The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการวัดและประเมินทักษะของผู้เรียนตามจุดเน้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการวัดและประเมินทักษะของผู้เรียนตามจุดเน้น

แนวทางการวัดและประเมินทักษะของผู้เรียนตามจุดเน้น

สงวนลิขสิทธ์ิ กนั ยายน ๒๕๕๕

สว่ นท่ี 1
ความเป็นมา

กระทรวงศกึ ษาธิการตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการพฒั นาคนซ่งึ เปน็ ทรพั ยากรท่ีมีคุณค่า ภายหลัง
จากท่ีได้ตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ข้ึนมาประกาศใช้ จึงมีการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษแรก ต้ังแต่ปีพุทธศักราช 2542 เป็นต้นมา และเพื่อเป็นการพัฒนาคนให้ต่อเนื่องและสอดคล้องกับ
ยุคแหง่ การเปลี่ยนแปลง จึงกาหนดนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552- 2561) ข้ึน โดยมี
วิสัยทัศนใ์ หค้ นไทยไดเ้ รียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพภายในปี พ.ศ. 2561 จะต้องมีการปฏิรูปการศึกษาและการ
เรียนรู้อย่างเป็นระบบใน 3 ประเด็นหลักคือ การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย
เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนใน
การบรหิ ารและจัดการศึกษา สาหรับกรอบแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบกาหนด
ไว้ 4 ประการ ได้แก่ การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ การพัฒนาสถานศึกษาและ
แหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ และ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ และเพื่อเป็นการขับเคล่ือนการปฏิรูป
การศกึ ษาตามเจตนารมณ์ จึงได้ประกาศ “จุดเน้นคุณภาพผู้เรียน จุดเปล่ียนการปฏิรูปการศึกษาไทย” เม่ือวันที่
22 ตุลาคม 2553 ทีม่ ุง่ พฒั นาผู้เรียนให้เปน็ คนเก่ง คนดี และมีความสขุ เป็นคณุ ภาพเด็กไทยในอนาคต เป็นผู้
มีความสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ป๎ญหาได้ กา้ วไกลสสู่ ากล และมีความเปน็ พลเมืองท่สี มบรู ณ์

จุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน คือ คณุ ภาพในตวั ผเู้ รยี นท่ีมคี วามครอบคลุมในดา้ นความสามารถและทักษะ
ตลอดจนคุณลักษณะทจี่ ะชว่ ยเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ภาพ บรรลุตามเปูาหมายหลกั สูตร ซึ่งจุดเน้นการพฒั นาผู้เรยี น
กาหนดไว้ 2 ลักษณะ คือ

1. ความสามารถและทักษะของผ้เู รยี น ประกอบด้วย
1) ความสามารถอ่านออก เขยี นได้ (ป.1-3) อา่ นคล่อง เขียนคลอ่ ง (ป.4-6)
2) การคิดเลขเปน็ (ป.1-3) การคดิ เลขคลอ่ ง (ป.4-6)
3) ทักษะการคดิ (ป.1-ม.6)
4) ทักษะชีวติ (ป.1- ม.6)
5) การส่อื สาร (ป.1-ม.6)
6) การใช้เทคโนโลยี (ม.1-6)

2. คณุ ลักษณะ : ลักษณะของผู้เรียนที่มีความเป็นพลเมือง รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
มวี ินัย ใฝเุ รียนรู้ อย่อู ย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ ซึ่งกาหนด
คุณลกั ษณะท่ีเนน้ ในแต่ละช่วงชน้ั ได้แก่

1) ใฝุดี (ป.1-3)
2) ใฝเุ รยี นรู้ (ป.4-6)
3) อยูอ่ ย่างพอเพยี ง(ม.1-3)
4) มุง่ มั่นในการทางานและการศกึ ษา (ม.4-6)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน จงึ กาหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการขบั เคล่ือนหลกั สูตร
การจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล โดยใชย้ ทุ ธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ คอื
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มความสามารถในการเรยี นรู้
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 กระต้นุ เรง่ รดั การนาจดุ เน้นสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 สรา้ งความพร้อมแก่ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯ จดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รียน

2

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 สร้างความเขม้ แข็งในการกากับ ตดิ ตามและการพฒั นาผ้เู รียน
เปา้ หมายการพัฒนา

ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถและทกั ษะ มีคณุ ลกั ษณะตามจุดเน้นแตล่ ะช่วงวัย

ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็
1. ร้อยละของผ้เู รียนในระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานท่ีมีคุณภาพตามจดุ เน้น
2. ระดบั ความสาเรจ็ ของการนาจุดเน้นในการพฒั นาผเู้ รียนสู่การปฏบิ ตั ิ

3. ระดบั ความสาเร็จของสถานศกึ ษาทจี่ ัดการเรียนรู้ไดส้ าเร็จตามจดุ เนน้

4. ระดบั ความสาเรจ็ ของเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นไดต้ ามจดุ เนน้

บทบาทของสถานศกึ ษาเพื่อการขับเคลอื่ นจดุ เน้นสู่การพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
1. จดั ทาฐานขอ้ มลู ผูเ้ รียน โรงเรียนตามจดุ เน้น
2. ศกึ ษาบรบิ ทใน/นอกโรงเรียนเพือ่ จดั ทาแหล่งเรียนรู้ (สถานท่/ี บคุ คล)
3. ปรับ/ออกแบบตารางเรียน จัดการเรยี นการสอนใหเ้ อ้ือต่อการพัฒนาผู้เรยี นตามจุดเน้น
4. ให้ความสาคญั การจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
5. จดั ทารายงานความกา้ วหนา้ ของผู้เรยี นตามจุดเน้น

ตวั ชว้ี ัดภาพความสาเร็จระดับโรงเรียนของจดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน

ระยะท่ี 1 เร่ิมตน้ คน้ วิเคราะห์ (ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2553)
1) มขี ้อมูลผเู้ รียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้
2) มแี ผนพัฒนาผ้เู รียนตามจดุ เน้นทช่ี ัดเจน ปฏิบัติได้
3) มีฐานข้อมูลแหลง่ เรยี นร้ทู งั้ ในและนอกห้องเรียนเพียงพอ
4) มีตารางเรยี นทย่ี ดื หย่นุ ตามจุดเนน้
5) มีกจิ กรรมการเรยี นรู้ท้งั ในและนอกหอ้ งเรยี น โดยมีกิจกรรมการเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี นไมน่ อ้ ย

กว่าร้อยละ 30 ของเวลาเรียน
6) มีเครื่องมือวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย ครอบคลุมตามจดุ เน้น

ระยะที่ 2 บ่มเพาะประสบการณ์ (ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2554)
1) ผู้เรยี นได้สารวจ สบื คน้ ทาโครงงาน โครงการจากแหล่งเรียนร้ทู ้ังในและนอกหอ้ งเรียน
2) ครูใช้แหล่งเรยี นรูท้ ั้งในและนอกหอ้ งเรยี นอยา่ งคุม้ ค่า
3) จัดบรรยากาศใหเ้ อ้ือต่อการเรยี นรู้ทงั้ ในและนอกห้องเรียน
4) ชุมชนเข้าใจ รว่ มมือ สนับสนนุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
5) ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นร้/ู สอื่ อย่างมีประสิทธิภาพ
6) มีการนาผลการพัฒนาผ้เู รียนตามจุดเน้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

3

ระยะท่ี 3 สานตอ่ องคค์ วามรู้ (ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2554)
1) มีการนาผลการแลกเปล่ยี นเรียนรู้มาใช้ในการปรับปรงุ กิจกรรมการพฒั นาผู้เรียน
2) มีผลการวิจัยและพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนอย่างต่อเน่ือง
3) มีรายงานผลความกา้ วหน้าในการพฒั นาผู้เรียน
4) มีการสรา้ งเครอื ขา่ ย/แลกเปล่ียนเรยี นรู้

ระยะท่ี 4 นาส่วู ิถีคุณภาพ (ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2555)
1) มนี วัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผ้เู รียนตามจดุ เน้น
2) มีนวัตกรรมการจัดการเรยี นร้ตู ามจุดเน้น
3) มีเคร่ืองมือวดั /ประเมินผลการพฒั นาผู้เรยี นท่ีมคี ุณภาพ
4) มกี ารเผยแพร่การวจิ ยั และผลการพฒั นาผเู้ รียน

ระยะที่ 5 มีวัฒนธรรมการเรยี นร้ใู หม่ (ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2555)
1) ผูเ้ รียนเรยี นรู้อย่างมีความสขุ มีความสามารถ ทักษะ และคณุ ลกั ษณะตามจุดเน้น
2) มวี ฒั นธรรมการเรียนรู้ใหม่
3) ครเู ป็นครูมืออาชพี
4) โรงเรยี นมกี ารจดั การความรู้
5) มีเครือขา่ ยรว่ มพฒั นาทเี่ ข้มแขง็
6) สาธารณชนยอมรบั และมีความพงึ พอใจ

ดังน้ัน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จึงตระหนักต่อภารกิจในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาและเพื่อตอบสนองนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของกระทรวงศึกษาธิการ จึง
ได้กาหนดแนวทางการนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาโดยการสร้างเครื่องมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผ ล
ครบทุกจุดเน้นและทุกชั้นปี ตามท่ีกาหนด เพ่ือมุ่งหวังให้คุณครูผู้รับผิดชอบระดับช้ันเรียน ได้ศึกษาและนาไปใช้
พัฒนาผู้เรียนในระดับช้ันเรียน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และเพื่อเป็นการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง ให้เกิดคุณภาพตามตัวช้ีวัดความสาเร็จในระยะต่างๆ ส่งผลต่อประชากรในวัยเรียนได้รับการ
พัฒนาตามจุดเนน้ บรรลุตามเปาู หมายที่กาหนดไว้

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

4

ส่วนท่ี 2
การดาเนินงาน

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 2 ส่งเสริม สนับสนนุ และอานวยความสะดวก
ในการนาจุดเน้นสู่การปฏิบตั ิในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องในรูปแบบและวธิ ีการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ กาหนดมาตรการ
การรับทราบการประกาศจดุ เน้นจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ ไดน้ าเอกสารความร้แู ละโปสเตอร์
จดุ เน้นเผยแพร่ ทกุ โรงเรียน ทุกห้องเรียน กาหนดแนวการพัฒนา การนิเทศจุดเน้นทั้งในระบบการนิเทศภายใน
โรงเรียนและภายนอก จดั พมิ พแ์ ละจัดทาแนวทาง การนาจุดเนน้ สู่การปฏิบัติในสถานศกึ ษา ประชุมเชงิ
ปฏบิ ัตกิ าร การนิเทศทางไกล ฯลฯ และการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศจุดเน้นเป็นวธิ ที ใี่ ช้ในการ
ขบั เคลื่อนการพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นอย่างครบวงจร โดยดาเนนิ การจาแนกเป็นรายจุดเนน้ ตามลาดับ ดังนี้

แนวทางการนิเทศการพฒั นาการอา่ น การเขยี น
สาระสาคญั

ทักษะการอา่ น การเขียน เปน็ ทักษะพ้ืนฐานท่สี ามารถวัดและประเมนิ ได้อย่างเปน็ รูปธรรม มีเคร่ืองมือ
วัดและเกณฑป์ ระเมินความสามารถตามระดบั คุณภาพ การอา่ นออก เขียนได้ อา่ นคล่อง เขยี นคล่อง มีนิยามคา
สาคญั ดังนี้

อา่ นออก หมายถึง ความสามารถรับรแู้ ละเขา้ ใจความหมายของคา ประโยค ขอ้ ความส้ันๆ ในสือ่ ต่างๆ
หรือในหนังสือได้ตามระดับช้ันของผเู้ รียน

อา่ นคล่อง หมายถงึ ความสามารถอ่านออกเสยี งชัดเจน ถูกต้อง ตามหลกั เกณฑ์ การอ่านในระยะเวลา
ที่เหมาะสมกับระดับชน้ั ของผ้เู รียนและสามารถจบั ใจความสาคญั ของเรื่องที่อา่ นได้

เขยี นคลอ่ ง หมายถงึ ความสามารถเขียนคา ประโยค ขอ้ ความ เร่อื งราว ถกู ต้องตามหลกั เกณฑ์ทางภาษา
ไดร้ วดเรว็ ในระยะเวลาทีเ่ หมาะสมตามระดับช้ันของผ้เู รยี น

ขอบขา่ ยการประเมนิ ทกั ษะการอ่านการเขยี น
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
1. อ่านคาพ้นื ฐาน 20 คา
2. เลือกคาทก่ี าหนดใหเ้ ติมในช่องว่าง 3 เรือ่ ง 20 คา
3. เขียนตามคาบอก 20 คา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2
1. อา่ นคาพื้นฐาน 20 คา
2. แต่งประโยคจากคาท่ีกาหนดให้ 20 คา
3. เขียนตามคาบอก 20 คา

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3
1. อา่ นคาพน้ื ฐาน 20 คา
2. เขยี นเรอื่ งจากภาพโดยใชค้ าที่กาหนดให้ 20 คา
3. เขียนตามคาบอก 20 คา

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

5

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4
1. อ่านกลอน 4 จานวน 2 บท
2. สรปุ ใจความสาคัญจากกลอน 4
3. เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองท่ีกาหนดให้

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5
1. อ่านกาพย์ยานี 11 จานวน 2 บท
2. สรุปใจความสาคญั /บอกข้อคิดทีไ่ ดจ้ ากการอ่าน กาพย์ยานี 11
3. เขียนแสดงความรู้สึก / แสดงความคิดเห็น จากข้อความที่กาหนดให้

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
1. อ่านกลอนสุภาพ 2 บท
2. สรุปใจความสาคัญ/บอกขอ้ เท็จจริง จากกลอนสภุ าพ
3. เขยี นเรยี งความจากเรอื่ งท่กี าหนดให้

แนวทางประเมินการอา่ น การเขียน

ชดุ ที่ 1
1 การอ่านได้
1.1 การอา่ น
1. ใหน้ ักเรยี นอา่ นคาพ้ืนฐานที่กาหนดให้ 20 คา โดยอา่ นในใจ 3-5 นาที
2. ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเสียง คาละ 1 ครงั้ เรยี งลาดบั จากคาที่ 1-20 ตามลาดบั
3. ครปู ระเมินความสามารถในการอ่าน ตามแบบประเมนิ โดยทาเครื่องหมาย  ในชอ่ งคา
ท่นี กั เรียนอ่านได้ถกู ต้อง หรือทาเคร่ืองหมาย  ในช่องคาที่นกั เรียนอา่ นผิด หรอื ไมอ่ า่ น
1.2 เข้าใจความหมายของคา

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1
1. แบบประเมินการเข้าใจความหมายของคามี 3 ตอน ให้นักเรยี นทาทลี ะตอนโดยนาคาที่
กาหนดให้เตมิ ลงในชอ่ งวา่ งให้ไดเ้ รื่องราวที่สมบูรณ์
2. ครูตรวจผลงานนักเรียน โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาท่ีนักเรียนใช้คาได้ถูกต้อง
หรือทาเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งคาท่ีนกั เรยี นเขยี นผดิ หรือไมเ่ ขยี นในแบบประเมิน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
1. ให้นกั เรียนนาคาที่กาหนดให้แตง่ ประโยคให้ได้ใจความสมบูรณ์
2. ครตู รวจผลงานการเขียนประโยค โดยทาเครื่องหมาย  ในช่องคาท่ีนักเรียนใช้คาได้ถูกต้อง
หรือทาเครือ่ งหมาย  ในชอ่ งคาท่นี ักเรียนเขยี นผิดหรอื ไม่เขยี นในแบบประเมิน

