The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจำสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจำสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรียน ประจำสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

Keywords: คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรียน

2. ปจั จัยกระตุ้นให้เกิดปญั หา (Precipitating Factors) 151
2.1 นักเรียนมีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา
2.2 ผู้ปกครองไม่ทราบว่านักเรียนมีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา
ท�ำให้ขาดความเข้าใจในการเลี้ยงดู การส่ือสารท่ีเหมาะสม
2.3 ครูผู้สอนไม่ทราบว่านักเรียนมีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา
ท�ำให้การจัดโปรแกรมการเรียนการสอน รวมท้ังการสื่อสาร
กับนักเรียนไม่เหมาะสม

3. ปจั จัยที่ท�ำให้ปญั หายังอยู่ (Perpetuating Factors)
3.1 ความพร้อมของคนในครอบครัวในการช่วยกันดูแลนักเรียน
มารดาและปา้ ยังต้องสลับกันไปท�ำงานรับจ้างรายวัน

4. ปจั จัยปกปอ้ ง (Protective Factors)
4.1 การได้รับความช่วยเหลือจากสหวิชาชีพในการประเมิน
เหตุการณ์เบ้ืองต้น การติดตามด�ำเนินคดี และประเมิน
พฤติกรรมนักเรียน ส่งต่อการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
4.2 นั ก เรี ย น ไ ด้ รั บ ก า ร ต ร ว จ วั ด ร ะ ดั บ ส ติ ปัญ ญ า ท่ี ชั ด เ จ น
ผู้ ป ก ค ร อ ง แ ล ะ ค รู ไ ด้ รั บ ค� ำ แน ะ น� ำ จ า ก จิ ต แพ ท ย์ แ ล ะ
นักจิตวิทยาโดยตรงเก่ียวกับการดูแลปรับพฤติกรรมนักเรียน
และสื่อสารกับนักเรียน
4.3 นักเรียนได้รับการฝงั เข็มคุมก�ำเนิด เพื่อปอ้ งกันความเส่ียง
จากการยงั อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มเดมิ ทอี่ าจเกดิ เหตซุ ้�ำ เน่ืองจาก
ภาวะบกพร่องทางสติปญั ญาอาจท�ำให้นักเรียนรู้ท่ีจะดูแล
ตนเองได้ไม่ทันท่วงที โดยแพทย์อธิบายสร้างความเข้าใจและ
ทางเลือกในการคุมก�ำเนิดนักเรียนให้แก่มารดา ซ่ึงมารดา
เลือกให้นักเรียนได้รับการฝงั เข็มคุมก�ำเนิด (มีผล 5 ปี)
4.4 ผู้ก่อเหตุกระท�ำอนาจารถูกด�ำเนินคดี
4.5 มารดาของนักเรียนดูแลใส่ใจนักเรียนมากข้ึน พาไปพบแพทย์
ตามนัดหมาย
4.6 ครู เริ่มสอนด้วยความเข้าใจในนักเรียนและจัดรู ปแบบ
การเรียนการสอนที่เหมาะสม

