The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นโยบาย สพฐ. 2563

นโยบาย สพฐ. 2563

Keywords: OBEC'S POLICY

นโยบาย

สปำงนบกัปงราะมนาคณณะพก.รศร. ม๒ก๕าร๖ก๓ารศึกษาขัน้ พื้นฐาน
OBEC’S POLICY 2020

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

Office of the Basic Education Commission

นโยบาย

สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

OBEC’S POLICY 2020

สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
Office of the Basic Education Commission

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

จดั พิมพโ์ ดย สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

จำ�นวนพิมพ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม

พิมพท์ ่ ี โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร
กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พมิ พ์ผโู้ ฆษณา พ.ศ. ๒๕๖๒

ค�ำ นำ�

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ตระหนักถึงภารกิจ
ที่สำ�คัญในการพัฒนาประชากรของชาติให้เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้อง
มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดี
ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม
โอบออ้ มอารี มีวินยั รักษาศลี ธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลกั คิดทถ่ี ูกตอ้ ง
มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓
และอนรุ ักษ์ภาษาท้องถ่ิน มนี ิสยั รกั การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง
ตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ
เกษตรกรยคุ ใหม่ และอ่นื ๆ โดยมีสัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง”
ปงี บประมาณพ.ศ.๒๕๖๓ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
โดยคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เห็นชอบกำ�หนดนโยบายสำ�นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และมงุ่ สู่ Thailand 4.0 เพอื่ ขบั เคลอื่ น
การดำ�เนินงานตามเอกสารฉบับนี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐานทุกท่านที่มีส่วนให้ข้อเสนอแนะและผลักดันให้นโยบายสำ�นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สำ�เร็จลุล่วง
ตามวัตถุประสงค์ทกุ ประการ

สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร



สารบญั

หน้า

ค�ำ นำ�

สว่ นท่ี ๑ บทนำ� ๑
๑. การนอ้ มน�ำ ศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบตั ิ ๓
๒. พระปฐมบรมราชโองการ รัชกาลท่ี ๑๐ ๑๒
๓. พระบรมราโชบายในพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดี ๑๓
ศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อย่หู วั
รชั กาลที่ ๑๐ กับการพัฒนาการศึกษา
ส่วนท่ี ๒ นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๑๕
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ความเชือ่ มโยงของยุทธศาสตร์ชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ๑๗
และสังคมแห่งชาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ และนโยบาย สพฐ.
ผงั มโนทัศนน์ โยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ๑๘
ข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๒๑
ปงี บประมาณ ๒๕๖๓
บทนำ� ๒๑
วิสยั ทัศน์ ๒๓
พนั ธกจิ ๒๓
เปา้ หมาย ๒๔
นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ๒๕
มาตรการและแนวดำ�เนินการ ๒๖
นโยบายที่ ๑ ด้านการจดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คง ๒๖
ของมนษุ ยแ์ ละของชาต ิ
นโยบายที่ ๒ ด้านการจดั การศกึ ษาเพือ่ เพม่ิ ความสามารถ ๓๕
ในการแขง่ ขันของประเทศ

สารบัญ (ตอ่ )

หน้า

นโยบายท่ี ๓ ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ ๔๐
ทรพั ยากรมนษุ ย์ ๖๑
นโยบายท่ี ๔ ดา้ นการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบรกิ าร
การศึกษาท่มี คี ุณภาพ มีมาตรฐาน ๖๘
และลดความเหล่อื มลำ้� ทางการศึกษา ๗๕
นโยบายที่ ๕ ดา้ นการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นา
คุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
นโยบายท่ี ๖ ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบ
การบริหารจัดการศกึ ษา

ภาคผนวก ๘๗

๑. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๘๙
๒. ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ๙๑
๓. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ๙๓
๔. คำ�สงั่ หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ๙๕
ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เร่ือง ให้จัดการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๑๕ ปี
โดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ย
๕. นโยบายของรฐั บาลด้านการศึกษา ๙๘
๖. นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๐๕
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๗. การวเิ คราะห์สภาพองค์กร (SWOT Analysis) ๑๑๑
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
๘. คำ�ส่งั สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๑๑๕
ท่ี ๒๑๕๑/๒๕๖๑ เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะทำ�งานยกร่างนโยบาย
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑บทนำ� สว่ นท่ี

2 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๑. การน้อมนำ�ศาสตร์พระราชาส่กู ารปฏิบัติ

๑.๑ “ศาสตรพ์ ระราชา” ต�ำ ราแห่งชวี ิต

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ
“ศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ” เมอ่ื วนั ศกุ รท์ ี่ ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ดงั นี้
“ด้วยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชทาน
พระบรมราชวโรกาส ให้รัฐมนตรี ซึ่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหม่
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ เม่ือวันท่ี ๒๐
ธนั วาคม ทผ่ี า่ นมา ณ พระท่ีน่งั อมั พรสถาน พระราชวังดสุ ิต
ในโอกาสนผ้ี มขออญั เชญิ กระแสพระราชด�ำ รสั ของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อันมีใจความสำ�คัญ เป็นสิริมงคล
แก่คณะรัฐมนตรี และปวงพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ผมเห็นว่าพวกเราทุกคน
ควรไดร้ ะลกึ และรบั ใสเ่ กลา้ ใสก่ ระหมอ่ ม นอ้ มน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ สรปุ ใจความไดว้ า่
“...ขอให้น้อมนำ�ศาสตร์พระราชา” แห่งองค์พระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี ๙ โดยใหศ้ ึกษาวเิ คราะห์พระราชดำ�ริ
และแนวทางพระราชทานนานัปการ ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีท่ีผ่านมา รวมท้ัง
พระราชกรณยี กจิ ทท่ี รงปฏบิ ตั มิ าส�ำ หรบั ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
การประกอบกิจการ และการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ในความรับผิดชอบ รวมทั้ง
ยึดถือเปน็ แบบอยา่ งที่ดีในกิจวตั รประจำ�วัน อันจะเปน็ สิริมงคล เป็นพระคมุ้ ครอง
และเป็น “แสงสว่างนำ�ทาง” ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคนตลอดไป เพื่อสนอง
พระราชปณธิ าน และเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนชาวไทยทง้ั ปวง อยา่ งไรกต็ าม

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 3
OBEC’S POLICY 2020

การปฏิบัติงานใด ๆ ย่อมมีปัญหา ย่อมมีอุปสรรค ก็ขอให้ปรึกษากัน หาข้อมูล
ที่ถูกต้อง และปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ทันกาล เหมาะสมกับสถานการณ์และ
มีเหตผุ ล ทงั้ น้ี ปัญหาและอปุ สรรคเหลา่ น้ัน นอกจากจะเป็นเสมอื น “บททดสอบ
บทเรียน” แล้ว ยังจะเป็นสิ่งท่ีช่วย “เพ่ิม” ความสามารถให้กับเราทุกคนด้วย
ดังนั้น ต้องมีความต้ังใจ มีขันติ มีความอดทน ตลอดจนมีความกระตือรือร้น
ทจ่ี ะศกึ ษาปญั หาและแกไ้ ขใหร้ อบคอบ กจ็ ะไดผ้ ลตอ่ ประเทศ และเปน็ บญุ เปน็ กศุ ล
กบั ตนเองดว้ ย...” นะครับ
“ศาสตร์พระราชา” ถือว่าเป็น “ตำ�ราแห่งชีวิต” เพราะบันทึกจาก
ประสบการณ์ จากการทรงงาน ทท่ี �ำ ใหป้ ระเทศไทยสามารถผา่ นวกิ ฤตการณต์ า่ ง ๆ
มาไดท้ กุ มติ ิผมขอชนื่ ชมสอื่ ทกุ แขนงทไี่ ดน้ �ำ เสนอในรปู แบบตา่ งๆสสู่ ายตาประชาชน
และเยาวชนรนุ่ ใหมใ่ หร้ บั รเู้ ขา้ ใจไดล้ กึ ซงึ้ และถอ่ งแทม้ ากยงิ่ ขน้ึ เพอ่ื สามารถนอ้ มน�ำ
ไปสกู่ ารปฏิบัติได้เปน็ อย่างดี

