็า่ คอนกรตี มมี มุ ทเี่ ป็น็ สโมสรสำหรบั ใชใ้ นกจิ กรรมกฬี าและนนั ทนาการในลกั ษณะ
เป็น็ คนั ทรคี ลบั หรอื สป็อรต์ คลบั ทงั� นเี� พอื่ ใหเ้ ป็น็ ทที่ ำงานทส่ี มบรู ณแ์ บบและมสี ภาพ
แวดล้อมท่ีจะเป็็นป็ัจจัยให้การทำงานเกิดป็ระสิทธิภาพและช่วยให้สังคมท่ีอยู่
รอบ ๆ มหาวิทยาลยั มีทิวทศั น์ท่ีสวยงามและรม่ ร่นื นอกจากนีย� ังเป็น็ สถานทท่ี ่ใี ห้
คนในชมุ ชนเขี้ามาใช้เป็น็ สถานทอี่ อกกำลังกายและพักผู้อ่ นหยอ่ นใจได้อีกดว้ ย

จากวนั นนั� มาจนถงึ วนั นเี� ป็น็ ระยะเวลาผู้า่ นมากวา่ 40 ป็แี ลว้ ภมู ทิ ศั นข์ ีอง
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าชกย็ งั มเี อกลกั ษณเ์ ดน่ เชน่ เดมิ จากแนวคดิ รเิ รม่ิ ขีอง
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอา้ น ทจี่ ะทำให้ มสธ. เป็็น “มหาวิทยาลัยสีเขีียว”
จึงเป็็นท่ีมาและนำไป็สู่การเขี้าร่วมการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขีียวโลก (UI
GreenMetric World University Rankings) ซ็ึ่งมีหลกั เกณฑิ์ที่ใชเ้ ป็น็ ตัวช�วี ดั ใน

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 39

การจดั อนั ดับจำนวน 6 ดา้ น ได้แก่ 1) ที่ต�งั และโครงสรา้ งพืน� ฐาน 2) พลงั งานและ
การเป็ลี่ยนแป็ลงสภาพภมู อิ ากาศ 3) ขีองเสยี 4) น�ำ 5) การสญั จร 6) การศึกษา
และการวจิ ยั

จากผู้ลการจดั อันดับ UI GreenMetric World University Rankings
2021 ผู้ลป็รากฏิว่ามหาวิทยาลัยสุโขีทัยธรรมาธิราชได้คะแนน 4,800 คะแนน
จาก 10,000 คะแนน จัดเป็น็ อนั ดบั ที่ 638 จาก 956 มหาวิทยาลยั ทว่ั โลก และได้
อนั ดบั ที่ 32 จาก 39 มหาวทิ ยาลยั ในป็ระเทศไทย และเมอื่ วนั ที่ 14 ธนั วาคม 2564
มผี ู้แู้ ทนมหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ขีา้ รว่ มในพธิ ปี ็ระกาศผู้ลการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั สเี ขียี ว
และรางวัลมหาวทิ ยาลัยดีเด่นดา้ นต่าง ๆ ซ็งึ่ จัดงานในรูป็แบบออนไลน์

นอกจากการป็รับแต่งภูมิทัศน์ขีองมหาวิทยาลัยให้ร่มรื่น สวยงาม เป็็น
ระเบยี บแลว้ มหาวทิ ยาลยั ยงั ไดด้ ำเนนิ ภารกจิ เพอื่ ใหส้ อดรบั กบั การเป็น็ มหาวทิ ยาลยั
สเี ขียี วในดา้ นการป็ระหยดั พลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาติ อาทิ โครงการกอ่ สรา้ ง
อาคารหอ้ งสมดุ และศนู ยก์ ารเรยี นรมู้ หาวทิ ยาลยั สโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช ซ็ง่ึ เป็น็ อาคาร
ที่ออกแบบโดยเน้นการป็ระหยัดพลังงานและป็ระโยชน์ใช้สอย รวมถึงโครงการ
บรหิ ารจดั การเพอื่ การป็ระหยดั พลงั งานในมหาวทิ ยาลยั ซ็งึ่ มหาวทิ ยาลยั ไดล้ งนาม
ในบนั ทกึ ขีอ้ ตกลงความรว่ มมอื กบั การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค เพอื่ ศกึ ษาและหาแนวทาง
ร่วมกันในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสม และมีป็ระสิทธิภาพมาใช้ในการ
บรหิ ารจดั การด้านพลังงานขีองมหาวทิ ยาลัย