ค่มู อื นกั จิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

6กรณศี กึ ษาที่

ปัญหาพัฒนาการชา้ ติดเกมและ

ติดส่อื อิเล็กทรอนิกส์

ขอ้ มลู สว่ นตัวและครอบครวั

ชื่อ เด็กชายวันชนะ (นามสมมติ) อายุ 8 ปี
ก�ำลังเรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 บิดาไม่ระบุในใบสูติบัตรและไม่มีใครเคยเห็น
หรือทราบข้อมูลเกี่ยวกับผู้เปน็ บิดา มารดาเสียชีวิตตอนนักเรียนอายุ 7 ขวบ มีพ่ีชาย
อายุประมาณ 26 ปี (ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เพราะไปท�ำงานต่างจังหวัด) พ่ีสาวอายุประมาณ
20 ปี (อยบู่ า้ นบดิ าตนในพน้ื ทใี่ กลเ้ คยี ง) ท้งั สามคนลว้ นตา่ งบดิ าและไมไ่ ดเ้ ตบิ โตมาดว้ ยกนั
แต่ทราบในความสัมพันธ์ว่าเปน็ พ่ีน้อง นักเรียนเติบโตมาจากการเล้ียงดูของมารดา
ตามล�ำพังก่อนท่ีมารดาจะเสียชีวิต นักเรียนผูกพันใกล้ชิดกับมารดาเพียงคนเดียว
ครอบครั วท่ีเลี้ยงดูนั กเรี ยนปัจจุบัน ผู้ปกครองนั กเรี ยน คือ นางสาวน้� ำค้าง
อายุ 29 ปี (ศักดิ์เป็นน้าแต่นักเรียนเรียกป้าส้ม) มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติ
เปน็ ลกู พล่ี กู น้องของมารดานักเรียน มคี นในครอบครัวปจั จบุ นั รวมนักเรียน จำ� นวน 6 คน
มี ค ว า ม เ ต็ ม ใ จ ใ น ก า ร เ ลี้ ย ง ดู นั ก เรี ย น เนื่ อ ง จ า ก ม า ร ด า ข อ ง นั ก เรี ย น เ ค ย ช่ ว ย เห ลื อ
ครอบครัวตน แต่ต้องการได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือนักเรียนในด้านต่าง ๆ นักเรียน
มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เคยเจ็บป่วยต้องนอนโรงพยาบาล ชอบเล่นเกมและ
ติดสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในโทรศัพท์ต้ังแต่ช่วงท่ีมารดายังไม่เสียชีวิตซ่ึงมารดามักให้อยู่
กับโทรศัพท์ ไม่ค่อยพาออกไปไหนและมักไม่ให้ไปเล่นกับกลุ่มเด็กอื่น ๆ ในละแวกบ้าน

152 คู่มอื นกั จิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

ข้อมูลด้านการเรยี น

ปจั จุบันนักเรียนก�ำลังเรียนอยู่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2
นักเรียนยงั อา่ นไมอ่ อกเขยี นไมค่ ลอ่ ง เขยี นไดเ้ พยี งชอ่ื - สกลุ
มีภาวะเรียนรู้ช้าในทุก ๆ วิชา ไม่สนใจเรื่องการเรียน
ครู พยายามสอนโดยยังไม่คัดกรองว่านักเรียนมีภาวะ
บกพร่องทางการเรียนรู้ และยังไม่เคยแนะน�ำให้ผู้ปกครอง
ส่งตรวจกับทางโรงพยาบาลใด ๆ การตอบค�ำถามของ
นักเรียนในเร่ืองอ่ืน ๆ มีลักษณะเหม่อคิด นึกคิด ค่อนข้าง
ใช้เวลาในการประมวลความคิดก่อนตอบ แสดงท่าที
นึกคิดนานแต่พยายามตอบออกมาเม่ือถูกถาม

ข้อมูลด้านสงั คม

ทางบ้าน บ้านที่พักอาศัยเปน็ ครอบครัวท่ีเล้ียงดูนักเรียนในปจั จุบันมีสมาชิก 6 คน
ประกอบไปด้วย นักเรียน ผู้ปกครองที่เปน็ น้าแต่นักเรียนเรียกปา้ ส้ม แฟนปา้ ส้ม ยาย ลูกของ
ปา้ ส้มอีก 2 คน (อายุ 7 ปี และ 4 ปี) นักเรียนค่อนข้างกลัวยายซ่ึงมีท่าทีดุ เสียงดัง นักเรียน
เ ล่ น กั บ น้ อ ง ท้ั ง ส อ ง ค น เ มื่ อ อ ยู่ บ้ า น ซ่ึ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ มั ก พ า กั น เ ล่ น เ ก ม แ ล ะ ดู สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
ในโทรศัพท์ต่อเนื่องเปน็ เวลาหลายช่ัวโมง ตลอดท้ังวัน ไม่ค่อยชักชวนกันไปเล่นกลางแจ้ง

