The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจำแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี จังหวัดอุทัยธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจำแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี จังหวัดอุทัยธานี

การจำแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี จังหวัดอุทัยธานี

การจําแนกเขตเพ่ือการจัดการดานธรณวี ทิ ยา
และทรพั ยากรธรณี จงั หวดั อทุ ยั ธานี

กรมทรพั ยากรธรณี
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม

II

การจาํ แนกเขตเพือ่ การจดั การดา นธรณวี ิทยาและทรัพยากรธรณี
จงั หวัดอทุ ยั ธานี

ปงบประมาณ 2551
พิมพค ร้งั ที่ 1 500 เลม

จดั พิมพโดย กรมทรัพยากรธรณี

กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม
เลขที่ 75/10 ถนนพระราม 6 แขวงทงุ พญาไท เขตราชเทวี
กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2621-9814 โทรสาร 0-2621-9820
http://www.dmr.go.th

ขอมูลทางบรรณานกุ รม

กรมทรัพยากรธรณ.ี 2551.
การจําแนกเขตเพ่ือการจัดการดานธรณวี ทิ ยาและทรัพยากรธรณีจงั หวัดอทุ ัยธานี.
กรงุ เทพฯ:
92 หนา
1. ธรณีวิทยา 2. ทรพั ยากรธรณี 3. การจําแนกเขต

พมิ พที่ บริษทั แอดวานซ วิชน่ั เซอรวสิ จาํ กัด

เลขที่ 77/102 ซอยพฤกษชาติ 10/1
หมูบานพฤกษชาติ ถนนรามคําแหง 114
แขวงสะพานสงู เขตสะพานสูง กรงุ เทพฯ 10240
โทรศัพท/ โทรสาร 0-2372-0807-9

III

คาํ นาํ

โครงการจําแนกเขตเพ่ือการจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีรายจังหวัด
ไดดําเนินการมาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2549 โดยเริ่มในกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ไดแก
เชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน ลําพูน ลําปาง พะเยา แพร และนาน สวนในปงบประมาณ พ.ศ. 2550
ดําเนินการในพื้นท่ี 10 จังหวัด ไดแก พิจิตร นครสวรรค ลพบุรี สระบุรี ชุมพร ระนอง สุราษฎรธานี
นครศรธี รรมราช ตรงั และพัทลุง สาํ หรับในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 ดําเนินการในพื้นท่ี 10 จังหวัด ไดแก
อตุ รดติ ถ สุโขทยั ตาก อทุ ัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบรุ ี ประจวบคีรขี นั ธ อุทัยธานี และปราจนี บุรี

โครงการน้ีดําเนนิ การภายใตแ ผนปฏบิ ัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2548-2551) และ (พ.ศ. 2551-2554)
ของกรมทรัพยากรธรณี ในประเด็นยุทธศาสตรการอนุรักษและจัดการการใชประโยชนทรัพยากรธรณี
เปนไปอยางสมดุลและสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาท่ียั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ ประการแรก
เพื่อจําแนกเขตทรัพยากรธรณี เปนเขตสงวน อนุรักษ และพัฒนาใชประโยชน ประการท่ีสองเพื่อกําหนด
มาตรการหรือแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีใหสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพ ขอ จาํ กดั และความตองการ
ของทองถ่ิน โดยกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียที่เก่ียวของทุกภาคสวนในทองถ่ิน และ
ประการสุดทายเพื่อเผยแพรขอมูลใหแกหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนในการวางแผนพัฒนา
ทรัพยากรธรณี ตลอดจนเปนการเสริมสรางองคความรูใหแกประชาชนทุกภาคสวนท้ังระดับทองถ่ินและ
ระดบั ประเทศ

ในการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีไดนําขอมูลตางๆ ดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ท่ีมี
อยูในแตละจังหวัด ไดแก ลักษณะธรณีวิทยา ทรัพยากรแร แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา และพื้นท่ีเสี่ยง
ตอธรณีพิบัติภัย มาจําแนกเขตเชิงพื้นที่ตามสถานภาพ ศักยภาพของทรัพยากรธรณี และขอจํากัดทาง
กฎหมายที่เก่ียวของกับการใชประโยชนท่ีดิน โดยใหสอดคลองกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม คุณภาพ
ของสงิ่ แวดลอม และวถิ ชี ีวิตของชมุ ชนทองถน่ิ

กรมทรัพยากรธรณี ขอขอบคุณหนวยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ท่ี
ชวยอนุเคราะหขอมูลตางๆ ตลอดจนใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอการดําเนินงาน และ
หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับน้ีจะใหขอมูลดานธรณีวิทยา ธรณีพิบัติภัย แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา
ทรัพยากรแร การจําแนกเขตทรัพยากรแร ตลอดจนแนวทางการจัดการในพื้นที่แตละจังหวัด ซึ่งสามารถ
นําไปประยุกตใชในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรธรณีเชิงพ้ืนท่ีของจังหวัด กลุมจังหวัด และประเทศ
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตอไป

กรมทรพั ยากรธรณี
กนั ยายน 2551

IV III
IV
สารบญั VI
VIII
คาํ นํา 1
สารบัญ 1
สารบัญรูป 2
สารบัญตาราง 2
บทท่ี 1 กรอบแนวคิดในการจําแนกเขตเพอ่ื การจดั การดานธรณีวทิ ยาและทรัพยากรธรณี 2
2
1.1 ความหมายและความสําคญั ของธรณีวทิ ยาและทรพั ยากรธรณี 3
1.2 กรอบแนวคิดในการจาํ แนกเขตเพื่อการจดั การดา นธรณีวิทยาและทรพั ยากรธรณี 4
4
1.2.1 หลกั การและเหตผุ ล 5
1.2.2 วตั ถุประสงค 5
1.2.3 แนวทางการดําเนนิ งาน 5
1.2.4 ผลท่คี าดวาจะไดรับ 5
บทที่ 2 ขอ มูลพน้ื ฐาน 5
2.1 ประวตั ิความเปนมา 6
2.2 ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร 6
2.2.1 ขนาดและทตี่ ั้ง 6
2.2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ 6
2.2.3 ลกั ษณะภูมอิ ากาศ 6
2.2.4 การคมนาคม
2.3 สภาพเศรษฐกจิ และสงั คม 9
2.3.1 การปกครอง 9
2.3.2 ประชากรและอาชีพ 10
2.3.3 เศรษฐกิจ 10
2.3.4 วฒั นธรรม เทศกาล และงานประเพณี 10
2.4 แนวคดิ ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตภิ ายใตย ทุ ธศาสตรข องจงั หวดั อุทัยธานี 11
และกลมุ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลาง 11
2.5 พน้ื ทปี่ ระกาศของทางราชการ 11
บทท่ี 3 ธรณวี ทิ ยา 12
3.1 ธรณีวิทยาทว่ั ไป
3.2 ธรณีวิทยากายภาพและลําดบั ช้นั หนิ
3.2.1 มหายุคพรีแคมเบรียน
3.2.2 ยคุ แคมเบรยี น
3.2.3 ยคุ ออรโดวเิ ขียน
3.2.4 ยุคไซลเู รยี น - ดโี วเนยี น

V

3.2.5 ยคุ คารบ อนเิ ฟอรสั 12
3.2.6 ยคุ เพอรเ มยี น 12
3.2.7 ยคุ ไทรแอสซิก 15
3.3 ตะกอนรวนยุคควอเทอรนารี 16
3.3.1 ตะกอนเศษหินเชิงเขา 16
3.3.2 ตะกอนนาํ้ พา 17
3.3.3 ตะกอนรอ งนาํ้ 17
3.3.4 ตะกอนท่ีราบลมุ แมน าํ้ 17
3.4 หินอคั นี 17
3.4.1 หินอัคนีแทรกซอนยุคไทรแอสซิก 18
3.4.2 หนิ อัคนีพุยุคเพอรเมยี น - ไทรแอสซกิ 18
3.5 ธรณวี ิทยาโครงสราง 19
3.5.1 การวางตัวช้นั หิน 19
3.5.2 ชั้นหินคดโคง 19
3.5.3 รอยแยกและรอยเล่อื น 20
3.5.4 แนวแตกเรียบ 23
3.5.5 รอยชั้นไมต อ เนื่อง 23
บทท่ี 4 ธรณีพิบตั ิภยั 24
4.1 ดนิ ถลม 24
4.2 หลมุ ยบุ 28
4.3 แผนดนิ ไหว 31
บทที่ 5 แหลง ธรรมชาติทางธรณวี ทิ ยา 35
5.1 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา 35
5.2 แหลงธรรมชาตทิ างธรณวี ิทยาทเี่ ปน เอกลกั ษณและโดดเดน ของจงั หวดั อุทัยธานี 36
5.2.1 แหลงน้ําพรุ อน 36
5.2.2 แหลงธรณีสณั ฐานประเภทนา้ํ ตก 37
5.2.3 แหลงธรณีสัณฐานประเภทถาํ้ 37
5.2.4 แหลงธรณีสณั ฐานประเภทภเู ขา 44
5.3 แนวทางการอนุรกั ษแ หลงธรรมชาตทิ างธรณีวทิ ยา 48
5.3.1 แนวทางการอนุรกั ษแหลงธรรมชาตทิ างธรณีวทิ ยา 48
5.3.2 แนวทางบรหิ ารจัดการแหลง ธรรมชาตทิ างธรณวี ทิ ยาของจังหวัดอุทัยธานี 50
บทที่ 6 ทรพั ยากรแร 52
6.1 การแบง ประเภทพ้ืนทที่ รพั ยากรแร 52
6.2 การประเมนิ ทรพั ยากรแรใ นพ้นื ทแ่ี หลง แร 52
6.3 ทรัพยากรแรข องจงั หวัดอุทัยธานี 52

VI

6.3.1 กลุมแรเ พ่ือการพฒั นาสาธารณปู โภคพน้ื ฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ 54
6.3.2 กลมุ แรเพอื่ สนับสนุนเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม 61
6.3.2 กลมุ แรเ พื่อการเกษตร 65
6.4 พ้ืนทศี่ ักยภาพทางแร 66
6.4.1 แรเ หลก็ 66
6.4.2 แรด ินขาว 68
6.4.3 แรฟลอู อไรต 68
6.4.4 แรด ีบกุ 68
6.4.5 แรเ ฟลดสปาร 69
6.4.6 แรค วอตซ 69
6.4.7 แรฟ อสเฟต 69
6.4.8 พลอยโกเมน 69
6.4.9 ทรายและกรวดเพอ่ื อุตสาหกรรมกอ สรา ง 69
6.4.10 แรโ คลมั ไบต - แทนทาไลต - โมนาไซต และแรห ายากอ่ืนๆ 70
บทที่ 7 การจําแนกเขตทรัพยากรแร และมาตรการ หรือแนวทางการบริหารจดั การ 71
7.1 หลักเกณฑและปจ จัยท่ีใชในการจําแนกเขตทรพั ยากรแร 71
7.2 ผลการจาํ แนกเขตทรพั ยากรแร 72
7.3 มาตรการ หรือแนวทางการบริหารจัดการทรพั ยากรธรณีในแตล ะเขต 82
7.3.1 เขตสงวนทรัพยากรแร 82
7.3.2 เขตอนรุ ักษท รัพยากรแร 82
7.3.3 เขตพัฒนาทรพั ยากรแร 82

สารบญั รปู

รูปท่ี 2-1 แผนท่ีภมู ิประเทศและเขตการปกครองจงั หวัดอทุ ัยธานี 7

รปู ท่ี 2-2 แผนที่พน้ื ท่ที ี่อยภู ายใตขอจํากดั ของกฎหมาย มตคิ ณะรฐั มนตรี

และกฎระเบยี บตางๆ จงั หวดั อทุ ยั ธานี 8

รปู ท่ี 3-1 รูปแผนธรณีวิทยาจงั หวดั อุทัยธานี และคาํ อธบิ ายแผนท่ี 13

รูปท่ี 3-2 ภาพถา ยแสดงลกั ษณะหินของแตล ะหนว ยหนิ 21

รูปที่ 3-3 แผนทแ่ี สดงแนวการวางตวั ของรอยเล่ือนทสี่ าํ คญั ของประเทศไทย ซ่ึงเปน ผลจากการชนกัน

ของแผนเปลอื กโลกอินเดยี และยเู รเซียในมหายคุ ซีโนโซอกิ 22

รปู ที่ 4-1 แผนทพ่ี ้นื ท่ีท่มี ีโอกาสเกิดดินถลม จงั หวัดอทุ ยั ธานี (กรมทรัพยากรธรณี, 2547) 29

รปู ท่ี 4-2 แผนท่ีแสดงพน้ื ทที่ ม่ี ีโอกาสเกดิ หลมุ ยุบ จังหวัดอุทยั ธานี 30

รปู ที่ 4-3 แผนที่รอยเล่อื นมีพลังในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2549) 33

รูปที่ 4-4 แผนท่ีบริเวณเสย่ี งภยั แผน ดินไหวของประเทศไทย (ฉบบั ปรบั ปรงุ คร้งั ท่ี 2 พ.ศ.2548) 34

VII

รปู ที่ 5-1 แผนท่ีแหลงธรรมชาตทิ างธรณวี ทิ ยา จังหวดั อุทยั ธานี 39
รูปที่ 5-2 สภาพพื้นทขี่ องนาํ้ พุรอนสมอทอง ตําบลคอกควาย อาํ เภอหนองฉาง จงั หวัดอุทยั ธานี 40
รูปท่ี 5-3 สภาพพ้นื ทขี่ องนํา้ ตกไซเบอรหรือนํ้าตกหนิ ลาด ในเขตรักษาพันธสัตวปาหวยขาแขง
41
ตาํ บลคอกควาย อําเภอหว ยคต จงั หวัดอทุ ยั ธานี 42
รปู ที่ 5-4 สภาพพื้นท่ีของนํา้ ตกผารม เย็น ตําบลเจา วัด อาํ เภอบานไร จงั หวดั อุทัยธานี 42
รูปที่ 5-5 สภาพพ้ืนทข่ี องถาํ้ พุหวาย ในเขตอุทยานแหง ชาติเขาวง อาํ เภอบานไร จงั หวัดอทุ ยั ธานี 43
รปู ที่ 5-6 สภาพพน้ื ทข่ี องถ้ําเขาตะพาบ ตาํ บลวังหนิ อําเภอบา นไร จังหวดั อทุ ัยธานี 44
รปู ท่ี 5-7 สภาพพนื้ ที่ของถํ้าเขาพระยาพายเรือ ตําบลลานสัก อาํ เภอลานสกั จังหวัดอุทัยธานี 44
รปู ที่ 5-8 สภาพพ้นื ท่ีของถํ้าเขากวางทอง ตําบลเขากวางทอง อาํ เภอหนองฉาง จงั หวัดอุทัยธานี 45
รปู ท่ี 5-9 สภาพพื้นที่ของเขาวง บรเิ วณตาํ บลบา นไร อาํ เภอบา นไร จังหวดั อุทยั ธานี 46
รปู ท่ี 5-10 สภาพพืน้ ท่ีของเขาวงศพรหมจรรย ตําบลวังหิน อําเภอบานไร จังหวัดอุทัยธานี 46
รปู ที่ 5-11 สภาพพื้นทข่ี องเขาผาแรต บรเิ วณอาํ เภอลานสกั จงั หวัดอุทยั ธานี 49
รูปที่ 5-12 สภาพพน้ื ทีข่ องเขาปฐวี ตาํ บลตลกุ ดู อําเภอทพั ทัน จงั หวัดอุทยั ธานี 49
รปู ที่ 5-13 ลักษณะของเขาฆองชัย ต้ังอยูที่บริเวณอาํ เภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 49
รปู ท่ี 5-14 สภาพพื้นที่ของเขาสะแกกรัง บริเวณอําเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี 55
รูปที่ 6-1 แผนทีแ่ หลง ทรัพยากรแรข องจังหวัดอุทัยธานี
รปู ที่ 6-2 เปรยี บเทียบรอ ยละของพืน้ ทีแ่ หลงแรและปรมิ าณสํารองของแหลงแรต า งๆ ทพ่ี บ 56