๑.๒ ๒๓ หลกั การทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙

ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีนอกจากจะทรง
ด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็นพระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต
และการท�ำ งานแกพ่ สกนกิ รของพระองคแ์ ละนานาประเทศอกี ดว้ ย ผคู้ นตา่ งประจกั ษถ์ งึ
พระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมีความสำ�นกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณเป็นล้นพน้
อันหาที่สุดมิได้ ซึ่งแนวคิดหรือหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ มีความ
นา่ สนใจทส่ี มควรน�ำ มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชวี ติ การท�ำ งานเปน็ อยา่ งยง่ิ หากทา่ นใดตอ้ งการ
ปฏิบัติตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท ท่านสามารถนำ�หลักการทรงงานของพระองค์
ไปปรับใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ด้ ดังน้ี

4 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๑) จะท�ำ อะไรต้องศกึ ษาข้อมลู ใหเ้ ปน็ ระบบ
ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบ้ืองต้น
ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้
รายละเอียดท่ีถูกต้อง เพื่อนำ�ข้อมูลเหล่าน้ันไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง
รวดเรว็ และตรงตามเปา้ หมาย
๒) ระเบดิ จากภายใน
จะท�ำ การใด ๆ ตอ้ งเรม่ิ จากคนทเ่ี กย่ี วขอ้ งเสยี กอ่ น ตอ้ งสรา้ งความ
เขม้ แขง็ จากภายในใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและอยากท�ำ ไมใ่ ช่การสง่ั ให้ท�ำ คนไม่เข้าใจ
ก็อาจจะไม่ทำ�ก็เป็นได้ ในการทำ�งานน้ันอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง
เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทมี เสยี ก่อน เพอื่ ใหท้ ราบถึงเปา้ หมายและวธิ กี ารตอ่ ไป
๓) แกป้ ัญหาจากจดุ เลก็
ควรมองปญั หาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมอ่ื จะลงมอื แกป้ ญั หานน้ั
ควรมองในส่ิงท่ีคนมักจะมองข้าม แล้วเริ่มแก้ปัญหาจากจุดเล็ก ๆ เสียก่อน
เมอ่ื ส�ำ เรจ็ แลว้ จงึ คอ่ ย ๆ ขยบั ขยายแกไ้ ปเรอ่ื ย ๆ ทลี ะจดุ เราสามารถเอามาประยกุ ต์
ใชก้ บั การท�ำ งานได้ โดยมองไปที่เป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิน้ แล้วเร่ิมลงมอื ทำ�
จากจุดเล็ก ๆ ก่อน ค่อย ๆ ทำ� ค่อย ๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละช้ินก็จะลุลวง
ไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัว
น้ีก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาที่ทำ�ให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน
เพอ่ื จะให้อยใู่ นสภาพท่ดี ไี ด้…”

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 5
OBEC’S POLICY 2020

๔) ทำ�ตามล�ำ ดบั ข้ัน
เร่มิ ต้นจากการลงมือท�ำในสงิ่ ทีจ่ �ำเปน็ ก่อน เมือ่ ส�ำเรจ็ แล้วก็เรม่ิ
ลงมอื สง่ิ ทจี่ �ำเปน็ ล�ำดบั ตอ่ ไป ดว้ ยความรอบคอบและระมดั ระวงั ถา้ ท�ำตามหลกั นไ้ี ด้
งานทุกสิ่งก็จะส�ำเร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเร่ิมต้นจากสิ่งที่
จ�ำเป็นทสี่ ุดของประชาชนเสยี ก่อน ไดแ้ ก่ สุขภาพสาธารณสขุ จากนั้นจึงเป็นเรื่อง
สาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน และสิ่งจ�ำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน
แหลง่ นำ้� เพอื่ การเกษตร การอปุ โภคบรโิ ภค เนน้ การปรบั ใชภ้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทร่ี าษฎร
สามารถน�ำไปปฏิบตั ิได้ และเกิดประโยชนส์ งู สุด “การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นตอ้ ง
ท�ำตามล�ำดบั ขนั้ ตอ้ งสรา้ งพนื้ ฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใชข้ องประชาชนสว่ นใหญ่
เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา
เม่ือได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริม
ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป…” พระบรมราโชวาท
ของในหลวงรชั กาลท่ี ๙ เม่ือวนั ท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗
๕) ภมู สิ งั คม ภมู ศิ าสตร์ สังคมศาสตร์
การพัฒนาใด ๆ ต้องคำ�นึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้น
วา่ เปน็ อย่างไร และสงั คมวิทยาเก่ยี วกบั ลักษณะนสิ ยั ใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรม
ประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไป
ตามภมู ปิ ระเทศทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู ปิ ระเทศทางสงั คมศาสตร์ในสงั คมวทิ ยา คอื นสิ ยั
ใจคอของคนเรา จะไปบงั คับให้คนอน่ื คิดอย่างอื่นไมไ่ ด้ เราตอ้ งแนะนำ� เข้าไปดวู ่า
เขาตอ้ งการอะไรจรงิ ๆ แลว้ กอ็ ธบิ ายใหเ้ ขาเขา้ ใจหลกั การของการพฒั นานกี้ จ็ ะเกดิ
ประโยชนอ์ ย่างยิง่ ”

6 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๖) ทำ�งานแบบองค์รวม
ใชว้ ธิ คี ดิ เพอ่ื การท�ำ งาน โดยวธิ คี ดิ อยา่ งองคร์ วม คอื การมองสง่ิ ตา่ ง ๆ
ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติเช่ือมต่อกัน มองส่ิงท่ีเกิดขึ้น
และแนวทางแกไ้ ขอยา่ งเชื่อมโยง
๗) ไม่ตดิ ต�ำ รา
เมื่อเราจะทำ�การใดน้ัน ควรทำ�งานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพ
และสถานการณน์ น้ั ๆ ไมใ่ ชก่ ารยดึ ตดิ อยกู่ บั แคใ่ นต�ำ ราวชิ าการ เพราะบางทคี วามรู้
ทว่ มหวั เอาตัวไม่รอด บางคร้ังเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจนทำ�อะไรไม่ได้เลย
ส่ิงที่เราทำ�บางคร้ังต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สังคม และ
จิตวิทยาด้วย
๘) ร้จู กั ประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชนส์ งู สุด
ในการพฒั นาและชว่ ยเหลอื ราษฎร ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงใช้
หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทำ�ได้เอง
หาไดใ้ นทอ้ งถนิ่ และประยกุ ตใ์ ชส้ งิ่ ทม่ี อี ยใู่ นภมู ภิ าคนน้ั มาแกไ้ ข ปรบั ปรงุ โดยไมต่ อ้ ง
ลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีท่ียุ่งยากมากนัก ดังพระราชดำ�รัสตอนหนึ่งว่า
“…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัด
งบประมาณ…”
๙) ทำ�ใหง้ า่ ย
ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนา
ประเทศตามแนวพระราชดำ�ริไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อนและที่สำ�คัญ
อยา่ งยง่ิ คอื สอดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ อยขู่ องประชาชนและระบบนเิ วศโดยรวม
“ท�ำ ให้งา่ ย”