ทางโรงเรียน ไม่ค่อยเล่นกับเพื่อนในห้องเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 น่ังเหม่อล�ำพัง
บ่อย ๆ ครู ต้องคอยเรียกชื่อบ่อยคร้ัง เพ่ือนบางคนพยายามเล่นด้วยแต่นักเรียนไม่ค่อยสนใจ
หากมีโอกาสได้เล่นเกม ได้เล่นโทรศัพท์ นักเรียนจะอยู่กับอุปกรณ์เหล่านี้มากกว่าโดยไม่สนใจ
เพื่อนและสังคมรอบข้างแต่หากมีเพื่อนมาชวนเล่นเกม สื่ออิเล็กทรอนิกส์จากอุปกรณ์ต่าง ๆ
ก็จะให้ความสนใจเพ่ือนคนน้ันและร่วมเล่นด้วย ซ่ึงทางโรงเรียนก�ำชบั ผู้ปกครองท่ดี ูแลนักเรียน
ว่าไมอ่ นญุ าตใหพ้ กมาทโี่ รงเรยี นและใหช้ ว่ ยดแู ลพฤตกิ รรมการเลน่ โทรศพั ทเ์ มอ่ื อยทู่ บ่ี า้ น หากไมม่ ี
อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสน์ ักเรยี นกจ็ ะอยลู่ ำ� พงั และน่ังเหมอ่ ลอยมากกวา่ ทจ่ี ะเลน่ กบั เพอื่ น

คู่มอื นกั จิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำสำ� นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 153

สภาพปัญหา

มลี กั ษณะพฒั นาการชา้ เรยี นรูช้ า้ ตดิ เกม ตดิ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ในโทรศัพท์ ไม่มีทักษะสงั คม

การชว่ ยเหลือแก้ไข

1. นั ก จิ ต วิ ท ย า โ ร ง เรี ย น ป ร ะ จ� ำ ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี
การศึกษารับแจ้งเร่ืองจากโรงเรียนจึงแจ้งข้อมูลเบ้ืองต้น
กั บ ผู้ อ� ำ น ว ย ก า ร ก ลุ่ ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ
รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ท่ีก�ำกับ
ดูแลกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา น�ำเรียนผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อด�ำเนินการลงพ้ืนที่

2. สอบถามข้อมูลจากครู ประจ�ำช้ันหรือครู ท่ีปรึกษา
เกี่ยวกับพฤติกรรมนักเรียนท่ีโรงเรียน ท้ังในห้องเรียน
นอกห้องเรียน การคัดกรองเบื้องต้นของทางโรงเรียน
พัฒนาการตามวัย ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์และสังคม

3. สอบถามข้อมูลจากผู้ปกครองถึงพฤติกรรมขณะนักเรียน
อยู่บ้าน ปญั หาที่ครอบครัวมองเห็นและกังวล การดูแล
รับมือของผู้ปกครอง

4. พูดคุยกับนั กเรี ยนและสังเกตพฤติกรรมในช่ัวโมง
การพูดคุย ในห้องเรียน ในโรงเรียน

5. ท�ำการส�ำรวจพัฒนาการนักเรียนด้วยแบบ PDDSQ
โ ด ย ผู้ ป ก ค ร อ ง แ ล ะ ค รู พ บ ว่ า นั ก เรี ย น มี แน ว โ น้ ม
ความผิดปกติเกี่ยวกับพัฒนาการในวัยเด็ก

6. ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เพ่ือทราบจุดเด่น
จุดด้อยด้านอารมณ์และสังคมส�ำหรับน�ำมาใช้ประกอบ
การปรับพฤติกรรม