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผ้เู รยี น

6

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
1. ใหน้ กั เรยี นนาคาท่ีกาหนดใหเ้ ขยี นเร่ืองใหส้ อดคลอ้ งสัมพนั ธ์กับภาพ
2. ครูตรวจผลงานการเขียน เร่ืองจากภาพ โดยทาเคร่ืองหมาย  ในช่องคาท่ีนักเรียนใช้คา
เขียนเรื่องได้สัมพันธ์กับภาพ หรือทาเครื่องหมาย  ในช่องคาที่นักเรียนเขียนเรื่องได้ไม่สัมพันธ์กับภาพหรือ
ไม่เขียนในแบบประเมิน
สรปุ ผลการอา่ น
1. พจิ ารณาเครื่องหมายในชอ่ งอา่ นออกและเขา้ ใจความหมายของคา หากเครอ่ื งหมาย  ทงั้
สองช่อง ใหท้ าเครื่องหมาย ในชอ่ งสรปุ หากเครื่องหมาย  กบั  หรือ  กบั  ใหท้ าเครื่องหมาย 
ในชอ่ งสรปุ
2. เกณฑก์ ารประเมิน

2.1 ระดับ 3 เขยี นได้และเข้าใจความหมายของคา 16-20 คา
2.2 ระดับ 2 เขยี นได้และเขา้ ใจความหมายของคา 12-15 คา
2.3 ระดับ 1 เขียนไดแ้ ละเขา้ ใจความหมายของคา 11 คา ลงมา

2. การเขียนได้

1. ครแู จกกระดาษเขียนคาตามคาบอกให้นักเรียนกรอกรายละเอยี ดให้ครบถว้ น

2. ครบู อกคาพนื้ ฐานทีละคาๆ ละ 2 ครง้ั แลว้ ใหน้ ักเรยี นเขียนทลี ะคา ใช้เวลาคาละ 1 นาที

3. ตรวจความถูกต้องในการเขียน ทาเครื่องหมาย ในช่องคาทเ่ี ขียนถกู และทาเครื่องหมาย 

ในช่องคาทเี่ ขยี นผดิ หรือไมเ่ ขียน โดยทาในแบบบันทึกผล

4. เกณฑ์การประเมนิ

ระดับ 3 เขยี นได้ถูกตอ้ ง 16-20 คา

ระดับ 2 เขียนได้ถูกต้อง 12-15 คา

ระดับ 1 เขยี นไดถ้ ูกต้อง 11 คา ลงมา

คาสาหรบั การเขยี นตามคาบอก

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1

1. เกเร 2. มือ 3. ดงึ 4. ขา้ ว 5. ชอบ
6. กลางวนั 7. พริก 10. สบาย
11. ถนน 12. อาหาร 8. ความรู้ 9. ขนม 15. สวน
16. ผัก 17. เดิน 20. วนั เสาร์
13. สวัสดี 14. คน

18. เยน็ 19. สัตว์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2

1. แผน่ ดิน 2. ถ้อยคา 3. ปลอดโปรง่ 4. สร้อย 5. ทราย
6. สนกุ สนาน 7. อรอ่ ย 10. พืช
11. พืช 12. ลมโบก 8. หมาก 9. วหิ ค 15. เขนิ อาย
16. เถาวลั ย์ 17. อาทิตย์ 20. ภรรยา
13. สว่ นแบ่ง 14. แขง็ แรง

18. ดวงจันทร์ 19. บรรทัด

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผู้เรียน

7

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3

1. ตรากตรา 2. เคว้งคว้าง 3. ตน้ ไทร 4. ฉลาด 5. ถล่ม
6. ขนุน 7. คนพาล 10. คนดี
11. ปุวย 12. ลาพัง 8. ชานาญ 9. บิณฑบาต 15. ประโยชน์
16. อนรุ ักษ์ 17. สรรหา 20. ฟุตบอล
13. เอ็นดู 14. พระสงฆ์

18. บรรจง 19. พชิ ซา่

3. การอา่ นคลอ่ ง
3.1 ให้นกั เรียนอา่ นออกเสยี ง บทร้อยกรอง ตามแบบฉนั ทลักษณ์ 1 จบ โดยครูควรใหน้ ักเรยี น

อ่านในใจก่อน 2-3 นาที แลว้ จึงอ่านออกเสยี ง (ป.4 กลอนสี่ ป.5 กาพย์ยานี 11 ป.6 กลอนสภุ าพ)
3.2 ใหน้ กั เรียนเขียนสรุปใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอ่าน
3.3 ครปู ระเมนิ ผลงานตามเกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ดงั นี้
3.3.1 อา่ นถูกต้องตามอักขรวธิ ี
ระดบั 3 หมายถึง 1. อา่ นถูกต้องตามอักขรวิธีและฉนั ทลกั ษณ์
2. อา่ นคาครบถว้ น ไมต่ ก ไมเ่ พิ่มคา
3. เสยี งดังเหมาะสม
ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัตขิ อ้ 1 แต่ไมป่ ฏิบตั ิ ข้อ 2 และ / หรือ ขอ้ 3
ระดบั 1 หมายถึง ไมป่ ฏิบัติข้อ 1 แต่ปฏบิ ัตขิ ้อ 2 และ/หรือ ข้อ 3
3.3.2 สรปุ ใจความสาคัญ
ระดับ 3 หมายถึง 1. สรปุ ใจความสาคญั ของเรื่องได้ชัดเจน ถูกต้อง
2. ใชภ้ าษาในการเขยี นถูกต้อง ส่ือความหมายไดด้ ี
ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบตั ิขอ้ 1
ระดบั 1 หมายถึง ปฏบิ ตั ิข้อ 1 หรือ ข้อ 2
3.3.3 มมี ารยาทในการอา่ น
ระดบั 3 หมายถึง 1. ท่าทางในการอา่ นสุภาพ
2. กระตือรือรน้ ในการอา่ น
3. มสี มาธใิ นการอ่าน
ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัติ 2 ข้อ จาก 3 ข้อ
ระดับ 1 หมายถึง ปฏบิ ัติ 1 ขอ้ จาก 3 ข้อ

4. การเขยี นคลอ่ ง
4.1 ใหน้ ักเรยี นอ่านแล้วเขยี นโดยจาแนก ดงั น้ี
4.1.1 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ให้นักเรยี นอ่านนทิ านแล้วเขียนยอ่ ความ
4.1.2 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 ใหน้ กั เรยี นอา่ นข่าว แลว้ เขยี นแสดงความรู้สึก

และแสดงความคดิ เห็น
4.1.3 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ให้นกั เรยี นเขยี นเรียงความ ตามเร่อื งท่กี าหนดให้

ความยาวอยา่ งน้อย 15 บรรทดั

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รียน

8

4.2 ครปู ระเมนิ ผลงานตามเกณฑ์ระดบั คุณภาพ ดังนี้
4.2.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
1) การเขียนย่อความ
ระดับ 3 หมายถงึ 1. การลาดบั ความเข้าใจง่าย
2. ใช้ถ้อยคาสน้ั ๆ ตรงไปตรงมาและรัดกมุ
3. ใชค้ าสามญั เข้าใจง่าย
4. มีรูปแบบการย่อความ (ย่อเรอ่ื ง ....ความว่า...)
5. เขียนเสรจ็ ภายสนเวลาท่ีกาหนด
ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบตั ไิ ด้ 3-4 ข้อ
ระดบั 1 หมายถงึ ปฏิบตั ิได้ 1-2 ข้อ
2) มีมารยาทในการเขียน
ระดับ 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเท็จจรงิ ทง้ั หมด
2. ใช้ภาษาสภุ าพ
3. เขียนด้วยลายมือทสี่ วยงาม อา่ นง่าย
ระดับ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิ 2 ขอ้
ระดับ 1 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิ 1 ข้อ

4.2.2 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5
1) เขียนแสดงความร้สู ึกและความคดิ เห็น

ระดับ 3 หมายถงึ 1. เนื้อหาสาระสอดคล้องกบั เรอ่ื งท่ีกาหนด
2. มีชือ่ เรือ่ ง
3. ใช้ภาษาถูกต้อง
4. มีองค์ประกอบการเขียนเรียงความถูกต้องครบถ้วน
(มีคานา เน้ือเรื่อง สรุป)
5. เขยี นเสรจ็ ภายในเวลาท่ีกาหนด
6. ความยาวของเน้ือหาตามท่ีกาหนด

ระดับ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิได้ 4-5 ขอ้
ระดบั 1 หมายถงึ ปฏบิ ัติได้ 1- 3 ข้อ

2) มีมารยาทในการเขยี น
ระดบั 3 หมายถงึ 1. เขียนตามข้อเทจ็ จริงท้งั หมด

2. ใช้ภาษาสุภาพ
3. เขียนด้วยลายมอื ทีส่ วยงาม อ่านง่าย
ระดบั 2 หมายถงึ ปฏิบัตไิ ด้ 2 ข้อ
ระดบั 1 หมายถึง ปฏิบัตไิ ด้ 1 ข้อ

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผ้เู รยี น

9

4.2.3 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
1) การเขียนเรียงความ

ระดับ 3 หมายถงึ 1. เนอ้ื หาสาระสอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งท่ีกาหนด
2. มชี ื่อเร่ือง
3. ใชภ้ าษาถกู ต้อง
4. มีองคป์ ระกอบการเขยี นเรียงความถูกต้องครบถ้วน
(มีคานา เนื้อเรือ่ ง สรปุ )
5. เขยี นเสรจ็ ภายในเวลาทก่ี าหนด
6. ความยาวของเน้ือหาตามทก่ี าหนด

ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบตั ิได้ 4-5 ข้อ
ระดบั 1 หมายถงึ ปฏิบตั ิได้ 1-3 ข้อ

2) มมี ารยาทในการเขยี น
ระดบั 3 หมายถึง 1. เขียนตามข้อเทจ็ จริงท้ังหมด

2. ใช้ภาษาสภุ าพ
3. เขยี นดว้ ยลายมอื ที่สวยงาม อา่ นงา่ ย
ระดับ 2 หมายถึง ปฏิบัตไิ ด้ 2 ขอ้
ระดับ 1 หมายถึง ปฏบิ ัตไิ ด้ 1 ข้อ

แนวทางการพฒั นาการคิดเลข
1. สาระสาคัญ

ครูผสู้ อน สามารถพฒั นาการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ท่ีสอดคลอ้ งกับจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร
เพอ่ื พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นให้ คดิ เลขเปน็ คดิ เลขคลอ่ ง ตามจุดเนน้ คุณภาพผเู้ รยี นในแต่ละระดับชนั้

2. จดุ ประสงค์
2.1 ครูคณติ ศาสตร์สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ หน้ กั เรยี นคิดเลขเป็นในระดบั ชัน้ ป. 1-3

และ คิดเลขคลอ่ งในระดับชน้ั ป. 4-6
2.2 เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนดา้ นการคิดเลขเป็นในระดบั ชั้น ป. 1-3 และ คดิ เลขคล่อง

ในระดับชัน้ ป. 4-6
3. เป้าหมาย
3.1 ครผู ู้สอนคณติ ศาสตร์ในระดบั ช้ัน ป. 1-3 ทกุ คน ไดร้ ับการพฒั นาเรื่องการจดั การเรยี นรู้

ให้ผเู้ รียนคดิ เลขเป็นและครูผู้สอนคณติ ศาสตร์ในระดบั ชั้น ป. 4-6 ทุกคน ไดร้ บั การพัฒนาเรือ่ งการจัดการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนคดิ เลขคล่อง

3.2 ผู้เรียนชนั้ ป.1-6 ทุกคน ได้รับการตรวจสอบคณุ ภาพผ้เู รียนตามจุดเน้นในแต่ละระดับชนั้
4. กจิ กรรมการพัฒนา

4.1 ครู
1) ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเกยี่ วกับจดุ เน้นคุณภาพผูเ้ รยี นในแต่ละระดับชั้น
2) ครสู ร้างนวัตกรรม
3) ครูทดลองและใชน้ วตั กรรม

4.3 เกบ็ ข้อมลู ตามจุดเน้นโดยการประเมินแนวทางการจัดการเรยี นรูข้ องครูตามจดุ เนน้
4.4 ตรวจสอบคุณภาพผเู้ รียนตามจุดเน้นในแตล่ ะระดบั ช้ัน

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี น

10

5. สื่อการพัฒนา
5.1 แนวทางการนาจุดเนน้ การพฒั นาผู้เรยี นสู่การปฏิบตั ิ
5.2 Road Map จดุ เน้น สู่การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
5.3 แบบประเมินแนวทางการจัดการเรยี นรูข้ องครูตามจุดเน้นเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
5.4 แบบประเมินนักเรียนตามจดุ เนน้ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน

6. ข้ันตอนสาหรบั ครผู สู้ อนในการใชเ้ คร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผลตามจดุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
เรือ่ ง การ คิดเลขเปน็ และการคิดเลขคลอ่ ง

6.1 การวัดและประเมินคุณภาพตามจดุ เนน้
6.2 ให้ผู้เรยี นได้เรียนร้เู น้อื หาจากชั้นเรยี นก่อนนาเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผลตามจดุ เนน้
การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น เร่ือง การคิดเลขเปน็ และการคิดเลขคล่อง มาใช้ตามระดับ
6.3 อธิบายช้แี จง และทาความเข้าใจเกี่ยวกับการทาแบบทดสอบ และ เกณฑ์การให้คะแนน /
ขอ้ กาหนดตา่ งๆของแบบทดสอบใหผ้ ู้เรียนทราบ
6.4 เตรียมแบบทดสอบและอุปกรณใ์ ห้พรอ้ ม
6.5 จัดบรรยากาศใหเ้ หมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ และทาแบบทดสอบ
6.6 ตรวจคาตอบตามเกณฑ์ ตามเฉลยของแบบทดสอบ
6.7 อธบิ ายแนวทางการหาคาตอบ เพื่อให้ผ้เู รยี นไดแ้ ก้ไขคาตอบ วิธที าท่ผี ิดด้วยตนเอง
หรือร่วมกบั ผู้เรยี นหาวธิ ีคิดในขอ้ ที่ตอบผดิ

7. การบนั ทกึ ผลการประเมิน
ขอให้บนั ทึกข้อมลู ลงในแบบที่กาหนดให้ ดงั นี้

ป.1 ใช้แบบประเมนิ 2/1 ป.4 ใชแ้ บบประเมิน 2/4
ป.2 ใชแ้ บบประเมิน 2/2 ป.5 ใชแ้ บบประเมิน 2/5
ป.3 ใชแ้ บบประเมิน 2/3 ป.6 ใช้แบบประเมิน 2/6

แนวทางการพัฒนาทกั ษะการคดิ
การจัดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มีเปูาหมายสูงสุดคือ

การพัฒนาคุณภาพของนักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถทางความคิด สามารถ
แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รู้จักวิเคราะห์ ค้นหาสาเหตุและแนวทางการแก้ป๎ญหา ใฝุรู้ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ
มีคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่โรงเรียนเป็นลาดับแรก การจะเกิดการเปลี่ยนแปลงท่ี
โรงเรียนได้น้ัน องค์ประกอบสาคัญคือ ครูผู้สอนต้องเปล่ียนแปลงแนวคิดและการจัดกระบวนการเรียนการสอน
โดยเปล่ียนพฤติกรรมจากการบอกความรู้ให้นักเรียน มาเป็นการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด รู้จัก
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การปรับปรุงการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของการปฏิรูป
การศึกษาอย่างแท้จริง ผนวกกับการส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการประกันคุณภาพขึ้นในชั้นเรียน เป็น
กระบวนการท่จี ะช่วยเหลือให้ครูผสู้ อนหรอื ผู้มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอน ได้ปรับปรุงงานของตนเองให้
มีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รยี น

11

ทกั ษะการคดิ สู่การพัฒนาผ้เู รียน ตามจดุ เนน้
ทักษะการคิดสู่การพฒั นาผู้เรยี น ให้สอดคล้องตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ได้ใช้กรอบด้านกระบวนการทใ่ี ช้ในการคิด ซงึ่ ไดแ้ ก่ ความสามารถในทักษะการคิด ขน้ั พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ยทกั ษะการคดิ
ทีใ่ ช้ในการสื่อสาร และทักษะการคิดท่ีเป็นแกน และความสามารถในทักษะการคิดข้ันสูง ประกอบด้วย ทักษะการคิด
ซับซ้อน ทักษะพัฒนาลักษณะการคิด ทักษะกระบวนการคิด โดยมีทักษะการคิดเป็นกรอบในการพัฒนา ดังน้ี

1. ทักษะการคิดขน้ั พนื้ ฐาน

1.1 ทักษะการคดิ ทใ่ี ช้ในการสื่อสาร ทกั ษะการอ่าน ทักษะการเขียน
ทกั ษะการฟ๎ง ทักษะการพูด
ทกั ษะการสารวจ
1.2 ทักษะการคดิ ทเี่ ปน็ แกน ทกั ษะการตั้งคาถาม
ทกั ษะการสังเกต ทักษะการรวบรวมข้อมูล
ทักษะการสารวจค้นหา ทักษะการคดั แยก
ทกั ษะการระบุ ทกั ษะการจาแนกประเภท
ทกั ษะการเปรียบเทียบ ทักษะการแปลความ
ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการเชื่อมโยง
ทักษะการเรียงลาดบั ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง
ทกั ษะการตีความ ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้
ทักษะการสรุปย่อ
ทักษะการให้เหตผุ ล

2. ทักษะการคดิ ข้ันสูง

2.1 ทักษะการคิดซับซ้อน ทักษะการสรปุ ลงความเห็น
ทักษะการให้ความกระจ่าง ทักษะการวิเคราะห์
ทักษะการใหค้ าจากัดความ ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการสร้างความรู้
ทักษะการจัดระเบียบ ทกั ษะการปรับโครงสร้าง
ทักษะการจัดโครงสร้าง ทักษะการพยากรณ์
ทักษะการหาแบบแผน ทกั ษะการต้ังสมมติฐาน
ทกั ษะการหาความเชอ่ื พ้ืนฐาน ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน
ทักษะการพิสจู น์ความจริง ทักษะการประเมิน
ทักษะการตั้งเกณฑ์

2.2 ทักษะพัฒนาลักษณะการคดิ

ทกั ษะการคดิ คล่อง ทกั ษะการคิดหลากหลาย
ทักษะการคิดละเอยี ด ทักษะการคดิ ชัดเจน
ทักษะการคดิ อย่างมีเหตุผล ทกั ษะการคิดถูกทาง
ทกั ษะการคดิ กว้าง ทกั ษะการคดิ ไกล
ทักษะการคิดลึกซึ้ง

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รยี น

12

2.3 ทกั ษะกระบวนการคิด

ทักษะกระบวนการคิดอย่างมวี ิจารณญาณทักษะกระบวนการคดิ ตัดสินใจทักษะกระบวนการคดิ
แกป้ ๎ญหาทักษะกระบวนการวิจัย ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์

การจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ ตามจดุ เน้น

แนวทางการจดั การเรยี นรูเ้ พื่อพฒั นาทกั ษะการคิดผ้เู รยี นตามจุดเน้น การพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

ตามนโยบายการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษทส่ี อง(2552-2561) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มแี นวทางการจดั การ

เรียนร้ตู ามระดับชน้ั ดังน้ี

ระดับชนั้ ทักษะการคดิ ตามจดุ เน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผ้เู รียน

ชนั้ 1. ทักษะการสงั เกต ทกั ษะการสงั เกต หมายถึง 1. กาหนดสิ่งหรือเรื่องที่จะสารวจ
ประถมศกึ ษา
ปที ่ี 1 2. ทกั ษะการจดั กล่มุ การรบั รู้และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ 2. แสวงหาวิธกี ารในการรวบรวมขอ้ มลู

ชั้น 1. ทักษะการเปรียบเทยี บ สง่ิ ใดสงิ่ หน่งึ โดยใช้ประสาทสัมผสั ทัง้ เพ่ือให้ได้ข้อเท็จจรงิ และความคดิ เห็น
ประถมศกึ ษา 2. ทกั ษะการจาแนกประเภท
ปที ี่ 2 หา้ เพ่ือให้ไดร้ ายละเอยี ดเกีย่ วกบั สง่ิ เกยี่ วกับสงิ่ นั้น

นัน้ ๆ ซง่ึ เปน็ ข้อมลู เชิงประจักษท์ ไี่ ม่ 3. รวบรวมข้อเท็จจริงและความคิดเห็น

มีการใช้ประสบการณแ์ ละความ เกยี่ วกับสง่ิ ท่ีสารวจ

คดิ เห็นของผู้สงั เกตในการเสนอขอ้ มูล 4. นาเสนอข้อเทจ็ จรงิ และความ

ข้อมูลจากการสงั เกตมีท้งั ข้อมูลเชิง คิดเห็นที่ไดจ้ ากการสารวจ

คุณภาพและข้อมลู เชิงปริมาณ

ทักษะการจดั กล่มุ หมายถึง การนา 1. สังเกตความเหมือน ความตา่ ง และ

สิ่งต่างๆ ทม่ี สี มบัตเิ หมือนกนั ตาม ภาพรวมของสงิ่ ต่างๆที่จะจดั กลุ่ม

เกณฑม์ าจัดเป็นกลมุ่ โดยแต่ละกลุ่มมี 2. รวมกลุ่มเดียวกัน ซ่ึงแตล่ ะกลุ่มมี

เกณฑ์ต่างกัน เกณฑต์ ่างกันไป

3. จาแนกหรอื แยกส่ิงตา่ งๆเขา้ กลุ่มตาม

เกณฑท์ ่กี าหนด

4. อธิบายผลการจดั กลุม่ พรอ้ มทั้งเกณฑ์

ท่ใี ช้

1. ทกั ษะการเปรยี บเทียบ หมายถงึ 1. กาหนดมติ ทิ ีจ่ ะเปรยี บเทียบ 2 สง่ิ คือ

การจาแนกระบุสิ่งของหรือเหตกุ ารณ์ ความเหมือนและความต่าง

ต่างๆ ในส่งิ ทเี่ หมือนกันและสงิ่ ที่ 2. นาของอย่างนอ้ ย 2 ส่งิ ทจ่ี ะ

ตา่ งกัน เปรยี บเทยี บมาจัดให้อยูบ่ นฐานเดยี วกนั

ตามเกณฑ์ทกี่ าหนด

3. บอกความเหมือนหรอื ความตา่ งของ

สง่ิ ทต่ี อ้ งการเปรยี บเทยี บกัน

2. ทักษะการจาแนกประเภท 1. สังเกตสง่ิ ที่สนใจจะจาแนกประเภท

หมายถึง การนาส่ิงตา่ งๆมาแยกเป็น 2. สงั เกตภาพรวม สงั เกตสิง่ ท่ีเหมือนกนั

กลุ่มตามเกณฑท์ ีไ่ ดร้ บั การยอมรับทาง สิง่ ที่ต่างกัน

วิชาการหรอื ยอมรบั โดยทัว่ ไป 3. กาหนดเกณฑท์ ี่ได้รับการยอมรับทาง

วิชาการหรือยอมรับโดยทวั่ ไปในการแยก

สิ่งตา่ งๆ ออกจากกัน

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผู้เรียน

13

ระดบั ช้นั ทกั ษะการคดิ ตามจดุ เน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

ชน้ั 1. ทักษะการรวบรวมขอ้ มูล 1. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 4. แยกส่งิ ตา่ งๆ ออกจากกันตามเกณฑ์
ประถมศกึ ษา 2. ทักษะการเช่ือมโยง หมายถึง การใชว้ ธิ ีการตา่ งๆ ในการ 5. จัดกลมุ่ ส่งิ ที่มีลักษณะเหมอื นกนั ไว้
ปีท่ี 3 เกบ็ ขอ้ มลู ทตี่ ้องการรู้ ดว้ ยกัน
6. อธบิ ายผลการจาแนกประเภทอย่างมี
ชน้ั 2. ทักษะการเช่ือมโยง หมายถึง หลกั เกณฑ์
ประถมศึกษา การบอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างข้อมูล
ปที ี่ 4 อย่างมคี วามหมาย 1. กาหนดจุดประสงค์ของการเก็บข้อมูล
2. หาวิธีการในการเก็บขอ้ มลู ทีเ่ หมาะสม
ชั้น 1. ทักษะการตง้ั คาถาม 1. ทักษะการต้งั คาถาม หมายถึง กับจดุ ประสงค์
ประถมศึกษา 2. ทักษะการใหเ้ หตุผล การพูดหรอื การเขยี นสงิ่ ท่สี งสัย หรอื 3. ใชว้ ธิ ีการท่กี าหนดในการรวบรวม
ปีที่ 5 สิ่งทตี่ อ้ งการรู้ ข้อมูล
4. นาเสนอข้อมูลทรี่ วบรวมได้
2. ทักษะการให้เหตุผล หมายถึง
การอธิบายเหตกุ ารณ์หรอื การกระทา 1. พจิ ารณาข้อมูลต่างๆ
ต่างๆโดยเช่ือมโยงให้เห็นถึงสาเหตุ 2. เลอื กขอ้ มลู ที่มีความเกีย่ วข้องกนั มา
และผลที่เกดิ ขึ้นในเหตกุ ารณห์ รือการ สัมพนั ธ์กันให้มีความหมาย โดยอาศัย
กระทานั้นๆ ความรู้ประสบการณ์เดมิ และแสวงหา
ความรู้และขอ้ มูลใหม่
1. ทักษะการตีความ 1. ทกั ษะการตคี วาม หมายถึง การ 3. อธิบายความสมั พันธ์และความหมาย
2. ทกั ษะการแปลความ บอกความหมายหรือความสมั พนั ธ์ ของข้อมลู ท่ีนามาเช่ือมโยงกัน
ของข้อมูลหรือสาระทแ่ี ฝงอยไู่ ม่
ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน โดยการ 1. อา่ นหรือฟง๎ อย่างตงั้ ใจ
เชอ่ื มโยงกบั บรบิ ทความร/ู้ 2. ขดี เสน้ ใตค้ าหรือข้อความหรือจด
ประสบการณเ์ ดิมหรือข้อมูลอ่นื ๆ ประเดน็ ท่ีสงสยั ต้องการทราบคาตอบ
3. เลอื กคาท่ีใช้แทนส่ิงทสี่ งสยั เช่น ใคร
อะไร ที่ไหน อยา่ งไร ทาไม
4. พดู หรือเขยี นเปน็ ประโยคคาถาม

1. รับรู้และรวบรวมข้อมลู เกย่ี วกับ
เหตุการณ์ หรือ การกระทาตา่ งๆ
ทตี่ ้องการอธบิ ายให้เหตผุ ล
2. ค้นหาสาเหตุของเหตุการณห์ รือการ
กระทาทเ่ี กิดขน้ึ โดยอาศยั หลกั ตรรกะ/การ
ยอมรบั ของสังคม / ขอ้ มูลหลกั ฐาน
สนับสนนุ / การทดสอบตรวจสอบ/
เหตุผลเชงิ ประจักษ์
3. อธิบายใหเ้ ห็นความสอดคลอ้ งของเหตุ
และผลในเหตุการณ์หรือการกระทานน้ั ๆ

1. ศึกษาข้อมูล/ขอ้ ความ/เรื่องทตี่ ้องการ
ตคี วามใหเ้ ขา้ ใจ
2. หาความหมายของขอ้ ความทีไ่ มไ่ ด้
บอกไว้ โดย

2.1 เชื่อมโยงข้อมูล/ข้อความทม่ี ี
กับข้อมลู อ่ืนๆ ทั้งทมี่ ีอยแู่ ละทเ่ี ป็น
ความรู้หรือประสบการณเ์ ดมิ

2.2 เชื่อมโยงขอ้ มูลอยา่ งมีเหตุผล

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

14

ระดับช้นั ทกั ษะการคดิ ตามจดุ เนน้ ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

ช้นั 2. ทักษะการแปลความ หมายถงึ 3. ระบุความหมายทแ่ี ฝงอยู่โดยอธบิ าย
ประถมศึกษา การเรยี บเรยี งและถา่ ยทอดข้อมูลใน เหตผุ ลประกอบ
ปที ี่ 5 รปู แบบ/วิธกี ารใหมท่ ี่แตกตา่ งไปจาก
เดมิ แต่ยงั คงสาระเดิม 1. ทาความเขา้ ใจในสาระและ
ช้ัน ความหมายของ สิ่งทจ่ี ะแปลความ
ประถมศกึ ษา 1. ทักษะการสรุปอา้ งอิง 1. ทกั ษะการสรุปอ้างองิ หมายถึง 2. หากลวธิ ีนาเสนอสาระและความหมาย
ปีที่ 6 2. ทักษะการนาความรไู้ ปใช้ การนาความรหู้ รือประสบการณ์เดิม น้นั ในรปู แบบ/วิธีการใหมแ่ ตย่ งั ให้คง
มาใชใ้ นการสรปุ ลงความเห็นเกี่ยวกับ สาระ และความหมายเดมิ
ชน้ั ข้อมลู 3. เรยี บเรียงและถา่ ยทอดสาระและ
มธั ยมศึกษา ความหมายนน้ั ตามกลวธิ ีทก่ี าหนด
ปีที่ 1 2. ทักษะการนาความรู้ไปใช้
หมายถงึ การนาความร้ทู ่ีเกดิ จาก 1. สงั เกตส่ิงต่างๆ / ปรากฏการณต์ า่ งๆ
ความเขา้ ใจไปใชเ้ พ่ือให้เกิดความ 2 . อธบิ าย / สรปุ ส่ิงทสี่ ังเกตตามข้อมลู
ชานาญ เชิงประจักษ์
3. ขยายข้อมลู จากส่งิ ที่สงั เกตไดอ้ อกไป
1. ทักษะการการวเิ คราะห์ 1. ทักษะการวิเคราะห์ หมายถึง โดยการอา้ งอิงจากความรู้หรือ
2. ทักษะการประเมนิ การจาแนกแยกแยะส่งิ ใดสิ่งหน่งึ / ประสบการณ์เดมิ
3. ทกั ษะการสรุปลงความเห็น เรื่องใดเรื่องหนึ่งเพ่อื ค้นหา 4. สรปุ ความคดิ เห็นจากการอา้ งอิง
องค์ประกอบและความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งองค์ประกอบเหลา่ นนั้ เพื่อ 1. ทบทวนความรู้ที่มี
ชว่ ยใหเ้ กิดความเขา้ ใจในเรอื่ งนั้น 2. มองเห็นความเหมือนกนั ของ
สถานการณใ์ หม่กับสถานการณ์เดมิ ที่
2. ทกั ษะการประเมิน หมายถึง การ เคยเรยี นรมู้ า
ตดั สนิ คณุ ค่า หรือ คุณภาพของสิ่งใด 3. นาความรทู้ ม่ี ีไปใชใ้ นสถานการณ์ใหม่
สิง่ หน่ึงโดยการนาผลจากการวัดไป ทใี่ กล้เคยี งกับท่ไี ดเ้ คยเรียนรู้แลว้
เทยี บกับระดับคุณภาพท่กี าหนด
1. ศกึ ษาข้อมูล
ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รียน 2 . ต้งั วัตถุประสงคใ์ นการวิเคราะห์ข้อมลู
3. กาหนดเกณฑ์ในการจาแนกแยกแยะ
ข้อมลู
4. แยกแยะข้อมลู ตามเกณฑท์ ี่กาหนด
เพอ่ื ให้เห็นองค์ประกอบของสิง่ ที่
วเิ คราะห์
5. หาความสมั พันธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบ
ต่างๆ และความสมั พันธ์ของข้อมลู ในแต่
ละองค์ประกอบ
6. นาเสนอผลการวิเคราะห์
7. นาผลการวิเคราะห์มาสรุปตอบ
คาถามตามวัตถุประสงค์