ในป็ี ค.ศ. 2021 ยูไอ กรีนเมตรกิ ไดก้ ำหนดหัวขีอ้ ไวเ้ ป็็น “Universities,
UI GreenMetric and SDGs in the Time of Pandemic” โดยมงุ่ เน้นความ
รับผู้ิดชอบขีองมหาวิทยาลัยท่ีมีเป็้าหมายในการพัฒนาท่ียั่งยืนและความท้าทาย
ท่ีซ็ับซ็้อนขีองโลก ซ็่ึงแสดงถึงความพยายามขีองมหาวิทยาลัยในการวางแผู้น
ให้เป็็นมหาวิทยาลัยสีเขีียว แก่ชุมชนท�ังทางด้านสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
ในขีณะเดียวกันต้องรับมือกับสถานการณ์แพร่ระบาดขีองโรค Covid-19 ได้ด้วย

ผู้ลการจดั อนั ดบั ขีอง ยไู อ กรนี เมตริก จะมีสว่ นช่วยใหส้ งั คมตระหนักถึง
การพฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ ใหค้ วบคกู่ บั การรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื และเป็ลย่ี น
การดำเนินชีวิตขีองผูู้้คนให้มีส่วนร่วมในการใช้พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ
ไดอ้ ยา่ งรคู้ ณุ คา่ ในขีณะเดยี วกนั สงั คม มสธ. ขีองเรากไ็ ดเ้ รยี นรจู้ ากคะแนนทไ่ี ดร้ บั

40 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

เพื่อนำมาพัฒนามหาวิทยาลัยร่วมกัน และนำไป็สู่การจัดอันดับขีองโลกที่ดีขี�ึนใน
รอบป็ถี ดั ไป็

.................................

แหลี่่งที�๋มา:
หอ้ งสมุด มสธ. (2564). มสธ. เตรียมเขี้าส่กู ารเป็น็ “Green University”

ขีองโลก สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 14 มถิ นุ ายน 2565, จาก https://library.stou.
ac.th/2022/03/stou-green-university/

สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ. 41

ศนู ย์วิทียบริการแลี่ะช้มุ ช้นสัมพันั ธี์

ศนู ยว์ ิทียบริการแลี่ะชุ้มช้นสมั พัันธี์ (ที๋ต� ่�งั /โทีรศัพัที์ /E-mail)
เขต่พัน�่ ที�ร๋ ับผิดี๋ช้อบ
หมทู่ ่ี 2 ถ.ลำาป็าง-เชียงใหม่
1. ศนู ย์วิทียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสัมพัันธี์ มสธี. ลี่าำ ป็าง ต.ป็งยางคก อ.ห้างฉตั ร จ.ลาำ ป็าง 52190
: ลำาป็าง ลาำ พนู เชยี งใหม่ แมอ่ ่องสอน โทรศพั ท์ 0 5482 9811-4
โทรสาร 0 5482 9815
2. ศนู ย์วทิ ียบริการแลี่ะชุ้มช้นสัมพันั ธี์ มสธี. เช้๋ยงราย E-mail : [email protected]
: เชยี งราย น่าน พะเยา แพร่ 4 หมู่ท่ี 7 ถ.สโุ ขีทัย-กาำ แพงเพชร
ต.บ้านกลว้ ย อ.เมือง จ.สุโขีทัย 64000
3. ศูนย์วิทียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสมั พัันธี์ มสธี. สโุ ขทีัย โทรศัพท์ 0 5562 0655
: สโุ ขีทัย พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ อตุ รดติ ถ์ ตาก โทรสาร 0 5565-1097
E-mail : [email protected]
4. ศูนย์วิทียบริการแลี่ะช้มุ ช้นสัมพัันธี์ มสธี. อุดี๋รธีาน๋ หมทู่ ี่ 10 บา้ นคำากลง�ิ ต.บา้ นจัน่
: อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลาำ ภู เลย อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
โทรศพั ท์ 0 4229 2495-500
5. ศูนย์วิทียบริการแลี่ะชุ้มช้นสัมพัันธี์ มสธี. สกลี่นคร โทรสาร 0 4229 2494
: สกลนคร นครพนม มกุ ดาหาร บึงกาฬ E-mail : [email protected]
199 หม่ทู ี่ 10 ถ.เลี่ยงเมือง ต.แจระแม
6. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี. อบุ ลี่ราช้ธีาน๋ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี 34000
: อุบลราชธานี อาำ นาจเจรญิ ศรสี ะเกษ ยโสธร โทรศัพท์ 0 4528 1891 ต่อ 101-105
โทรสาร 0 4528 1890
7. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี. นครราช้สม๋ า E-mail : [email protected]
: นครราชสมี า ชัยภูมิ บุรีรมั ย์ สุรินทร์
105/35 หมู่ที่ 10 ถ.นครสวรรค-์ พิษณุโลก
8. ศูนย์วิทียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสมั พัันธี์ มสธี. ขอนแก่น ต.วดั ไทร อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000
: ขีอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด โทรศพั ท์ 0 5622 2450
โทรสาร 0 5622 3010
9. ศนู ยว์ ิทียบริการแลี่ะชุ้มช้นสัมพันั ธี์ มสธี. นครสวรรค์ E-mail : [email protected]
: นครสวรรค์ อุทัยธานี กำาแพงเพชร พิจติ ร