ในจังหวัดอุทัยธานี 59
รูปท่ี 6-3 หนาเหมอื งหนิ ปูนเพ่อื อตุ สาหกรรมซเี มนต ประทานบตั รท่ี 21613/13340 ของ
59
นายเสรี บุญนาค ตาํ บลลานสัก อําเภอลานสกั หมดอายปุ ระทานบตั รแลว 60
รปู ที่ 6-4 หนาเหมอื งหนิ ปูนเพอื่ อุตสากรรมกอ สราง ประทานบตั รท่ี 25105/15717
63
ของหา งหุน สว นจาํ กัด สหะขนสง อทุ ัยธานี ตาํ บลหนองยาง อําเภอหนองฉาง 63
รูปท่ี 6-5 แหลงแรห ินออนของจงั หวดั อุทยั ธานี 64
รปู ที่ 6-6 สภาพหนาเหมอื งหินแกรนติ ชนดิ หินประดับ ประทานบตั รท่ี 25052/13934
67
ของ บรษิ ทั ไทยแกรนิต จาํ กัด ตําบลประดูยนื อาํ เภอลานสกั สถานภาพหยดุ การ 67
รปู ท่ี 6-7 แหลงแรเหลก็ บรเิ วณตําบลน้าํ รอบ อําเภอลานสกั จงั หวอั ุทยั ธานี 73
รปู ที่ 6-8 แหลงแรเ หลก็ บรเิ วณบา นบงุ อาํ เภอบา นไร จังหวอั ุทัยธานี
รูปที่ 6-9 แหลงหนิ ปูนเพือ่ อตุ สาหกรรมเคมบี รเิ วณเขาฆองชัย อาํ เภอลานสัก ซ่งึ อยใู นเขตหามลา

สัตวปา เขาประทนุ
รปู ท่ี 6-10 แหลงแรด นิ ขาวของจงั หวดั อุทยั ธานี
รูปที่ 7-1 แผนที่จาํ แนกเขตสงวน เขตอนรุ กั ษ และเขตพัฒนาทรพั ยากรแร จงั หวดั อทุ ยั ธานี

VIII 25
31
สารบัญตาราง 35
36
ตารางท่ี 4-1 บัญชรี ายชอื่ หมูบา นเส่ียงภยั ดนิ ถลม จงั หวดั อทุ ัยธานี 53
ตารางที่ 4-2 บัญชรี ายช่อื พื้นทที่ ่ีมีโอกาสเกดิ หลมุ ยบุ จงั หวดั อุทยั ธานี 43
ตารางที่ 5-1 แหลงธรรมชาตอิ ันควรอนรุ กั ษของภาคเหนอื ในเขตจงั หวัดอทุ ยั ธานี
ตารางที่ 5-2 แหลง ธรรมชาตทิ างธรณวี ิทยา จงั หวดั อทุ ยั ธานี 45
ตารางที่ 6-1 รายละเอยี ดของแหลงแร หินอุตสาหกรรมชนิดตา งๆ ในพน้ื ท่จี ังหวัดอทุ ัยธานี 52
ตารางท่ี 6-2 ขอมูลการผลติ แรในพืน้ ท่ีจังหวัดอทุ ัยธานี 74
ตารางที่ 6-3 รายละเอียดของแหลง แร หนิ อุตสาหกรรมชนดิ ตา งๆ และแหลงทรายกอ สราง 75
76
ในพ้นื ทีจ่ ังหวัดอุทยั ธานี
ตารางที่ 6-4 แหลงทรายกอ สรางในจังหวัดอทุ ยั ธานี
ตารางท่ี 7-1 เขตสงวนทรัพยากรแร จังหวดั อทุ ัยธานี
ตารางท่ี 7-2 เขตอนุรกั ษท รพั ยากรแร จังหวดั อุทัยธานี
ตารางท่ี 7-3 เขตพัฒนาทรพั ยากรแร จังหวดั อทุ ัยธานี

บทที่ 1
กรอบแนวคิดในการจําแนกเขตเพอื่ การจดั การ

ดา นธรณวี ิทยาและทรัพยากรธรณี

1.1 ความหมายและความสําคัญของธรณีวทิ ยาและทรพั ยากรธรณี

“ธรณีวิทยา” เปนวิทยาศาสตรแขนงหน่ึงซ่ึงเกี่ยวของกับประวัติของโลก สสารที่เปน
องคประกอบของโลก และส่ิงมีชีวิตบนพ้ืนโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งท่ีปรากฏรองรอยอยูในหินตางๆ
ธรณวี ทิ ยามี 3 สาขาหลกั ทเ่ี ดน ชดั คือ

ธรณีวิทยาโครงสรางหรือธรณีแปรสัณฐาน ศึกษาถึงรูปราง การจัดตัว และโครงสรางทาง
ธรณีวทิ ยาของหินตางๆ ภายในโลก

ธรณีวิทยาพลวัต ศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุและกระบวนการตางๆ ที่ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง
ทางธรณวี ิทยา

ธรณปี ระวัติ ศกึ ษาเกย่ี วกบั การลาํ ดับเหตกุ ารณทางธรณีวิทยาตามประวตั เิ หตุการณของโลก

“ทรัพยากรธรณี” หมายถึง ทรัพยอันอยูใตแผนดิน เชน แรธาตุ หิน ดิน กรวด ทราย
นํ้าบาดาล ถานหิน หินนํ้ามัน ปโตรเลียม และซากดึกดําบรรพ ซึ่งมีคุณประโยชนอยางย่ิงตอสิ่งมีชีวิตท่ี
ถือกําเนดิ ข้ึนมาบนโลกน้ี

ธรรมชาติรอบตัวเรามีความหลากหลายและมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปน
ภูเขา แมน้ํา ทะเล มหาสมุทร ตลอดจนการเกิดธรณีพิบัติภัย เชน ดินถลม แผนดินไหว สึนามิ หลายทาน
อาจสงสัยวาส่ิงเหลานี้เกิดขึ้นและดํารงอยูมาไดอยางไร และจะมีการเปลี่ยนแปลงไปทางไหนอยางไร ผลท่ี
เกิดตามมาจะกระทบตอการดํารงอยูของสรรพสิ่งมีชีวิตอยางรุนแรงขนาดไหน คําถามตางๆ เหลานี้สามารถ
อธิบายไดด วยความรูทาง “ธรณีวทิ ยา”

กระบวนการทางธรณีวิทยาไดสรางสรรคธรรมชาติท่ีสวยงาม เปนแหลงธรรมชาติเพื่อการ
พักผอนหยอนใจ เปนแหลงตนแบบสําหรับการเรียนรู เชน น้ําตก ถํ้า ภูเขาท่ีมีรูปทรงแปลกตา เปนตน
นอกจากนกี้ ระบวนการทางธรณวี ทิ ยายังทําใหเกิดการสะสมของส่ิงมีชีวิตในอดีตกลายเปนซากดึกดําบรรพ
ใหมนุษยไดศึกษาเรียนรูถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตตั้งแตอดีตมาจนถึงยุคปจจุบัน และที่สําคัญที่สุด
กระบวนการทางธรณีวิทยาไดก อใหเกิด “ทรพั ยากรธรณ“ี ที่มคี ณุ คา อนนั ตแ กม นุษยชาติ

มนุษยไดนําทรัพยากรแรและหินมาใชประโยชน เพื่อเปนปจจัยพ้ืนฐานตอการดํารงชีวิต
เชน กอสรางที่อยูอาศัย ทํายารักษาโรค และสรางสิ่งสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน อันไดแก ถนน วัดโรงเรียน
โรงพยาบาล เปน ตน ในดา นพลงั งานเกือบท้งั หมดทใี่ ชในปจจุบนั กม็ าจากเชอ้ื เพลิงธรรมชาติ เชน ใชถานหิน
ในการผลติ กระแสไฟฟา ใชปโ ตรเลียมและแกส ธรรมชาติในรถยนตและเครื่องจักรกลตางๆ นอกจากนี้ยังได
ขุดเจาะน้ําบาดาลข้ึนมาใชเพ่ือการอุปโภคบริโภคและเกษตรกรรม จะเห็นไดวามนุษยเราใชประโยชนจาก

-2-

ทรัพยากรธรณีอยางเอนกอนันตในชีวิตประจําวัน จนบางครั้งมองขามคุณคาที่ไดรับและปลอยปละละเลย
เนื่องจากความเคยชิน ทําใหทรัพยากรธรณีเส่ือมโทรมและลดลงอยางรวดเร็ว โดยลืมนึกไปวาทรัพยากร
ธรรมชาติประเภทน้ีไมสามารถสรางข้ึนมาทดแทนใหมในระยะเวลาอันสั้นได กวาท่ีโลกจะมีทรัพยากรธรณี
ข้ึนมาเพื่อเปน ปจ จัยพนื้ ฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกใหแ กมนษุ ยไ ดน้นั ตองใชเ วลานบั หลายลานป ดังน้ัน
จึงตอ งตระหนกั อยูเสมอวาตองใชอยา งระมดั ระวงั ใชอยา งชาญฉลาด และใชเ พอ่ื กอใหเ กดิ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน

1.2 กรอบแนวคิดในการจาํ แนกเขตเพอื่ การจัดการดา นธรณวี ิทยาและทรพั ยากรธรณี

1.2.1 หลักการและเหตผุ ล

ทรัพยากรธรณเี ปน ทรัพยากรท่มี คี วามสําคญั ตอ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเปนอยา ง
มาก โดยเปนวัตถุดิบพื้นฐานสําหรับอุตสาหกรรมตางๆ อาทิ อุตสาหกรรมเซรามิกส อุตสาหกรรมแกว
อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมกอสราง อยางไรก็ตามทรัพยากรธรณีเปนทรัพยากรธรรมชาติประเภท
ท่ีใชแลวหมดไป ไมสามารถสรางขึ้นมาใหมได ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมียุทธศาสตรในการจัดการ
ทรพั ยากรธรณีอยางชดั เจนเปนระบบ เพื่อใหเกิดการใชประโยชนสูงสุด คุมคา และสงผลกระทบตอสังคมและ
ส่ิงแวดลอมนอยที่สุด โดยการจําแนกเขตพื้นที่แหลงทรัพยากรธรณีออกเปนเขตเพ่ือการสงวน การอนุรักษ
และการพัฒนาใชประโยชน พรอมกับเสนอมาตรการหรือแนวทางบริหารจัดการสําหรับแตละเขตท่ีได
จําแนกไว ซึ่งตองคํานึงถึงหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเปนสําคัญ โดยพิจารณาแบบบูรณาการ
รว มกบั ทรัพยากรธรรมชาติชนดิ อ่นื ๆ และรวมถงึ สภาพส่ิงแวดลอ มดวย ท้ังนเ้ี พ่ือใหเกดิ ความสมดลุ ระหวา ง
การใชประโยชนกับการสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และใหเกิดความเปนธรรมและ
โปรงใสในการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนําไปสูการลดความขัดแยงจากการใชประโยชนทรัพยากร
ระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

1.2.2 วัตถปุ ระสงค

(1) เพ่ือจําแนกเขตทรพั ยากรธรณี เปนเขตสงวน อนรุ ักษ และพัฒนาใชประโยชน
(2) เพอ่ื กําหนดแนวทางการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรณีใหสอดคลองกับศักยภาพ ขอจํากัด
และความตองการของทองถิ่น โดยกระบวนการมีสว นรว มของผูมสี ว นไดเสยี ทกุ ภาคสวนในทอ งถ่ิน
(3) เพ่ือเผยแพรขอมูลใหแกหนวยงานท่ีเก่ียวของนําไปใชประโยชนในการวางแผนพัฒนา
ทรัพยากรธรณี ตลอดจนเปนการเสริมสรางองคความรูใหแกประชาชนทุกภาคสวนทั้งระดับทองถิ่นและ
ระดับประเทศ

1.2.3 แนวทางการดําเนินงาน

(1) จัดทําขอมูลและจําแนกเขตทรัพยากรธรณีเชิงพ้ืนท่ีออกเปนเขตสงวน อนุรักษ และ
พัฒนาทรัพยากรธรณี โดยการจัดทําระบบฐานขอมูลทรัพยากรธรณีของแตละจังหวัด ในระบบสารสนเทศ
ภมู ิศาสตร (GIS) และนาํ เขาขอ มลู บนแผนท่มี าขอ มูลตราสวน 1 : 50,000

-3-

(2) กาํ หนดแนวทางการบริหารจดั การทรัพยากรธรณีในแตล ะเขตที่จาํ แนกไว ใหสอดคลอง
กับศักยภาพ ขอ จํากดั และความตอ งการของทอ งถนิ่ โดยกระบวนการมีสวนรวมของผูม ีสวนไดเสียทุกภาค
สว นในทอ งถิน่

(3) เผยแพรขอมูลและผลการจําแนกเขตท่ีผานกระบวนการมีสวนรวมใหแกหนวยงานท่ี
เก่ียวของ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และผูมีสวนไดเสียทุกภาคสวนนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรณี แลเพื่อเปน การเสริมสรา งองคค วามรูใ หแ กประชาชนในทอ งถน่ิ

(4) ติดตามและประเมินผลการใชประโยชนขอมูลการจําแนกเขต เพื่อวิเคราะห ปรับปรุง
หรือประยุกตใชใหเ หมาะสมสาํ หรบั พน้ื ท่ีอน่ื ตอไป

1.2.4 ผลท่ีคาดวาจะไดร บั

มีการนําผลท่ีไดจากการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีและธรณีวิทยา ไปวางแผนการจัดการ
ทรัพยากรธรณี การใชประโยชนท่ีดิน และการวางผังเมือง ทั้งในระดับจังหวัด กลุมจังหวัด และประเทศ
เพ่ือใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส เปนธรรม และเกิดประโยชนสูงสุด
รวมทงั้ มีการใชป ระโยชนทีด่ ินทถี่ กู ตอ งสอดคลองกับสภาพทางธรณีวิทยาส่ิงแวดลอ ม

-4-

บทที่ 2
ขอ มูลพน้ื ฐาน

“อุทยั ธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณเี ทโว สม โอบา นน้ําตก
มรดกโลกหวยขาแขง แหลงตนนา้ํ สะแกกรงั ตลาดนดั ดังโคกระบอื ”

2.1 ประวัตคิ วามเปนมา

จังหวัดอุทัยธานี เปนเมืองท่ีมีเร่ืองราวทางโบราณคดี ประวัติศาสตรอันเกาแก เปนแหลงที่
อยขู องมนษุ ยส มัยกอนประวัติศาสตร (ประมาณ 3000 ปมาแลว) โดยพบหลักฐานยืนยันในหลายพื้นท่ี เชน
โครงกระดูก เครื่องมือหินกะเทาะจากหินกรวด ภาพเขียนสมัยกอนประวัติศาสตรบนหนาผา (เขาปลารา)
เปนตน เคยเปนทั้งที่ตั้งของเมืองโบราณสมัยทวาราวดี และเปนเมืองหนาดานที่สําคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา
รวมถึงเปน ที่ถอื กําเนิดของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระชนกธบิ ดใี นรชั กาลท่ี 1

ตามตํานานกลาววาในสมัยสุโขทัย “ทาวมหาพรหม” ไดเขามาสรางเมืองที่บานอุทัยเกา
(อําเภอหนองฉางในปจจุบัน) แลวพาคนไทยมาอยูทามกลางหมูบานกะเหร่ียงและหมูบานมอญ จึงเรียกวา
"เมืองอูไทย" ตามกลุมหรือที่อยูของคนไทย ตอมาเกิดความแหงแลงกระแสน้ําเปลี่ยนทาง เมืองจึงถูกท้ิง
ราง ในสมัยอยุธยาชาวกะเหร่ียงชื่อ "พะตะเบิด" เขามาปรับปรุงเมืองอูไทยโดยขุดที่กักเก็บนํ้าไวใกลเมือง
และพะตะเบิดไดเปนผูปกครองเมืองอูไทยเปนคนแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองอูไทย ตอมาไดเรียกกัน
เปน "เมืองอุไทย" คาดวาเพ้ียนไปตามสําเนียงชาวพ้ืนเมืองเดิม ไดมีฐานะเปนหัวเมืองดานช้ันนอกสกัดกั้น
กองทัพพมา ทจ่ี ะเขามาตีกรงุ ศรอี ยุธยา

เมืองอุไทยธานีเปนเมืองท่ีอยูบนท่ีดอนและลึกเขาไป ไมมีแมน้ําสายใหญ และไมสามารถ
ติดตอทางเรือได ดังน้ันชาวเมืองอุไทยธานีจึงตองขนขาวบรรทุกเกวียนมาลงท่ีแมน้ํา จึงทําใหพอคาพากัน
ไปต้ังยุงฉางรับซื้อขาวท่ีริมแมน้ําจนเปนหมูบานใหญ เรียกวาหมูบาน "สะแกกรัง" เนื่องจากเปนพื้นที่มีปา
สะแกข้ึนเตม็ รมิ น้ํา และมตี น สะแกใหญอ ยูกลางหมบู าน

ตอมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนมีการอพยพผูคนมาตั้งบานเรือนที่ริมฝงแมน้ําสะแก
กรงั มากข้นึ และไดกลายเปนทตี่ ้งั ของตัวเมืองอุทัยธานีในปจ จุบัน (ที่มาขอ มูล : www.uthaithani.go.th)