154 คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

7. รวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง ผลจากแบบ PDDSQ ของผู้ปกครองและครู ผลการประเมิน
EQ ลักษณะพฤติกรรมการแสดงออกท่ีครู ให้ข้อมูลและนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำ
ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สังเกตเห็น ส่งต่อแผนกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน
เพื่อตรวจพัฒนาการรอบด้าน

8. ประสานศึกษานิเทศก์ในส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แจ้งลักษณะปญั หานักเรียน
การดูแลช่วยเหลือและความเคลื่อนไหว การส่งต่อหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือให้ช่วยติดตาม
สังเกตนักเรียนและการสอนของครู เมื่อออกนิเทศการศึกษา

9. รายงานผลการด�ำเนินงานและผลการติดตามดูแลต่อผู้บังคับบัญชาตามล�ำดับ

ผลการชว่ ยเหลือและแก้ไข

นักเรียนได้รับการทดสอบระดับสติปัญญาจากโรงพยาบาล ซ่ึงผลระดับสติปัญญา
อยู่ในระดับต่�ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย (Low Average, IQ = 80) สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง
และครู เกี่ยวกับภาวะระดับสติปญั ญาต่�ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของนักเรียน ซ่ึงจะมีการรับรู้ เรียนรู้
การเข้าใจทุกสิ่งรอบด้านช้ากว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยเฉพาะการคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงนามธรรม

ค่มู อื นักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 155

มีการตัดสินใจช้า มักมีการแก้ปญั หาเฉพาะหน้าไม่เหมาะสมตามวัยและมักมีปญั หาทางอารมณ์
และการปรับตัวในสังคมตามมา และยิ่งนั กเรียนไม่มีทักษะทางด้านสังคมและเลือกใช้อุปกรณ์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ติดการเล่นเกม อยู่กับอุปกรณ์ตามล�ำพังไม่ท�ำกิจกรรมอย่างอ่ืนย่ิงจะเปน็
การส่งเสริมให้ปญั หาพฤติกรรมการติดเกม ติดส่ืออิเล็กทรอนิกส์แก้ไขได้ยาก ดังน้ัน นักเรียน
จึงควรได้รับการท�ำความเข้าใจจากคนใกล้ชิดในภาวะท่ีนักเรียนเปน็ ก่อน และได้รับการกระตุ้น
พัฒนาการการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการปรับพฤติกรรมรอบด้าน โดยนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำ
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จัดโปรแกรมปรับพฤติกรรมการเรียนในช้ันเรียนร่วมกับโรงเรียน
และครอบครัว และเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ด้วยกระบวนการจิตวิทยาเชิงบวกท้ังหมด
8 คร้ัง โดยเฉพาะที่บ้านและครอบครัว เน้นให้ผู้ปกครองปรับพฤติกรรมการเล่นเกม การเล่น
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยปรับเวลา ลดเวลา ไม่ส่ังให้นักเรียนหยุดทันทีทันใดเพื่อไม่ให้เกิดการ
ต่อต้าน ก�ำหนดเวลาการเล่นท่ีเหมาะสม ลดลงเรื่อย ๆ แนะน�ำให้ผู้ปกครองส่ือสารและดูแล
อยา่ งเขม้ งวดไมม่ กี ารตอ่ รองใดๆและใหผ้ ปู้ กครองหากจิ กรรมใหน้ กั เรยี นและสมาชกิ ในบา้ นทำ� รว่ มกนั
ใช้เวลาร่วมกันกับผู้ใหญ่