1. นาประเด็น/หัวขอ้ ที่จะใช้ในการ
ประเมินมากาหนดระดบั คณุ ภาพหรือ
คณุ ค่าท่ยี อมรับได้
2. นาผลทไ่ี ด้จากการวัดมาเทยี บกบั
ระดับคณุ ภาพ
3. ระบุระดบั คณุ ภาพของสิ่งนั้น

15

ระดบั ช้นั ทกั ษะการคดิ ตามจดุ เน้น ความหมาย กระบวนการนาไปพัฒนาผู้เรียน

ช้นั 3. ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็ 1. ศกึ ษาข้อมูลทั้งหมด
มธั ยมศึกษา
ปที ่ี 1 หมายถึง การใหค้ วามคดิ เหน็ เกยี่ วกบั 2. จัดกระทากับข้อมูลด้วยวิธกี ารตา่ งๆ

ชัน้ ขอ้ มูล/เร่อื งท่ศี ึกษา โดยการเชือ่ งโยง ตามความเหมาะสมและสรุปสาระสาคัญ
มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี 2 และอ้างอิงจากความรู้หรอื ของข้อมลู เรอ่ื งท่ีศึกษา

ชน้ั ประสบการณเ์ ดิม หรือจากข้อมลู อน่ื ๆ 3. ใหค้ วามเห็นที่เกนิ ไปจากข้อมลู ที่มอี ยู่
มธั ยมศึกษา
ปที ่ี 3 รวมท้ังเหตผุ ล โดยอาศยั การเช่ือมโยง การใช้เหตุผล

และการอา้ งอิงจากความรู้ หรือ

ประสบการณเ์ ดิมหรือจากข้อมูลอนื่ ๆ

4. อธบิ ายความคิดเห็นโดยให้เหตผุ ล

ประกอบ

1. ทกั ษะการการสังเคราะห์ 1. ทักษะการสังเคราะห์ หมายถงึ 1. กาหนดวตั ถุประสงคข์ องส่งิ ใหม่ท่ี
2. ทกั ษะการประยกุ ต์ใช้
ความรู้ การนาความรู้ที่ผา่ นการวเิ คราะห์มา ตอ้ งการสร้าง

1. ทักษะการคิดอยา่ งมี ผสมผสานสรา้ งสิง่ ใหม่ทีม่ ลี กั ษณะต่าง 2. ศึกษาวิเคราะหข์ ้อมลู ทเ่ี ก่ยี วข้อง
วิจารณญาณ
จากเดิม 3. เลอื กขอ้ มลู ทีส่ อดคล้องกับ
2. ทักษะกระบวนการคิด
สร้างสรรค์ วัตถุประสงค์

4. นาข้อมลู มาทากรอบแนวคดิ สาหรบั

สร้างสิง่ ใหม่

5. สรา้ งสิ่งใหมต่ ามวตั ถุประสงคโ์ ดย

อาศยั แนวคดิ ทกี่ าหนด รวมกบั ข้อมูล

อ่นื ๆที่เกี่ยวข้อง

5. ใช้ความรู้ในสถานการณใ์ หม่

2. ทกั ษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้

หมายถึง การนาความรู้ทีม่ ีไปใช้ใน

สถานการณ์ใหมท่ ่ีมีลกั ษณะแตกตา่ ง

ไปจากเดิม

1. ทักษะกระบวนการคิดอย่างมี 1. ระบปุ ระเด็นปญ๎ หา หรือ ประเด็นใน

วิจารณญาณ หมายถึง กระบวนการ การคดิ

คดิ เพื่อให้ไดค้ วามคิดท่รี อบคอบ 2. ประมวลข้อมูลท่เี กย่ี วข้องจากการคิด

สาเหตุทีจ่ ะเชอื่ หรอื จะทาโดยผา่ นการ ทางกว้าง คดิ ทางลกึ ซ้ึง คดิ อยา่ งละเอยี ด

พิจารณาปจ๎ จยั รอบด้านอยา่ ง และคิดในระยะไกล

กวา้ งไกล ลกึ ซึ้งและผา่ นการพิจารณา 3. วิเคราะหข์ ้อมลู

กลั่นกรองไตร่ตรอง ทั้งทางดา้ นคุณ - 4. พิจารณาทางเลือก โดยพจิ ารณา

โทษและคุณคา่ ที่แท้จริงของส่ิงนั้น ข้อมูลโดยใช้เหตุผลและระบทุ างเลอื ก

มาแลว้ ที่หลากหลาย

5. ลงความเห็น/ตดั สนิ ใจ/ทาลายอนาคต

โดยประเมินทางเลอื กและใชเ้ หตุผลคิด

คณุ ค่า

2. ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ 1. ระดมพลังความคดิ

หมายถึง ความคิดที่แปลกใหมท่ ่ีจะ 2. สรา้ งสรรค์ชิน้ งาน

นาไปสสู่ ิ่งตา่ งๆ ผลผลิตใหม่ๆทาง 3. นาเสนอวพิ ากษ์วิจารณ์

เทคโนโลยี และความสามารถในการ 4. ประเมินผลงานของตนเอง

ประดิษฐค์ ดิ ค้นส่ิงแปลกใหม่ 5. เผยแพร่ผลงาน

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผูเ้ รยี น

16

ตัวอย่างการจัดการเรยี นรูเ้ พอื่ พัฒนาทกั ษะการคิด ทักษะการสรปุ อ้างอิง และทกั ษะการนาความรู้ไปใช้

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
เวลา 12 ชวั่ โมง
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ พาคดิ พาเขียน เวลา 2 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง บทรอ้ ยกรองสอนคดิ

สอนวนั ที่ เดือน

สาระท่ี 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 : ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ ไปใชต้ ดั สินใจแก้ป๎ญหาและ

สรา้ งวสิ ยั ทัศนใ์ นการดาเนินชีวิต และมีนสิ ยั รกั การอ่าน
ตวั ช้วี ัด
ท1.1 ป 6/4 แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งทีอ่ ่าน

ท1.1 ป 6/5 อธิบายการนาความรู้และความคิด จากเรือ่ งทีอ่ ่านไปตัดสนิ ใจแก้ปญ๎ หาในการดาเนนิ ชีวิต

สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 : ใชก้ ระบวนการเขียน เขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียน
เรอื่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ท2.1 ป 6/2 เขยี นส่อื สารโดยใช้คาไดถ้ ูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท4.1 สามารถเลือกดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิดและ

ความร้สู ึกในโอกาสต่างๆอยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ท 4.1 ป 6/2 ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ล จากเรอื่ งที่ฟง๎ และดู
สาระท่ี 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิชองชาติ
ท 4.1 ป 6/6 วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทียบสานวนทเ่ี ป็นคาพังเพย และสุภาษติ
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เขยี นสรปุ ใจความสาคัญตามลาดบั เหตกุ ารณข์ องเร่ืองได้ถกู ต้อง
2. แสดงความคดิ เหน็ จากการอ่านโดยการตอบคาถามได้ถูกต้อง
3. วิจารณ์ตวั ละครและวเิ คราะหค์ วามสาคญั ของเรื่องได้ถูกตอ้ ง
4. บอกข้อคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นนิทานได้ถกู ต้อง
สาระสาคญั
การอ่านบทนิทานและบทร้อยกรองจะต้อง สรปุ ใจความสาคัญของเร่ืองทอ่ี า่ น จบั ใจความสาคญั ใหไ้ ดว้ า่
เรือ่ งนม้ี ีใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมอ่ื ไร ทาอย่างไร และการกระทาน้นั ๆ เกิดผลอย่างไร และไดข้ ้อคิดต่าง ๆ
ซึ่งจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อา่ น

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รียน

17

สาระการเรียนรู้
1. การอ่าน คิดวิเคราะห์ โดยใชน้ ิทานบทรอ้ ยกรอง
2. การเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ
3. การตอบคาถามจากนทิ านและบอกข้อคดิ เห็น
4. การเขยี นตอบคาถามจากบทร้อยกรอง
5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม)
- มรี ะเบียบวนิ ยั ในตนเอง
- มคี วามรับผดิ ชอบต่องานท่ีทา
- มคี วามซื่อสตั ย์
- มคี วามมงุ่ ม่ันในการทางาน
- ทางานเสรจ็ ทันเวลา

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ชั่วโมงที่ 1)
นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครทู บทวนวธิ กี ารอา่ นคดิ วิเคราะหใ์ ห้นักเรยี น เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้ฝึกฝนทักษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ ง

ถูกต้อง
2. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน กลุ่มปฏบิ ัติกิจกรรม “นิทานหรรษา” (ภาคผนวก)

เพ่อื จับประเดน็ สาคัญของเรอื่ งและบอกข้อคิดจากนทิ าน และชว่ ยกันเขยี นบันทึกลงในกระดาษคาตอบ
3. ตัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลงาน ครูให้คาชมและเสนอแนะเพ่ิมเติมถงึ วธิ ีการ

จับประเด็นสาคัญ การลาดับเหตุการณ์ของเรื่องท่ีอ่าน
ขั้นสอน
4. ครชู ีแ้ จงจุดประสงค์ให้นักเรียนเขา้ ใจ พร้อมทั้งแจกใบงานกิจกรรม (อ่านให้ดีมเี คราะห์ เจาะให้ลกึ )

ใหน้ ักเรยี นทกุ คน นกั เรยี นอา่ นข้ันตอนการปฏิบัตกิ จิ รรม
5. นกั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยการอ่านบทร้อยกรองแลว้ ตอบคาถาม
6. นกั เรียนเขยี นสรปุ ใจความสาคญั โดยการเขยี นตอบคาถาม และตรวจสอบการเขยี นสะกดคาให้

ถกู ต้อง ถา้ สงสยั ใหถ้ ามครู
7. สมุ่ นักเรยี น 1 คนออกมานาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น ครใู ห้คาแนะนาเพิ่มเติม
ขน้ั สรปุ
8. นกั เรียนและครชู ่วยกนั อภิปรายการเขียนสรุปใจความสาคัญจากการตอบคาถามไดใ้ จความสละสลวย

และครแู นะนาเพ่ิมเติมในการเขียนสรุปใจความสาคัญของเร่ืองต้องใชภ้ าษาและสานวนของตนเอง ถ่ายทอดความรู้
ความคดิ ที่ได้จากการอ่านให้ได้ใจความ

9. นกั เรยี นตรวจสอบความถูกต้อง ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยในการทางานก่อนนาผลงานส่งให้ครตู รวจ

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
1. กิจกรรมนิทานหรรษา
2. ใบงานกิจกรรม(อ่านใหด้ มี ีวเิ คราะห์ เจาะใหล้ ึก)

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผ้เู รียน

18

การวดั ผลและประเมินผล วธิ กี ารวดั และ เครอื่ งมือ เกณฑ์
ประเมินผล
เรอ่ื ง/กจิ กรรมในการวดั แบบประเมนิ การอา่ น ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80
และประเมนิ ผล สงั เกต /ซกั ถาม คิดวเิ คราะห์

1. อ่านและตอบคาถาม
วเิ คราะห์ความสาคัญของ
เรอ่ื งที่อ่านได้

2. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ สังเกต / ซกั ถาม แบบประเมินคณุ ลักษณะ เกณฑ์การประเมิน
อนั พึงประสงค์ 4, 3, 2, 1
ผ่านเกณฑ์ได้ 2 ขึ้นไป

3. การสังเกตพฤติกรรม สงั เกต แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมิน

4, 3, 2, 1

ผ่านเกณฑ์ได้ 2 ขน้ึ ไป

บันทึกผลการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นร้ขู องนักเรยี น

1.1 ความรู้

............................................................................................................................................ ................

.................................................................................................................. ..........................................

......................................................................................................................................... ...................

1.2 ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์เขียนส่ือความ

......................................................................................................................................... ...................

............................................................................................................................................................

1.3 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ (คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม)

.................................................................................................... ........................................................

......................................................................................................................................... ...................

............................................................................................................................................................

2. บรรยากาศการเรยี นรู้

......................................................................................................................................... ...................

............................................................................................................................................................

......................................................................................................................................... ...................

3. ปญ๎ หาและอุปสรรค

......................................................................................................................................... ...................

................................................................................................... .........................................................

4. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปญ๎ หา

......................................................................................................................................... ...................

............................................................................................................................................................

ลงช่อื ....................................................
(.........................................)

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี น

19

บันทกึ ความคิดเห็นของผู้บริหาร

............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................. ..........................
......................................................................................................................................... ...................