2.2 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร

2.2.1 ขนาดและทตี่ ัง้

จังหวดั อุทัยธานตี ง้ั อยบู รเิ วณลมุ แมนาํ้ สะแกกรงั ทางภาคเหนอื ตอนลางของประเทศไทย
ระหวางเสน ละติจดู ที่ 14 องศา 55 ลปิ ดา ถงึ 15 องศา 48 ลปิ ดาเหนือ และเสน ลองตจิ ดู ที่ 98 องศา 59
ลิปดา ถงึ 100 องศา 6 ลปิ ดาตะวนั ออก มพี ้นื ท่ีประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร หรือ 4.2 ลานไร และมี
อาณาเขตติดตอกบั จงั หวดั ใกลเ คยี งดังนี้

-5-

ทิศเหนอื ตดิ ตอ กบั จังหวดั นครสวรรค
ทศิ ใต ตดิ ตอ กับ จังหวัดชัยนาท และจังหวัดสพุ รรณบุรี
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ กบั จังหวัดนครสวรรค และจังหวัดชัยนาท
ทิศตะวันตก ตดิ ตอกับ จังหวดั ตาก และจังหวัดกาญจนบรุ ี

2.2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ

สภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปจะเปนปาและภูเขาสูง และลาดเทจากทิศตะวันตกตํ่าลงมาทางทิศ
ตะวันออก โดยทางทิศตะวนั ตกจะเปนเทือกเขาสลบั ซับซอ นท่ีมีปาไมอ ดุ มสมบรู ณ เปน ตนกําเนิดของแมน าํ้
แมกลองและแมนํ้าทับเสลา ตอนกลางของจังหวัดเปนท่ีราบเชิงเขาและที่ดอนคลายลูกคล่ืนสลับกับเนินเขา
เต้ียๆ สวนทางดานตะวันออกของจังหวัดสวนใหญเปนท่ีราบลุม พ้ืนที่สวนใหญเปนปาและภูเขาถึง 2 ใน 3
สวนของพนื้ ท่ที ้ังหมด ลักษณะภูมิประเทศของจังหวดั อุทัยธานแี สดงดังรปู ท่ี 2-1

2.2.3 ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ลักษณะภมู ิอากาศมีตั้งแตอ ากาศแบบกงึ่ รอนจนถงึ อากาศแบบรอ นชืน้ สภาพอากาศท่วั ไป
แบงออกเปน 3 ฤดู โดยฤดูรอนเริ่มต้ังแตกลางเดือนกุมภาพันธจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝนเร่ิม
ตัง้ แตกลางเดอื นพฤษภาคมจนถึงตุลาคม โดยฝนจะตกทางดานตะวันตกมากกวา ดา นตะวนั ออก เน่อื งจาก
อยูในเขตอทิ ธพิ ลของมรสุมและดีเปรสชน่ั ฤดหู นาวเริ่มตง้ั แตเ ดอื นตลุ าคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ ปริมาณน้าํ ฝน
โดยเฉล่ียท้ังป 1,770.3 มิลิเมตร จํานวนวันฝนตกปละ 105 วัน อุณหภูมิตาํ่ สุดจะอยูในชวง 17.6 องศา
เซลเซยี ส อณุ หภูมิสูงสุดจะอยใู นชว ง 36 องศาเซลเซียส

2.2.4 การคมนาคม

การเดินทางจากกรงุ เทพฯ ไปจังหวดั อุทัยธานสี ามารถเดินทางไปไดห ลายเสนทาง ไดแก
1. จากถนนพหลโยธินผานจังหวัดสระบุรี อําเภอโคกสําโรง จังหวัดลพบุรี อําเภอตาคลี
จังหวัดนครสวรรค และอําเภอมโนรมย จังหวัดชัยนาท ขามแมนํ้าเจาพระยา ลงแพขนานรถยนตท่ีอําเภอ
มโนรมยผานวัดทาซุง (วัดจันทาราม) ศาลากลางจังหวัด เขาตลาดอุทัยธานี รวมระยะทางประมาณ 305
กโิ ลเมตร (เสนทางสายเดิมกอนมีถนนสายเอเชยี )
2. จากทางหลวงหมายเลข 32 (สายเอเชีย) ผานอยุธยา อางทอง สิงหบุรี ชัยนาท และ
แยกเขาทางหลวงหมายเลข 333 ตรงทางแยกทาน้ําออย บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 206 ขามสะพานขาม
แมนํ้าเจาพระยา ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร ผานหนาโรงพยาบาลเล้ียวซายเขาตลาดอุทัยธานี รวม
ระยะทางประมาณ 222 กโิ ลเมตร
3. เร่ิมตนจากทางหลวงหมายเลข 32 เชนกัน เม่ือถึงประมาณกิโลเมตรที่ 30 (อยูในเขต
อยุธยา) เลี้ยวซายเขาทางหลวงหมายเลข 334 และจากน้ันเขาทางหลวงหมายเลข 309 ไปตามเสนทาง
ขามสะพานจังหวัดอางทอง จากนั้นมาตามถนนสาย 311 ผานจังหวัดสิงหบุรี ผานจังหวัดชัยนาทท่ีอําเภอ
สรรพยา จากนั้นเลี้ยวเขา เสนทางหมายเลข 3183 เขา จังหวัดอทุ ยั ธานี รวมระยะทางประมาณ 283 กโิ ลเมตร

-6-

2.3 สภาพเศรษฐกจิ และสังคม

2.3.1 การปกครอง

จงั หวดั อทุ ยั ธานจี ัดรูปแบบการปกครองตามลักษณะการปกครองสวนภมู ภิ าค โดยแบงออก
เปน 8 อาํ เภอ 70 ตําบล และ 642 หมบู า น และจัดรปู การปกครองตามลักษณะการปกครองสวนทอ งถ่ิน
ประกอบดว ย องคก ารบริหารสวนจังหวดั 1 แหง เทศบาล 10 แหง และองคการบรหิ ารสว นตําบล 53 แหง

2.3.2 ประชากรและอาชีพ

ขอมลู จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดอื นธันวาคม 2550 จังหวดั อทุ ัยธานี
มปี ระชากรรวมท้ังสิ้น 326,975 คน เปน ชาย 161,146 คน และหญงิ 165,829 คน จํานวนบาน 98,514
ครัวเรอื น อตั ราความหนาแนนของประชากรตอพืน้ ที่ 48.58 คนตอ ตารางกโิ ลเมตร อาํ เภอที่มปี ระชากร
มากที่สุด คอื อาํ เภอบา นไร รองลงมาคอื อําเภอลานสกั และอําเภอหนองฉาง ตามลําดบั ประชากรสว นใหญ
ประกอบอาชพี เกษตรกรรม รองลงมาคือรบั จางและคา ขาย

2.3.3 เศรษฐกจิ

จังหวัดอุทัยธานีมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด (GPP) 14,499 ลานบาท มูลคา
ผลิตภัณฑเฉล่ียตอคน (Per capita GPP) 47,867 บาท/ป มีรายไดมากเปนลําดับท่ี 9 ของภาคเหนือ และ
ลําดับที่ 48 ของประเทศ รายไดขึ้นอยูกับสาขาการเกษตรมากท่ีสุด รองลงมา คือ การคาสง และคาปลีก
และสาขาบริหาร การประกอบอาชีพท่ีสําคัญ คือ ภาคการเกษตร และการเลี้ยงสัตว พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ
ประกอบดว ย ขาว ออ ย มันสําปะหลงั ขาวโพด เล้ียงสตั ว

2.3.4 วฒั นธรรม เทศกาล และงานประเพณี

งานตักบาตรเทโว วัดสังกัสรัตนคีรี ถือเปนประเพณีสาํ คัญในวันออกพรรษาของจังหวัด
อุทัยธานี ซ่ึงจะจัดขึ้นในวันแรม 1 คํา่ เดือน 11 (ตุลาคม) ของทุกป พระสงฆทุกรูปที่จําพรรษาในเขต
อาํ เภอเมืองอุทยั ธานีจะออกรับบณิ ฑบาต โดยเดินลงบันไดจากยอดเขาสะแกกรัง โดยสมมติมณฑปบน
ยอดเขาสะแกกรังเปน "สิริมหามายากูฎคาร" ท่ีพระพุทธเจาทรงเทศนโปรดมารดา แลวเสด็จกลับสูโลก
มนุษยลงบันได 339 ขน้ั ซึง่ ถอื เปนบันไดแกวสกู ัสนคร คือ บรเิ วณวดั สงั กสั รัตนคีรี

งานไหวพ ระพทุ ธมงคลศักดส์ิ ทิ ธิ์ ท่ีวัดสงั กัสรตั นคีรี ตาํ บลอทุ ัยใหม อําเภอเมอื งอทุ ยั ธานี
โดยจะจดั ข้ึนในวนั ขึน้ 3-8 ค่าํ เดอื น 4 ของทกุ ป เปน งานประเพณไี หวพระคบู า นคูเมืองอุทยั ธานี

งานประจาํ ปว ดั หนองขนุ ชาติ อาํ เภอหนองฉาง โดยจัดใหมีงานในวนั ข้ึน 12 คํา่ - วันแรม 1
คํา่ เดือน 3 ของทกุ ป ซงึ่ เดิมเปน งานนมัสการพระพุทธบาทจาํ ลอง ตอ มาการจัดงานไดร ับความนิยมมาก
จึงไดจ ดั ใหมีขนึ้ เปน ประจําทุกป

งานแหเ จา ของชาวจนี ในอทุ ยั ธานี เปนประเพณีของชาวจีนในอทุ ัยธานที จ่ี ะจดั พิธแี หเจา พอ
และเจา แมซ ึง่ ประดษิ ฐานอยตู ามศาลตางๆ โดยกําหนดมีงานตามการครบปข องแตล ะองค

รปู ที่ 2-1 แผนที่ภมู ปิ ระเทศและเขตการปกครอง

-7-

งจงั หวดั อทุ ยั ธานี

รปู ท่ี 2-2 แผนที่พ้นื ที่ท่อี ยูภายใตข อจาํ กัดของกฎหมาย มตคิ

-8-

คณะรัฐมนตรี และกฎระเบยี บตา งๆ จงั หวัดอทุ ัยธานี

-9-

2.4 แนวคดิ ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตภิ ายใตย ุทธศาสตรจ งั หวัดอทุ ัยธานีและ
กลุมจงั หวดั ภาคเหนอื ตอนลา ง

วิสยั ทศั น: เกษตรปลอดภัย รายไดม่ันคง แหลง ทอ งเทย่ี วเชิงนเิ วศและมรดกโลกหวยขาแขง
สูส ากล

ยทุ ธศาสตรข องจงั หวดั ทีเ่ กย่ี วของกบั การใชประโยชนท รัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนา
แหลง อนุรกั ษท างธรณวี ทิ ยา ไดแ ก ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 : สงเสริมและพัฒนาการทอ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ
โดยพฒั นาแหลงทองเท่ียวใหมีคณุ ภาพและย่งั ยืน ภายใตการมสี ว นรวมในการบรหิ ารจดั การของประชาชน
และชมุ ชน และประเด็นยทุ ธศาสตรที่ 4 : เรงฟน ฟูและอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม โดยการ
เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยูภายใตยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลางใน
ประเด็นยทุ ธศาสตร : สง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว

2.5 พืน้ ที่ประกาศของทางราชการ

จังหวดั อทุ ัยธานี มีพื้นทปี่ ระกาศของทางราชการหลายพ้ืนที่ ที่กําหนดข้ึนเพื่อวัตถุประสงค
ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี เชน เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา เขตปาสงวนแหงชาติ
และเขตวนอุทยาน ซ่ึงกรมทรัพยากรธรณีไดนําขอมูลเหลานี้มาใชเปนเกณฑในการจําแนกเขตทรัพยากรแร
ออกเปนเขตสงวนทรัพยากรแร เขตอนุรักษทรัพยากรแร และเขตพัฒนาทรัพยากรแร ตามรายละเอียดใน
หัวขอหลักเกณฑการจําแนกเขตในบทท่ี 7 ขอบเขตพื้นที่ประกาศทางราชการในจังหวัดอุทัยธานี ไดแสดง
ไวด งั รปู ที่ 2-2

- 10 -

บทที่ 3
ธรณวี ิทยา

จงั หวดั อทุ ยั ธานเี ปนจงั หวดั ที่มรี ูปรางขอบเขตวางตัวยาวในแนวตะวันออก-ตะวันตก และมี
พน้ื ท่เี ทอื กเขาสงู สลบั ซบั ซอ นของเทอื กเขาถนนธงชัยทางดา นทิศตะวนั ตก เปนพ้ืนที่ท่ีมคี วามแตกตางของ
ลักษณะภูมิประเทศ ตั้งแตท ีร่ าบลุม แมน า้ํ ไปจนถึงเทอื กเขาสงู ทาํ ใหล กั ษณะธรณีวทิ ยาบรเิ วณดานทิศ
ตะวันตกมคี วามซับซอน สอดคลอ งกบั ลักษณะภมู ปิ ระเทศภเู ขาสงู ของแนวเทือกเขาถนนธงชยั และคอ ยๆ
เปลีย่ นเปน ที่ราบลุมแมนํา้ ทางดานทศิ ตะวันออกของจังหวดั แมนาํ้ สําคญั เชน แมน้ําเจาพระยา หว ยเสลา
หว ยขาแขง หวยกระเสียว ฯลฯ สว นมากไหลจากดานทิศตะวนั ตกไปทิศตะวนั ออกและไหลจากทศิ เหนือไป
ทิศใต ลักษณะธรณวี ทิ ยาทวั่ ไปของจงั หวดั อุทัยธานี ประกอบดว ย หนิ แปร หินตะกอน หินอัคนี และตะกอน
รว น (รปู ท่ี 3-1 ดรู ายละเอยี ดไดในแผน ซีดีแนบทายเอกสาร) อายตุ ง้ั แตม หายุคพรแี คมเบรยี น (มากกวา
570 ลา นป) ถงึ ปจจบุ ัน การนําเสนอน้เี ปนการรวบรวมขอมูลการสาํ รวจธรณวี ิทยาโดยกรมทรัพยากรธรณี
ต้งั แตอดตี จนถงึ ป พ.ศ.2551 พรอมกับการตรวจสอบความถกู ตองจากการสาํ รวจภาคสนาม

3.1 ธรณีวทิ ยาท่วั ไป

จังหวดั อทุ ยั ธานตี ัง้ อยูในพื้นท่ภี าคเหนือตอนลางติดกับภาคตะวนั ตก ในสว นของธรณีวิทยา
ภูมภิ าค พืน้ ที่ดา นตะวันตกของจังหวดั อุทัยธานีวางตวั ตอ เน่ืองมาจากแนวหลกั ของจงั หวดั ตาก เรียกวา
ธรณีวทิ ยาแนวดอยอนิ ทนนท- ตาก และตั้งอยูใ นแผนอนุทวปี ฉานไทย ประกอบดว ย หนิ ตะกอน หินแปร
หินอคั นี และตะกอนรว น มีอายุทางธรณีกาลอยใู นมหายคุ พรแี คมเบรยี น (มากกวา 570 ลานป) ยคุ แคม
เบรียน (505-570 ลา นป) ยุคออรโ ดวเิ ชยี น (438-505 ลานป) ยคุ ไซลูเรยี น-ดีโวเนยี น (360-438 ลา นป)
คารบ อนเิ ฟอรสั (286-360 ลา นป) ยคุ เพอรเ มียน (245-286 ลา นป) หินยุคไทรแอสซิก (210-245 ลานป)
และยคุ ควอเทอรนารี (0.01-1.6 ลา นป) ชว งเวลาดังกลา วมีการสะสมตวั ตะกอนในสภาพแวดลอ มแบบภาคพ้นื
สมุทรและภาคพน้ื ทวปี การแทรกดนั ของหินอัคนมี ีการบบี อัดทาํ ใหเกิดการเปลยี่ นสภาพของหิน และการ
ยกตวั ของหนวยหนิ ตางๆ ทาํ ใหเ กดิ กระบวนการกัดกรอ น ผพุ ังและสะสมตัวของช้ันตะกอนรว นทางน้ําบรเิ วณ
ดานตะวนั ออกของจังหวัด กระบวนการเปลย่ี นแปลงของเปลอื กบริเวณนแี้ ละลกั ษณะภูมิประเทศทเี่ หน็ ใน
ในปจจุบันน้ใี ชร ะยะเวลายาวนาน