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 7
OBEC’S POLICY 2020

๑๐) การมสี ว่ นร่วม
ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน
ประชาชนหรอื เจา้ หนา้ ทที่ กุ ระดบั ไดม้ ารว่ มแสดงความคดิ เหน็ “ส�ำ คญั ทสี่ ดุ จะตอ้ ง
หัดท�ำ ใจให้กว้างขวาง หนกั แนน่ ร้จู ักรบั ฟงั ความคดิ เหน็ แม้กระทงั่ ความวิพากษ์
วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดน้ัน แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์
อันหลากหลายมาอำ�นวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสำ�เร็จท่ีสมบูรณ์
นั่นเอง”
๑๑) ต้องยึดประโยชนส์ ว่ นรวม
ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงระลกึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเปน็ ส�ำคญั
ดงั พระราชด�ำรสั ตอนหนงึ่ วา่ “…ใครตอ่ ใครบอกวา่ ขอใหเ้ สยี สละสว่ นตวั เพอื่ สว่ นรวม
อนั นฟี้ ังจนเบื่อ อาจร�ำคาญด้วยซำ�้ วา่ ใครตอ่ ใครมากบ็ อกว่าขอให้คดิ ถึงประโยชน์
สว่ นรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ใหๆ้ อยเู่ ร่ือยแล้วส่วนตวั จะไดอ้ ะไร ขอใหค้ ิดวา่ คนที่
ให้เพื่อส่วนรวมน้ัน มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถ
ทีจ่ ะมีสว่ นรวมท่จี ะอาศัยได…้ ”
๑๒) บริการท่ีจดุ เดียว
ทรงมีพระราชดำ�ริมากว่า ๒๐ ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษา
การพัฒนาหลายแห่งท่ัวประเทศโดยใช้หลักการ “การบริการรวมที่จุดเดียว :
ONE STOP SERVICE” โดยทรงเนน้ เรอ่ื งรรู้ กั สามคั คแี ละการรว่ มมอื รว่ มแรงรว่ มใจกนั
ดว้ ยการปรบั ลดชอ่ งวา่ งระหว่างหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง

8 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๑๓) ใช้ธรรมชาติชว่ ยธรรมชาติ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙ ทรงเขา้ ใจถงึ ธรรมชาติ
และตอ้ งการให้ประชาชนใกลช้ ดิ กับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปญั หาธรรมชาติ
อยา่ งละเอยี ด โดยหากเราตอ้ งการแกไ้ ขธรรมชาตจิ ะตอ้ งใชธ้ รรมชาตเิ ขา้ ชว่ ยเหลอื
เราด้วย
๑๔) ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม
ทรงน�ำความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ
มาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะท่ีไม่ปกติ
เข้าสู่ระบบท่ีปกติ เช่น การบ�ำบัดน�ำ้ เนา่ เสยี โดยให้ผกั ตบชวา ซึง่ มตี ามธรรมชาติ
ให้ดูดซมึ สิง่ สกปรกปนเป้อื นในนำ้�
๑๕) ปลูกป่าในใจคน
การจะทำ�การใดสำ�เร็จต้องปลูกจิตสำ�นึกของคนเสียก่อน
ตอ้ งใหเ้ หน็ คณุ คา่ เหน็ ประโยชนก์ บั สงิ่ ทจ่ี ะท�ำ …. “เจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไมค้ วรจะปลกู ตน้ ไม้
ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน
และจะรักษาตน้ ไมด้ ้วยตนเอง”
๑๖) ขาดทุนคือก�ำ ไร
หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ท่ีมีต่อ
พสกนิกรไทย “การให”้ และ “การเสยี สละ” เป็นการกระทำ�อนั มผี ลเปน็ กำ�ไร คือ
ความอยู่ดีมสี ขุ ของราษฎร

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 9
OBEC’S POLICY 2020

๑๗) การพงึ่ พาตนเอง
การพฒั นาตามแนวพระราชด�ำ ริ เพอ่ื การแกไ้ ขปญั หาในเบอ้ื งตน้
ด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความแข็งแรงพอที่จะดำ�รงชีวิตได้ต่อไป
แลว้ ขน้ั ตอ่ ไปกค็ อื การพฒั นาใหป้ ระชาชนสามารถอยใู่ นสงั คมไดต้ ามสภาพแวดลอ้ ม
และสามารถพ่ึงตนเองได้ในทสี่ ดุ
๑๘) พออยู่พอกิน
ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน
แล้วจงึ ค่อยขยับขยายให้มีขดี สมรรถนะทก่ี า้ วหน้าตอ่ ไป
๑๙) เศรษฐกิจพอเพยี ง
เป็นปรัชญาที่ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ พระราชทานพระราชดำ�รัส
ช้ีแนะแนวทางการดำ�เนินชีวิต ให้ดำ�เนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้
รอดพ้นและสามารถดำ�รงอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
และการเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ซงึ่ ปรชั ญานสี้ ามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดท้ ง้ั ระดบั บคุ คล
องคก์ รและชมุ ชน
๒๐) ความซื่อสตั ย์สุจริต จริงใจตอ่ กนั
ผู้ท่ีมีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อม
ทำ�ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต
ไม่มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ใจ

10 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒๑) ท�ำ งานอยา่ งมคี วามสุข
ทำ�งานตอ้ งมีความสขุ ดว้ ย ถ้าเราท�ำ อย่างไมม่ คี วามสขุ เราจะแพ้
แตถ่ ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการทำ�งานเพยี งเท่าน้นั ถอื วา่ เราชนะแลว้
หรือจะทำ�งานโดยคำ�นึงถึงความสุขท่ีเกิดจากการได้ทำ�ประโยชน์ให้กับผู้อ่ืน
กส็ ามารถท�ำ ได้ “…ท�ำ งานกบั ฉนั ฉนั ไมม่ อี ะไรจะให้ นอกจากการมคี วามสขุ รว่ มกนั
ในการทำ�ประโยชน์ใหก้ ับผูอ้ น่ื …”
๒๒) ความเพยี ร
การเร่ิมต้นท�ำงานหรือท�ำสิ่งใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม
ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งมั่น ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก”
กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่งก็จะว่ายน�้ำต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่าย
ก็จะตกเป็นอาหารปู ปลา และไมไ่ ดพ้ บกับเทวดาที่ช่วยเหลอื มใิ ห้จมน�้ำ
๒๓) รู้ รกั สามัคคี
รู้ คอื รูป้ ญั หาและรวู้ ิธีแก้ปญั หานน้ั
รัก คือ เม่ือเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก
ที่จะลงมือทำ� ลงมือแกไ้ ขปญั หาน้ัน
สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไม่สามารถลงมือทำ�
คนเดยี วได้ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมือร่วมใจกนั

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 11
OBEC’S POLICY 2020

๒. พระปฐมบรมราชโองการ รชั กาลท่ี ๑๐

“เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม
เพือ่ ประโยชน์สขุ แหง่ อาณาราษฎรตลอดไป”

พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี
ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๑๐ วนั ท ่ี ๔ พฤษภาคม
พุทธศกั ราช ๒๕๖๒

12 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๓. พระบรมราโชบาย
ในพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดี

ศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู ัว รชั กาลที่ ๑๐

กับการพัฒนาการศึกษา

การศึกษาตอ้ งมุ่งสรา้ งพ้นื ฐานให้แก่ผเู้ รยี น ๔ ด้าน
๑. มีทศั นคตทิ ี่ถูกตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง
๒. มีพนื้ ฐานชวี ติ ทีม่ ั่นคง
๓. มงี านท�ำ มอี าชีพ
๔. เปน็ พลเมืองดี

๑. มที ศั นคตทิ ถี่ กู ตอ้ งต่อบ้านเมอื ง
๑.๑ มคี วามรู้ความเขา้ ใจท่ีมีตอ่ ชาตบิ ้านเมือง
๑.๒ ยดึ มั่นในศาสนา
๑.๓ มั่นคงในสถาบนั พระมหากษตั ริย์
๑.๔ มคี วามเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชมุ ชนของตน

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 13
OBEC’S POLICY 2020

๒. มพี ้ืนฐานชวี ติ ที่มั่นคง
๒.๑ รูจ้ ักแยกแยะสิ่งที่ผดิ -ชอบ/ชั่ว-ดี
๒.๒ ปฏิบตั แิ ตส่ งิ่ ทช่ี อบทด่ี งี าม
๒.๓ ปฏเิ สธสง่ิ ทผ่ี ิดสิ่งทช่ี ัว่
๒.๔ ช่วยกันสรา้ งคนดใี หแ้ ก่บา้ นเมือง