ในครอบครวั ใหม้ ากขึน้

พบว่าภายหลังการปรับพฤติกรรมในช่วงเวลาประมาณ 3 เดือน นักเรียนมีพฤติกรรม
การเล่นเกมลดลง เร่ิมเล่นกับเพื่อนในห้องเรียน ในโรงเรียนมากข้ึน สีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส มีความสุข
พูดถึงบุคคลในบ้านมากข้ึน พูดถึงกิจกรรม ต่าง ๆ ที่ได้ท�ำที่บ้าน ได้ออกไปนอกบ้านกับครอบครัว
การเรียนตามรายวิชาในห้องเรียนครู จัดกิจกรรมให้เรียนแบบเล่นสนุกกับกลุ่มมากข้ึน และ
เรียกนักเรียนมาเรียนเสริมหลังเลิกเรียน กระตุ้นพัฒนาการการอ่านเขียน ท�ำให้นักเรียน
มีพัฒนาการท่ีดีข้ึน แม้ยังไม่สามารถเรียน อ่านเขียนได้ทันเพ่ือน ๆ ในห้องแต่นักเรียนมีความต้ังใจ
และสนใจการเรียนมากข้ึน

การประมวลผลกรณศี กึ ษา (Case formulation)

1. ปัจจัยเสี่ยง (Predisposing Factors)
1.1 การเล้ียงดูจากมารดาก่อนเสียชีวิตท่ีมีลักษณะมักให้อยู่กับโทรศัพท์ ไม่ค่อย
พาออกไปไหน และมักไม่ให้ไปเล่นกับกลุ่มเด็กอื่น ๆ ในละแวกบ้าน
1.2 ความสูญเสียมารดาท่ีผูกพันใกล้ชิดที่สุดซ่ึงมีเพียงคนเดียว ความเสียใจ ความเหงา
และการเปลี่ยนครอบครัวคนเลี้ยงดู

156 ค่มู ือนักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

2. ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดปัญหา (Precipitating Factors)
2.1 นักเรียนมีระดับสติปญั ญาต่�ำกว่าเกณฑ์เฉล่ีย
2.2 ผู้ปกครองไม่ทราบว่านักเรียนมีระดับสติปัญญาต่�ำกว่า
เกณฑ์เฉล่ียท�ำให้ขาดความเข้าใจในการเล้ียงดูและการส่ือสาร
ที่เหมาะสม
2.3 สภาพแวดล้อมของครอบครัวใหม่ที่ยังคงเลี้ยงดูนักเรียนและ
ปล่อยให้ใช้เวลาอยู่กับโทรศัพท์ อุปกรณ์ส่ืออิเล็กทรอนิกส์
อย่างอิสระตลอดเวลา
2.4 ครู ไม่ทราบว่านักเรียนมีระดับสติปญั ญาต่�ำกว่าเกณฑ์เฉล่ีย
ท�ำให้การจัดโปรแกรมการเรียนการสอนรวมท้ังการสื่อสารกับ
เด็กไม่เหมาะสม

3. ปัจจัยที่ท�ำให้ปัญหายังอยู่ (Perpetuating Factors)
3.1 นักเรียนขาดทักษะสังคม
3.2 นักเรียนขาดแรงจูงใจในการเรียนหนังสือ และการท�ำกิจกรรม
กับเพื่อน
3.3 สมาชกิ ในครอบครวั บางคนยงั ใชโ้ ทรศพั ท์อปุ กรณส์ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
อย่างอิสระและแทบตลอดเวลาไม่สามารถเปน็ แบบอย่างให้
นักเรียนได้

4. ปัจจัยปกป้อง (Protective Factors)
4.1 นักเรียนได้รับการตรวจวัดระดับสติปญั ญาที่ชัดเจน ผู้ปกครอง
และครู ได้รับค�ำแนะน�ำจากจิตแพทย์และนักจิตวิทยาโดยตรง
เกี่ยวกับการดูแลปรับพฤติกรรมนักเรียนและส่อื สารกับนักเรียน
4.2 ผู้ปกครองของนักเรียนและครอบครัวดูแลใส่ใจนักเรียนมากข้ึน
ให้ความร่วมมือในการปรับพฤติกรรมการเล่นเกม การเล่น
สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ปรบั เวลา ลดเวลา ไมส่ ง่ั ใหน้ กั เรยี นหยดุ ทนั ทที นั ใด
เพ่ือไม่ให้เกิดการต่อต้าน ก�ำหนดเวลาการเล่นที่เหมาะสม และ
ดูแลพาไปพบแพทย์ตามนัดหมาย
4.3 ครู เริ่มสอนด้วยความเข้าใจในตัวนักเรียนและจัดรู ปแบบ
การเรียนการสอนที่เหมาะสม