3.2 ธรณวี ทิ ยากายภาพและลาํ ดับช้นั หนิ

ลกั ษณะธรณวี ิทยาโดยทวั่ ไปของพน้ื ที่ ประกอบดวย 7 หนว ยหินตะกอนและหินแปร ไดแ ก
หินแปรมหายุคพรีแคมเบรียน หินควอรตไซตและหินชีสตยุคแคมเบรียน หินปูนเนื้อดิน หินออนหรือ
หินแคลกซ ลิ เิ กตยคุ ออรโ ดวิเชียน หินดินดาน หินชนวน หินกาบ หนิ ควอรตไซต หินเชริ ต และหนิ ทราย ยคุ
ไซลเู รยี น-ดโี วเนยี น หนิ ทรายและหนิ ทรายปนกรวดยคุ คารบอนิเฟอรสั หินปนู ชน้ั หนา หนิ ปูนปนโดโลไมต
ยคุ เพอรเมียน และหนิ ตะกอนยคุ ไทรแอสซกิ มีลักษณะดงั น้ี

- 11 -

3.2.1 มหายุคพรแี คมเบรียน (Pε)

หินมหายุพรีแคมเบรียนในพ้นื ทน่ี เ้ี รยี กวา หมวดหินลานสางไนส (รปู ท่ี 3-2 (ก)) มชี นั้ หิน
แบบฉบับบริเวณนา้ํ ตกลานสาง จงั หวัดตาก โดยหมวดหนิ ดังกลา วพบกระจายตวั บริเวณดานตะวนั ตกและ
ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของพน้ื ท่ี พนื้ ทต่ี น น้ําหว ยขาแขง หว ยเสลา บรเิ วณแนวเทอื กเขาถนนธงชยั ซึง่ ตอเน่อื ง
มาจากนาํ้ ตกลานสาง จงั หวดั ตากและจงั หวัดนครสวรรค ชั้นหินเหลา น้วี างตวั ในแนวเหนือ-ใต และตะวันตก
เฉียงเหนอื -ตะวนั ออกเฉยี งใต ประกอบดว ยหินแปรเกรดสงู เชน หนิ ควอรต โซเฟลดส ปาติกไนส หนิ พาราไนส
หนิ ไบโอไทตไ นส หนิ ควอรตซไ มกาซสี ต และหินซสี ต ในหินพาราไนสม กี ารเรยี งตวั และแยกแรส ีเขมกบั สอี อ น
ชดั เจน บางบรเิ วณพบหินไนสทีแ่ ปรสภาพมาจากหินแกรนติ หลักฐานจากการลําดับชนั้ หนิ พบวา หมวดหิน
ลานสางวางตัวแบบรอยชั้นไมต อ เนื่องอยูใตห นิ ควอรตไซตย คุ แคมเบรยี น และหินปนู เนอื้ ดินยคุ ออรโ ดวิเชยี น
จงึ อนุมานไดว าหมวดหนิ ลานสางนาจะมอี ายุมากกวา ยุคแคมเบรียน หรือเปน มหายุคพรแี คมเบรยี น ซ่ึงมีอายุ
มากกวา 570 ลา นป

3.2.2 ยคุ แคมเบรยี น (ε)

หนิ ยุคแคมเบรยี นในพื้นทจี่ ังหวัดอทุ ยั ธานเี รยี กวา หมวดหินเจา เณรควอรตไซต มชี ้นั หิน
แบบฉบบั ทบี่ รเิ วณเข่ือนเจาเณร พบกระจายตวั นอ ย โดยสวนมากหินโผลชดั เจนในเขตรักษาพนั ธส ัตวป า
หว ยขาแขง ดานทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือของพื้นท่ี และมักจะพบวาหนิ แกรนติ ยคุ ไทรแอสซิกแทรกดนั เขา มา
ทาํ ใหชนั้ หนิ ยคุ แคมเบรียน วางตวั อยบู นหนิ แกรนิตยคุ ไทรแอสซกิ แบบรอยชั้นไมต อ เน่อื งเปน หยอมๆ และ
แนวชั้นหินวางตัวในทศิ ทางเหนอื -ใต ประกอบดวย หนิ แปรเกรดตํ่า ไดแก หนิ ควอรต ไซต หินควอตซไ มกา
ชสี ต และหินชีสต เนอ้ื คอนขา งละเอยี ดเม่อื เปรยี บเทยี บกับหินมหายคุ พรแี คมเบรียน สีเขมของไบโอไทต
ไมกาชีสต จากการเรยี งตัวของแรไมกา สงั เกตเห็นผวิ หินมนั วาวเปนประกาย หมวดหินนี้จะมีความแตกตาง
จากหินแบบฉบับ หลกั ฐานการหาอายุของช้นั หินโดยการลําดับชน้ั หนิ พบวา ช้นั หนิ นีว้ างตวั แบบรอยชั้น
ไมต อเนอ่ื งอยใู ตหินปนู เนื้อดนิ ยคุ ออรโ ดวเิ ชยี น จงึ นา จะมีอายุเปน หินตะกอนแปรสภาพเกรดตาํ่ ในชว งยคุ
แคมเบรียน หรือประมาณ 505-570 ลา นป

3.2.3 ยุคออรโ ดวิเชียน (O)

หินยุคออรโดวิเชียนในพื้นที่น้ีเรียกวา หมวดหินปูนทามะนาว (รูปที่ 3-2 (ข)) มีช้ันหิน
แบบฉบับพบมากบริเวณตอนเหนือของจังหวัดกาญจนบุรี พบชั้นหินน้ีกระจายตัวทางทิศใตและทิศตะวันตก
ของจังหวัด บริเวณอําเภอบานไร เขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง ระนาบชั้นหินวางตัวในแนวตะวันตก
เฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต ลักษณะธรณีวิทยา ประกอบดวย ตอนลางเปนหินหินโคลนและหินปูนเน้ือดิน
วางตัวตอเน่ืองอยูบนหินควอรตไซต และหินควอตซชีสตของหมวดหินควอรตไซตเจาเณร จากนั้นคอยๆ
เปลี่ยนเปนหนิ ปนู ชนั้ หนาท่ีเปนหนาผา มีหินเชิรตกอนกลมในชั้นหิน ถัดมาตอนบนเปนหินปูนชั้นบางสีเทาที่
มีการตกผลึกใหม บางสวนมีการแปรสภาพเปนหินออน หินแคลกซิลิเกต มีหินทรายชั้นบางแทรกสลับแลว
คอยๆ เปล่ียนเปนหินปูนช้ันหนา และพบหินควอรตไซต และหินฟลไลตแทรกสลับ สวนบนสุดของหมวดหิน
ประกอบดวยหินปูน สีเทาออนถึงเทาเขม เปนช้ันบางๆ วางตัวอยางตอเน่ืองรองรับหินดินดานสีขาว อายุ

- 12 -

ไซลเู รียน-ดโี วเนยี น จากหลักฐานซากดึกดําบรรพที่ปรากฏ หมวดหินปูนทามะนาวมีอายุตั้งแตยุคออรโดวิเชียน
ตอนตนถึงตอนปลาย (505-438 ลานป) ซากดึกดําบรรพยุคออรโดวิเชียนตอนตนเปนพวกซิสทอยด และ
มักไมมีซากโคโนดอนต ซากดึกดําบรรพที่บงถึงอายุออรโดวิเชียนตอนกลาง ไดแก ซากดึกดําบรรพพวก
นอทิลอยดช นิดอารม โิ นเซอรัส

3.2.4 ยุคไซลูเรยี น-ดโี วเนียน (SD)

หินยุคไซลเู รยี น-ดโี วเนยี นของจงั หวดั อุทยั ธานนี เี้ รยี กวา กลมุ หินทองผาภูมิ (รปู ท่ี 3-2 (ค))
สําหรบั ช้นั หินแบบฉบับพบบริเวณอําเภอทองผาภมู ิและอําเภอสงั ขละบรุ ี ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของจังหวดั
กาญจนบรุ ี ในพ้ืนท่ีสาํ รวจนพ้ี บวา ช้ันหินดงั กลา วแผก ระจายตวั คอ นขางกวางบริเวณดา นทศิ ตะวันตก ทิศใต
และตะวันออกของจงั หวดั ในอาํ เภอสวางอารมณ อําเภอทพั ทัน อําเภอบา นไร อาํ เภอหวยคต และเขต
รกั ษาพันธุส ตั วป าหว ยขาแขง โดยชน้ั หินน้ีวางตวั ในแนวตะวันตกฉยี งเหนือ-ตะวนั ออกเฉยี งใตและเหนอื -ใต
ลกั ษณะหินประกอบดวย หนิ ทรายแทรกสลับหินปนู เนอื้ ดนิ และหินปูนเลนส ถดั ขนึ้ มาเปน หินดินดานสลับ
หินเชริ ต และหนิ ดินดานเน้ือซิลิกา สเี ทาดํา-น้ําตาลออ น ชัน้ หนิ บาง บางบริเวณมกี ารแปรสภาพระดบั ต่ํา
การศกึ ษาซากดกึ ดําบรรพ เชน เทนทาคิวไลทิส เอลแี กนส และสะไทลิโอลินา คลาวลู า ซึ่งมอี ายุไซลูเรียน-
ดีโวเนียน (360-438 ลานป) เกิดรวมกบั ซากดึกดําบรรพแกรปโทไลต และจากการศึกษาซากดึกดาํ บรรพท้ังหมด
พบวา กลุม หนิ ทองผาภมู ินาจะมีการสะสมตวั ในทะเลตัง้ แตยคุ ออรโ ดวเิ ชียนตอนปลายถงึ ยุคคารบ อนเิ ฟอรัส
(286-461ลา นป)

3.2.5 ยุคคารบอนิเฟอรสั (C)

หินยคุ คารบอนเิ ฟอรัสบรเิ วณจงั หวดั อุทัยธานสี ามารถเทียบเคียงไดก ับลักษณะหนิ ตอนบน
ของกลุมหินทองผาภูมิ (รูปที่ 3-2 (ง)) และเทียบไดกับกลุมหินแมทาในภาคเหนือ ซ่ึงมีหินแบบฉบับแผ
กระจายคลุมพืน้ ทอี่ ําเภอทองผาภมู ิ อาํ เภอสงั ขละบุรี อําเภอศรีสวสั ด์ิ และตอเนอื่ งจนถงึ พรมแดนไทย-พมา
ประกอบดว ยหินต้งั แตยคุ ออรโดวเิ ชียนจนถงึ ยคุ เพอรเมยี น โดยมีการสะสมตวั อยางตอ เนอ่ื ง มีชัน้ หนิ แบบฉบบั
อยใู นทองทอ่ี าํ เภอทองผาภูมิ จังหวดั กาญจนบุรี ในพื้นท่นี ี้พบหินยคุ คารบ อนเิ ฟอรสั กระจายตวั เพยี งจดุ เดยี ว
ไดแก บรเิ วณดา นทิศใตข องพน้ื ท่ีในอาํ เภอบา นไร ลักษณะธรณวี ทิ ยา ประกอบดว ย หินทรายเนอื้ ปนเถา
ภูเขาไฟและเฟลดส ปาร สขี าว สีเทาแกมเขียว เมด็ ตะกอนขนาดหยาบ ช้นั หินหนามาก มแี รซลิ กิ าเปนสาร
เชื่อมประสาน บางชนั้ มเี ศษหนิ ภเู ขาไฟปน เน่ืองจากไมม รี ายงานการศกึ ษาซากดกึ ดําบรรพข องหินยุคคาร
บอนิเฟอรัสในบริเวณจังหวัดอุทัยธานี แตจากการลาํ ดับช้ันหินพบวาช้ันหินนี้ควรจะมีอายุคารบอนิเฟอรัส
(286-360 ลา นป) โดยกลมุ หนิ ทองผาภมู นิ ว้ี างตวั รองรบั กลมุ หนิ ราชบุรีซึง่ มอี ายเุ พอรเมียน

3.2.6 ยุคเพอรเ มียน (Ps/P2)

หินยคุ เพอรเมยี นบริเวณจังหวดั อุทัยธานแี บง เปน สองกลุม หนิ ไดแ ก กลุมหนิ สระบรุ ี และ
กลุม หินราชบรุ ี รายละเอียดดังนี้

รปู ที่ 3-1 แผนที่ธรณวี ทิ ยาจังหวดั อทุ ยั ธานี แล

- 13 -

ละคาํ อธิบายแผนท่ี

- 14 -

รูปที่ 3-1 รปู แผนท่ีธรณวี ทิ ยาจงั หวดั อุทัยธานี และคําอธบิ ายแผนท่ี (ตอ )

- 15 -

กลุม หินสระบรุ ี (Ps) บริเวณชั้นหินแบบฉบบั มกั จะเกิดเปน หนิ ปนู ชน้ั หนาและเปนชน้ั พบ
ซากดกึ ดําบรรพพ วกฟวซลู นิ ดิ แบรคิโอพอด ไบรโอซัว ซากปะการัง และฟอแรมนิ ิเฟอรา สีเทาออนถงึ เทาดํา
พบกระจายตวั มากบริเวณจังหวดั สระบุรแี ละลพบรุ ี สว นในพ้ืนทจ่ี งั หวดั อุทยั ธานี กลุมหนิ สระบรุ ีพบกระจาย
ตวั นอยมากทางดา นตะวันออกของพนื้ ที่ บรเิ วณบา นดอนขวางทศิ ตะวันตกของอําเภอเมอื งอุทัยธานี ประกอบดว ย
หินเชริ ต หนิ ดินดาน แทรกสลบั ดว ยหนิ ปนู เลนส หินทรายเกรยแวก หนิ ทัฟฟ และหนิ กรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ

กลมุ หินราชบรุ ี (P2) สว นใหญเ กอื บทุกบรเิ วณมลี กั ษณะคลา ยคลึงกัน คือ เปนพวกหินปนู ที่
เกิดเปน ชั้นและเปนมวลหนา สเี ทาออน เทาดาํ มีกอนหนิ เชิรต มากในตอนลาง พบซากดึกดําบรรพมากมาย
โดยเฉพาะอยา งยิง่ ฟว ซลู ินดิ แบรคิโอพอด ไบรโอซวั ซากปะการัง และฟอแรมนิ ิเฟอรา บางบรเิ วณอาจถูก
แปรสภาพโดยขบวนการแปรสภาพสัมผัสกลายเปนหินออน จากการศกึ ษาซากดึกดําบรรพแบรคโิ อพอดพบวา
กลุมหนิ ราชบรุ ีมีอายเุ พอรเ มียนตอนตน ถงึ ตอนปลาย (245-286 ลานป) กลุม หนิ ราชบรุ ีบรเิ วณจงั หวดั อทุ ัยธานี
สามารถเทียบเคยี งไดก ับหมวดหนิ ปนู ไทรโยค (รูปที่ 3-2 (จ)-(ฉ)) ของกลมุ หนิ ราชบรุ ี (ตอนกลาง) มีชน้ั หิน
แบบฉบบั อยบู ริเวณอําเภอไทรโยค ในพื้นทีพ่ บแผกระจายตวั ทางตอนกลางและดานตะวนั ออก บริเวณอําเภอ
สวางอารมณ อาํ เภอลานสัก และอาํ เภอหว ยคต ลักษณะธรณวี ทิ ยาประกอบดว ย หนิ ปนู เนื้อโดโลไมตช นั้ หนา
ถงึ เปน ปน หรอื มวลหนา บางบรเิ วณพบหินทรายและหนิ ดนิ ดานแทรกสลับบาง สวนตอนบนสดุ เปนหนิ ปนู
ช้นั บางสีเทาออ น สลบั กับหนิ ทรายสีนาํ้ ตาลเทา พบซากดึกดาํ บรรพ โดยเฉพาะอยางย่ิงฟว ซูลนิ ดิ ในหนิ ปูน
ที่อยูตอนลางบง ชีอ้ ายุเพอรเ มียนตอนกลาง (260.4-270.6 ลา นป)

การศึกษาซากดึกดําบรรพของกลุมหินทั้งสองพบวา นาจะมีอายุประมาณยุคเพอรเมียน
ตอนลา งถึงตอนบน (245-286 ลา นป)

3.2.7 ยคุ ไทรแอสซกิ (Trhh/Tr2)

หนิ ยุคไทรแอสซิกบรเิ วณจงั หวดั อทุ ัยธานแี บง เปน สองหนวยหนิ ไดแ ก หมวดหนิ ฮองหอย
(Trhh) และหนว ยหนิ Tr2 รายละเอยี ดดงั น้ี

หมวดหินฮอ งหอย พบกระจายตวั อยบู ริเวณหวยเสลา บานคลองเสลา กระจายตวั เปน
บรเิ วณแคบ ทางดานทิศตะวันตกของอําเภอบา นไร ลักษณะหนิ ประกอบดวย หนิ ทรายสีเทาสลับหนิ ดนิ ดาน
สีเทาดํา ชน้ั หินหนาปานกลางถึงช้นั บาง ช้นั หินชัดเจน (รูปท่ี 3.2 (ช)) บางบรเิ วณพบชนั้ หนิ กรวดมนแทรก
เปน เลนส หินทรายมีเมด็ ตะกอนละเอยี ดถึงหยาบมาก และมเี ศษดนิ โคลนปนในหนิ ทราย เคยมรี ายงานพบ
ซากดกึ ดําบรรพหอยกาบคบู ง ช้อี ายุไทรแอสซิกตอนกลาง (228-245 ลานป)