๓. มีงานทำ� มีอาชีพ
๓.๑ การเล้ยี งดลู ูกหลานในครอบครัว หรอื การฝึกฝนอบรม
ในสถานศึกษาต้องม่งุ ใหเ้ ด็กและเยาวชนรกั งาน สู้งาน ท�ำ จนงานสำ�เรจ็
๓.๒ การฝกึ ฝนอบรมทง้ั ในหลกั สตู รและนอกหลกั สตู รตอ้ งมี
จดุ มุง่ หมายใหผ้ ู้เรยี นทำ�งานเปน็ และมีงานทำ�ในท่สี ุด
๓.๓ ต้องสนับสนุนผู้สำ�เร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทำ�
จนสามารถเลย้ี งตวั เองและครอบครวั

๔. เปน็ พลเมอื งดี
๔.๑ การเปน็ พลเมอื งดี เป็นหนา้ ที่ของทุกคน
๔.๒ ครอบครวั -สถานศกึ ษา และสถานประกอบการตอ้ งสง่ เสรมิ
ให้ทกุ คนมโี อกาสท�ำ หน้าทเี่ ปน็ พลเมอื งดี
๔.๓ การเปน็ พลเมอื งดี คอื “เหน็ อะไรทจี่ ะท�ำเพอ่ื บา้ นเมอื งได้
ก็ต้องท�ำ” เช่น งานอาสาสมัคร งานบ�ำเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณกุศล
ใหท้ �ำดว้ ยความมีนำ�้ ใจ และความเออื้ อาทร

14 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒สว่ นท่ี

นโยบาย

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

16 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ความเชอ่ื มโยงของยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ และนโยบาย สพฐ.

ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๒ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย สพฐ.
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑) ความมั่นคง ๑) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์ ๑. การจัดการศึกษาเพื่อความ ๑. ด้านการจดั การศึกษา
OBEC’S POLICY 2020 ๒) การสร้าง มน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ เพือ่ ความม่ันคงของมนษุ ย์
ความสามารถ ๒) การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมลำ�้ ๒. การผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคน และของชาติ
17 ในการแข่งขนั ในสังคม การวิจยั และนวัตกรรม ๒. ดา้ นการจดั การศึกษา
๓) การพฒั นาและ ๓) การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขัน เพื่อสร้างขีดความสามารถ เพือ่ เพ่ิมความสามารถในการ
เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ได้อย่างยัง่ ยนื ในการแขง่ ขนั ของประเทศ แขง่ ขันของประเทศ
ทรพั ยากรมนุษย์ ๔) การเตบิ โตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ๓. การพฒั นาศกั ยภาพคน ๓. ดา้ นการพัฒนาและ
๔) ดา้ นการสร้าง ท่ียั่งยนื ทุกชว่ งวัย และการสรา้ งสังคม เสริมสรา้ งศกั ยภาพ
โอกาสและความ ๕) การเสรมิ สรา้ งความมั่นคงแห่งชาติเพอื่ การพฒั นา แห่งการเรยี นรู้ ทรพั ยากรมนุษย์
เสมอภาคทางสังคม ประเทศสู่ความมัง่ คง่ั และยัง่ ยืน ๔. ดา้ นการสรา้ งโอกาส
๕) การสรา้ งการเตบิ โต ๖) การบริหารจัดการในภาครฐั การปอ้ งกันการทุจรติ ๔. การสรา้ งโอกาส ในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษา
บนคณุ ภาพชีวติ ที่ ประพฤตมิ ชิ อบ และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย ความเสมอภาค และ ทม่ี คี ณุ ภาพ มมี าตรฐานและลด
เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ๗) การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์ ความเท่าเทยี มทางการศึกษา ความเหลอ่ื มลำ้� ทางการศกึ ษา
๖) การปรบั สมดลุ ๕. การจัดการศึกษาเพอ่ื ๕. ดา้ นการจดั การศึกษา
และพัฒนาระบบการ ๘) การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
บริหารจัดการภาครฐั นวตั กรรม ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม ทีเ่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม
๙) การพัฒนาภาค เมอื ง และพื้นที่เศรษฐกิจ ๖. การพฒั นาประสิทธภิ าพ
ของระบบบริหารจดั การศกึ ษา ๖. ด้านการปรบั สมดุล
๑๐) ความรว่ มมือระหว่างประเทศเพอ่ื การพฒั นา และพัฒนาระบบการบรหิ าร
จดั การศึกษา

ผังมโนทัศนน์ โยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษา

วสิ ัยทัศน์ สร้างคุณภาพทุนมนษุ ย์ สู่สังคมอนาคตที่ยัง่ ยืน
พันธกจิ ๑. จดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาตแิ ละการปกครองในระบอบ
๒. พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถความเป็นเลิศทางวชิ าการเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการ
๓. พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะตามหลกั สตู รและคณุ ลกั ษณะในศตวรรษท่ี ๒๑
๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่อื มล�้ำ ให้ผ้เู รียนทกุ คนได้รับบรกิ ารทางการศึกษา
๕. พัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เป็นมืออาชีพ
๖. จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
๗. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้

เป้าหมาย สร้างคณุ ภาพทุนมนุษย์ สสู่ งั คมอนาคตท่ียง่ั ยนื

๑. ผู้เรยี นมคี วามรกั ใน ๒. ผเู้ รยี นที่มีความสามารถ ๓. ผเู้ รียนเป็นบคุ คล ๔. ผู้บรหิ าร
สถาบันหลักของชาติ และ พเิ ศษด้านวิทยาศาสตร์ แหง่ การเรยี นรู้ คดิ ริเร่มิ ทางการ
ยดึ มนั่ การปกครองระบอบ คณิตศาสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี และสร้างสรรคน์ วัตกรรม แหง่ การเรยี นรู้
ประชาธปิ ไตยอันมี กีฬา ภาษา และอืน่ ๆ มคี วามรู้ มที กั ษะ ตามมาตรฐาน
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ได้รบั การพฒั นาอยา่ งเต็ม มสี มรรถนะตามหลกั สูตร
ประมุข มีทศั นคติท่ีถกู ต้อง ตามศกั ยภาพ และคณุ ลักษณะของผเู้ รยี น
ตอ่ บา้ นเมอื ง มีหลกั คิด สรา้ งความสามารถ ในศตวรรษท่ี ๒๑
ทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ พลเมอื งดี ในการแข่งขัน มีสุขภาวะทเ่ี หมาะสม
ของชาติ มีคณุ ธรรม ตามวยั มีความสามารถใน
จริยธรรม มคี า่ นยิ มที่
พงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ การพึ่งพาตนเอง ตามหลกั
รับผิดชอบตอ่ สังคมและ ปรัชญาของเศรษฐกจิ
ผ้อู นื่ ซ่ือสัตย์ สุจริต พอเพยี ง และการเป็น
มัธยสั ถ์ อดออม พลเมอื ง พลโลกท่ีดี
โอบออ้ มอารี มวี ินยั รักษา (Global Citizen)
ศลี ธรรม พร้อมก้าวสู่สากล

นโยบายที่ ๑ ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของมนุษยแ์ ละของชาติ

นโยบายที่ ๒ ดา้ นการจดั การศึกษาเพอ่ื เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

นโยบาย นโยบายท่ี ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
นโยบายที่ ๔ ดา้ นการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาท่มี คี ุณภาพ มมี าตรฐานและลดความ

นโยบายที่ ๕ ด้านการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม

นโยบายที่ ๖ ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา

18 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ
แขง่ ขนั
อยา่ งทว่ั ถงึ และเท่าเทียม
พอเพียง และเป้าหมายการพฒั นาท่ียัง่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) เพอื่ พัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0