ลงชื่อ ...................................................
(.............................................. )

กจิ กรรม “นทิ านหรรษา”

จดุ ประสงค์
1. สรปุ ประเดน็ สาคัญของเรื่องจากนิทานได้
2. บอกขอ้ คิดจากนทิ านได้

คาชแ้ี จง
1. อา่ นนิทานเรื่อง “กองฟนื เท่าภเู ขากม็ ิอาจทดแทนคุณมารดา”
2. คิดพจิ ารณาและเขยี นประเด็นสาคัญจากนทิ านโดยการตัง้ คาถามและตอบคาถาม ใคร (ทา) อะไร

ท่ีไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร
3. นาคาตอบจากนิทานมาเรียบเรียงเขียนให้ได้ใจความสาคญั ของเรื่อง
4. เขียนข้อคิดจากนทิ าน

กองฟืนเท่าภเู ขาก็มิอาจทดแทนคุณมารดา

กาลคร้งั หนงึ่ ณ หมบู่ า้ นชนบทอนั ไกลแสนไกล มีครอบครัวเล็กๆอาศัยอยู่ริมเชิงเขา พ่อมีอาชีพเก็บ
ฟืนไปขายทตี่ ลาดทกุ ๆ เช้า แมท่ างานบ้าน สว่ นลกู ชายอยู่ในวยั หนุม่ เป็นคนเกียจครา้ นไมย่ อมชว่ ยการงาน
พ่อแม่ พอถึงเวลาอาหารก็เอะอะโวยวายโมโหหวิ พาลปาขา้ วของเสยี หาย แมเ่ คยสอนวา่ " ข้าวกอ็ ย่ใู นถัง
นา้ ก็อยู่ในตมุ่ หม้อกอ็ ยู่ขา้ งฝา ลกู ก็ช่วยแม่หุงหาบ้างสิ " ไมม่ ีคาตอบจากลูก แต่ความหวิ ยงั ไมห่ ายไป
และความโมโหก็รุนแรงข้นึ จนแมต่ ้องผละจากงานมาหุงหาให้ได้ดังใจ

อยู่มาวันหนึ่งขณะที่พ่อไปเก็บฟืนถูกสัตว์ปุาทาร้ายจนเสียชีวิตแล้วแม่ก็ต้องทางานทุกอย่างแทนพ่อ
ท้งั เกบ็ ฟืน และยังตอ้ งทางานบา้ นฝาุ ยลกู ชายกย็ งั ไมส่ านึก ยังคงเกียจคร้าน และใช้ชีวติ อย่างไร้คา่ ไปวนั ๆ
ภาระของแมน่ น้ั หนักหนานัก และด้วยวยั ที่ชราแล้วจึงล้มปุวย และเสียชีวติ ในเวลาต่อมา ฝุายลูกชายรู้สึก
เสยี ใจมาก เกดิ ความสานกึ ผดิ เขาต่นื แตเ่ ช้าเดนิ ทางไปปาุ เก็บฟนื แล้วนามากองไว้ แล้วก็เดนิ เขา้ ปุาไปเกบ็
ฟืนกลับมากองไว้อกี ทาอยา่ งนีซ้ า้ ๆ จนกองฟืนสงู เท่าภเู ขาลกู ใหญ่ เพ่ือหวังจะทดแทนความเกียจครา้ นท่ี
ผา่ นมา แต่กไ็ ม่ได้ทาให้แมฟ่ ้ืนข้นึ มาได้ เขาได้แต่เสียใจ ทง้ั เหนื่อย ทง้ั หิว แตว่ ันน้ีแม่มิอาจฟนื้ ขึ้นมา
หงุ ข้าวใหเ้ ขากนิ ได้อกี แล้ว..

คติ : การทาความดีทดแทนคุณบดิ ามารดา เด็ก ๆ สามารถทาได้ทุกวนั อย่ารอเมื่อสาย

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

20

ตอบคาถาม
1) คดิ พิจารณาและเขียนประเด็นสาคัญจากนิทานโดยการตั้งคาถามและตอบคาถาม

............................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
2) นาคาตอบจากนิทานมาเรียบเรยี งให้ได้ใจความสาคญั ของเร่ือง

.................................................................................................. ........................................................
............................................................................................................................. ............................................
3) ขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากนิทาน

.................................................................................................. ........................................................
.......................................................................................................... ...........................................................

ตอบคาถามจากการอ่านบทกลอน
ช่ือกลุ่ม ................................................................
สมาชกิ ของกลุ่ม1.....................................................................................................................
2.....................................................................................................................
3.....................................................................................................................
1. บทกลอนนมี้ กี ี่คน
ตอบ...........................................................................................................................................
2. ผพู้ ดู มีอารมณ์อยา่ งไร
ตอบ............................................................................................................................................
3. ผูพ้ ดู กลา่ วถงึ ใคร
ตอบ.............................................................................................................................................
4. อะไรทาใหค้ นหนึ่งต้องอดทนกับพฤติกรรมของอกี คน
ตอบ..............................................................................................................................................
5. ถ้านกั เรยี นเจอสถานการณ์เดียวกับผพู้ ูดนักเรียนจะทาอยา่ งไร
ตอบ.............................................................................................................................................
6. นกั เรยี นมีข้อคิดเห็นจากบทรอ้ ยกรองน้ีอยา่ งไรบ้าง
ตอบ.............................................................................................................................................
7. จากสถานการณน์ ีน้ ักเรียนจะสรุปไดว้ า่ อย่างไรและสามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ในเรื่องใดได้บา้ ง
ตอบ.............................................................................................................................................
8. “คนหน่งึ ทาแทบทุกอยา่ ง อีกคนหนงึ่ ไมเ่ คยสนใจ” จากข้อความนตี้ รงกับสานวนสุภาษติ ใด
ตอบ.............................................................................................................................................
9. “คนหน่ึงอยากพิงใกล้ อกี คนไมย่ อมสบตา” ขอ้ ความนีห้ มายความว่าอย่างไร
ตอบ.............................................................................................................................................
10. จากบทรอ้ ยกรองข้างบนนนี้ ักเรยี นควรตง้ั คาถามท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวมไดอ้ ยา่ งไรบ้าง
ตอบ............................................................................................................................................

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

21

ตวั อย่างการจดั การเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วิชา กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
เวลา 12 ชวั่ โมง
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ ไตรต่ รองอยา่ งสรา้ งสรรค์ เวลา 1 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง วเิ คราะห์ข่าว

สอนวันที่ เดือน

สาระท่ี 1 การอา่ น สาระที่ 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 1.1 : ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิดไปใช้ตัดสินใจแกป้ ญ๎ หาและ

สร้างวิสยั ทัศน์ในการดาเนนิ ชีวิต และมีนิสัยรกั การอา่ น
ตัวช้ีวัด
ท1.1 ม3 /7 วจิ ารณค์ วามสมเหตุสมผล การลาดับความและความเปน็ ไปไดข้ องเร่ือง

ท1.1 ม 3/8 วิเคราะหเ์ พื่อแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ย้งเก่ียวกบั เรอ่ื งทอี่ า่ น
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 : ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียน

เร่อื งราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ท 2.1 ม 3/7 เขยี นวิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละแสดงความรคู้ วามคดิ เหน็ โต้แย้งในเร่ืองต่างๆ
สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท4.1 สามารถเลือกฟง๎ และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิดและ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์
ท 4.1 ม 3/3 วเิ คราะห์ระดับภาษา
ท 4.1 ม 3/6 แต่งบทรอ้ ยกรอง
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นกั เรยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ ได้อย่างสมเหตุสมผล
2. นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ปญ๎ หาจากสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้
3. นกั เรยี นสามารถบอกวิธีแก้ปญ๎ หาและตอบป๎ญหาจากสถานการณ์ที่กาหนดให้ได้
4. นักเรยี นสามารถบอกเหตุผลและประเมินไดว้ า่ สิง่ ใดควรทาส่งิ ใดไม่ควรทา
สาระสาคัญ
การอา่ นขา่ วเหตกุ ารณ์ สารคดี ผอู้ า่ นจะต้องประเมินความถูกต้องของข้อมูล ท่ีใชส้ นบั สนุนในเรอื่ งที่อ่าน
ด้วยขอ้ มลู เพม่ิ เติมจากแหล่งอื่นๆนามาประกอบการพจิ ารณาลงความเห็น และการวิจารณค์ วามสมเหตสุ มผล
การลาดบั ความและความเป็นไปได้ของเร่อื งทีอ่ ่านโดยอาศยั หลักการ วิธีการและขอ้ มลู ทเี่ ช่อื ถือไดม้ าประกอบ
ทาให้การวิจารณเ์ รื่องตา่ งๆ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
สาระการเรยี นรู้
1. การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ คิดวิจารณญาณโดยใชข้ ่าวเหตุการณ์
2. การเขียนตอบคาถามจากข่าวเหตกุ ารณ์
3. การเขยี นแสดงความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม) 22

4. มีระเบียบวนิ ยั ในตนเอง 0
ไมต่ อบ
5. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานที่ทา ไมต่ อบ
ไมต่ อบ
6. มคี วามซื่อสัตย์

7. มคี วามมุ่งมนั่ ในการทางาน

8. ทางานเสรจ็ ทันเวลา

กระบวนการจดั การเรียนรู้

นาเข้าสู่บทเรยี น

ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับปญ๎ หาท่ีพบที่เห็นอยู่ในชวี ิตประจาวนั

ข้นั สอน

1. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่มๆละ 4 คน

2. ครแู จกอปุ กรณใ์ ห้นักเรียนกลุ่มละ 1 ชดุ (ใบงาน “วเิ คราะหข์ ่าว”, ดนิ สอ)

3. ครอู ธบิ ายวิธีการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

3.1 ใหน้ กั เรยี นอา่ นทาความเข้าใจคาส่ังในใบงานอยา่ งละเอยี ด 5 นาที

3.2 ให้เวลาในการทางาน 10 นาที

3.4 ให้นกั เรยี นเสนอผลงานของกลุม่ ใหเ้ พื่อทราบ

3.5 นักเรยี นคน้ หาคติธรรม หรือคาสอนที่สามารถชว่ ยแก้ป๎ญหาได้

ข้นั สรปุ

1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายและสรุปเกีย่ วกับกิจกรรมที่ปฏบิ ตั ิ

2. นกั เรยี นแต่งบทกลอน(โคลงส่สี ุภาพ) ทมี่ ีเน้ือหาเก่ยี วกับคาสอน หรือคติธรรม

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้

ใบงานกจิ กรรม “วเิ คราะหข์ ่าว”

การวัดผลและประเมนิ ผล

1. สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน

2. การตอบคาถามของนักเรียน

3. การร่วมอภิปรายและสรุปเกีย่ วกบั กจิ กรรมท่ีปฏบิ ตั ิ

4. ตรวจผลงาน โดยใช้เกณฑ์ ดงั นี้

ขอ้ ท่ี ระดบั คณุ ภาพ

4 21

1 ระบสุ าเหตุได้และบอก ระบสุ าเหตุได้และบอก ระบุสาเหตไุ ด้แตไ่ ม่

เหตผุ ลสมเหตุสมผล เหตผุ ลไมส่ มเหตสุ มผล บอกเหตผุ ล

เปน็ ไปได้ เปน็ ไปได้น้อย

2 ลงความเหน็ และบอก ลงความเห็นและบอก ลงความเห็น แตไ่ ม่

เหตุผลสมเหตุสมผล เหตผุ ลไม่สมเหตุสมผล บอกเหตผุ ล

เปน็ ไปได้ เปน็ ไปไดน้ ้อย

4 บอกวิธีแก้ไดห้ ลากหลาย บอกวิธีแก้ไดห้ ลากหลาย บอกวธิ แี ก้ได้วธิ เี ดยี ว

วิธแี ละมีความแปลกใหม่ วธิ ีแต่ไม่แปลกใหม่ และไมแ่ ปลกใหม่

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผูเ้ รียน

23

บันทกึ ผลการจดั การเรียนรู้
1. ผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน
1.1 ความรู้ ……….................................................................................................................
1.2 ทกั ษะการคดิ วจิ ารณญาณ................................................................................................
1.3 ทกั ษะการคิดสรา้ งสรรค์…................................................................................................
1.4 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ (คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม) ………………………………
2. บรรยากาศการเรยี นรู้……………………………………...........................................................
3. ปญ๎ หาและอุปสรรค....................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ป๎ญหา…………………………..........................................................

ลงชือ่ ....................................................
(.........................................)

บันทึกความคิดเหน็ ของผู้บริหาร

...................................................................................................................................................................... ....

ลงชอ่ื ...................................................
(.............................................. )

กิจกรรม “วิเคราะห์ข่าว”

ใบงาน

อยูป่ ี 2 มหดิ ล ประวตั เิ ก่ง ออกห้องสอบแลว้ โดด พอ่ แม่ช็อกแตไ่ ม่ตดิ ใจ
นักศึกษาแพทยศ์ ิริราช ปี 2 โดดตกึ 12 ช้นั ดบั สยองใน รพ.ศริ ริ าชฯ

ขา่ วการกระโดดตกึ ตายของนักศึกษาแพทย์ นักเรียนคิดเห็นอยา่ งไร ตอบคาถามและแสดงความคดิ เหน็

๑. จากข่าวนักเรยี นคิดว่าเหตุการณ์ทเี่ กิดขนึ้ จะมสี าเหตุมาจากอะไร ? ทาไมนกั เรียนจงึ คิดเช่นนัน้
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรียน

24

๒. การทีน่ ักศกึ ษาแพทยท์ าเช่นนน้ั นกั เรียนคดิ วา่ สมควรหรือไม่ เพราะเหตุใด?
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

4. ถ้านกั เรยี นมีปัญญาท่แี ก้ไขไมไ่ ด้ด้วยตนเอง(ปัญหาที่คิดว่าหนักมาก) นักเรียนจะทาอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

แนวทางการพฒั นาทักษะชีวติ

1. สาระสาคญั
การพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือในการสร้างและพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ
นักเรียนทั้งด้านความรู้ ความรู้สึกนึกคิด ทักษะการปรับตัว การเผชิญป๎ญหาหรือความขัดแย้งต่างๆ ในชีวิตอย่าง
สรา้ งสรรค์ มปี ระสิทธิภาพสอดคลอ้ งกบั วัฒนธรรมและสงั คม จัดการกับชวี ติ และการปอู งกนั ตนเองในภาวะคับขัน
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื พัฒนาส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรพู้ ฒั นาทักษะชีวิตให้กบั ผูเ้ รียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

2.2 เพอื่ ตรวจสอบผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามจดุ เน้นในดา้ นการพฒั นาทักษะชีวติ
3. เปา้ หมาย

3.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และครูแนะแนวทุกคนท่ีเก่ียวข้องมีแนวทางการจัดกิจกรรม
พัฒนาทักษะชีวิตและสามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมบูรณาการตามหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ใหก้ บั ผเู้ รยี นได้เหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษาและมีประสทิ ธิภาพ

3.2 ผู้เรียนทกุ คนไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ที กั ษะชวี ิตเป็นไปตามจดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
4 กิจกรรมการพัฒนา

4.1 การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามจุดเนน้
1) ประชมุ ชีแ้ จง เพือ่ สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กระจ่างชดั ในการนาจุดเน้นการพัฒนา

ทักษะชีวิตสู่การปฏิบัติให้ชัดเจน กาหนดบทบาทหน้าที่ของผู้เก่ียวข้องทั้งในและนอกสถานศึกษา ตลอดจน
วางแผนในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมสร้างทักษะชีวิตให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมต่างๆ ตามจุดเน้น

2) ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนตรวจสอบความสอดคล้องของแผนการจัดกิจกรรม
แนะแนวกับจุดเน้นการพัฒนาผู้เรยี นด้านทกั ษะชวี ติ และดาเนินการวางแผนการจัดกิจกรรมด้านทักษะชีวิตโดยใช้
วิธกี ารและเครอื่ งมืออยา่ งหลากหลาย พร้อมทง้ั วัดและประเมินผลอย่างตอ่ เนอื่ ง

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

25

3) ตรวจสอบ ทบทวนการดาเนินงานจัดระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นในดา้ นทักษะชีวติ

เป็นรายบุคคลให้รู้จุดเด่น จุดที่พัฒนาในแต่ละเรื่อง และจัดกลุ่มผู้เรียนเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทักษะชีวิตดี

กลมุ่ ทกั ษะชวี ติ ปานกลาง และกลมุ่ ทักษะชวี ิตน้อย

4) ร่วมกันจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพผู้เรียนในแตล่ ะกลมุ่ ทกั ษะชีวติ และกาหนดเปน็

เปูาหมายความสาเรจ็ แต่ละภาคเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทและศักยภาพผู้เรียน

5) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิต โดยใช้ระบบนเิ ทศ

ภายใน เพอื่ สนบั สนนุ ช่วยเหลือครูผสู้ อนในการพฒั นาทกั ษะชีวิตผ้เู รยี นให้เตม็ ตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล

6) สรปุ ผลและนาผลการพัฒนาผ้เู รยี นตามจุดเนน้ ไปแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

7) นาผลจากการแลกเปลยี่ นเรยี นรไู้ ปปรบั ปรงุ พฒั นาการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

ด้านทักษะชีวติ ในครงั้ ตอ่ ไป

4.2 การตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี นตามจุดเนน้

1) แนวทางการตรวจสอบ

ชัน้ จดุ เน้น พฤตกิ รรมตามจุดเน้น การวดั และประเมินผล
วธิ กี าร เครื่องมือท่ีใช้

ป. 1 รจู้ กั ตนเอง เข้าใจอารมณ์ของตนเอง - สังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี น แบบบันทึกการสังเกต

และผอู้ ืน่ ปฏิบตั ิตามกฎ ในและนอกห้องเรยี นทีแ่ สดงถงึ พฤตกิ รรม

ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน พฤติกรรมตามจดุ เน้น

ป. 2 ยอมรบั ความ แสดงความสามารถของ - จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ ลอื ก แบบบนั ทึกการสังเกต

แตกต่างระหว่าง ตนเองให้ผู้อนื่ รับรู้ ชืน่ ชมใน เข้ารว่ มกิจกรรมตามความสนใจ พฤติกรรม

ตนเองและรู้จัก ความสาเร็จของตนเองและ และใหผ้ เู้ รียนนาเสนอผลงาน

ควบคุมอารมณ์ ผอู้ ื่น และเลอื กเขา้ รว่ ม จากกจิ กรรมนนั้ ให้เพ่อื นไดร้ ับรู้

ของตนเอง กจิ กรรมตามความสนใจ และชื่นชม

- สงั เกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียน

ในและนอกหอ้ งเรียนทแ่ี สดงถงึ

พฤตกิ รรมตามจดุ เน้น

ป. 3 มองตนเองและ เปน็ ผพู้ ูดและผู้ฟง๎ ทดี่ ี - จัดกจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ป็น แบบบนั ทกึ การสงั เกต

ผอู้ นื่ ในแง่บวก ใช้ภาษาพูดและภาษากาย ที่ ผู้พดู และผ้ฟู ง๎ ท่ดี ี พฤติกรรม

และจัดการกบั ทาให้ผูอ้ น่ื ผ่อนคลาย สบาย - สังเกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รียน

อารมณข์ องตนเอง ใจไมก่ ่อใหเ้ กดิ ความ ในและนอกห้องเรียนทีแ่ สดงถึง

ได้ ขดั แย้งรุนแรง พฤตกิ รรมตามจดุ เน้น

ป. 4 เคารพสิทธขิ อง ร่วมมือทางานกับกลมุ่ เพอ่ื น - จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนไดร้ ว่ มมือ แบบบนั ทึกการสงั เกต

ตนเองและผอู้ ืน่ ฟง๎ และรบั รคู้ วามรสู้ ึกของ ทางานกบั กลุ่มเพอื่ น ฟง๎ และ พฤตกิ รรม

ผ้อู ่ืน รวมทั้งช่วยเหลอื ผอู้ นื่ รับรูค้ วามรูส้ กึ ของผ้อู ่นื

เมอ่ื มีโอกาส - สังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น

ในและนอกห้องเรยี นทแ่ี สดงถึง

พฤติกรรมตามจดุ เนน้

ป. 5 รกั และเหน็ คณุ คา่ หลกี เล่ยี งสถานการณท์ ี่เสยี่ งตอ่ - สังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี น แบบบันทกึ การสังเกต
ในตวั เองและผอู้ ่ืน ความปลอดภยั ของตนเอง รจู้ ัก ในและนอกห้องเรยี นทแี่ สดงถึง พฤตกิ รรม
พฤตกิ รรมตามจดุ เนน้
ปฏเิ สธในสิง่ ที่ควรปฏเิ สธโดยไม่
เสียสัมพนั ธภาพหรือเสยี นา้ ใจ

รวมทงั้ ขอความชว่ ยเหลือเมอ่ื อยู่

ในภาวะวิกฤต

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รียน

26

ช้นั จุดเนน้ พฤตกิ รรมตามจดุ เน้น การวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือ
วิธกี าร ทใ่ี ช้

ป. 6 ภาคภมู ิใจ เชอื่ มัน่ แสดงความรสู้ ึกภาคภมู ใิ จ สังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียน ในและ แบบ
บนั ทกึ การ
ในตนเองและผ้อู ่ืน เชือ่ ม่นั ในตนเอง ยอมรบั นอกห้องเรียนที่แสดงถึงพฤติกรรมตาม สงั เกต
พฤติกรรม
และศรัทธาตอ่ ผ้อู ่ืน รู้จัก จดุ เน้น
แบบ
เลอื กและเข้าร่วมกจิ กรรม บนั ทึกการ
สงั เกต
สรา้ งความสขุ ตนเอง พฤติกรรม
แบบ
ม. 1 รูค้ วามถนดั บอกความถนัด สังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น ในและ บันทึกการ
สังเกต
ความสามารถและ ความสามารถและ นอกหอ้ งเรียนท่ีแสดงถงึ พฤตกิ รรมตาม พฤติกรรม

บคุ ลกิ ภาพของ บุคลกิ ภาพของตนเอง จดุ เน้น แบบ
บนั ทึกการ
ตนเอง สงั เกต
พฤตกิ รรม
ม. 2 ทางานรว่ มกับ เปน็ ผนู้ า ผตู้ าม ได้ สังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรียน ในและ

ผู้อ่ืนบนพ้ืนฐาน เหมาะสมตามสถานการณ์ นอกห้องเรียนทแี่ สดงถงึ พฤตกิ รรมตาม

ความเป็น อาสาหรือสมคั รใจชว่ ยเหลอื จุดเนน้

ประชาธปิ ไตยและ ผอู้ น่ื ดว้ ย ความเต็มใจ

มีจติ อาสา โดยไม่หวังผลตอบแทน

ช่วยเหลอื สังคม

ม. 3 มที กั ษะในการ เปน็ ผู้แสวงหาและใชข้ อ้ มลู สังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี น ในและ

แสวงหาและใช้ ให้เกิดประโยชน์กับตนเอง นอกห้องเรยี นทแ่ี สดงถงึ พฤติกรรมตาม

ขอ้ มูลให้เป็น กลา้ ปฏิเสธหรือหลกี เลย่ี ง จดุ เนน้

ประโยชน์กบั จากการกระทาที่ผิด รวมทั้ง

ตนเอง รูจ้ กั สรา้ ง ยืนยันความต้องการหรือ

ความสุขให้กบั ตอ่ รองบนพื้นฐานของความ

ตนเองและผู้อืน่ ถูกตอ้ ง

2) การประเมนิ และสรุปผลการประเมนิ ตามจดุ เน้นแตล่ ะระดับช้ัน
2.1) ครูผู้สอนใชข้ ้อมลู จากการสงั เกต สอบถาม สมั ภาษณ์ หรือทดสอบแลว้ บันทกึ ข้อมูลลงใน
แบบที่กาหนดให้ ดังน้ี

ป.1 ใช้แบบประเมนิ 4/1 ป.4 ใช้แบบประเมนิ 4/4 ม.1 ใช้แบบประเมิน 4/ม.1
ป.2 ใชแ้ บบประเมนิ 4/2 ป.5 ใชแ้ บบประเมิน 4/5 ม.2 ใช้แบบประเมนิ 4/ม.2
ป.3 ใชแ้ บบประเมนิ 4/3 ป.6 ใช้แบบประเมนิ 4/6 ม.3 ใช้แบบประเมนิ 4/ม.3

2.2) ใส่ตัวเลขตามระดบั พฤติกรรม ดงั นี้
3 : มพี ฤติกรรมสม่าเสมอ 2 : มพี ฤตกิ รรมค่อนขา้ งสม่าเสมอ 1 : มีพฤติกรรมเปน็ บางครง้ั

2.3) สรุปผลการประเมนิ โดยใช้คะแนนเฉลี่ย(Mean) ดงั นี้

1 : มีทักษะชวี ิตนอ้ ย 2 : มีทกั ษะชีวิตปานกลาง 3 : มที ักษะชวี ิตดี
0 – 1.49 1.50 – 2.49 2.50 – 3.00

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

27

แนวทางการพฒั นาทกั ษะการสอ่ื สาร

1. สาระสาคญั
เพือ่ พฒั นาผูเ้ รียนตามจดุ เนน้ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์เป็นการส่งเสริม สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมพัฒนา
ผูเ้ รยี นให้มคี วามสามารถในการรับและส่งสารดว้ ยวิธีการต่างๆ ประเมนิ ผลตรวจสอบคุณภาพผูเ้ รยี นตามจุดเน้น
นาผลการประเมินไปแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และใชเ้ ปน็ ข้อมลู ยอ้ นกลบั สู่การพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพ่ือสรา้ งความตระหนกั ความจาเป็นของการพฒั นาทักษะการสอ่ื สารแกผ่ ูเ้ รยี น ผู้ปกครอง
และชมุ ชน

2.2 เพ่อื สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมพฒั นาทักษะการสือ่ สารอยา่ งสร้างสรรค์แกผ่ เู้ รียนแต่
ละช่วงวัยดว้ ยวธิ ีการอย่างหลากหลายแบบบูรณาการการเรียนรูก้ ล่มุ สาระการเรียนรู้

2.3 เพื่อตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลคุณภาพผู้เรยี นตามจุดเน้นทกั ษะการสือ่ สาร
3. ขอบข่ายการพัฒนา
การสอื่ สารอย่างสรา้ งสรรค์ หมายถงึ ความสามารถของผ้เู รียนในการรบั และสง่ สาร ได้แก่ การพดู
การฟ๎ง การอ่าน และการเขียนในสิง่ ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ตนเองและสงั คม
การพัฒนาจดุ เน้นทกั ษะการส่ือสาร เปน็ การสง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาศกึ ษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพอื่ วางแผนจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยคานงึ ถึงสมรรถนะการส่ือสารทใ่ี ช้เปน็
เคร่ืองมือในการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรม วดั และประเมนิ ผล ตลอดจนการนาข้อมูลไปพัฒนาผ้เู รยี น
4. กจิ กรรมการดาเนินการ

4.1 สรา้ งความตระหนักแก่บุคลากรทุกฝาุ ยในสถานศึกษารวมทง้ั ผปู้ กครอง และชมุ ชน
4.2 ศกึ ษานักเรียนเป็นรายบุคล
4.3 จัดกลุ่มผเู้ รียนตามระดับคณุ ภาพสมรรถนะการสอ่ื สาร
4.4 ออกแบบกิจกรรมตามกลมุ่ บุคคล
4.5 จัดกจิ กรรมปลกู ฝ๎งทกั ษะการส่ือสารโดยบูรณาการตามกจิ กรรม หรือกลุม่ สาระการเรยี นรู้
4.6 วัดและประเมินผลควบคู่กบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.7 สรปุ ผล/จดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นร/ู้ นาข้อมลู ย้อนกลับไปพฒั นาผู้เรยี น
5. แนวทางการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาทักษะการส่อื สาร
5.1 การตรวจสอบความสามารถ/ทักษะ
ชนั้ ความสามารถ/ทกั ษะ
ป.1 ตง้ั ใจฟ๎งและพูดสื่อสารใหเ้ ข้าใจโดยใชค้ าสภุ าพ
ป.2 ตั้งใจฟง๎ และพดู ส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์โดยใชค้ าสุภาพ
ป.3 ฟ๎ง ดู พดู อ่าน และเขยี นอยา่ งมีมารยาท พูดและเขียนส่อื สารจากเรอื่ งที่ฟ๎ง ดู อา่ น
ได้ชดั เจนตรงตามวัตถปุ ระสงคโ์ ดยใช้คาสุภาพ

ช้ัน ความสามารถ/ทกั ษะ
ป.4 ฟง๎ ดู พูด อ่าน และเขียนอย่างมีมารยาท พูดและเขยี นแสดงความรูส้ กึ ความคดิ จาก

เรอื่ งท่ีฟง๎ ดแู ละอ่านอย่างมีเหตผุ ล
ป.5 ฟ๎ง ดู พูด อา่ น และเขียนอยา่ งมีมารยาท พูดและเขียนแสดงความรสู้ กึ ความคิดจาก

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

28

เรอื่ งท่ีฟ๎ง ดูและอ่านอย่างมเี หตุผล
ป.6 ฟง๎ ดู พดู อา่ น และเขยี นอยา่ งมีมารยาท พูดและเขียนแสดงความรสู้ ึก ความคดิ เห็น

วเิ คราะห์จากเรื่องที่ฟ๎ง ดแู ละอ่านอย่างสมเหตสุ มผล
ม.1 ฟง๎ ดู พดู อ่าน และเขยี นอยา่ งมีมารยาท พูด เขียน อธบิ าย ช้ีแจงจากเร่ืองท่ีฟง๎ ดู

และอ่านไดห้ ลายแง่มุมอย่างสมเหตสุ มผล
ม.2 ฟ๎ง ดู พูด อ่าน และเขียนอยา่ งมีมารยาท พูด เขียนโตแ้ ยง้ จากเรื่องท่ีฟง๎ ดู และอ่านได้

อยา่ งสมเหตุสมผลที่ไม่เปน็ โทษต่อตนเองและผู้อ่ืน
ม.3 ฟง๎ ดู พูด อา่ น และเขียนอย่างมีมารยาท พูด เขยี น วิเคราะห์ วิจารณจ์ ากเร่ืองท่ีฟ๎ง ดู

และอา่ นอยา่ งมีเหตุสมผลทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง

5.2 การประเมนิ และสรุปผลการประเมนิ ตามจดุ เน้นแต่ละระดับชน้ั
1) ครผู ู้สอนใชข้ ้อมลู จากการสงั เกต หรอื ทดสอบแล้วบันทึกขอ้ มลู ลงในแบบท่กี าหนดให้ ดงั น้ี
ป.1 ใชแ้ บบประเมนิ 5/1 ป.4 ใชแ้ บบประเมนิ 5/4 ม.1 ใชแ้ บบประเมิน 5/ม.1
ป.2 ใชแ้ บบประเมนิ 5/2 ป.5 ใชแ้ บบประเมนิ 5/5 ม.2 ใชแ้ บบประเมิน 5/ม.2
ป.3 ใชแ้ บบประเมนิ 5/3 ป.6 ใชแ้ บบประเมิน 5/6 ม.3 ใช้แบบประเมนิ 5/ม.3

2) ใส่ตัวเลขตามระดบั พฤติกรรม ดงั นี้

3 : ดี 2 : พอใช้ 1 : ปรบั ปรุง

3) สรุปผลการประเมนิ โดยใช้ช่วงคะแนน ดงั นี้

ปรบั ปรุง พอใช้ ดี
11-15
1-5 6-10

แนวทางการพฒั นาทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี

1. สาระสาคัญ
การพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถจัด
กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และการประเมินตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น โดยใช้วิธีการ และเครื่องมือ
ทีห่ ลากหลาย ท้ังการใหแ้ นวทางการพฒั นาเคร่ืองมอื และตวั อย่างเครื่องมือท่ีใช้ในการพฒั นา