หนวยหนิ ยคุ ไทรแอสซิก Tr2 พบกระจายตวั นอ ยมากทางดานตะวนั ตกของพ้นื ที่ ในเขต
รกั ษาพนั ธุสตั วปาหว ยขาแขงและทงุ ใหญน เรศวรดานตะวนั ออก โดยหนวยหนิ Tr2 น้สี ามารถแบงได 2 หนวย
ยอ ย ไดแ ก บริเวณทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของพนื้ ท่ี ประกอบดวย หนิ ทรายแทรกสลบั หินดนิ ดาน สีเทา
แกมเขยี ว นอกจากน้ียังพบช้นั หนิ ปนู และหินปนู กรวดเหล่ยี ม จากการศกึ ษาซากดึกดําบรรพหอยกาบคู
บง ชอ้ี ายไุ ทรแอสซิกตอนกลาง (228-245 ลา นป) เชน เดียวกับหมวดหินฮองหอย สวนบรเิ วณทางทิศตะวันตก
เฉียงใตพบหนวยหนิ Tr2 ประกอบดวย หนิ ปูนสีเทา แสดงช้นั หนิ บางถึงหนาปานกลางชัดเจน เนื้อปนดิน

- 16 -

และปนทราย นอกจากนีพ้ บวา บางชน้ั เปน หินทรายและหินโคลนชน้ั บางแทรกสลับ หนว ยหิน Tr2 บรเิ วณนี้
วางตัวตอเน่ืองมาจากหนวยหนิ ยคุ ไทรแอสซกิ บริเวณอําเภออุม ผาง จังหวัดตาก การศกึ ษาซากดกึ ดําบรรพ
ของหอยกาบคแู ละหอยงวงชา งของหนวยหนิ ดงั กลา ว พบวา กลมุ หนิ นีม้ อี ายไุ ทรแอสซกิ (210-245 ลา นป)

3.3 ตะกอนรว นยคุ ควอเทอรนารี

ยุคควอเทอรนารเี ปนยุคสุดทา ยในตารางธรณีกาล มีอายเุ ร่มิ ตน ตั้งแต 1.6 ลานปจนถงึ ปจจบุ ัน
ยุคนีแ้ บง ยอยออกเปนสองสมัยคือ สมยั ไพลสโตซนี มีอายุประมาณตั้งแต 1.6 ลานปจ นถงึ 10,000 ปแ ละ
สมัยโฮโลซนี มีอายปุ ระมาณตงั้ แต 10,000 ปจ นถงึ ปจจุบนั ยุคควอเทอรนารเี ปนยคุ ทม่ี ีการเปลีย่ นแปลง
ทั้งสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และสิ่งมีชีวิตท่ีไดเกิดข้ึนมากอนแลว เปนยุคท่ีมนุษยมีวิวัฒนาการการ
เปลี่ยนแปลงรปู รา งและพฒั นามาเปนมนษุ ยสมยั ใหม ธรณีวทิ ยาของยคุ นี้จึงมีความสัมพนั ธก บั ชีวติ มนษุ ย
มากทส่ี ดุ เปน ทัง้ ท่ีอยอู าศยั ทที่ ํากิน และแหลง ทรัพยากรอันหลากหลาย ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของ
มนษุ ย

เน่อื งจากเปน ยุคหลังสดุ ทางธรณวี ทิ ยา หินทเ่ี กดิ ขึ้นในยคุ น้ีจึงเปน หนิ ภูเขาไฟทมี่ กี ารตกผลกึ
และแขง็ ตวั รวดเร็วเทา นั้น ธรณีวทิ ยาของยคุ น้สี ว นมากจึงเกี่ยวเนือ่ งกบั ตะกอนกงึ่ แข็งตวั และทย่ี ังไมแ ขง็ ตวั
เปนหนิ โดยหินทีเ่ กิดมากอนยุคนเี้ ปน ตน กําเนดิ และมีการเปลีย่ นสภาพตามกระบวนการทางธรณวี ิทยาทง้ั
การผุพงั การสึกกรอ น การพัดพาและการสะสมตวั เกิดเปน แหลงสะสมตะกอนทับถมกันเปนธรณสี ณั ฐาน
ลกั ษณะตา งๆ เม่อื ประกอบกับการเปล่ยี นแปลงของอากาศและธรณีแปรสณั ฐาน ธรณวี ิทยาในยคุ ควอเทอรนารี
ของประเทศไทยสว นมากจงึ เกยี่ วขอ งกบั การเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมของพืน้ ท่ีเดมิ

หนิ และตะกอนยคุ ควอเทอรนารขี องประเทศไทยจําแนกไดต ามสภาพแวดลอมของการเกดิ
ชนดิ ของตะกอน ธรณีสณั ฐาน ธรณีโครงสราง และซากดกึ ดําบรรพ แตซ ากดกึ ดาํ บรรพข องยุคน้สี วนมาก
เปน ซากดึกดําบรรพท่ไี มสญู พันธหุ รอื มีชวี ติ ในอดตี ตอ เนอ่ื งมาจนถงึ ปจ จบุ นั การกาํ หนดอายจุ ึงใชว ธิ ีการหา
อายสุ ัมบูรณ โดยใชสารกัมมนั ตภาพรังสีรปู แบบตา งๆ เปนหลักในการกําหนดอายุของหินและซากดึกดาํ บรรพ
ท่พี บในตะกอน เนอ่ื งจากตะกอนเหลา นีจ้ ะทบั ถมกนั เปน ชั้นๆ และอยใู ตพื้นดนิ ไมโ ผลใ หเ หน็ เหมอื นกับชน้ั หนิ
ตามภเู ขา ขอ มูลการศึกษาของตะกอนยุคน้ีสว นมากไดจ ากการเจาะสํารวจ จากแนวหนาตดั หรอื หนาผา
ของเนินดนิ และแมน ํ้าลาํ คลองเปน ตน

ในพืน้ ทศ่ี ึกษาพบช้นั ตะกอนเหลา น้ี แผกระจายตวั อยางกวา งขวางทางดา นตะวนั ออกของ
พ้นื ท่ี โดยทีร่ าบลุม เหลา นเ้ี กิดจากการสมตะกอนจากแมน ้าํ สายสาํ คัญ ไดแ ก แมนํ้าเจา พระยา หว ยเสลา
หว ยขาแขง และหว ยกระเสยี ว สามารถแบง ตะกอนในพนื้ ทอ่ี อกเปน 4 หนว ย ดังน้ี

3.3.1 ตะกอนเศษหนิ เชงิ เขา (Qc)

หนวยตะกอนน้ีพบสะสมตัวตามแนวเชิงเขาเปนบริเวณกวางขวางของตอนกลาง และทาง
ทิศเหนือของจงั หวดั ไดแก อําเภอลานสกั อําเภอหว ยคต อาํ เภอบานไร และอาํ เภอสวา งอารมณ ตะกอน
เศษหินเชงิ เขาเปน ตะกอนที่ผุพังอยูกับที่ มกั จะพบกับหนิ เดิมทรี่ องรบั อยูดา นลาง และตะกอนเศษหนิ เชิง

- 17 -

ขาน้อี าจจะวางตัวรองรับตะกอนตะพักและตะกอนนาํ้ พา ในพ้ืนทนี่ ้เี ศษหนิ ตะกอนเชงิ เขาประกอบดว ยเศษ
หินควอรไซต หนิ ทราย หินทรายแปง และ หินอคั นี

3.3.2 ตะกอนนาํ้ พา (Qa)

หนวยตะกอนนี้พบสะสมตวั กวา งขวางมากบริเวณดา นตะวันออกของพ้นื ที่ ไดแก อําเภอ
เมอื งอทุ ยั ธานี อําเภอทพั ทนั อําเภอหนองฉาง อาํ เภอหนองขาหยา ง อําเภอสวางอารมณ อําเภอลานสัก และ
อําเภอหวยคต หนว ยตะกอนดังกลาวเกดิ จากธารนาํ้ ไดแก นํา้ ตากแดด หวยเสลา คลองทพั ทนั คลองใหญ
คลองหว ยขวี ฯลฯ พัดพาเอากรวด หิน ดิน ทราย ไปสะสมตวั ณ บรเิ วณดงั กลาวจงึ ไดช้ันตะกอน
หลากหลายชนดิ ปะปน ตะกอนนํ้าพาประกอบดว ยช้ันทรายปนดินเคลยสลับกบั ชั้นดนิ เคลยปนทราย มีกรวด
ละเอยี ดและลกู รังปะปนดวยในบางชั้น มีสนี ้ําตาลและเทาปนนํา้ ตาล การคดั ขนาดไมค อ ยดี บางชน้ั มีการ
เปลี่ยนแปลงของตะกอนในแนวดงิ่ อยางรวดเรว็

3.3.3 ตะกอนรองน้าํ (Qfc)

หนวยตะกอนนส้ี ะสมตวั อยใู นขอบเขตรอ งนํา้ ฝง ขวาของแมน าํ้ เจาพระยา กระจายตวั บริเวณ
อําเภอเมืองอุทัยธานี บานหาดทะนง บา นเกาะเทโพ บานปา สะแก และบานทา ชุง เปน ตะกอนของแมนํา้
เจา พระยา ลกั ษณะเดน ประกอบดว ยตะกอนทรายรอ งนํ้า สันดอนทราย และตะกอนทรายคันดนิ ธรรมชาติ

3.3.4 ตะกอนทรี่ าบลุมแมน ้าํ (Qff)

หนวยตะกอนนี้สะสมตวั บรเิ วณที่ราบลมุ แมน้ําเจา พระยา เกิดจากนาํ้ หลากในฤดูฝนและพัดพา
เอาเศษตะกอนแขวนลอยขนาดเลก็ มาสะสมตัว ประกอบดวยตะกอนดนิ เหนียวอาจจะมีตะกอนทรายและ
ทรายแปงปนอยูบาง พบกระจายตวั เปน พื้นทแี่ คบบริเวณทิศเหนอื ของอาํ เภอเมอื งอทุ ยั ธานี บา นหนองไผ
แบน นอกจากนย้ี งั พบวา บางบรเิ วณของทร่ี าบลมุ แมน ้ําอาจจะมแี อง นํ้าขังหรอื บงึ กไ็ ด ทาํ ใหม ีการสะสมตวั
ของตะกอนดนิ เหนียว และมีเศษพชื ปะปน

3.4 หินอคั นี

หนิ อคั นีเปนหินที่เกดิ จากการเยน็ ตวั แข็งของหนิ หนดื ท่กี ําเนดิ จากการหลอมเหลวของหิน
ชนิดตา งๆ ทอ่ี ยลู ึกลงไปใตเ ปลือกโลก หนิ หนืดท่ีแทรกดันตวั ข้ึนมาอยา งชา ๆ ไดระดบั หนง่ึ แลว เยน็ ตวั แข็ง
เปน หินกอ นถงึ ผิวโลก เรียกวา หินอัคนีแทรกซอน แรป ระกอบหนิ ตา งๆไดมีการตกผลึกและเยน็ ตัวลงอยา ง
ชา ๆ ผลกึ ของแรจ งึ มขี นาดหยาบและสว นใหญมลี ักษณะเปน เหลย่ี มแสดงหนาผลึกเกาะประสานตวั กนั แนน
สนทิ แตถา หนิ หนืดพุออกมานอกผิวโลก หรือทเ่ี รียกวาลาวา จะเย็นลงและแขง็ ตัวเปนหินอคั นพี ุ หรอื หิน
ภเู ขาไฟ การทล่ี าวาพุออกมาภายนอกหรืออยใู กลผ วิ โลกมาก และมกี ารเยน็ ตวั ลงอยา งรวดเร็ว ผลกึ ของแร
ประกอบหินจงึ มักมีขนาดเลก็ มากจนมองดวยตาเปลา ไมเห็น หนิ อัคนีเหลา นี้ ในประเทศไทยเกิดขน้ึ ในชว ง
ธรณกี าลตางๆ ตัง้ แตยคุ ดีโวเนียนถงึ ยคุ ควอเทอรน ารี (0.01-416 ลานป) ในพน้ื ท่จี งั หวัดอุทยั ธานพี บหิน
อัคนที ัง้ สองประเภทและสามารถแบงเปน 2 หนวยหิน ดงั น้ี

- 18 -

3.4.1 หนิ อัคนีแทรกซอนยคุ ไทรแอสซกิ (Trgr)

หินแกรนติ เปน หินอัคนแี ทรกซอนประเภทหนึง่ ที่พบคอ นขางมากในพืน้ ทเี่ อเซยี ตะวนั ออก
เฉยี งใต ในประเทศไทยพบท้ังในบริเวณที่มีลักษณะภมู ปิ ระเทศทเี่ ปนเทือกเขาและที่ราบ กลมุ หนิ อัคนี
ประเภทหินแกรนิตมกั จะมีความสัมพันธใกลชดิ กบั การกาํ เนิดแรเ ศรษฐกิจ โดยท่ัวไปบรเิ วณที่พบหนิ แกรนิต
และพืน้ ทใี่ กลเ คยี งมักจะเปน บรเิ วณทม่ี กี ารสะสมตวั ของแหลง แรโลหะและอโลหะตางๆ ตลอดจนแหลง หิน
ประดบั และหนิ กอสราง การแทรกดันข้ึนเบอ้ื งสูงของหนิ หนืดทม่ี สี วนประกอบใกลเ คยี งกบั หนิ แกรนติ จาก
ใตผ วิ โลกตามลกั ษณะการเปล่ียนแปลงโครงสรา งทางธรณีวทิ ยาของเปลอื กโลกยคุ ธรณกี าลตางๆ บริเวณ
ประเทศไทย ต้ังแตป ระมาณปลายยคุ เพอรเมยี น-ไทรแอสซิก หรือประมาณกวา 250 ลา นปล ว งมาแลว

การจาํ แนกหนิ แกรนิตของประเทศไทยแบงออกเปน 3 แนว คอื แกรนิตแนวตะวันออก
แกรนิตแนวตอนกลาง และแกรนิตแนวตะวันตก

ในพนื้ ที่จงั หวดั อทุ ัยธานจี ดั อยใู นหนิ แกรนติ แนวตอนกลางของประเทศไทยจะเกิดเปน มวล
หินขนาดใหญ เปน แนวยาวติดตอ กัน หินแกรนิตบางสวนมีลักษณะผลกึ แรเ รยี งตวั เปนแถบ เปน แนวตรง
และแถบคดโคง มลี ักษณะการเรยี งตวั ของแรคลา ยหินไนส จงึ มักถูกเรยี กวา ไนสกิ แกรนิต ซ่งึ เชอ่ื วา เกดิ จาก
หินแกรนติ ถูกบีบอดั ตามแนวรอยเลื่อนขนาดใหญ

สวนใหญของหนิ แกรนติ ในจงั หวัดอทุ ยั ธานีจะวางตวั ในแนวเหนือ-ใต ตอเน่ืองกบั หินแกรนติ
ในจงั หวดั ตาก ในพน้ื ที่นเี้ รยี กหินแกรนิตวา บา นทองหลางแกรนิต พบกระจายตัวทางดา นตะวนั ตกของ
จังหวัด เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป าหวยขาแขง น้าํ ตกไซเบอร (รปู ที่ 3-2 (ซ)) บา นทองหลาง และเขามโนราห
ลกั ษณะหินประกอบดว ย หินแกรนิตเนอ้ื หยาบมีผลึกเฟลดสปารขนาดใหญมาก ผลกึ แรจ ะเรยี งตัวเปนแนว
ต้ังแตเ รยี งตวั ธรรมดา จนถงึ เปนช้ันๆ ขาวสลบั ดํา หินแกรนิตในแนวตอนกลางน้ีมีสดั สว นของแรส ีขาวและ
แรส ดี ําอยูใ นชว งจาํ กัดแคบๆ ประกอบดว ย แรมสั โคไวท แรทัวรมาลนี นอกเหนอื จากแรเ ฟลดสปาร และ
ควอรตซ บางครงั้ จะพบแรฟลอู อไรต แรดบี ุก แรทงั สเตน และแรทึบแสงอนื่ ๆ จากการศึกษาอายุหนิ แกรนติ
โดยวธิ ไี อโซโทป พบวา บา นทองหลางแกรนติ มีอายุประมาณ 237±25 ลานป