ครู และบคุ ลากร ๕. ผเู้ รียนท่มี คี วามต้องการ ๖. สถานศึกษาจดั การศึกษา ๗. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการ
ศึกษาเป็นบคุ คล จ�ำ เปน็ พิเศษ (ผพู้ ิการ) กลมุ่ เพ่ือการบรรลุเปา้ หมาย การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
และจรรยาบรรณ ชาตพิ ันธ์ุ กลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน ส�ำ นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
วชิ าชีพ และกลมุ่ ทอ่ี ย่ใู นพนื้ ท่ี (Sustainable Development สถานศกึ ษา มสี มดุลในการ
Goals : SDGs) และ บริหารจดั การเชงิ บรู ณาการ
หา่ งไกลทุรกันดาร ได้รับ สรา้ งเสริมคุณภาพชวี ติ มกี ารกำ�กับ ตดิ ตาม
การศกึ ษาอย่างทัว่ ถึง ทเี่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ประเมินผล มรี ะบบข้อมลู
เท่าเทยี ม และมคี ุณภาพ ตามหลกั ปรัชญาของ สารสนเทศทีม่ ีประสิทธภิ าพ

เศรษฐกิจพอเพยี ง และการรายงานผล
อย่างเป็นระบบ ใชง้ านวจิ ัย
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
ในการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพ
การศกึ ษา

เหล่อื มลำ�้ ทางการศึกษา

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 19
OBEC’S POLICY 2020

20 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ก. บทนำ�

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๕ หน้าที่
ของรัฐมาตรา ๕๔ บัญญัติว่า “รัฐต้องดำ�เนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษา
เป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ
โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย” และค�ำ สงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๒๘/๒๕๕๙
เรอ่ื ง ใหจ้ ดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ตามนยั ขอ้ ๓ ก�ำ หนดวา่
“ใหส้ ว่ นราชการทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานด�ำ เนนิ การจดั การศกึ ษา
ขนั้ พน้ื ฐาน ๑๕ ปี ใหม้ มี าตรฐานและคณุ ภาพ โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย” และตามหมวด ๖
แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๖๕ บัญญัติว่า “ให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื ตามหลกั ธรรมาภบิ าล เพอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบ
ในการจดั ท�ำ แผนตา่ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบรู ณาการกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การผลกั ดนั รว่ มกนั
ไปสเู่ ป้าหมายดังกล่าว”
อน่ึง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ประกาศ ณ วันที่
๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดก้ �ำ หนดวสิ ยั ทศั น์ ในการพฒั นาประเทศ ดงั นี้ “ประเทศไทย
มีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ประเทศตามวิสัยทัศนไ์ ว้ ๖ ยทุ ธศาสตร์ คอื

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 21
OBEC’S POLICY 2020

๑. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมั่นคง
๒. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๓. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
๔. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
๕. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต
ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
๖. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ าร
จัดการภาครฐั
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้ตระหนักถึง
ความสำ�คัญของยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างย่ิง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนา
ประเทศทย่ี งั่ ยนื โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ ง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ซ่ึงเป็นยุทธศาสตร์ท่ีเน้นการวางรากฐานการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอยา่ งเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับ
คนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพ
พรอ้ มขับเคลื่อนการพฒั นาประเทศไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ ซ่ึง “คนไทย
ในอนาคต จะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน
และมสี ขุ ภาวะทดี่ ใี นทกุ ชว่ งวยั มจี ติ สาธารณะ รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและผอู้ นื่ มธั ยสั ถ์
อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินัย รกั ษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มหี ลักคิด
ท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและ
ภาษาท่ี ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทย ท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด
ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมแ่ ละอน่ื ๆ โดยมี สมั มาชพี ตามความถนดั ของตนเอง”

22 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ดังน้ัน เพื่อให้การพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมาย “ประเทศชาติ
ม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จงึ ไดก้ �ำ หนดนโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๓ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนการศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล
ท่ีได้แถลงนโยบายตอ่ รัฐสภา เมอื่ วนั ท่ี ๒๕ - ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และนโยบาย
และจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยไดก้ �ำ หนด
วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ มาตรการและแนวทางในการด�ำ เนนิ การ ดังนี้

ข. วสิ ยั ทัศน์

“สร้างคุณภาพทนุ มนุษย์ ส่สู งั คมอนาคตทีย่ ง่ั ยืน”

ค. พนั ธกิจ

๑. จดั การศกึ ษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของสถาบนั หลกั ของชาติ
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ
๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการ
เพือ่ สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
๓. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร
และคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑
๔. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอื่ มลำ�้ ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คน
ได้รบั บริการทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถงึ และเทา่ เทียม
๕. พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มอื อาชพี

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 23
OBEC’S POLICY 2020

๖. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals : SDGs)
๗. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ
และจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนา
ม่งุ สู่ Thailand 4.0

ง. เป้าหมาย

๑. ผเู้ รยี นมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มนั่ การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีถูกต้อง
ตอ่ บา้ นเมอื ง มหี ลักคดิ ทถี่ ูกต้อง และเปน็ พลเมืองดีของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม
มคี า่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์ มจี ติ สาธารณะ รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและผอู้ น่ื ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ
มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั รกั ษาศีลธรรม
๒. ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอ่ืน ๆ ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ
สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
๓. ผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเร่ิมและสร้างสรรค์
นวตั กรรม มคี วามรู้ มที กั ษะ มสี มรรถนะตามหลกั สตู ร และคุณลกั ษณะของผูเ้ รียน
ในศตวรรษท่ี ๒๑ มสี ขุ ภาวะทเี่ หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพงึ่ พาตนเอง
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเป็นพลเมือง พลโลกที่ดี (Global
Citizen) พรอ้ มกา้ วสสู่ ากลน�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
๔. ผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้
มีความร้แู ละจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวชิ าชีพ

24 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๕. ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธุ์
กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาสและกลมุ่ ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทห่ี า่ งไกลทรุ กนั ดารไดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถงึ
เทา่ เทียม และมีคุณภาพ
๖. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) และสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพ
ชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๗. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษา สถานศึกษา มีสมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกำ�กับ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และการรายงานผล
อย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคล่ือนคุณภาพ
การศึกษา

จ. นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กำ�หนด
นโยบายประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยยึดหลักของการพัฒนาที่ยั่งยืน
และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็นแนวทาง
ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏริ ูปประเทศ
ด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และม่งุ สู่
Thailand 4.0 ดงั น้ี
นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของมนุษย์
และของชาติ
นโยบายท่ี ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการ
แขง่ ขันของประเทศ

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 25
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายท่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
นโยบายท่ี ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา
ทมี่ ีคุณภาพ มมี าตรฐานและลดความเหล่ือมลำ�้ ทางการศึกษา
นโยบายที่ ๕ ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
นโยบายท่ี ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จดั การศกึ ษา

ฉ. มาตรการและแนวด�ำ เนนิ การ

นโยบายที่ ๑ ดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนษุ ย์
และของชาติ

บทนำ�
นโยบายดา้ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ
เปน็ การจดั การศกึ ษาเพอื่ มงุ่ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นทกุ คน ใหม้ คี วามรกั ในสถาบนั หลกั
ของชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมขุ มที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ บา้ นเมอื ง มหี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ
และพลเมืองโลกท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ
มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ซ่อื สตั ย์ สุจรติ
มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั และรกั ษาศลี ธรรม เปน็ ผเู้ รยี นทม่ี คี วามพรอ้ ม
สามารถรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคง
เชน่ ภยั จากยาเสพตดิ ความรนุ แรง การคกุ คามในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ การคา้ มนษุ ย์
อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ตั ติ า่ ง ๆ เปน็ ตน้ ควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ข
ปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบันและท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต และเน้นการจัดการศึกษา