2. จดุ ประสงค์
2.1 เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถสารวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล จัดกลุ่มนักเรียน
และจดั ทาแผนพฒั นาผ้เู รียนรายบคุ คล รายกลมุ่ ตามจดุ เน้นการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้ได้
2.2 เพือ่ พัฒนาครูใหส้ ามารถจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นตามจุดเน้นการใชเ้ ทคโนโลยี
เพอ่ื การเรยี นรไู้ ด้
2.3 เพื่อพฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามจดุ เน้นการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู้

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี น

29
3. ขอบข่ายการพัฒนา
การพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ มีขอบข่ายสองประเด็นหลัก ได้แก่
เพือ่ ขับเคลอ่ื นให้เกิดการพัฒนาผู้เรียน และการประเมินตรวจสอบผลการดาเนินงาน ท้ังกระบวนการดาเนินงานที่
เกดิ จากการขบั เคล่อื นและผลทีเ่ กดิ ขนึ้ กบั คุณภาพผู้เรยี นจากการดาเนนิ การพฒั นาผู้เรียน ซง่ึ นาเสนอต่อไปน้ี
กระบวนการนเิ ทศเพื่อขับเคล่ือนการพัฒนาผู้เรยี นตามจดุ เนน้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรยี นรู้
ประกอบด้วยกระบวนการ ท่ีเป็นกิจกรรม 6 กิจกรรม ที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน แต่ไม่จาเป็นต้อง
เรียงลาดบั อาจสลับกิจกรรมใดข้ึนก่อนก็ได้ และผลการดาเนินกิจกรรมหน่ึงอาจเป็นผลต่อเน่ืองให้เกิดกิจกรรมอ่ืน
ตามมา ได้แก่

1) สรา้ งความตระหนักแก่ครู
2) ร้จู ักนกั เรียนรายบุคคล
3) คดิ ค้นกจิ กรรม/นวัตกรรมพัฒนา
4) ครศู ึกษาหาความรเู้ พิ่มเตมิ
5) สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหเ้ ต็มตามศักยภาพ
6) ประเมนิ เพ่ือทราบผลการดาเนินงาน

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รียน

30

แนวทางการพัฒนานกั เรยี นด้านคณุ ลักษณะ

จดุ เน้นด้านคุณลักษณะในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (ขยายโอกาส) มีดังน้ี

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เนน้ คณุ ลกั ษณะใฝุดี

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4-6 เนน้ คุณลกั ษณะใฝุเรยี นรู้

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 เน้นคณุ ลกั ษณะอยู่อย่างพอเพยี ง

อยู่อย่างพอเพียง

ใฝเุ รยี นรู้ ม. 1-3

ใฝดุ ี ป.4-6

ป.1-3

1. สาระสาคญั

การพฒั นาจุดเนน้ ดา้ นคณุ ลักษณะเปน็ การสง่ เสริมให้สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมตามจดุ เนน้ ให้
สอดคลอ้ งกับนโยบาย โดยการกระต้นุ ส่งเสริม และใหก้ ารเสริมแรงแกน่ ักเรยี น ในการดาเนินกจิ กรรมให้บรรลุ
เปูาหมาย

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพ่อื พฒั นาให้สถานศึกษาสามารถจัดกจิ กรรมตามจดุ เนน้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
2.2 เพื่อกระตุน้ สง่ เสริมให้ครูทากจิ กรรมตามจุดเน้นด้านคุณลักษณะไปใช้ในการพัฒนาผเู้ รยี น
2.3 เพือ่ ตรวจสอบคุณลักษณะของนกั เรียนตามจุดเน้น

3. เป้าหมาย

3.1 ครผู ูส้ อนในโรงเรยี นระดับประถมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาทุกคน
3.2 ผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ในโรงเรยี นขยายโอกาสฯทุกคน

4. กิจกรรม

4.1 จดั ประชุมเพ่ือสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจรว่ มกัน
4.2 สรา้ งเครื่องมือและนาเครื่องมือไปใช้กบั ผเู้ รยี นตามจุดเน้น ตามกลุม่ ชน้ั ปี
4.3 เก็บรวบรวมขอ้ มูลผลการพัฒนา
4.4 การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Knowledge Management : KM)

5. การประเมินผล

5.1 ใหม้ กี ารประเมินเดือนละ 1 ครั้ง หรือภาคเรียนละ 3 คร้งั
5.2 ให้นาผลการประเมนิ ครงั้ สดุ ท้ายของภาคเรยี นมาบรรยายคุณลกั ษณะของผูเ้ รียนตามระดับคุณภาพ
ทีก่ าหนดไว้ ถา้ ผู้เรียนมคี ุณลักษณะใดท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์ ให้ครูผ้สู อนจัดกจิ กรรมซอ่ มเสริม เพอื่ พัฒนาคุณลักษณะ
น้ันซา้ ๆ จนกระท่ังผู้เรียนสามารถพฒั นาและผา่ นเกณฑ์ทุกรายการ
5.3 คุณลักษณะด้านท่ีมีการประเมินแบบสามเสา้ เชน่ การประเมินคุณลกั ษณะด้านอยู่อยา่ งพอเพยี ง
ทีใ่ ห้มกี ารประเมินตนเอง ครู/เพื่อน/ผปู้ กครองเป็นผปู้ ระเมินนนั้ ในการตัดสนิ ผลการประเมนิ ใหน้ าผลการ
ประเมินครั้งสดุ ท้ายของผู้ประเมินทกุ คนในแต่ละรายการมาพิจารณาด้วย mode แล้วจึงตัดสนิ ตามเกณฑ์การผ่าน
ตามข้อ 6.4

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผเู้ รียน

31

6.4 เกณฑ์การผา่ น มดี งั น้ี

ชน้ั จดุ เนน้ เกณฑ์การผา่ น แบบประเมิน ผปู้ ระเมนิ

ป.1-3 ใฝดุ ี ระดับดี 7/1 ครู

ป.4-6 ใฝุเรยี นรู้ ระดับดี 7/2 ครู

และต้องไม่มรี ายการใดได้ 0

ม.1-3 อยู่อยา่ งพอเพียง ระดบั ดี 7/3 นกั เรยี นประเมินตนเอง
7/4 คร,ู เพ่อื น, ผู้ปกครอง
และต้องไม่มีรายการใดได้ 0

คณุ ลกั ษณะใฝด่ ี (ป. 1-3)

1. สาระสาคัญ

ส่งเสริมสนับสนนุ ใหค้ รจู ดั กจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างหลากหลายท่จี ะทาให้นักเรยี นเป็นผมู้ ีเหตุผล รู้จกั
แยกแยะถกู และผดิ เข้าใจและยอมรบั ในความแตกต่างทางความคิดของผู้อน่ื

2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อใหค้ รสู ามารถจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ่สี ่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นเป็นผู้มีเหตุผล รจู้ กั แยกแยะ ถูกและ
ผิด เข้าใจและยอมรบั ในความแตกต่างทางความคดิ ของผ้อู ่ืน

2.2 เพ่ือใหน้ ักเรียนเป็นผทู้ ่มี ีเหตผุ ลรู้จกั แยกแยะถูกและผิด เข้าใจและยอมรับในความแตกต่างทาง
ความคิดของผู้อืน่

3. เปา้ หมาย

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ทกุ คน เปน็ ผู้ที่มเี หตุผลรจู้ ักแยกแยะถูกและผิด เขา้ ใจและยอมรับใน
ความแตกต่างทางความคิดของผ้อู ื่น

4. กจิ กรรม

4.1 การขบั เคล่ือนคณุ ภาพโรงเรยี นตามจดุ เนน้ โดยวิธี
4.1.1 ฝึกอบรมปฏบิ ัติการการจัดกจิ กรรมการเรียนรูด้ า้ นใฝดุ ี
4.1.2 แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูด้ า้ นใฝุดี
4.1.3 แลกเปลีย่ นเรยี นรูแ้ นวทาง วิธีการ และเครื่องมือท่ีใช้

4.2 การตรวจสอบคณุ ภาพตามจุดเน้นใฝุดี โดยวิธี
4.2.1 จัดทาแบบตรวจสอบคุณภาพตามจุดเนน้ เป็น 3 ระดบั คือ
ระดับ 3 หมายถึง ดี
ระดบั 2 หมายถึง พอใช้
ระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง
4.2.2 ครตู รวจสอบคุณภาพนกั เรยี นและบันทกึ ผลตามแบบตรวจสอบคณุ ภาพ
4.2.3 สรปุ ภาพรวมของแต่ละโรงเรยี น

5. สือ่ ที่ใช้

สาหรับครู 1) ใบความรู้ ใบงาน/กิจกรรม
2) แนวทางกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้
3) แบบบนั ทึกผลการประเมินคุณภาพตามจดุ เน้น

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรียน

32

คุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ (ป. 4-6)

1. สาระสาคญั

ความตง้ั ใจ ความเพียรพยายามในการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น
เปน็ คณุ ลกั ษณะใฝเุ รียนรทู้ ่ีต้องมุ่งพัฒนาใหเ้ กิดในตวั ผเู้ รยี น และใหส้ ามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้

2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ให้ครสู ามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีส่ ง่ เสริมคุณลักษณะใฝุเรยี นรู้
2.2 เพ่ือตรวจสอบคุณลักษณะใฝุเรียนรขู้ องผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6

3. เปา้ หมาย

นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4-6

4. กิจกรรม

4.1 ประชุมช้แี จงทาความเข้าใจเกี่ยวกบั จุดเน้นดา้ นคุณลักษณะของผูเ้ รยี น
4.2 ตดิ ตามการจดั การเรยี นรทู้ ่ปี ลูกฝง๎ คุณลักษณะใฝเุ รยี นรู้ของครูโดยบรู ณาการกบั กลมุ่ สาระ

การเรียนรู้ทง้ั 8 กล่มุ สาระ
4.3 ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณลักษณะใฝุเรยี นรู้
4.4 การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (Knowledge Management)

5. สอื่ และนวัตกรรมการพฒั นา

5.1 แนวทางการนาจดุ เน้นสู่การปฏบิ ัตใิ นหอ้ งเรยี น
5.2 เครอ่ื งมือตรวจสอบคุณภาพคุณลักษณะใฝเุ รยี นรู้

คุณลกั ษณะอยู่อย่างพอเพยี ง (ม. 1-3)

1. สาระสาคัญ

การพัฒนาจดุ เนน้ ด้านอยู่อยา่ งพอเพยี ง โดยใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั กจิ กรรมเพอ่ื นาพา
ผเู้ รียนใหม้ คี ุณลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียง เปน็ ภารกิจสาคญั ทตี่ อ้ งอาศัยการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื งและการประสาน
ความรว่ มมอื จากบุคลากรทุกฝาุ ยในการจัดกิจกรรมและการประเมินผล

2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพ่อื พัฒนาให้สถานศึกษาสามารถจดั กจิ กรรมตามจดุ เนน้ ด้านคณุ ลกั ษณะอยู่อย่างพอพียง
2.2 เพอ่ื กระต้นุ สง่ เสริมให้นักเรียนทากิจกรรมตามจุดเน้นอยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง

3. เปา้ หมาย

3.1 นกั เรยี นระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 ในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษาทกุ คน

4. กจิ กรรม

4.1 ประชุมชแี้ จงทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดเน้นดา้ นคุณลักษณะของผเู้ รียน
4.2 ติดตามการจดั การเรยี นรทู้ ีป่ ลูกฝ๎งคณุ ลักษณะใฝเุ รยี นร้ขู องครโู ดยบรู ณาการกบั กลุ่มสาระ

การเรียนรทู้ งั้ 8 กลุ่มสาระ
4.3 ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณลักษณะอยู่อยา่ งพอเพียง
4.4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management)

5. สือ่ และนวตั กรรมการพัฒนา

5.1 แนวทางการนาจดุ เน้นสู่การปฏิบตั ิในห้องเรียน

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผูเ้ รียน

33

5.2 เครอ่ื งมือตรวจสอบคุณภาพคณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียง
5.3 เอกสารความรู้ ตามจุดเนน้ แนวทางการจดั กจิ กรรมสาหรับครู

5.3.1 ขอบข่าย ของจุดเนน้ อยูอ่ ย่างพอเพียงในระดับช้ัน ม.1-3 ให้ครูผ้สู อนจดั กิจกรรมตามแนว
ทางการจดั การเรียนร้เู พื่อเนน้ คณุ ลักษณะดา้ นอยู่อย่างพอเพียง ของนกั เรียนในขอบข่ายต่อไปน้ี

1) ประหยดั (ทั้งทรัพยส์ ินสว่ นตน และสว่ นรวม)
2) คมุ้ ค่า (ทั้งทรัพยส์ นิ สว่ นตน และสว่ นรวม)
3) เกบ็ รักษาดูแลสง่ิ ของอย่างดี (ท้งั ทรัพย์สินสว่ นตน และส่วนรวม)
4) ใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม
5) มคี วามรอบคอบ
6) มเี หตผุ ล
7) ไม่เอาเปรียบผอู้ ่นื
8) ไม่ทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน
9) ให้อภัยผู้อืน่ เสมอ
10) วางแผนการเรียน การทางาน การใชช้ วี ติ บนพื้นฐานความรขู้ อ้ มูลข่าวสาร
11) รเู้ ทา่ ทนั การเปล่ียนแปลง
12) ยอมรบั การเปลยี่ นแปลง
13) ปรบั ตวั ได้
14) อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้
(ศึกษารายละเอยี ด แนวทางการจัดการเรียนรู)้
5.3.2 แหลง่ คน้ ควา้ เพิ่มเติม เชน่

- พระบรมราโชวาทเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพยี ง
- เอกสารเร่ืองของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คืออะไร
5.3.3 แหลง่ เรยี นรู้ เช่น
- โรงเรียนตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง ในแตล่ ะเขตพน้ื ท่ี

- website ตา่ งๆ เกย่ี วกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ฯลฯ

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รียน

34

สว่ นที่ 3
เครอ่ื งมือดาเนนิ งาน

การดาเนินการพฒั นาจดุ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนในครง้ั นี้ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 กาหนดแนวเครื่องมือเพอ่ื ใช้ดาเนนิ การ จาแนกตามลาดับจดุ เน้น ดงั นี้

1. การอ่าน การเขียน
2. การคิดเลข
3. การคิด
4. ทกั ษะชีวิต
5. การสื่อสาร
6. การใช้เทคโนโลยี
7. คณุ ลักษณะ

การประเมินการอา่ น การเขียน
การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนตามจดุ เน้นการอา่ นการเขียน กาหนดแนวของเครื่องมือและรูปแบบการ

ดาเนินงาน ดงั น้ี

แบบประเมินการอา่ นออก แบบประเมิน 1/ป1.1
นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอา่ นในใจ คาที่กาหนดให้ 3-5 นาที แล้วอ่านออกเสยี ง
ทีละคา จากคาท่ี 1-20 ตามลาดบั

1. เกเร 11. ถนน
2. มอื 12. อาหาร
3. ดึง 13. สวัสดี
4. ขา้ ว 14. คน
5. ชอบ 15. สวน
6. กลางวัน 16. ผกั
7. พริก 17. เดนิ
8. ความรู้ 18. เยน็
9. ขนม 19. สตั ว์
10. สบาย 20 วนั เสาร์

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผู้เรียน

35

แบบประเมนิ 1/ป1.2

แบบประเมินการเขา้ ใจความหมายของคา
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1

ตอนท่ี 1
คาชี้แจง นาคาที่กาหนดให้ เติมในช่องวา่ งให้ได้ใจความถูกต้อง

เกเร มอื ดงึ ขา้ ว ชอบ กลางวัน พริก

ลงุ ชมเล้ียงสุนัข ไวต้ ัวหน่งึ มัน แอบมา
ต้น และต้น ในเวลา จงึ ถกู ตีด้วยไม้ใน
ของลุงชม

ตอนที่ 2
คาชแี้ จง นาคาที่กาหนดให้ เติมในชอ่ งวา่ งให้ไดใ้ จความถูกต้อง

ความรู้ ขนม สบาย ถนน อาหาร สวัสดี

เดก็ ๆ ทุกคน ลุงชม ขณะทลี่ งุ ชมเดินอยู่บน

หนา้ โรงเรียน ในเช้าวนั หนึ่งทม่ี ีอากาศสดชน่ื เย็น ลุงชมบอกว่า จะนา เรอ่ื ง
ไว้
และ มาสอนให้กับเด็กๆ

ตอนท่ี 3

คาชี้แจง นาคาท่ีกาหนดให้ เตมิ ในชอ่ งว่างให้ไดใ้ จความถูกตอ้ ง

คน สวน ผัก เดนิ เย็น สัตว์ วันเสาร์

ลงุ ชม เปน็ ใจดี ลุงชมชอบเล้ยี ง ทุกๆ
ลงุ ชมมกั จะมา
เวลา เลน่ ใน หลังบ้าน และลงุ ชมปลูก
มากมาย

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

36

แบบประเมนิ 1/ป1.3

แบบประเมินการเขียนได้
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

ช่ือ........................................................................................ช้นั ...............................