3.4.2 หนิ อัคนพี ยุ ุคไทรแอสซิก-เพอรเ มียน

หินภเู ขาไฟบริเวณจังหวัดอุทยั ธานีโผลใ หเห็นเปน บริเวณแคบๆในแนวเหนือ-ใต กระจายอยู
บรเิ วณดานตะวันตกของอําเภอเมืองอทุ ยั ธานี ตอเน่อื งไปถึงดานตะวนั ตกของจงั หวดั ชัยนาท หนิ ภเู ขาไฟ
กลุม แบงไดเ ปน 3 แนวคอื แนวหินภูเขาไฟบริเวณดา นตะวนั ตกของจังหวดั อทุ ยั ธานี แนวหนิ ภเู ขาไฟ
บริเวณดานใตข องจังหวัดนครสวรรค และแนวหนิ ภเู ขาไฟบริเวณดา นตะวนั ออกของจงั หวัดนครสวรรค บรเิ วณ
อําเภอทา ตะโก หินสว นใหญ ไดแ ก หินแอนดีไซต หินเดไซต หินไรโอไลต และหนิ ช้นั ภเู ขาไฟ หนิ ภเู ขาไฟ
เหลา น้มี ักจะมีหินอคั นที เ่ี ยน็ ตัวใตผ ิวโลก พวกหนิ ไดออไรต หินแกรโนไดออไรต และหินแกรนติ เกิดรว ม
อยูดว ย

แนวหนิ ภูเขาไฟบรเิ วณดา นตะวันตกในจงั หวัดอทุ ยั ธานี พบหินแอนดีไซตโผลใหเหน็ เปน
บางบรเิ วณ เกิดทัง้ แบบลาวาและแบบพนงั หิน ที่เกดิ เปนลาวาพบบริเวณเขาคอดยาง ซ่ึงอยดู า นทศิ ตะวนั ตก
เฉียงใตข องจงั หวัดอทุ ัยธานี ไดแ ก อําเภอบานไร อําเภอหนองฉาง และอําเภอสวา งอารมณ ลักษณะหิน

- 19 -

ประกอบดวย หนิ ไรโอลิตกิ ทฟั ฟป ด ทบั อยู และที่เขาลกู ชา งและเขาโยง ซ่งึ อยูในแนวหนิ ภูเขาไฟดานใตจังหวดั
นครสวรรค หนิ แอนดีไซตไหลปด ทับหนิ ภูเขาไฟแปรสภาพยุคไซลเู รยี น-ดีโวเนยี น หนิ แอนดีไซตส ว นใหญ
จะมีสเี ขยี วเขม เน้อื ละเอียด และเน้ือดอกโดยมีผลกึ แรแ พลจโิ อเคลส อาจจะพบผลกึ แรไ คลโนไพรอกซีนฝง
ตวั ในเนอื้ หินซง่ึ ประกอบดวยแรแ พลจโิ อเคลส และมแี รค ลอไรตท ถี่ ูกเปลย่ี นสภาพมาจากเนอ้ื แกว อยใู น
ชอ งวางระหวางผลกึ แรห นิ เดไซต-ไรโอไลต หินชุดนโี้ ผลอยใู นบริเวณหินภเู ขาไฟดานตะวันออก หินภูเขาไฟ
ในบริเวณจงั หวัดอทุ ัยธานีนา จะมอี ายตุ ง้ั แตยุคเพอรเมียนตอนปลายถึงยุคไทรแอสซิกตอนลา ง (210-286 ลานป)

3.5 ธรณีวิทยาโครงสรา ง

อิทธพิ ลของกระบวนการวิวฒั นาการทางธรณวี ิทยาแปรสณั ฐาน ต้งั แตอดตี มาจนถงึ ปจ จุบัน
ดังกลาว ทาํ ใหประเทศไทยและบริเวณใกลเคียงในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีสภาพภูมิประเทศและ
ลักษณะธรณีวิทยาโครงสรางอยางในปจจุบัน และทาํ ใหชั้นหินอายุตางๆ ในประเทศไทยแถบภาคเหนือ
ภาคตะวันตก ภาคกลางและภาคใต มแี นวช้ันหินคดโคง ซึง่ วางตวั ประมาณเหนอื -ใต และบรเิ วณแอง ท่ีราบ
สูงโคราชในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื มีแนววางตวั ประมาณตะวนั ตกเฉยี งเหนือ-ตะวนั ออกเฉียงใต และยัง
ทาํ ใหเกดิ รอยเลอ่ื นปกตใิ นแนวเหนือ-ใต ในตอนกลางของภาคเหนอื จนถงึ อาวไทย สงผลใหแ ผนดินเกิด
การแยก กลายเปนแองแบบฮอรสตและกราเบน ข้ึนในอาวไทยและทรี่ าบลุมในแองเจา พระยากม็ กี ารกําเนิด
ในทาํ นองเดยี วกนั

ลกั ษณะโครงสรา งท่ีสาํ คญั ทางธรณวี ทิ ยาของพน้ื ทีจ่ งั หวดั อุทยั ธานี ประกอบดว ย การวางตวั
ช้นั หนิ ชัน้ หินคดโคง รอยแยกและรอยเลอื่ น แนวแตกเรยี บ และรอยชั้นไมต อเนื่อง

3.5.1 การวางตวั ชน้ั หนิ

ชนั้ หนิ บริเวณจงั หวดั อุทยั ธานีมีการวางตวั อยูในแนวตะวนั ตกฉัยงเหนือ-ตะวนั ออกเฉียงใต
แบง ได 2 กลุม คอื กลุมชน้ั หินกอนยุคไทรแอสซกิ และกลุม ชน้ั หินยุคไทรแอสซิก กลมุ แรกมกี ารแปร
สณั ฐานรุนแรงกวากลมุ ท่สี อง ทําใหชั้นหนิ มมี มุ เอียงเทคอนขางชนั ไปทางดา นตะวนั ออก เกดิ การโคง งอ
ของชัน้ หนิ มาก และมกั พบแนวแตกเรยี บเกิดรวมดว ยเสมอ รวมทั้งมีแนวรอยเลอ่ื นเกดิ รวมดวยหลายแนว
กลมุ ทีส่ องช้นั หินมกี ารแปรสณั ฐานรุนแรงนอ ยกวา และมมี มุ เอยี งเทชนั ปานกลางไปดา นทศิ ตะวนั ออก
เชน เดียวกนั กบั กลุมที่ 1 และแสดงแนวแตกเรียบเชน กนั

3.5.2 ชน้ั หินคดโคง

จังหวัดอุทยั ธานีต้งั อยบู นหนิ ฐานธรณชี าน-ไทย โดยชนั้ หินคดโคง หรอื รอยคดโคง ที่ปรากฏ
ในบริเวณน้ีสวนมากจะเปนรอยคดโคงแบบอสมมาตร แบบมุมแหลม และแบบตลบทับ โดยมีแกนของ
ช้ันหินคดโคงอยูในแนวเหนือ-ใต พบชั้นหินคดโคงรูปประทุนขนาดใหญอยูหลายบริเวณโดยมีชั้นหินยุค
พรแี คมเบรียนเปนแกนกลางของรอยคดโคง พบช้ันหินแคมเบรยี นและหินปูนยุคออรโดวิเชยี นวางทับอยูบน
ทั้งสองดานของสวนขา งของชน้ั หินคดโคง แกนของชั้นหนิ คดโคงรูปประทุนน้ีจะถูกหินแกรนิตยุคไทรแอสซิก
ดนั แทรกขนึ้ มา โดยเฉพาะตั้งแตบ ริเวณตะวันตกของจังหวัดอทุ ยั ธานี (ใตก ลุมรอยเลื่อนแมเ มยกบั รอยเลอ่ื น

- 20 -

แมปง) แกนของช้ันหินคดโคงวางตัวอยูในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใตและเหนือ-ใต บาง
บรเิ วณพบชัน้ หนิ คดโคงแบบตลบทับท่ีมรี ะนาบแกนเอยี งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต

3.5.3 รอยแยกและรอยเลื่อน

แนวรอยเลอื่ นในระดบั ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต พบแนวรอยเลอื่ นขนาดใหญทีป่ รากฏ
อยใู นประเทศไทยมรี อยเล่ือนใหญๆ ปรากฏหลายแนว และเปนรอยเลอื่ นตามแนวระดบั โดยมที ิศทางตาง ๆ
ดังแสดงในรปู ท่ี 3-3 สาํ หรบั ประเทศไทยมกี ารจดั กลมุ รอยเลอื่ นทสี่ ําคัญไวเ ปน 3 กลุม ตามทศิ ทางการ
วางตวั และการเคล่ือนท่ี คอื 1) กลุมรอยเล่ือนท่ีวางตวั ในแนวตะวนั ตกเฉยี งเหนอื -ตะวนั ออกเฉยี งใต 2)
กลุม รอยเล่อื นท่วี างตวั อยูในแนวตะวนั ออกเฉียงเหนอื -ตะวนั ตกเฉียงใต และ 3) กลุมรอยเลอื่ นแบบปกติ
วางตวั อยใู นแนวเกือบเหนือ-ใต จังหวดั อุทยั ธานีต้ังอยูระหวางรอยเล่อื นสําคัญและไดร บั อทิ ธผิ ลตอการเลือ่ น
ของกลมุ รอยเล่ือน ไดแก 3 กลุมรอยเลอื่ น ดังน้ี

1) กลุมรอยเล่ือนแมปง เปนกลุมรอยเลื่อนท่ีรวมเอารอยเลื่อนตางๆ เขาดวยกัน เชน
รอยเลอ่ื นเมย-อทุ ยั ธานี หรอื รอยเลือ่ นเมย รอยเล่อื นวงั เจา และรอยเลอ่ื นลานสางเปนตน มีทิศทางไปทาง
ตะวนั ออกเฉยี งใตโดยเริ่มตน จากรอยเลื่อนสะแกง ในประเทศพมา ผานเขามาในประเทศไทยบริเวณแมน าํ้ เมย
ดา นตะวนั ตกเฉยี งใตข อง อําเภอแมส ะเรียง จงั หวัดแมฮ องสอน ผา นบานลานสาง จังหวดั ตาก แมนํ้าปง
จังหวัดกําแพงเพชร และจงั หวดั นครสวรรคต อ เลยไปถงึ จังหวัดสระแกว และประเทศกัมพูชา มีความยาวท้งั สิน้
ท่ผี า นประเทศไทยประมาณ 750 กิโลเมตร เนอื่ งจากเปนกลมุ รอยเลอ่ื นท่ียาวมากจึงตัดผา นชัน้ หนิ มากมาย
ต้งั แตมหายคุ พรแี คมเบรียนถงึ ยุคมีโซโซอิก โดยเคลอื่ นตัวไปทางซา ยประมาณ 100 กโิ ลเมตร ปจจุบันน้ี
รอยเลอื่ นกลมุ น้ีเคลอื่ นยา ยไปทางขวา และยังคงเปนรอยเล่ือนที่มพี ลงั อยู

2) กลุมรอยเล่ือนศรสี วสั ดิ์ วางตวั ขนานและอยูร ะหวา งแนวกลุม รอยเล่อื นแมป งและกลมุ
รอยเลอ่ื นเจดียสามองค รอยเล่ือนนเี้ รม่ิ ตนจากอาํ เภอศรสี วสั ดแ์ิ ละบรเิ วณตอนเหนอื ของอําเภอบอพลอย
จังหวัดกาญจนบุรี ผานแมนํา้ แควใหญไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เขาไปประเทศพมาตอกับกลุม
รอยเลื่อนแมปงเขาหารอยเลื่อนเมยและรอยเลื่อนสะแกง (ในประเทศพมา) โดยตัดผานหินต้ังแตมหายุค
พาลโี อโซอิกตอนตนถึงมหายคุ มีโซโซอิกตอนตน มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร

3) กลมุ รอยเล่ือนเจดียส ามองค วางตวั ขนานกับกลมุ รอยเลื่อนแมป ง และกลมุ รอยเล่ือน
ศรสี วสั ด์ิ ทอ่ี ยใู นแนวตะวนั ตกเฉยี งเหนอื -ตะวนั ออกเฉยี งใต รวมกบั รอยเลื่อนสะแกงในประเทศพมา เปน
รอยเล่อื นตามแนวระดบั แบบเคล่อื นตวั ไปทางซาย กลมุ รอยเลือ่ นเจดียส ามองคน้ผี านเขามาในประเทศไทย
บริเวณดา นเจดียส ามองค อําเภอสังขละบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี ตามแนวแมน า้ํ แควนอย ผานชนั้ หินมหายุค
พาลีโอโซอิกและยคุ มีโซโซอิกและผานบริเวณจงั หวัดราชบุรี ถงึ อา วไทยที่จงั หวัดสมุทรสงคราม ยาวประมาณ
350 กโิ ลเมตร หมวดหนิ แกงกระจานบรเิ วณแหลมไทยทางใตจ ะส้นิ สุดลงทกี่ ลมุ รอยเลอื่ นน้ี จากการหาอายุ
ของผลกึ ควอรตซทเ่ี กดิ ในระนาบรอยเลือ่ นบรเิ วณเขื่อนเขาแหลม ตามลํานา้ํ แควนอยพบวา เคยมีการเคล่ือนตวั
ประมาณ 3 แสนป เปน การเคลอ่ื นตัวแบบไปทางขวา

- 21 -

(ก) (ข)

(ค) (ง)

(จ) (ฉ)

(ช) (ซ

รปู ที่ 3-2 ภาพถายแสดงลกั ษณะหนิ ของแตละหนวยหนิ

(ก) หนิ แปรกรดสงู มหายคุ พรีแคมเบรียน (ข) หนิ ออ นและหนิ แคลกซลิ ิเกต ยุคออรโดวิเชยี น
(ค) หินดินดานเนอ้ื ซลิ กิ าและหินเชิรต ยคุ ไซลเู รียน-ดีโวเนยี น
(ง) หินแปรเกรดตา่ํ หินควอรไซต ยคุ คารบ อนเิ ฟอรสั
(จ) และ (ฉ) ภเู ขาหนิ ปนู และซากดึกดาํ บรรพ ยุคเพอรเมียน
(ช) หนิ ทรายสลบั หินดินดาน ยคุ ไทรแอสซกิ (ซ) หินแกรนิตผลกึ ขนาดเดียวยุคไทรแอสซกิ

- 22 -

รูปที่ 3-3 แผนทแ่ี สดงแนวการวางตวั ของรอยเลอ่ื นท่ีสาํ คญั ของประเทศไทย ซึง่ เปน ผลจาก
การชนกันของแผน เปลอื กโลกอนิ เดียและยเู รเซียในมหายคุ ซโี นโซอกิ

- 23 -

3.5.4 แนวแตกเรยี บ

แนวแตกเรียบเปนระนาบการแตกเกิดในขณะชนั้ หนิ โคงงอ พบชัดเจนในหินดินดานและ
หินโคลน โดยหนว ยหินทพ่ี บมาก ไดแก หนว ยหินยคุ แคมเบรียนถงึ ยุคเพอรเมยี น และพบแนวแตกเรียบ
บางในหนวยหินยุคไทรแอสซกิ อนั เปน ผลจากรอยเลอ่ื นตัดผา น แนวแตกเรยี บทพ่ี บวางตวั ในแนวตะวันตก
เฉียงเหนอื -ตะวนั ออกเฉยี งใตเ ปนสว นใหญ

3.5.5 รอยช้นั ไมตอ เนอ่ื ง

รอยชั้นไมตอเนื่องแสดงถึงชวงเวลาทางธรณีวิทยาที่ขาดหายไป รอยช้ันไมตอเน่ืองของ
ช้ันหินบริเวณจังหวัดอุทัยธานีท่ีสําคัญ ไดแก ช้ันหินยุคคารบอนิเฟอรัสวางตัวไมตอเนื่องบนหินเชิรตยุค
ไซลเู รยี น-ดีโวเนยี น รอยชั้นไมต อ เนื่องระหวางหินปูนเพอรเมียนกบั หนิ ดนิ ดานยคุ ไซลเู รยี น-ดีโวเนียน และ
พบชั้นหินท่ีวางชั้นไมตอเน่ืองกัน ระหวางหินดินดานยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียนกับหินทรายยุคไทรแอสซิก
นอกจากนพ้ี บวา ตะกอนยุคควอเทอรนารวี างตวั แบบรอยช้ันไมตอ เนอื่ งบนหินฐานธรณี

- 24 -

บทท่ี 4
ธรณพี บิ ัติภยั

ขอมูลธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม สามารถชวยเปนสื่อดานความรูความเขาใจไดเปนอยางดี
เพ่ือประโยชนใ นการช้แี นะแนวทางสาํ หรบั การแกไข ปองกนั ลดและบรรเทาความรุนแรงของภยั พิบัติตางๆ
ได โดยเฉพาะเก่ียวกับภัยอันสืบเนื่องจากสาเหตุของกระบวนการทางธรณีวิทยา หรือธรณีพิบัติภัย
(geohazard) อาทิ นา้ํ ปาไหลหลาก ดนิ ถลม แผน ดนิ ไหว การเปล่ียนแปลงชายฝงทะเล และหลมุ ยุบ เปน ตน