26 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

ให้เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพื้นฐาน สภาพทางภูมศิ าสตร์ ดา้ นเศษฐกิจ
และสงั คมซง่ึ มคี วามแตกตา่ งทางดา้ นสงั คมวฒั นธรรมเชอ้ื ชาติเชน่ การจดั การศกึ ษา
เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดการศึกษาในเขต
พน้ื ทเ่ี ฉพาะ กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ทอี่ ยใู่ นพนื้ ทหี่ า่ งไกลทรุ กนั ดาร
พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง เป็นต้น เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาส
ได้รับการพัฒนาสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ ได้รับการบริการด้านการศึกษา
ข้ันพื้นฐานทีม่ คี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ เปน็ ตน้
เป้าประสงค์
๑. ผเู้ รยี นทกุ คนทม่ี พี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรกั ในสถาบนั หลกั
ของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
๒. ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง
เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี า่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ มจี ติ สาธารณะ
มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว ผอู้ ื่น และสงั คมโดยรวม ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต มธั ยัสถ์
อดออม โอบออ้ มอารี มวี ินัย และรักษาศีลธรรม
๓. ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถ
รบั มอื กบั ภยั คกุ คามทกุ รปู แบบทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ความมน่ั คง เชน่ ภยั จากยาเสพตดิ
ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรพั ย์สนิ การค้ามนษุ ย์ อาชญากรรมไซเบอร์
และภยั พบิ ตั ติ ่าง ๆ เป็นตน้
๔. ผเู้ รยี นในเขตพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ไดร้ บั โอกาส และการพฒั นาอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ และมคี ณุ ภาพสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
ของพ้ืนที่

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 27
OBEC’S POLICY 2020

๕. ผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร เช่น พ้ืนท่ีสูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล
และเกาะแกง่ เปน็ ตน้ ไดร้ บั บรกิ ารดา้ นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทม่ี คี ณุ ภาพ และเหมาะสม
ตรงตามความตอ้ งการ
ตวั ชว้ี ัด
๑. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรัก
ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์
ทรงเปน็ ประมขุ
๒. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทัศนคติ
ท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้องเป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม
มคี า่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์ มคี ณุ ธรรม อตั ลกั ษณ์ มจี ติ สาธารณะ มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบ
ตอ่ ครอบครวั ผอู้ นื่ และสงั คมโดยรวม ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ มธั ยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี
มวี นิ ยั และรกั ษาศีลธรรม
๓. รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมคี วามพรอ้ มสามารถ
รบั มอื กบั ภยั คกุ คามทกุ รปู แบบทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ความมน่ั คง เชน่ ภยั จากยาเสพตดิ
ความรนุ แรง การคกุ คามในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ การค้ามนษุ ย์ อาชญากรรมไซเบอร์
และภัยพิบัตติ ่าง ๆ เป็นตน้
๔. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ได้รับโอกาส และการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพสอดคล้อง
กับบรบิ ทของพ้ืนท่ี

28 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๕. รอ้ ยละของผเู้ รยี นในเขตพน้ื ทเ่ี ฉพาะกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส
และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล
และเกาะแกง่ ไดร้ บั การบรกิ ารดา้ นการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานทมี่ คี ณุ ภาพ และเหมาะสม
ตรงตามความตอ้ งการ สอดคลอ้ งกบั บริบทของพ้นื ท่ี
๖. จำ�นวนสถานศึกษาท่ีน้อมนำ�พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียน
ให้มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่กี ำ�หนดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๗. จำ�นวนสถานศกึ ษาที่จดั บรรยากาศส่งิ แวดลอ้ ม และจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มที ศั นคติ
ทด่ี ีตอ่ บา้ นเมอื ง มหี ลกั คิดทถี่ ูกต้อง เปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 29
OBEC’S POLICY 2020

มาตรการและแนวทางการดำ�เนนิ การ
๑. พัฒนาผู้เรยี นให้เป็นพลเมอื งดีของชาติและเป็นพลโลกทด่ี ี
เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรักในสถาบันหลัก
ของชาติ ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมขุ มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ บา้ นเมอื ง มหี ลกั คดิ ทถี่ กู ตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ
และพลเมอื งโลกทด่ี ีมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมมคี า่ นยิ มทพ่ี งึ ประสงค์มคี ณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์
มจี ติ สาธารณะ มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมและประเทศชาติ
ซื่อสตั ย์ สุจริต มัธยสั ถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินยั และรักษาศีลธรรม
โดยมีแนวทางการดำ�เนนิ การ ดังน้ี
๑.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และสำ�นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา สง่ เสริม สนบั สนนุ กำ�กับ ติดตาม และประเมิน
สถานศึกษาตามมาตรการทก่ี ำ�หนด
๑.๒ สถานศึกษา
(๑) พฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา โดยน�ำ พระบรมราโชบาย
ดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามทกี่ �ำ หนด
(๒) จดั บรรยากาศสง่ิ แวดลอ้ ม และจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ให้ผู้เรียนแสดงออกถงึ ความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง
มหี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ และพลเมอื งโลกทดี่ ี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
มีคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ มคี ุณธรรมอตั ลกั ษณ์ มจี ิตสาธารณะ มจี ิตอาสา รับผิดชอบ
ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม
โอบออ้ มอารี มีวนิ ัย และรกั ษาศีลธรรม

30 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒. พัฒนาผู้เรียนมีความให้มีความพร้อมสามารถรับมือ
กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง ท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคง
ของประเทศ
เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ
ในการรับมือกับภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง
เชน่ ภยั จากยาเสพตดิ ภยั จากความรนุ แรงการคกุ คามในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ การคา้ มนษุ ย์
อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น ควบคู่ไปกับการป้องกันและ
แกไ้ ขปัญหาทีม่ อี ยูใ่ นปจั จบุ ัน และที่อาจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต
โดยมแี นวทางการด�ำ เนนิ การ ดังน้ี
๒.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กำ�กับ ติดตาม
และประเมินสถานศึกษา ตามมาตรการทก่ี �ำ หนด
๒.๒ สถานศกึ ษา
(๑) พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา และจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับภัยคุกคามที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์
อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน และภัยคุกคามรูปแบบใหม่
ตลอดจนรจู้ กั วธิ ีการป้องกัน และแกไ้ ขหากไดร้ บั ผลกระทบจากภยั ดงั กลา่ ว
(๒) มีมาตรการและแนวทางการป้องกันยาเสพติด
ในสถานศึกษาและชมุ ชน
(๓) จดั สภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษาใหม้ คี วามมน่ั คง
ปลอดภัย

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 31
OBEC’S POLICY 2020

(๔) มีระบบการดูแล ติดตาม และช่วยเหลือผู้เรียน
ในการแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ได้รบั คำ�ปรกึ ษา ช้แี นะและความชว่ ยเหลอื อยา่ งทันการณ์
ทันเวลา รวมทัง้ การอบรมบม่ นิสยั
๓. การจดั การศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำ�เนินแผนงาน
โครงการตามยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษาเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) กระทรวงศกึ ษาธิการ ตามยทุ ธศาสตร์ ๖ ข้อ คือ
๑. การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความมน่ั คง
๒. การผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนใหม้ ีสมรรถนะในการแข่งขนั
๓. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคม
แห่งการเรยี นรู้
๔. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง
การศึกษา
๕. การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดล้อม
๖. การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา
โดยมแี นวทางการดำ�เนินการ ดงั น้ี
(๑) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ด�ำ เนนิ การ
จดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน
บนพ้ืนฐานความหลากหลายในวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์วิถีชีวิต
และความต้องการของชุมชน