คู่มอื นกั จิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำส�ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 157

ภาคผนวก

158 ค่มู อื นกั จิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

หนังสือท่ี ควรศึกษา

ค่มู ือนกั จิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 159

แบบฟอรม์ ต่าง ๆ

1.แบบบนั ทึกการใหค้ �ำปรกึ ษา 2.แบบรายงาน 3.แบบบันทึกข้อมูล

แจ้งผลการชว่ ยเหลือนกั เรยี น

4. แบบฟอรม์ การค้มุ ครอง 5. แบบบันทึกการสง่ ต่อ 6. Case formulation
และชว่ ยเหลือนกั เรยี น นักเรยี น (ภายใน) 4 ปัจจัย (4P’s)

7. แบบฟอรม์ รายงาน
สพฐ.

160 ค่มู ือนกั จิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

เครื่องมอื คัดกรอง สขุ ภาพจิต

1.แบบสงั เกตพฤติกรรม 2.แบบคัดกรองคนพิการ 3.แบบคัดกรองโรคในกล่มุ
4 โรคสถาบนั ราชานุกลุ ทางการศึกษา พัฒนาการผิดปกติอยา่ งรอบ
ด้าน ส�ำหรับเด็กอายุ 1-18 ปี
กรมสุขภาพจิต กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (Pervasive Developmental

Disorder Screening
Questionnaire : PDDSQ)

4.แบบคัดกรองนกั เรียน 5.เคร่ืองมือสงั เกตอาการ 9s 6.แบบประเมินจุดแขง็ และ
ท่ีมีภาวะสมาธิส้นั จุดอ่อน (Strengths and
Difficulties Questionnaire :
บกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ และ
ออทซิ มึ KUS-SI Rating Scales SDQ)

: ADHD/LD/Autism (PDDs)

7.แบบประเมนิ พฤติกรรม 8.ค่มู ือการใชแ้ บบทดสอบ 9.แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า
SNAP-IV (Short Form) การติดเกม ฉบบั เด็กและวัยรุน่ ในเด็ก (Children’s Depression
(Manual of Game Addiction
Screening Test : GAST) Child Inventory : CDI)

and Adolescent Version

ค่มู ือนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 161

10.แบบคัดกรองภาวะซมึ เศรา้ 11. แบบประเมนิ ความเครยี ด 12.แบบคัดกรองโรคซมึ เศร้า
ในวัยรุน่ (Center for Epidemi- (Stress Test Questionnaire : 2 ค�ำถาม 8 ค�ำถาม และ
9 ค�ำถาม (2Q 8Q 9Q)
ologic Studies-Depression ST-5)
Scale : CES-D)

13.แบบสอบถามผลกระทบ 14.แบบสอบถามพฤติกรรม 15.แบบสอบถาม General
จากเหตุการณ์ภัยพบิ ัติ PSC (Pediatric Symptom Health Questionnaire
ฉบบั ภาษาไทย
สำ� หรับเด็ก (The Children’s Checklist)
Revised Impact of Event (Thai GHQ 12-28-30-60)

Scale : CRIES-13)

16.ดัชนวี ัดความสุขคนไทย 17.ค่มู ือเฝ้าระวังและสง่ เสรมิ 18.แบบประเมินความฉลาด
ทางอารมณ์ ส�ำหรบั ผู้ใหญ่
(Thai Happiness Indicators : พัฒนาการเด็กปฐมวัย
(อายุ 18 - 60 ป)ี
THI-15) (Developmental Surveillance

and Promotion Manual : DSPM)