ในบทน้ีจะกลาวถึงขอมูลธรณีพิบัติภัยที่กรมทรัพยากรธรณีทําการศึกษาไวประกอบดวย
ดินถลม แผนดินไหว สึนามิ หลุมยุบ และการเปล่ียนแปลงชายฝงทะเล (กรมทรัพยากรธรณี, 2550)
สําหรับธรณีพิบัติภัยที่เคยเกิดข้ึนหรืออาจเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีไดแก ดินถลม แผนดินไหว หลุม
ยุบ และการเปล่ียนแปลงชายฝง ทะเล ดังรายละเอียดตอ ไปนี้

4.1 ดินถลม

ดินถลม เปนธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากการเคล่ือนตัวของมวลดิน และหิน ลงมาตามลาดเขา
ดวยอิทธิพลของแรงโนม ถว งของโลก ทีพ่ บในประเทศไทยแบงออกเปน 3 ประเภทใหญๆ ดวยกันคือ ดินถลม
ดนิ ไหล และหินรวงหรอื หินถลม ปจ จยั ท่ที ําใหเ กิดดินถลมมี 4 ประการ คอื

1. ลักษณะธรณีวิทยาเปนบรเิ วณทีม่ หี ินผุใหช ัน้ ดินหนา โครงสรางทางธรณีวิทยามีรอยเลื่อน
รอยแตก ตัดผานชั้นหิน เปนตน

2. สภาพภูมิประเทศเปน พน้ื ท่ีภูเขาสงู และมีความลาดชนั
3. ลักษณะสิ่งแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินโดยไมถูกหลักวิชาการ
สรางบานและทําสวนรุกลํ้าพ้ืนที่ลําน้ําและภูเขา ตัดถนนบนภูเขาสูง ถนน สะพาน ทอ ที่สรางขึ้นกีดขวาง
การระบายน้ําตามธรรมชาติ
4. ปรมิ าณนํ้าฝนที่มากจนชั้นดินอุมนํ้าไมไหว โดยทั่วไปปริมาณนํ้าฝนท่ีปริมาณ 100 มิลลิเมตร
ในรอบ 24 ช่ัวโมง หรอื ปรมิ าณฝนสะสม 300 มิลลเิ มตร

จากการศึกษาของกรมทรัพยากรธรณี ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีที่มีโอกาสเกิดดินถลมและ
เส่ียงภัยดินถลมทั้งส้ิน 51 จังหวัด สวนใหญอยูในภาคเหนือ ภาคตะวันตกและตอเนื่องลงมาถึงภาคใต
ต้ังแตป พ.ศ.2531 ถึง พ.ศ.2550 มีการเกิดดินถลมขนาดใหญมากกวา 10 จังหวัด และสรางความเสียหาย
ตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในพื้นท่ีน้ันๆ จังหวัดอุทัยธานีมีพ้ืนที่ 4.2 ลานไร พบพื้นท่ีมีโอกาสเกิด
ดินถลม จาํ นวน 5 อําเภอ 18 ตําบล 115 หมบู าน หรอื คดิ เปนพ้นื ทไี่ ด 964,000 ไร ประกอบดวย อําเภอทัพ
ทัน สวางอารมณ หวยคต บานไร และลานสัก (รูปท่ี 4-1 และตารางที่ 4-1) ในปงบประมาณ 2554
กรมทรัพยากรธรณีจะดําเนินการจะจัดตั้ง “เครือขายแจงเหตุธรณีพิบัติภัย” ในจังหวัดอุทัยธานี เพ่ือให
ราษฎรในพ้ืนท่ีมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับธรณีพิบัติภัยที่อาจจะเกิดขึ้นไดในพื้นท่ี จังหวัดอุทัยธานีเคย
เกิดเหตุการณดินคืบตัว (ดินแยกตัวแตไมถลมลงมา) เม่ือวันท่ี 19 ตุลาคม 2548 ในปาหวยขาแขง บริเวณ
บานดง อําเภอบานไร แตไ มมคี วามเสียหายเกดิ ขึ้น

- 25 -

ตารางท่ี 4-1 บญั ชีรายชื่อหมูบ า นเส่ียงภยั ดนิ ถลม จงั หวัดอุทัยธานี

ลําดบั ท่ี อําเภอ ตาํ บล หมบู าน ระดบั ความเสยี่ งภัย

1 บานไร แกนมะกรูด บา นกรึงไกร 2
บา นแกนมะกรูด 1
2 บา นไร แกนมะกรูด บานคลองแหง 2
บานเจาวดั 1
3 บานไร แกนมะกรูด บานตลิง่ สูง 1
บานตะละเซิ่ง (บา นคลองเสลา) 1
4 บา นไร แกนมะกรูด บานใต 1
บานนํา้ โจน 2
5 บา นไร แกนมะกรูด บานหนองมา 2
บานใหมคลองอังวะ 1
6 บา นไร แกน มะกรูด บานใหมร มเยน็ 1
บานอีทราย 1
7 บานไร แกน มะกรูด บานอีมาด 1
บานอเี ลย 1
8 บานไร แกน มะกรูด บานกระแหน 1
บา นเขาไอเข 2
9 บา นไร แกนมะกรูด บา นคลองหวาย 1
10 บานไร แกน มะกรูด บา นคลองหวาย 1
11 บานไร แกนมะกรูด บานคุมเกลา 1
12 บานไร แกน มะกรูด บา นดง 1
13 บานไร แกน มะกรูด บานตาลิต 1
14 บานไร แกนมะกรูด บานทองหลาง 2
15 บา นไร คอกควาย บา นทุงนอย 2
16 บา นไร คอกควาย บานทุงใหญ 1
17 บานไร คอกควาย บา นทุงใหญ 2
18 บา นไร คอกควาย บานนอย 2
19 บานไร คอกควาย บา นนํ้าพุ 1
20 บา นไร คอกควาย บา นนา้ํ พุ 1
21 บานไร คอกควาย บา นนาํ้ พุ 1
22 บานไร คอกควาย บา นบอทราย 2
23 บานไร คอกควาย บานปาคา 1
24 บา นไร คอกควาย บา นปางสวรรค 1
25 บานไร คอกควาย บานไรใ หม 1
26 บา นไร คอกควาย บา นสามแยกสุพรรณ 1
27 บานไร คอกควาย บานหนองผักบุง 1
28 บานไร คอกควาย บานหว ยจก๊ั จ่ัน 1
29 บา นไร คอกควาย บา นใหม 2
30 บานไร คอกควาย
31 บานไร คอกควาย
32 บานไร คอกควาย
33 บานไร คอกควาย
34 บา นไร คอกควาย
35 บานไร คอกควาย
36 บา นไร คอกควาย
37 บานไร คอกควาย

- 26 -

ตารางที่ 4-1 บญั ชีรายช่ือหมบู า นเส่ียงภยั ดนิ ถลม จังหวัดอุทยั ธานี (ตอ)

ลําดับท่ี อาํ เภอ ตําบล หมูบา น ระดับความเสีย่ งภยั

38 บานไร คอกควาย บา นอีพุง นอย 2
39 บานไร เจาวดั บานคลองอพี ลู 1
40 บานไร เจา วัด บานเจาวดั 2
41 บา นไร เจาวดั บา นบุง 1
42 บานไร เจา วดั บา นหนองปรือ 1
43 บา นไร เจา วดั บา นใหมร มเย็น 1
44 บานไร เจาวัด บา นใหมล ําปาง 2
45 บา นไร เจาวดั บา นอีพุงใหญ 2
46 บานไร ทพั หลวง บา นทัพคลาย 3
47 บานไร ทพั หลวง บานทัพหมัน 3
48 บานไร ทพั หลวง บานทัพหลวง 3
49 บานไร ทพั หลวง บานปา บวั 3
50 บา นไร ทพั หลวง บา นปา เปา 3
51 บานไร ทพั หลวง บา นปา อูส ามัคคี 1
52 บานไร บานบงึ บา นนาฝาย 3
53 บานไร บานบงึ บานปาพรกิ 2
54 บา นไร บา นบึง บานไรพรกิ 2
55 บานไร บานไร บานเขาลอม 2
56 บา นไร บานไร บานคลองมะหาด 1
57 บา นไร บานไร บา นคลองมะหาด 1
58 บา นไร บา นไร บานบอนอ ย 1
59 บา นไร บา นไร บานพุเตย 1
60 บานไร บานไร บานพุบอน 1
61 บานไร บา นไร บานศาลาคอลง 1
62 บานไร บา นไร บานสะนํา 2
63 บานไร บา นไร บา นสะนําหนองใหญ 2
64 บานไร บา นไร บา นสะนาํ หนองใหญ 1
65 บา นไร บา นไร บา นหนองปรอื 1
66 บา นไร บา นไร บานหว ยปาปก 2
67 บา นไร บานไร บา นหนิ ต้ัง 1
68 บา นไร บานไร บา นหินตมุ 1
69 บา นไร บานไร บานหนิ ตุม 1
70 บา นไร บา นไร บานอหี ลุบ 2
71 บานไร บานใหมคลองเคียน บานอีตบู 3
72 บา นไร เมืองการุง บานหวยตําแย 1
73 บา นไร หว ยแหง บา นนา 1
74 บานไร หว ยแหง บานนาทุง เชือก 2

- 27 -

ตารางท่ี 4-1 บัญชีรายชอื่ หมบู านเส่ียงภัยดินถลม จังหวดั อุทยั ธานี (ตอ)

ลาํ ดับที่ อาํ เภอ ตาํ บล หมบู าน ระดบั ความเสีย่ งภยั

75 บา นไร หวยแหง บานปากลว ย 2
76 บานไร หว ยแหง บา นผาทัง่ 3
77 บานไร หวยแหง บานหวยแหง 2
78 บานไร หูชา ง บานชอ งนกทา 1
79 บานไร หูชาง บา นพุตอ 1
80 ลานสกั ปา ออ บานคลองชะนี 2
81 ลานสกั ปาออ บา นซับปา พลู 1
82 ลานสัก ปาออ บานปา ออ 3
83 ลานสกั ปา ออ บานเขาวง 2
84 ลานสกั ระบาํ บานหวยรงั 2
85 ลานสกั ระบาํ บานคลองไมล าย 2
86 ลานสัก ระบํา บา นทรัพยสมบูรณ 1
87 ลานสัก ระบาํ บานทามะนาว 3
88 ลานสัก ระบํา บา นปางควาย 2
89 ลานสัก ระบาํ บานโปง มะคา 1
90 ลานสัก ระบาํ บานโปงสามสิบ 1
91 ลานสกั ระบาํ บา นโปงสามสิบ 1
92 ลานสัก ระบาํ บานอางหว ยดง 1
93 ลานสัก ลานสัก บา นปากเหมือง 3
94 ลานสัก ลานสัก บา นเกา 3
95 หวยคต ทองหลาง บา นหว ยรวม 1
96 หวยคต ทองหลาง บานกุดจะเลดิ 1
97 หวยคต ทองหลาง บานคลองเคยี น 1
98 หวยคต ทองหลาง บา นคลองแหง 1
99 หว ยคต ทองหลาง บานไซเบอร 1
100 หวยคต ทองหลาง บา นโปง ขอย 3
101 หว ยคต ทองหลาง บานภูเหม็นกลาง 1
102 หวยคต ทองหลาง บานภูเหม็นบน 1
103 หวยคต ทองหลาง บานมอสามโคง 1
104 หวยคต ทองหลาง บานละวา 2
105 หว ยคต ทองหลาง บา นวังขา วเหนยี ว 3
106 หวยคต ทองหลาง บานสมอทอง 2
107 หวยคต ทองหลาง บานอซี า 1
108 หวยคต หวยคต บา นหนองจอก 1
109 หว ยคต หวยคต บานหินโหลน 3
110 หวยคต สขุ ฤทัย บา นบอนํ้าเย็น 3
111 สวางอารมณ หนองหลวง บานดงสาํ ราญ 2

- 28 -

ตารางท่ี 4-1 บัญชีรายชือ่ หมบู า นเส่ียงภยั ดนิ ถลม จังหวดั อทุ ยั ธานี (ตอ )

ลาํ ดับที่ อาํ เภอ ตําบล หมบู าน ระดับความเสีย่ งภัย

112 สวางอารมณ หนองหลวง บา นหนองโพธิ์ 2
113 สวางอารมณ หนองหลวง บานหนองแวน 2
114 ทพั ทนั โคกหมอ บานเขาลูกชาง 2
115 ทัพทัน โคกหมอ บา นเขาลูกชาง 2
5 อาํ เภอ 18 ตําบล 115 หมูบ าน -
รวม

คําอธิบายระดบั ความเสีย่ งภัย : ระดบั ความเสีย่ งภัย 1 หมบู านทีไ่ ดร บั ผลกระทบจากดินถลม จํานวน 62 หมบู า น
ระดบั ความเสี่ยงภยั 2 หมูบา นที่ไดร บั ผลกระทบจากนาํ้ ปา ไหลหลาก จํานวน 37 หมูบาน
ระดบั ความเส่ียงภัย 3 หมบู า นทีไ่ ดรับผลกระทบจากน้ําทว ม จาํ นวน 16 หมบู าน

ท่มี าของขอ มลู : กรมทรพั ยากรธรณี
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
กรมพัฒนาทด่ี นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

4.2 หลมุ ยุบ

หลุมยุบ (Sinkhole) เปนธรณีสัณฐานวิทยาท่ีพบเปนสวนใหญในบริเวณที่มีภูมิประเทศ
แบบคาสต ซ่ึงรองรับหินท่ีมีคุณสมบัติละลายน้ําไดดี โดยเฉพาะอยางยิ่งหินปูน หินโดโลไมต หินออน
หลุมยุบเปนปรากฏการณทางธรณีพิบัติภัยท่ีเริ่มจากการเกิดโพรงใตดิน และตอมาโพรงใตดินขยายตัวจน
เพดานโครงสรางรับน้ําหนักไมไหวจงึ พงั ลงมาเปนหลุมยุบ สาเหตุการเกดิ โพรงใตด นิ อาจเกิดขึ้นไดจากเปน
โพรงหินปูนใตดินแลวตะกอนทรายใตดินถูกน้ําใตดินพัดพาออกไป การทํานาเกลือในภาคอีสาน หรือแนวตอ
ระหวางชนั้ แรยปิ ซม่ั กบั หนิ ขางเคียง

หลุมยุบมีลักษณะเปนหลุมหรือเปนแอง ระดับต่ํากวาพื้นที่โดยรอบ มีรูปรางและขนาดตางๆ
กัน เชน รูปเกือบกลมหรือเปนวงรี มีเสนผาศูนยกลางต้ังแต 1-200 เมตร ลึกต้ังแต 1 เมตร ถึงมากกวา 20
เมตร (พจนานุกรม ศัพทธรณีวิทยา, 2544) มีน้ําขังอยูกนหลุม ภายหลังนํ้าใตดินจะกัดเซาะและนําพาดินท่ี
อยกู น หลุมไป ทาํ ใหห ลุมยบุ ลกึ ขน้ึ สว นปากหลุมก็จะพงั อยูตลอดจนกระทัง่ เสถยี ร

หลุมยุบเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติและเกิดข้ึนโดยการกระทําของมนุษย หลุมยุบท่ีเกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติอาจจะกินเวลาหลายลานปหรือในเวลาอันรวดเร็ว เชน กรณีที่เกิดพิบัติภัยแผนดินไหว
เปนตน สวนหลุมยุบท่ีเกิดข้ึนโดยการกระทําของมนุษยมักเกิดข้ึนในเวลาอันรวดเร็ว ซ่ึงพอจําแนกไดดังนี้
การสูบน้ําใตดิน การตัดไมทําลายปา การเปล่ียนทิศทางนํ้าธรรมชาติ การสรางทางน้ําใหม หรือการขุดบอ
ที่ไมม ีการรองพนื้ บอ

จังหวัดอุทัยธานี มีพ้ืนท่ีท่ีมีโอกาสเกิดหลุมยุบท่ีเปนพ้ืนท่ีรองรับดวยช้ันหินปูน (รูปท่ี 4-2)
ครอบคลมุ พน้ื ทท่ี ้ังหมด 7 อาํ เภอ 28 ตําบล ดงั รายละเอยี ดตารางท่ี 4-2

รปู ท่ี 4-1 แผนที่พ้นื ที่ท่มี โี อกาสเกดิ ดินถลม จังหวดั อุทยั ธาน

- 29 -

นี (กรมทรพั ยากรธรณี, 2547)