โรงเรยี น..................................................................................................................

ทดสอบวนั ท.่ี ........เดือน.................................พ.ศ..................

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนฟ๎งคาที่ครบู อกคาละ 2 ครง้ั แล้วเขยี นใหถ้ กู ต้องตามอักขระวิธี
คาละ 1 คะแนน เวลา 30 นาที

คาท่ี 1. คาที่ 11.
คาท่ี 2. คาท่ี 12.
คาที่ 3. คาท่ี 13.
คาที่ 4. คาที่ 14.
คาที่ 5. คาที่ 15.
คาที่ 6. คาที่ 16.
คาที่ 7. คาที่ 17.
คาท่ี 8. คาท่ี 18.
คาท่ี 9. คาที่ 19.
คาท่ี 10. คาที่ 20

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

37

แบบประเมิน 1/ป1.4

แบบบันทึกผลการอ่านออก เขียนได้

ช่อื ....................................................................................................ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1
โรงเรียน.................................................................................................ประเมนิ ครั้งท่ี .............
วันที่ .........เดอื น................................พ.ศ..................

ความสามารถ

ท่ี คาท่ปี ระเมนิ อ่านได้ เข้าใจ สรุป เขียนได้
ความหมาย
1 เกเร
2 มือ
3 ดงึ
4 ขา้ ว
5 ชอบ
6 กลางวัน
7 พระ
8 ความรู้
9 ขนม
10 สบาย
11 ถนน
12 อาหาร
13 สวัสดี
14 คน
15 สวน
16 ผกั
17 เดิน
18 เย็น
19 สตั ว์
20 วนั เสาร์

รวม

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

38
แบบประเมนิ 1/ ป2.1

แบบประเมินการอ่านออก
นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นในใจ 3-5 นาที แล้วอ่านออกเสียงทีละคา จากคาที่ 1-20

1. แผน่ ดนิ 11. พืช
2. ถ้อยคา 12. ลมโบก
3. ปลอดโปรง่ 13. สว่ นแบง่
4. สร้อย 14. แข็งแรง
5. ทราย 15. เขนิ อาย
6. สนุกสนาน 16. เถาวลั ย์
7. อร่อย 17. อาทติ ย์
8. หมาก 18. ดวงจันทร์
9. วหิ ค 19. บรรทดั
10. ปญั ญา 20 ภรรยา

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รียน

39

แบบประเมิน 1/ป2.2

แบบประเมินการเข้าใจความหมายของคา
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2

คาชีแ้ จง ให้นกั เรยี นใช้คาทก่ี าหนดให้แตง่ ประโยคให้ได้ใจความสมบรู ณ์

1. ปลอดโปรง่

2. ปัญญา

3. ลมโบก

4. อาทติ ย์

5. ภรรยา

6. เถาวลั ย์

7. แผน่ ดนิ

8. พชื

9. ส่วนแบ่ง

10. วิหค

11. เขินอาย

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผู้เรียน

40

12. หมาก
13. ดวงจันทร์
14. สรอ้ ย
15. บรรทดั
16. สนกุ สนาน
17. ทราย
18. ถ้อยคา
19. แข็งแรง
20. อร่อย

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผู้เรียน

41

แบบประเมนิ 1/ป2.3

แบบประเมินการเขียนได้
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2

ช่ือ........................................................................................ชัน้ ...............................

โรงเรยี น..................................................................................................................

ทดสอบวันท.ี่ ........เดอื น.................................พ.ศ..................

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นฟง๎ คาที่ครูบอกคาละ 2 ครัง้ แลว้ เขียนใหถ้ กู ต้องตามอักขระวิธี
คาละ 1 คะแนน เวลา 30 นาที

คาท่ี 1. คาที่ 11.
คาท่ี 2. คาท่ี 12.
คาที่ 3. คาที่ 13.
คาที่ 4. คาที่ 14.
คาที่ 5. คาที่ 15.
คาที่ 6. คาท่ี 16.
คาที่ 7. คาที่ 17.
คาท่ี 8. คาท่ี 18.
คาท่ี 9. คาที่ 19.
คาท่ี 10. คาท่ี 20

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

42

แบบประเมิน 1/ป2.4

แบบบันทึกผลการอา่ นออก เขียนได้

ช่ือ....................................................................................................ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
โรงเรียน.................................................................................................ประเมนิ ครั้งท่ี .............
วันที่ .........เดือน................................พ.ศ..................

ความสามารถ

ท่ี คาท่ีประเมิน อา่ นได้ เข้าใจ สรุป เขยี นได้
ความหมาย
1 แผน่ ดนิ
2 ถอ้ ยคา
3 ปลอดโปร่ง
4 สร้อย
5 ทราย
6 สนุกสนาน
7 อร่อย
8 หมาก
9 วหิ ค
10 ปัญญา
11 พืช
12 ลมโบก
13 ส่วนแบ่ง
14 แข็งแรง
15 เขินอาย
16 เถาวัลย์
17 อาทติ ย์
18 ดวงจันทร์
19 บรรทัด
20 ภรรยา

รวม

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผ้เู รยี น

43

แบบประเมิน 1/ป3.1

คาชี้แจง แบบประเมินการอ่านออก
นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3

ใหน้ กั เรยี นอ่านในใจ 3-5 นาที แลว้ อา่ นออกเสยี งทลี ะคา จากคาที่ 1-20
ตามลาดบั

1. ตรากตรา 11. ป่วย
2. เควง้ ควา้ ง 12. ลาพัง
3. ตน้ ไทร 13. เอน็ ดู
4. ฉลาด 14. พระสงฆ์
5. ถลม่ 15. ประโยชน์
6. ขนนุ 16. อนุรักษ์
7. คนพาล 17. สรรหา
8. ชานาญ 18. บรรจง
9. บณิ ฑบาต 19. พิชซ่า
10. คนดี 20 ฟุตบอล

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รยี น

44
แบบประเมิน 1/ป3.2
แบบประเมินการเข้าใจความหมายของคา
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเขียนเรื่องจากภาพ โดยใช้คาที่กาหนดใหท้ งั้ 20 คา ประกอบ
การเขยี นให้ครบถว้ นและใหไ้ ดเ้ รอื่ งราวทสี่ มบรู ณ์สอดคลอ้ งระหว่างคากับภาพ

ตน้ ไทร ถล่ม ชานาญ บิณฑบาต คนดี ปว่ ย เอน็ ดู อนรุ ักษ์ บรรจง พิชซา่
พระสงฆ์ ฟุตบอล คนพาล ลาพัง ตรากตรา เควง้ คว้าง สรรหา ประโยชน์
ขนนุ ฉลาด

รปู ภาพ

เรอื่ ง...............................................................

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี น

45

แบบประเมนิ 1/ป3.3

แบบประเมินการเขียนได้
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

ช่ือ........................................................................................ชน้ั ...............................

โรงเรยี น..................................................................................................................

ทดสอบวันท.ี่ ........เดอื น.................................พ.ศ..................

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นฟ๎งคาที่ครูบอกคาละ 2 ครั้ง แล้วเขียนให้ถูกต้องตามอักขระวิธี
คาละ 1 คะแนน เวลา 30 นาที

คาท่ี 1. คาที่ 11.
คาท่ี 2. คาท่ี 12.
คาที่ 3. คาท่ี 13.
คาที่ 4. คาที่ 14.
คาท่ี 5. คาที่ 15.
คาที่ 6. คาที่ 16.
คาท่ี 7. คาที่ 17.
คาท่ี 8. คาท่ี 18.
คาท่ี 9. คาท่ี 19.
คาท่ี 10. คาที่ 20

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรียน

46

แบบประเมิน 1 /ป3.4

แบบบันทึกผลการอา่ นออก เขียนได้

ชื่อ....................................................................................................ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3
โรงเรียน.................................................................................................ประเมนิ ครั้งท่ี .............
วนั ท่ี .........เดอื น................................พ.ศ..................

ความสามารถ

ท่ี คาที่ประเมิน อา่ นได้ เข้าใจ สรุป เขียนได้
ความหมาย
1 ตรากตรา
2 เคว้งควา้ ง
3 ตน้ ไทร
4 ฉลาด
5 ถลม่
6 ขนนุ
7 คนพาล
8 ชานาญ
9 บิณฑบาต
10 คนดี
11 ปว่ ย
12 ลาพัง
13 เอ็นดู
14 พระสงฆ์
15 ประโยชน์
16 อนุรักษ์
17 สรรหา
18 บรรจง
19 พิชซ่า
20 ฟตุ บอล

รวม

ตดิ ตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพฒั นาผู้เรียน

47

แบบประเมิน 1/ป4.1

แบบประเมนิ การอา่ นคลอ่ ง
นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
ชอ่ื ................................................................เลขท.ี่ ....................โรงเรียน...............................................
คาช้ีแจง
1. ให้นักเรยี นอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองตามแบบฉันทลกั ษณ์ 1 จบ
2. เขียนสรปุ ใจความสาคัญของเร่ืองท่ีอา่ น ตามท่กี าหนด เวลา 30 นาที

อากาศสดใส ต้นไม้ปกปอ้ ง
อากาศหม่นหมอง ตอ้ งช่วยรักษา
ฟน้ื ฟปู รบั ปรงุ บารุงเยยี วยา
รว่ มพัฒนา รกั ป่าร่วมใจ

สาวกสเปน ผูแ้ ตง่

สรุปใจความสาคัญของบทร้อยกรอง มาพอเขา้ ใจ

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผู้เรยี น

48

แบบประเมนิ 1/ป4.2
แบบประเมนิ การเขียนคล่อง
นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4

คาชีแ้ จง
ใหน้ กั เรียนอา่ นนทิ าน เร่อื ง หงสท์ องคา แลว้ เขยี นยอ่ ความ ดว้ ยตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด

เวลา 40 นาที

หงส์ทองคา
ในสมัยหนง่ึ พระพทุ ธเจ้า ประทับอยูว่ ดั เชตวนั เมอื งสาวัตถี ทรงปรารภภกิ ษณุ ชี ื่อถลู นนั ทาผู้ไมร่ ู้จัก
ประมาณในการบริโภคกระเทียม สรา้ งความเดอื ดร้อนให้แก่ชาวบ้าน ได้ตรสั อดีตนิทานมาสาธกวา่
กาลคร้ังหนง่ึ นานมาแล้ว พระโพธิสตั วเ์ กดิ เปน็ พราหมณ์ตระกลู หน่ึง มภี รรยาและได้ลกู สาว 3 คน ชือ่
นันทา นันทวดี และสุนันทา พอลูกสาวท้ัง 3 ไดส้ ามแี ลว้ ทุกคน พราหมณ์ก็ได้เสยี ชวี ิต ไปเกิดเป็นหงส์ทองคา
ระลึกชาตไิ ด้ วันหนงึ่ ได้เห็นความลาบากของนางพราหมณแี ละลูกสาว ของตน ที่ต้องรบั จ้างคนอ่นื เล้ยี งชีพ จงึ
เกิดความสงสาร ได้โผบินไปจับท่บี ้านนางพราหมณีแลว้ เลา่ เร่อื งราวให้แก่นางพราหมณีและลูกสาว ฟ๎ง และได้
สลัดขนใหแ้ ก่พวกเขาเหลา่ น้ันคนละหนง่ึ ขนแล้วกบ็ ินหนีไป หงสท์ องได้มาเปน็ ระยะๆ มาครั้งใดกส็ ลดั ขนให้คร้ัง
ละหนึง่ ขน โดยทานองนี้นางพราหมณีและลูกสาวจึงร่ารวยและมีความสขุ ไปตามๆ กัน ต่อมาวนั หน่งึ นาง
พราหมณีเกิดความโลภจงึ ปรกึ ษากับลูกๆ ว่า “ถ้าหงส์มาครัง้ นี้ พวกเราจะจบั ถอนขนเสยี ใหห้ มดเพื่อจะไดม้ ี
ทรพั ยส์ มบตั ิมาก ” พวกลกู ๆ ไมเ่ ห็นดีด้วย แตน่ างพราหมณไี มส่ นใจ ครน้ั วนั หน่ึงพญาหงส์ทองมาอีกนางกไ็ ด้
จับถอนขนเสียใหห้ มด ขนเหล่านน้ั กลายเป็นขนนกธรรมดาเทา่ น้นั เพราะพญาหงส์ทอง มไิ ด้ใหด้ ว้ ยความสมัคร
ใจ นางพราหมณีได้เล้ียงหงสน์ ัน้ จนขนงอกขนึ้ ใหมเ่ ต็มตวั หงส์ก็ได้บินหนีไปโดยไมไ่ ด้กลบั มาอีกเลย
พระพุทธองค์ เมื่อนาอดตี นทิ านมาสาธกแล้ว ไดต้ รัสพระคาถาวา่ “บุคคลได้สิง่ ใด ควรยนิ ดสี ิ่งนนั้
เพราะความโลภเกนิ ประมาณ เปน็ ความชัว่ แท้ นางพราหมณี จับเอาพญาหงส์ทองแลว้ จึงเสือ่ มจากทองคา ”
นทิ านเรอ่ื งนี้สอนใหร้ ู้ว่า “ โลภมาก มกั ลาภหาย”

ติดตาม ตรวจสอบฯจดุ เนน้ การพัฒนาผู้เรียน

49

กระดาษเขยี นย่อความ
ช่ือ.......................................................เลขท.่ี .........โรงเรยี น......................................................

ติดตาม ตรวจสอบฯจุดเนน้ การพฒั นาผูเ้ รียน


Click to View FlipBook Version