32 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

(๒) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริม
และสร้างโอกาสให้ผู้เรียนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐานอย่างทั่วถึง
(๓) สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส่งเสริม
มาตรการการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ในพ้นื ทีจ่ ังหวดั ชายแดนภาคใตใ้ หม้ ีความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ
(๔) สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เสรมิ สรา้ ง
สวสั ดิการใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีขวัญและกำ�ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน
ในพน้ื ทเ่ี สี่ยงภยั
๔. การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นในเขตพื้นที่เฉพาะ
เป็นมาตรการการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนท่ีอยู่ในเขตพ้ืนที่
เฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร
เชน่ พืน้ ทส่ี ูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบรกิ ารด้านการศึกษา
ขัน้ พื้นฐานทีม่ คี ุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ
โดยมแี นวทางการด�ำ เนินการ ดงั นี้
๔.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
(๑) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในพื้นที่สูงในถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง
และทีด่ แู ลหอพกั นอนตามความจำ�เป็นและเหมาะสมกับบรบิ ท
(๒) จัดสรรงบประมาณเพ่ิมเติมให้สถานศึกษาในกลุ่ม
โรงเรยี นพนื้ ทสี่ งู ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ชายแดนชายฝง่ั ทะเลและเกาะแกง่ ใหจ้ ดั การเรยี นรู้
ทม่ี ีคณุ ภาพ และเกิดจิตส�ำ นึกรกั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 33
OBEC’S POLICY 2020

(๓) สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็น
“การพฒั นาการจดั การศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของพน้ื ทส่ี งู ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร
ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง” ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จัดเวทีเสวนา
การแสดงนิทรรศการ การติดตอ่ สอ่ื สารผ่านช่องทางออนไลน์
๔.๒ สถานศึกษา
(๑) พฒั นารปู แบบและวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้
และการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมสำ�หรับการพัฒนาศักยภาพสูงสุด
ผเู้ รยี นกล่มุ ชาติพนั ธ์ุ กล่มุ ผู้ด้อยโอกาส และกลุม่ ทอ่ี ยู่ในพนื้ ที่หา่ งไกลทรุ กนั ดาร
(๒) พัฒนาครูให้มีทักษะการสอนภาษาไทยสำ�หรับเด็ก
ท่ไี ม่ได้ใชภ้ าษาไทยในชวี ติ ประจ�ำ วัน
(๔) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
ในการพฒั นาทักษะวิชาการ ทกั ษะชวี ติ ทักษะอาชีพ และภาษาที่ ๓ ทส่ี อดคลอ้ ง
และเหมาะสมกับสังคมพหวุ ัฒนธรรม

34 นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายท่ี ๒ ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพมิ่ ความสามารถ
ในการแขง่ ขันของประเทศ

บทนำ�
นโยบายด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศใหค้ วามส�ำ คญั กบั ศกั ยภาพ และคณุ ภาพของทรพั ยากรมนษุ ยเ์ ปน็ ส�ำ คญั
เน่ืองจาก “ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนสำ�คัญในการยกระดับ
การพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสู่เป้าหมายการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
มขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขันกับนานาประเทศ” ดังน้นั การพัฒนาศักยภาพ
และคุณภาพผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการจึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องดำ�เนินการให้สอดคล้องกัน โดยเน้นปรับเปล่ียนกระบวนการจัดการเรียน
การสอนของสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษา ให้เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ให้แก่
ผเู้ รยี นเชงิ สมรรถนะรายบคุ คล ตามความสนใจ และความถนดั อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ
มคี วามเปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มที กั ษะทจี่ �ำ เปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ มคี วามเปน็ เลศิ
ด้านทักษะส่ือสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ มีทักษะความรู้
ด้านดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
สกู่ ารเปน็ คนไทย ทม่ี ที กั ษะวชิ าชพี ชน้ั สงู เปน็ นกั คดิ เปน็ ผสู้ รา้ งนวตั กรรม เปน็ นวตั กร
เป็นผู้ประกอบการ เป็นเกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ สอดคล้องกับความต้องการ
ของประเทศ มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืนได้
ภายใต้สังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม และมีความสามารถในการจัดการสุขภาวะ
ของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดำ�รงชีวิตอย่างมีความสุขท้ังด้านร่างกาย
และจิตใจ

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 35
OBEC’S POLICY 2020

เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกระดับให้มีความเป็นเลิศ มีทักษะท่ีจำ�เป็น
ในศตวรรษที่ ๒๑
๒. ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตามความถนัดและความสนใจ
น�ำ ไปสกู่ ารพัฒนาทักษะวชิ าชีพ เป็นนกั คิด เป็นผสู้ ร้างนวัตกรรม เป็นนวัตกร
๓. ผเู้ รียนได้รบั โอกาสเขา้ สูเ่ วทกี ารแข่งขันระดับนานาชาติ
ตวั ชวี้ ัด
๑. จำ�นวนผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะความรู้
ท่ีสอดคล้องกับทักษะที่จ�ำ เป็นในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาผ่านการประเมินสมรรถนะที่จำ�เป็น
ด้านการรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์
(Mathematical Literacy) และดา้ นการรเู้ รอ่ื งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
ตามแนวทางการประเมิน PISA
๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีศักยภาพได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขัน
ระดบั นานาชาติ

36 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

มาตรการและแนวทางการดำ�เนนิ การ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ นำ�ไปสู่ความเป็นเลิศ
ด้านวิชาการตามความสามารถ ความสนใจ มีทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑
สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
โดยมีแนวทางด�ำ เนนิ การ ดังน้ี
๑. สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และส�ำ นกั งาน
เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
๑.๑ ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเคร่ืองมือวัดแวว
และรวบรวมเครอื่ งมอื วดั แววจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทง้ั ภาครฐั และเอกชน
๑.๒ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ �ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ด�ำ เนนิ การ
วัดแววความถนัดทางการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ของโรงเรยี นในเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา จดั กจิ กรรมแนะแนวใหผ้ เู้ รยี นคน้ หาตนเอง น�ำ ไปสู่
การพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามพรอ้ มทจ่ี ะพฒั นาตอ่ ยอดไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ดา้ นทกั ษะอาชพี
ทีต่ รงตามความต้องการและความถนดั ของผู้เรียน
๑.๓ ศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมของวิธีและกระบวนการ
งบประมาณ ต้ังแต่จำ�นวนงบประมาณในการสนับสนุนสถานศึกษาและผู้เรียน
อยา่ งเพยี งพอ และเหมาะสม วธิ ีการจดั สรร วิธกี ารด้านระบบบัญชี การเบกิ จ่าย
และการติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพ่ือกระจายอำ�นาจให้สถานศึกษา มีความ
เปน็ อสิ ระในการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี นอยา่ งเตม็ ศักยภาพ
๑.๔ ส่งเสริม สนับสนุน ให้สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และสถานศึกษาจัดทำ�แผนงาน โครงการ และกิจกรรม เพิ่มศักยภาพผู้เรียน
ตามความถนดั ความสนใจ และความต้องการพัฒนา ทง้ั ด้านวิชาการ ดา้ นอาชีพ
และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตั้งแต่ระดับสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา จังหวัด
ภมู ภิ าค ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ

นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 37
OBEC’S POLICY 2020

๑.๕ ก�ำ กบั ตดิ ตาม และใหค้ วามชว่ ยเหลอื สถานศกึ ษา พรอ้ มทง้ั
รายงานผลการด�ำ เนินงานต่อกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง
๒. สถานศึกษา
๒.๑ ดำ�เนินการวัดแววผู้เรียน และพัฒนาขีดความสามารถ
ของผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ และความถนดั โดยจดั การเรยี นรผู้ า่ นกจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ
(ActiveLearning)เชน่ การจดั การเรยี นรตู้ ามกระบวนการ๕ขนั้ ตอนหรอื บนั ได๕ขนั้
(Independent Study : IS) การเรียนรู้เชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ
เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics
Education : STEM Education) เป็นต้น โดยสง่ เสริมใหค้ รจู ัดกจิ กรรมการเรียนรู้
เพ่ือพัฒนาผู้เรียนใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรดู้ ้วยตนเองผา่ นระบบดจิ ทิ ลั (Digital Learning
Platform)
๒.๒ ปรับเปล่ียนอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้มุ่งเน้นการจัด
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ
ความสนใจของผเู้ รยี น และจดั กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาสขุ พลานามยั ใหเ้ ปน็ คนทส่ี มบรู ณ์
แข็งแรงทั้งรา่ งกายและจิตใจ
๒.๓ สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรม
กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการตามความสนใจ
และความถนดั เตม็ ตามศักยภาพ
๒.๔ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ได้รับการพัฒนา เพ่ือปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยเน้น
การจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามความต้องการ และความถนัด
ของผเู้ รียน