10. ศนู ย์วทิ ียบริการแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี.
พัระนครศร๋อยุธียา
: พระนครศรีอยุธยา ชยั นาท ลพบรุ ี สิงห์บุรี อา่ งทอง

11. ศนู ยว์ ิทียบริการแลี่ะชุ้มช้นสัมพันั ธี์ มสธี. นครนายก 196 หมู่ท่ี 5 ต.ศรีกะอาง อ.บ้านนา
: นครนายก ป็ราจนี บรุ ี ฉะเชงิ เทรา สระบุรี จ.นครนายก 26110
โทรศัพท์ 0 3730 6247-50
โทรสาร 0 3730 6244
E-mail : [email protected]

42 สารสัมพันธ์ ศิษยี์เก่า มสธ.

ศนู ย์วทิ ียบริการแลี่ะชุ้มช้นสมั พันั ธี์ (ทีต�๋ ่�งั /โทีรศพั ัที์ /E-mail)
เขต่พัน�่ ที�๋รับผดิ ี๋ช้อบ

12. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี. จันทีบุร๋ หมูท่ ี่ 1 ถ.จนั ทบุร-ี สระแกว้
: จันทบุรี ตราด ระยอง สระแก้ว ชลบรุ ี ต.มะขีาม อ.มะขีาม จ.จนั ทบุรี 22150
โทรศพั ท์ 0 3938 9430-3
โทรสาร 0 3938 9434
E-mail : [email protected]

13. ศูนยว์ ิทียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสัมพันั ธี์ มสธี. เพัช้รบรุ ๋ 90 หมทู่ ี่ 9 ต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี 76000
: เพชรบุรี สมทุ รสงคราม สมุทรสาคร ป็ระจวบครี ขี ีนั ธ์ โทรศัพท์ 0 3240 3801-5
14. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสัมพัันธี์ มสธี. ราช้บุร๋ โทรสาร 0 3240 3822
: ราชบรุ ี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี E-mail : [email protected]

15. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะชุ้มช้นสมั พันั ธี์ มสธี. ตู้ ป็ณ. 33 ป็ทฝ. ศาลามีชัย ถ.ราชดำาเนิน
นครศร๋ธีรรมราช้ อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมราช 80001
: นครศรธี รรมราช สุราษฎรธ์ านี ชมุ พร พัทลุง โทรศพั ท์ 0 7537 8680-8
โทรสาร 0 7537 8686
16. ศูนยว์ ิทียบริการแลี่ะช้มุ ช้นสัมพันั ธี์ มสธี. ภูเก็ต่ E-mail : [email protected]
: ภูเก็ต กระบ่ี ตรงั พงั งา ระนอง 6/1 หมู่ท่ี 6 ถ.ทา่ สาป็-ลำาใหม่ ต.พรอ่ น
อ.เมือง จ.ยะลา 95160 หรอื ตู้ ป็ณ. 95
17. ศนู ย์วิทียบริการแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี. ยะลี่า ป็ณจ. ยะลา 95000
: ยะลา ป็ตั ตานี นราธิวาส สงขีลา สตลู โทรศัพท์ 0 7326 4014-25
โทรสาร 0 7326 4017
18. ศนู ยว์ ทิ ียบรกิ ารแลี่ะช้มุ ช้นสมั พันั ธี์ มสธี. นนทีบรุ ๋ E-mail : [email protected]
: นนทบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ป็ทมุ ธานี นครป็ฐม สำานักบริการการศกึ ษา
สมทุ รป็ราการ มหาวทิ ยาลยั สุโขีทยั ธรรมาธริ าช
9/9 ม.9 ต.บางพูด อ.ป็ากเกร็ด
จ.นนทบรุ ี 11120
โทรศพั ท์ 0 2504 7697
E-mail : [email protected]