162 ค่มู อื นกั จิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

19.แบบประเมนิ ความฉลาด 20.แบบประเมินความฉลาด 21.แบบประเมินความฉลาด
ทางอารมณ์ สำ� หรับวัยรุน่ ทางอารมณ์เด็กอายุ 6 - 11 ปี ทางอารมณเ์ ด็กอายุ 6 - 11 ปี
(อายุ 12 - 17 ป)ี
สำ� หรบั พอ่ แม่ ผปู้ กครอง สำ� หรับครู (ฉบบั ยอ่ )
(ฉบับยอ่ )

22.แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณเ์ ด็ก 23.แบบประเมนิ ความฉลาดทางอารมณเ์ ด็ก
อายุ 3 - 5 ปี ส�ำหรบั พอ่ แม่ ผปู้ กครอง อายุ 3 - 5 ปี สำ� หรับครู ผดู้ ูแลเด็ก

ฉบับยอ่ ฉบับเต็ม ฉบับยอ่ ฉบับเต็ม

คู่มือนกั จิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 163

ข้อมูลเครอื ข่าย 4 ภมู ภิ าค

164 คู่มอื นักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำส�ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

บรรณานกุ รม

กฎกระทรวงก�ำหนดประเภทของสถานศึกษาและการด�ำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่ พ.ศ. 2561. (2561, 28 กันยายน) ราชกิจจานุเบกษา.
หน้า 13 – 15

นงพงา ลิ้มสวุ รรณ และ นดิ า ล้ิมสวุ รรณ. ซาเทียร์ จิตบำ� บดั และการพฒั นาตนเอง. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. ภาควิชา
จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล. กรุงเทพฯ : 2556.

นงพงา ล้ิมสุวรรณ, นวนนั ท์ ปยิ ะวัฒนก์ ุล และ สุวรรณา อรุณพงศไ์ พศาล. Satir Model. วารสารสมาคม
จิตแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย. 2550; 52(1); 1-6

นันทวัช สทิ ธริ ักษ์. จิตเวช ศริ ริ าช DSM-5 พมิ พ์คร้งั ท่ี 3 พ.ศ.2559 ส�ำนักพิมพศ์ ริ ริ าช คณะแพทยศาสตร์
ศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.นนั ทวชั สทิ ธริ กั ษ,์ กมลเนตร วรรณเสวก, กมลพร วรรณฤทธ,ิ์
ปเนต ผู้กฤตยาคาม,ี สุพร อภินนั ทเวช,

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ก�ำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552.
(2552, 8 มถิ นุ ายน) ราชกิจจานุเบกษา หนา้ 45 - 47

พนม เกตุมาน, บรรณาธิการ. จิตเวช ศริ ริ าช DSM-5. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ : ประยูรสาสน์ ไทย การพมิ พ:์ 2549.

พระราชบญั ญตั ิการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการต้ังครรภ์ในวัยรุน่ พ.ศ.2559. (2559, 31 มนี าคม) ราชกิจ
จานุเบกษาหนา้ 1 - 9

พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. (2545, 31 ธนั วาคม). ราชกิจจานเุ บกษา หนา้ 11 - 14
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545. (2545, 19

ธันวาคม). ราชกิจจานเุ บกษา หนา้ 16 - 21
พระราชบญั ญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546. (2546, 2 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา หน้า 1 - 29
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม. (2551, 14

มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา หนา้ 1 - 15
เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์. (2549). พัฒนาการมนุษย์ (Human Development). กรุงเทพมหานคร :

ธรรมดาเพรส จ�ำกัด.
มัลลวีร์ อดลุ วัฒนศริ .ิ 2554. เทคนิคการใหค้ �ำปรกึ ษา : การน�ำไปใช้.ขอนแก่น : โรงพมิ พ์คลังนานา.
ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ.2548 และฉบบั แก้ไขเพมิ่ เติม.