38 นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

๒.๕ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ให้ผเู้ รียนมคี วามเป็นเลิศในทักษะ
สือ่ สารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ เพิ่มเติมอยา่ งน้อย ๑ ภาษา
๒.๖ ปรับเปล่ียนวิธีการวัด ประเมิน ผลการเรียนของผู้เรียน
โดยมงุ่ เนน้ การวดั ประเมนิ ตามสมรรถนะรายบคุ คล โดยการจดั ใหม้ กี ารวดั ประเมนิ
จากส่วนกลางในชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖
๒.๗ สรปุ และรายงานผลการด�ำ เนนิ งานตอ่ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาและหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

นโยบายส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 39
OBEC’S POLICY 2020

นโยบายท่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

บทนำ�
นโยบายด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มงุ่ เนน้ การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์เรมิ่ ต้งั แต่ประชากรวัยเรยี นทกุ ชว่ งวัย ตลอดจน
การพฒั นาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ดงั น้ี
พัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงปฐมวัย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ผู้เรียนที่มีความต้องการดูแลเป็นพิเศษ
ใหม้ คี วามพรอ้ มทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา มศี กั ยภาพ
มที กั ษะความรู้เปน็ คนดี มวี นิ ยั เรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง มคี วามสามารถในการวางแผนชวี ติ
และการวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสม สามารถดำ�รงชีวิตอย่างมีคุณค่า
โดยการพัฒนาระบบการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผเู้ รยี นสามารถก�ำ กบั การเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั ตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งแมจ้ ะออกจาก
ระบบการศึกษาแล้ว รวมถึงความตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
และการพฒั นาและรกั ษากลมุ่ ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษของพหปุ ญั ญาแตล่ ะประเภท
เสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รยี นมลี กั ษณะนสิ ยั มคี วามรกั ในสขุ ภาพและพลานามยั และพฒั นา
ทกั ษะด้านกีฬาสคู่ วามเป็นเลศิ และกฬี าเพ่อื การอาชพี
ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เปน็ ผทู้ ม่ี บี ทบาทส�ำ คญั ในการพฒั นา
ทรัพยากรมนุษย์ ให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำ�หรับวิถีชีวิต
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ต้องตระหนักถึงความสำ�คัญ
ในอาชีพและหน้าท่ีของตน โดยครูต้องมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้
ความสามารถอย่างแท้จริง และเป็นต้นแบบด้านคุณธรรมและจริยธรรม
พฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื ประโยชนใ์ นการพฒั นาผเู้ รยี น เปลยี่ นโฉม
บทบาท “คร”ู ใหเ้ ปน็ ครยู คุ ใหม่ โดยปรบั บทบาทจาก “ครผู สู้ อน” เปน็ “Coach”

40 นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

หรือผู้อำ�นวยการการเรียนรู้ทำ�หน้าท่ีกระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจแนะนำ�วิธีเรียนรู้
และวธิ จี ดั ระเบยี บการสรา้ งความรู้ ออกแบบกจิ กรรมและสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้
ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพ่ือผลสัมฤทธ์ิ
ของผเู้ รียน
เปา้ ประสงค์
๑. หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
มกี ารพฒั นาทสี่ อดคล้องกับแนวโนม้ การพฒั นาของประเทศ
๒. ผเู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาตามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร และมที กั ษะ
ความสามารถที่สอดคล้องกับทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความยืดหยุ่น
ทางดา้ นความคดิ สามารถท�ำ งานรว่ มกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคมที่เปน็ พหวุ ัฒนธรรม
รวมถงึ การวางพน้ื ฐานการเรยี นรเู้ พอ่ื การวางแผนชวี ติ ทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั
และนำ�ไปปฏิบัตไิ ด้
๓. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะนำ�ไปสู่การพัฒนา
นวัตกรรม
๔. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เช่ือมโยงสู่อาชีพ
และการมงี านท�ำ มที กั ษะอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประเทศ
๕. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะ
ของตนเองใหม้ สี ขุ ภาวะทด่ี ี สามารถด�ำ รงชวี ติ อยา่ งมคี วามสขุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ
๖. ครู เปลยี่ นบทบาทจาก “ครผู สู้ อน” เปน็ “Coach” ผใู้ หค้ �ำ ปรกึ ษา
ขอ้ เสนอแนะการเรียนร้หู รือผูอ้ ำ�นวยการการเรียนรู้
๗. ครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
และเปน็ แบบอยา่ งด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม

นโยบายสำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 41
OBEC’S POLICY 2020

ตวั ชวี้ ัด
๑. ผเู้ รยี นทกุ ระดบั มสี มรรถนะส�ำ คญั ตามหลกั สตู รมที กั ษะการเรยี นรู้
ในศตวรรษท่ี ๒๑ (3R8C)
๒. ร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีคะแนน
ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑท์ กี่ �ำ หนด
๓. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ ๕๐ ในแต่ละวิชาเพิ่มข้ึน
จากปีการศึกษาที่ผ่านมา
๔. ร้อยละผู้เรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ มที ักษะการเรยี นรูท้ ี่เช่ือมโยงสู่อาชพี
และการมีงานทำ� ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มีทักษะอาชีพ
ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงิน
ท่เี หมาะสมและน�ำ ไปปฏิบตั ไิ ด้
๕. ผูเ้ รียนทุกคนมีทกั ษะพืน้ ฐานในการดำ�รงชวี ติ สามารถด�ำ รงชีวิต
อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทำ�งาน
รว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้ ภายใต้สงั คมทีเ่ ป็นพหวุ ฒั นธรรม
๖. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มี
สขุ ภาวะท่ีดี สามารถดำ�รงชวี ติ อย่างมคี วามสขุ ทั้งดา้ นรา่ งกายและจิตใจ
๗. ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach”
ผใู้ หค้ �ำ ปรกึ ษาข้อเสนอแนะการเรียนรหู้ รอื ผอู้ ำ�นวยการการเรยี นรู้

42 นโยบายส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
OBEC’S POLICY 2020

มาตรการและแนวทางการด�ำ เนินการ
๑. พฒั นาหลักสูตรทุกระดบั การศกึ ษา
เปน็ มาตรการสนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาหลกั สตู รแกนกลางใหเ้ ปน็
หลักสูตรเชงิ สมรรถนะ สอดคลอ้ งกับทกั ษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ เออ้ื ตอ่ การ
พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสมทุกด้านท้ังทางด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา มที กั ษะสื่อสารภาษาไทย
มแี นวทางด�ำ เนนิ การ ดังนี้
๑.๑ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และสำ�นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
(๑) พฒั นาหลกั สตู รทกุ ระดบั เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นา
ท้งั ๔ ด้าน (ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา) สอดคลอ้ งกบั ทักษะท่จี �ำ เปน็
ในศตวรรษท่ี ๒๑
(๒) สง่ เสรมิ ใหค้ รปู รบั เปลย่ี นการจดั การเรยี นรจู้ าก“ครผู สู้ อน”
เป็น “Coach” ผู้อำ�นวยการการเรียนรู้ ผู้ให้คำ�ปรึกษา หรือให้ข้อเสนอแนะ
การเรยี นรู้ และปรบั ระบบการวดั ประเมนิ ผลสมั ฤทธผ์ิ เู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร
๑.๒ สถานศกึ ษา พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั
หลักสตู รแกนกลาง เน้นการพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล (หลกั สตู รเชงิ สมรรถนะ)
และปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน
และบริบทของพ้นื ท่ี

นโยบายสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 43
OBEC’S POLICY 2020


Click to View FlipBook Version