# แบบสาำ รวจผูส้ ำาเรจ็ การศกึ ษา ป็ระจาำ ป็ีการศกึ ษา 2561-2563 รนุ่ ที�๋ 37-39
เพั�อ่ จดั ี๋ทีำฐานข้อมลู ี่ศษิ ยเ์ ก่า มสธี.

คาำ ช้�แ๋ จง มหาวทิ ยาลัยมีวัตถปุ ็ระสงค์สาำ รวจขีอ้ มูลขีองผู้้สู าำ เรจ็ การศกึ ษา เพ่ือนาำ ไป็ใชใ้ นการสรา้ งความ
สมั พนั ธ์ศิษยเ์ กา่ และเผู้ยแพรช่ ่อื เสียงขีองศษิ ย์เกา่ ทส่ี รา้ งคณุ ป็ระโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม ทีง�ั นจ๋� ะไม่นำขอ้ มูลี่
ส่วนต่วั ของที่านไป็เผยแพัรต่ ่อ่ สาธีารณีะหรอ่ เพั�่อป็ระโยช้น์ทีางธีุรกิจใดี๋ ๆ

คำานำาหน้า/ยศ................ช่ือ..................................ชื่อสกุล......................................................................
เลขีป็ระจำาตัวนักศกึ ษา : เพศ m ชาย m หญิง
1. สาขีาวิชาทสี่ าำ เรจ็ การศกึ ษา : ......................................... 2. ชอ่ื ป็รญิ ญา : ..........................................
3. เบอร์โทรศัพท/์ มือถอื ทีต่ ิดต่อได้ : .................................. 4. E-mail : .................................................
5. ชอ่ื -ทอี่ ยู่ สถานท่ที าำ งาน : ....................................................................................................................
6. ตาำ แหน่งงาน : ………………………………………………7. ผู้ลงาน/รางวลั ท่ีเคยไดร้ บั m เคย m ไม่เคย
8. ชือ่ ผู้ลงาน/รางวัล ทไี่ ดร้ บั …………………………………9. ท่ีอย่ทู ต่ี ดิ ตอ่ ได้…………………………………………
………………………………………………………………......................................................................................
10. ทา่ นเป็น็ สมาชิกสมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธิราช หรือไม่
m เป็็นสมาชกิ สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธิราช m ไมเ่ ป็็นสมาชกิ สมาคมสโุ ขีทยั ธรรมาธริ าช
11. ท่านยินดีชว่ ยกจิ กรรมขีองมหาวทิ ยาลยั หรือไม่
ยนิ ดี ไมย่ นิ ดี
12. ท่านมคี วามพงึ พอใจต่อสารสัมพันธศ์ ษิ ยเ์ กา่ มสธ. ในป็ระเดน็ ต่อไป็น�ี มากน้อยเพียงใด

ความพึงพอใจตอ่ สารสมั พันธศ์ ิษย์เก่า มสธ. ระดบั ความพึงพอใจ
1. เน�อื หาความชัดเจนขีองขีอ้ มลู มากทีส่ ดุ มาก ป็านกลาง น้อย น้อยทีส่ ดุ

ในสารสมั พันธ์ศษิ ยเ์ ก่า มสธ. (5) (4) (3) (2) (1)

2. ขีนาดและรปู ็แบบ
ในสารสัมพันธ์ศษิ ยเ์ กา่ มสธ.

3. ความชดั เจนขีองภาพป็ระกอบ
ในสารสัมพนั ธ์ศษิ ยเ์ ก่า มสธ.

4 . ความพงึ พอใจในภาพรวมขีองสารสัมพนั ธ์
ศิษยเ์ ก่า มสธ.

ขี้อเสนอแนะทีค่ วรป็รบั ป็รุง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………….……………………………………………………………………………………………………….......................................