(2548, 26 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา.หนา้ 18-19
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. คู่มือหลักสูตรการพัฒนานักจิตวิทยาโรงเรียน.

พมิ พ์คร้ังท่ี 1 พ.ศ. 2559 ส�ำนกั พมิ พ์ บริษัท บยี อนด์ พบั ลิสช่งิ จ�ำกัด

คู่มอื นักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 165

สุมนา พานิช. (2545). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. เอกสารค�ำสอนวิชา ปว 692 การวัดและการประเมิน
เด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.

ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น . ( 2 5 4 9 ) . แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ชี วิ ต .
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พส์ �ำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. (2559). การเยี่ยมบ้านนักเรียน. พิมพ์คร้ังท่ี 4.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์สำ� นักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. (2559). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 4.
กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พส์ �ำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2549). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. พิมพ์คร้ังท่ี 9. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์

อินทิรา พัวสกุล, บรรณาธิการ. คู่มือครูส�ำหรับช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาสุขภาพจิต. พิมพ์คร้ังท่ี 9.
กรมสขุ ภาพจิต. กรุงเทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย: 2551.

American Psychological Association’s Council of Representatives. (2003). Ethical Principles of
Psychologists and Code of Conduct 2002. USA: American Psychological Association.
แปลและเรียบเรียง โดย ส่องโสม พ่ึงพงศ์ และภัทรานุจ แสงจันทร์. (2015). หลักจรรยาบรรณ
ส�ำหรับนักจิตวิทยาและมาตรฐานการประพฤติปฏิบัติของสมาคมจิตวิทยาอเมรกิ ัน.

National Association of School Psychologists. Principles for Professional Ethics [ออนไลน]์ . 2010,
แหล่งท่ีมา:http:apps.naspononline.org/search-results.aspx?q=Ethics [19 พฤษภาคม
2564]

Satir Model Developmental Phases, The Satir Journal, Vol.3, No.1, 2009

166 ค่มู ือนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา

คณะผูจ้ ัดท�ำ

ชื่อ ต�ำแหน่ง

1. นางสาวจุฑามาศ รักษาสวัสด์ิ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสมุทรสาคร

2. นายสินศักดิ์ แก้วจันทร์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาเชียงราย เขต 1

3. นางสาวนิมิตา ปาละวงศ์ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
4. นางสาวณัฐชยา ไชยนวล
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
5. นางสาวสมปรารถนา แสงลับ ประถมศึกษาล�ำพูน เขต 1

6. นายอดิศร อมรเวช ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1
7. นายพลากร ศรีพูนทอง
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
8. นางสาว ตรีทิพยนิกรณ์ ตอนศรี ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4

9. นางสาวรัชนก นาคพงษ์ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษานครราชสีมา
10. นายอาทิตย์ พานิชอัตรา
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
11. นางสาวรุ้งตะวัน เกิดโภคา ประถมศึกษาชุมพร เขต 1

ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครพนม เขต 1

ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระยอง เขต 2

ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 2

คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 167

ชื่อ ต�ำแหน่ง

12. นางทัศนีย์ ศรีเดช ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
13. ว่าท่ีร้อยตรีเจตนิพัทธ์ ปลาเงิน ประถมศึกษานครนายก
14. นางสาววรรณภา สุดตา
15. นางสาวภคพร เกษมสานต์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
16. นายธเนศ แสนรัตน์ ประถมศึกษาแพร่ เขต 1
17. นางสาวนววรรณ สุขจิตร
ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3

ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษานครพนม เขต 2

ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1

168 ค่มู ือนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

คณะบรรณาธกิ ารกิจ










คู่มือนักจิตวิทยาโรงเรยี นประจ�ำสำ� นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 169

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

170 ค่มู ือนักจิตวิทยาโรงเรียนประจ�ำส�ำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา


Click to View FlipBook Version