(...............................................................)
ลายมอื ชื่อผูู้ส้ ำาเรจ็ การศกึ ษา

แสกน QR Code ตอบแบบสาำ รวจผูู้้สาำ เรจ็ การศกึ ษา วันท.่ี .........................................
ป็ระจาำ ป็ีการศกึ ษา 2561-2563 รุ่นท่ี 37-39
หหรมือาแยสเหกตนุ่ ผู้บ่านัณฑQิิตRสาCมoาdรeถเลตืออกบกแรบอบกสขีำ้อรมวูลจผผููู้้้่สานำเแรบ็จบกาสรำศรึกวจษนาี�
อย่างใดอย่างหนึ่ง หากมขี ีอ้ สงสัยติดต่อได้ที่ 0 2504 7636

จาก......................................................... ใบอนุญาตเลขีท่ี ป็ณ.(น)/116 ป็ณจ.หลกั สี่
............................................................... ถา้ ฝากส่งภายในป็ระเทศไม่ต้องผู้นกึ ตราไป็รษณยี ากร
...............................................................

บริการธรุ กจิ ตอบรับ

ส่ง
ฝา่ ยแนะแนวการศึกษา
สำนักบรกิ ารการศึกษา
มหาวทิ ียาลี่ัยสุโขทีัยธีรรมาธีริ าช้
ตู่้ ป็ณี. 333 ที�ท๋ ีำการไป็รษณีย๋ ห์ ลี่กั ส๋�
กรุงเทีพัมหานคร 10210

แบบสำรวจผู้สู้ ำเรจ็ การศกึ ษา ป็ระจำป็กี ารศกึ ษา 2561-2563 รนุ่ ท่ี 37-39 เพอื่ จดั ทำฐานขีอ้ มลู ศษิ ยเ์ กา่ มสธ.
กรณุ าพบั ตามรอยป็รุ (ส่งกลบั มหาวทิ ยาลัยได้เลยโดยไม่ต้องติดแสตมป็)์

#

แบบสำรวจความสนใจเข้าร่วมฝกึ อบรมเช้ิงป็ฏิิบตั ่กิ ารบณั ีฑิติ ่อาสา

คำช้แ๋� จง โป็รดกรอกขีอ้ มูลในช่องวา่ งหรอื ทำเครือ่ งหมาย ✓ ลงใน m ตามความเป็็นจรงิ
1. ชอื่ (นาย,นาง,นางสาว)..........................................นามสกลุ ......................................................................
2. อายุ ........................ป็ี
3. ทอ่ี ยูป่ ็ัจจุบนั ทตี่ ิดตอ่ ไดส้ ะดวก m บา้ น m ทีท่ ำงาน

เลขีท่ี .................หมูท่ ่ี .................. ตรอก/ซ็อย .................................. ถนน ......................................
ตำบล/แขีวง................................... อำเภอ/เขีต .................................. จงั หวัด ..................................
รหัสไป็รษณีย์ .......................... โทรศัพท์บา้ น .............................. โทรศัพทม์ อื ถอื ............................
E-mail ................................................................................................................................................
4. เป็็นบัณฑิติ มสธ. รุ่นท่ี ................ จงั หวดั ....................................
5. การเขี้ารว่ มกิจกรรม
m สนใจเขีา้ รว่ มฝกึ อบรมเชงิ ป็ฏิิบัตกิ ารบณั ฑิติ อาสา
m สนใจเขีา้ รว่ มกิจกรรมเพราะ ………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. หลงั จากการฝึกอบรมเป็็นบณั ฑิติ อาสาแลว้ ท่านสามารถป็ฏิบิ ัตหิ นา้ ท่ใี นขี้อใดไดบ้ า้ ง
(ตอบได้มากกวา่ 1 ขีอ้ )
6.1 m เป็น็ ทป่ี ็รกึ ษาและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นการเรยี นในระบบการศกึ ษาทางไกลแกน่ กั ศกึ ษาทาง
m โทรศัพท์ m E-mail m Line m จดหมาย m อ่ืน ๆ
6.2 m เป็น็ วทิ ยากรตามคำเชญิ จากศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. หรอื ชมรมนกั ศกึ ษา มสธ.

ในกจิ กรรม
m วชิ าการ m สนั ทนาการ

6.3 m อื่น ๆ (ระบุ)………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่อื ..................................................................
(...............................................................)

วนั ที่............เดอื น..........................ป็ี...............


Click to View FlipBook Version