รปู ท่ี 4-2 แผนที่แสดงพื้นทท่ี ่มี โี อกาสเกิดหลมุ ยุบ จงั ห

- 30 -

หวดั อุทยั ธานี

- 31 -

ตารางที่ 4-2 บญั ชีรายชื่อพื้นทีท่ ่มี ีโอกาสเกดิ หลมุ ยบุ จังหวัดอทุ ยั ธานี

ลําดับที่ อาํ เภอ ตาํ บล
1 บานไร บานไร ทัพหลวง หวยแหง คอกควาย วังหิน เมอื งการุง แกนมะกรดู
หนองจอก หชู าง บานบงึ บา นใหมค ลองเคยี น หนองบมกลว ย และเจาวัด
2 หนองฉาง หนองยาง ทงุ โพ เขาบางแกรก และเขากวางทอง
3 ลานสัก ลานสกั ประดูยืน ปาออ น้ํารอบ ทุงนางาม
4 ทพั ทัน หนองกระทมุ ตลุกดู
5 สวา งอารมณ พลวงสองนาง ไผเขียว
6 หนองขาหยา ง ดงขวาง
7 หวยคต สุขฤทยั

4.3 แผน ดินไหว

แผนดนิ ไหว เปนภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีเกิดจากการสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจาก
การปลดปลอ ยพลงั งานเพอ่ื ระบายความเครียดทีส่ ะสมไวภ ายในโลกออกมาอยา งฉบั พลัน ในการปรับสมดุล
ของเปลือกโลกใหค งท่ี มสี าเหตุมาจาก 2 สาเหตใุ หญ สาเหตุแรก เกิดจากการกระทําของมนุษย ไดแก การ
ทดลองระเบิดปรมาณู การกักเกบ็ นํ้าในเขือ่ น และแรงระเบดิ จากการทําเหมอื งแร เปนตน สวนสาเหตุท่ีสอง
เกิดข้นึ เองจากธรรมชาติ

ความรา ยแรงอนั เนอ่ื งมาจากแผน ดินไหวสามารถบอกไดในรปู ของความรุนแรง (Intensity)
และขนาด (Magnitude) มาตราวัดขนาดแผนดินไหวใชหนวยเปน “ริกเตอร” (Richter) เปนตัวเลขท่ีทําให
สามารถเปรียบเทียบขนาดของแผนดินไหวตางๆ กันได คาที่บันทึกไดจากเคร่ืองวัดแผนดินไหว มิไดเปน
หนว ยวดั เพื่อแสดงผลของความเสยี หายทีเ่ กดิ ขึน้

ความรุนแรงของแผนดินไหว เปนผลกระทบของแผนดินไหวท่ีมีตอความรูสึกของคน ตอ
ความเสียหายของอาคารและส่ิงกอสราง และตอส่ิงตางๆ ของธรรมชาติ ความรุนแรงจะมากนอยข้ึนอยูกับ
ระยะทาง จากตําแหนง ศูนยก ลางแผน ดินไหว (Epicenter)

ความรุนแรงของแผนดินไหว กําหนดไดจากความรูสึกของอาการตอบสนองของผูคน การ
เคล่ือนที่ของเคร่ืองเรือน เคร่ืองใชในบาน ความเสียหายของปลองไฟ จนถึงขั้นที่ทุกสิ่งทุกอยางพังพินาศ
มาตราวัดความรนุ แรงของแผน ดินไหวเรียกวา “มาตราเมอรคัลล่ี” (Mercalli) มี 12 ระดับ จากระดับความรุนแรง
ท่ีนอยมากจนไมสามารถรูสึกไดซึ่งตองตรวจวัดไดดวยเคร่ืองมือวัดแผนดินไหวเทานั้น จนถึงขั้นรุนแรง
ที่สดุ จนทกุ สิ่งทกุ อยางพังพินาศ และใชห นว ยของระดับความรนุ แรงเปน ตวั เลขโรมัน
กรมทรพั ยากรธรณไี ดสํารวจรอยเลอื่ นมพี ลังพบวา ประเทศไทยมีแนวรอยเลื่อนใหญๆ อยูหลายแนว (รูปท่ี
4-3) สามารถจัดกลุมรอยเลื่อนโดยอาศัยทิศทางการวางตัวและการเคล่ือนที่ได 3 แนว คือ กลุมรอยเล่ือนที่
วางตัวในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต กลุมรอยเล่ือนที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-
ตะวันออกเฉียงใต และกลุมรอยเลื่อนที่วางตัวอยูในทิศเหนือ-ใต จํานวนท้ังส้ิน 13 กลุมรอยเลื่อน
ครอบคลุม 22 จังหวัดของประเทศไทย ดังนี้ รอยเล่ือนแมจัน (และรอยเล่ือนแมอิง) รอยเล่ือนแมฮองสอน
รอยเลื่อนเมย รอยเล่ือนแมทา รอยเลื่อนเถิน (และรอยเลื่อนแมนํ้ายม) รอยเลื่อนพะเยา รอยเลื่อนปว รอยเล่ือน

- 32 -

อุตรดิตถ รอยเลื่อนศรีสวัสด์ิ รอยเลื่อนเจดียสามองค รอยเลื่อนระนอง รอยเล่ือนคลองมะรุย และรอยเลื่อน
ทาแขก นอกจากนี้กรมทรัพยากรธรณีไดจัดทําแผนท่ีท่ีกําหนดบริเวณที่มีความเส่ียงภัยตอแผนดินไหว
ฉบับปรับปรุงครั้งท่ี 2 พ.ศ. 2548 (รูปที่ 4-4) ซ่ึงวิเคราะหจากแนวรอยเลื่อนมีพลัง ลักษณะธรณีวิทยา
ความถ่ีและขนาดแผนดินไหวที่เกิดในประเทศไทยและประเทศเพ่ือนบานเพ่ือใหหนวยงานที่รับผิดชอบ
เก่ียวกับการกอสรางอาคารนําไปใชเปนขอพิจารณาในการออกแบบกอสรางอาคารที่ตองคํานึงถึงคาความ
ปลอดภัย

จังหวัดอุทัยธานีไมมีกลุมรอยเลื่อนมีพลังพาดผาน พ้ืนที่จังหวัดอุทัยธานีอยูในเขตเสี่ยง
ภัยแผน ดนิ ไหวระดับ 1 มีความเส่ยี งภยั แผน ดินไหว เทยี บไดกบั ความรนุ แรงขนาด 3-4 เมอรค ัลล่ี ซง่ึ จะทาํ
ใหบคุ คลทอ่ี ยบู นอาคารสงู รสู กึ วา มีแผน ดนิ ไหว (มีความเสยี่ งนอย แตอ าจมีความเสยี หายบา ง)

มาตรการสําคัญในการสรางความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนท่ีอาศัยอยู
ในเขตพ้ืนที่เสี่ยงภัยแผนดินไหว คือการออกแบบอาคารตางๆ ใหสามารถตานทานแรงส่ันสะเทือน
แผนดินไหวได กฎหมายบังคับใชในการออกแบบและกอสรางอาคารในพื้นท่ีเส่ียงภัย โดยกฎกระทรวง
มหาดไทย เรอื่ งกําหนดการรับนํ้าหนัก ความตานทาน ความคงทนของอาคารและพ้ืนดินที่รองรับอาคารใน
การตา นทานแรงสัน่ สะเทือนของแผน ดนิ ไหว พ.ศ. 2550 สามารถสรุปไดดังนี้

(1) การเพ่มิ เติมพ้นื ทีค่ วบคุมและจัดแบงเขตพ้นื ทีใ่ หม คือ
“บริเวณเฝาระวัง” หมายถึง พ้ืนที่หรือบริเวณที่อาจไดรับผลกระทบจากแผนดินไหว ไดแก
จงั หวดั กระบี่ จังหวดั ชุมพร จังหวดั พังงา จังหวดั ภูเก็ต จังหวัดระนอง จังหวัดสงขลา และจังหวัดสุราษฎรธานี
รวม 7 จังหวัด
“บริเวณที่ 1” หมายถึง พ้ืนที่หรือบริเวณที่เปนดินออนมากที่อาจไดรับผลกระทบจาก
แผน ดินไหวระยะไกล ไดแ ก กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ และ
จังหวัดสมุทรสาคร รวม 5 จังหวดั
“บริเวณท่ี 2” หมายถึง พ้ืนที่หรือบริเวณที่อยูใกลรอยเล่ือนท่ีอาจไดรับผลกระทบจาก
แผนดินไหว ไดแก จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม จังหวัดตาก จังหวัดนาน จังหวัด
พะเยา จงั หวดั แพร จังหวดั แมฮ อ งสอน จังหวัดลาํ ปาง และจังหวัดลําพูน รวม 10 จงั หวัด

(2) การจัดกลุมประเภทอาคารควบคมุ ใหม ีความชัดเจนมากข้นึ
- กําหนดประเภทอาคารควบคุมตามบริเวณ เน่ืองจากผลกระทบจากแผนดินไหวที่มีตอ
อาคารประเภทตา งๆ ในแตล ะเขตมีความแตกตางกัน
- สะพาน ทางยกระดับทมี่ ีชวงระหวางศูนยกลางตอมอ ยาวตง้ั แต 10 เมตรข้ึนไป
- เขื่อนเก็บกักน้ํา เข่ือนทดนํ้า หรือฝายทดน้ํา ท่ีตัวเข่ือนหรือตัวฝายมีความสูงตั้งแต 10
เมตรขน้ึ ไป

- 33 -

รปู ที่ 4-3 แผนทร่ี อยเล่ือนมพี ลงั ในประเทศไทย (กรมทรัพยากรธรณี, 2549)

- 34 -

รูปท่ี 4-4 แผนทีบ่ รเิ วณเสย่ี งภัยแผนดนิ ไหวของประเทศไทย (ฉบบั ปรับปรงุ คร้งั ที่ 2 พ.ศ. 2548)

- 35 -

บทท่ี 5
แหลง ธรรมชาตทิ างธรณีวทิ ยา

5.1 แหลงธรรมชาติทางธรณีวทิ ยา

ผลจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาในอดีตทําใหเกิดลักษณะภูมิประเทศ
ลกั ษณะธรณีสัณฐานแบบตา งๆ และซากดกึ ดาํ บรรพ เปนหลกั ฐานแสดงพัฒนาการของโลกและววิ ัฒนาการ
ของส่งิ มชี ีวิตในอดีต ซงึ่ มีคุณคาความสําคญั ตอ การศึกษาวิจัยทางธรณีวิทยา ภูมิศาสตร และประวัติศาสตร
นอกจากน้ันบางแหลงยังมีทัศนียภาพของพื้นที่และบริเวณโดยรอบสวยงามมีศักยภาพในการเปนแหลง
ทองเท่ียวนันทนาการ เรียกวา “แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา” ซ่ึงกรมทรัพยากรธรณีไดจําแนกออกเปน
7 ประเภท ประกอบดวย 1) แหลงลําดับช้ันหินแบบฉบับ 2) แหลงหินแบบฉบับ 3) แหลงแรแบบฉบับ
4) แหลง ธรณีโครงสราง 5) แหลงพนุ า้ํ รอ น 6) แหลงธรณีสณั ฐาน และ 7) แหลง ซากดึกดําบรรพ

แหลงธรรมชาติที่ไดรับการประกาศใหเปนมรดกทางธรรมชาติของทองถ่ินอันควรอนุรักษ
ในปแหงการพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 พฤศจิกายน 2532
ในพื้นทีจ่ งั หวัดอุทยั ธานี 2 แหลง (กรมสงเสริมคณุ ภาพส่ิงแวดลอม, 2543) ดงั นี้

ตารางที่ 5-1 แหลง ธรรมชาติอนั ควรอนุรกั ษของภาคเหนือในเขตจงั หวดั อุทัยธานี

ชือ่ แหลง ท่ีต้งั หนว ยงานรับผดิ ชอบ
1. น้ําตกไซเบอร
บา นไซเบอร ตาํ บลทองหลาง อาํ เภอหว ยคต หนวยพิทักษป า ไซเบอร
(น้ําตกหนิ ลาด) จังหวดั อทุ ยั ธานี เขตรักษาพันธุสัตวปาหว ยขาแขง

2. นา้ํ ตกธรรมรส บานเขาฆอ งชยั หมูที่ 13 ตาํ บลปา ออ เขตหา มลาสัตวปาถา้ํ ประทนุ
อําเภอลานสัก จงั หวดั อุทัยธานี องคก ารบรหิ ารสว นตําบลฆอ งชยั

โครงการจําแนกเขตเพ่ือการจัดการธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีรายจังหวัด ปงบประมาณ
2551 โดยกรมทรัพยากรธรณี ไดดําเนินการสํารวจและประเมินสถานภาพทรัพยากรธรณีประเภทแหลง
ธรรมชาติทางธรณีวิทยาในพ้ืนท่ีจังหวัดอุทัยธานีพบวามีแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยารวมท้ังสิ้น 16 แหลง
(รปู ท่ี 5-1) ประกอบดวย แหลงน้ําพุรอน 1 แหลง และแหลงธรณีสัณฐาน 15 แหลง รายละเอียดตามตารางที่
5-2

แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษดังกลาว จะไดรับการติดตามตรวจสอบสภาพแวดลอมและ
สถานการณปจจุบันเพื่อปรับปรุงขอมูลแหลงธรรมชาติใหทันสมัย สําหรับเปนขอมูลเผยแพร ประชาสัมพันธ
การวางแผนและการดําเนินงานดานการอนุรักษส่ิงแวดลอมธรรมชาติ ทั้งน้ีเพ่ือใหประชาชนไดมีความรู
ความเขาใจและตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ แหลงสวนใหญไดรับการ
พัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวพักผอนหยอนใจของคนในทองถ่ินและพื้นที่ใกลเคียง บางแหงยังเปน
หองเรียนธรรมชาติในการเรียนรทู างธรรมชาติตางๆ เชน ระบบนเิ วศวทิ ยา ปาไม พืชพนั ธุและสัตว เปนตน

- 36 -

ตารางท่ี 5-2 แหลง ธรรมชาติทางธรณวี ิทยาจงั หวัดอุทยั ธานี

ชื่อแหลง ตําบล พ้ืนท่ี จงั หวัด ประเภท

1. นํ้าพุรอนบานสมอทอง ทองหลาง อําเภอ อทุ ยั ธานี แหลง น้าํ พรุ อ น
2. น้าํ ตกไซเบอรหรือนาํ้ ตกหินลาด คอกควาย อทุ ัยธานี แหลงธรณีสัณฐานประเภทน้ําตก
3. นาํ้ ตกผารมเย็น เจาวัด หว ยคต อทุ ยั ธานี แหลง ธรณีสัณฐานประเภทนํ้าตก
4. ถาํ้ พหุ วาย บานไร หวยคต อทุ ัยธานี แหลงธรณีสัณฐานประเภทถ้าํ
5. ถํ้าเขาตะพาบ วังหิน บา นไร อทุ ัยธานี แหลงธรณีสัณฐานประเภทถาํ้
6. ถ้ําเขาพระยาพายเรือ ลานสกั บา นไร อทุ ยั ธานี แหลง ธรณีสณั ฐานประเภทถ้ํา
7. ถ้ําเขากวางทอง เขากวางทอง บานไร อุทัยธานี แหลงธรณีสัณฐานประเภทถํ้า
8. ถ้ําเขาวง บา นไร ลานสัก อุทยั ธานี แหลง ธรณีสณั ฐานประเภทถาํ้
9. เขาฆองชัย ลานสกั หนองฉาง อทุ ัยธานี แหลงธรณีสัณฐานประเภทภเู ขา
10. เขาสะแกกรงั ในเมอื ง บา นไร อุทยั ธานี แหลง ธรณสี ัณฐานประเภทภูเขา
11. เขาวงพรหมจรรย วังหิน ลานสัก อทุ ยั ธานี แหลง ธรณีสัณฐานประเภทภูเขา
12. เขาผาแรด ลานสัก เมือง อุทยั ธานี แหลง ธรณีสัณฐานประเภทภูเขา
13. เขาปลารา เขาบางแกรก บา นไร อทุ ยั ธานี แหลงธรณีสณั ฐานประเภทภูเขา
14. เขาปฐวี ตลกุ ดู ลานสกั อทุ ยั ธานี แหลงธรณสี ัณฐานประเภทภเู ขา
15. หุบปาตาด หบุ ประทนุ หนองฉาง อทุ ยั ธานี แหลง ธรณสี ัณฐานประเภทภูเขา
ทัพทนั
ลานสัก

5.2 แหลง ธรรมชาติทางธรณวี ทิ ยาทเ่ี ปน เอกลกั ษณแ ละโดดเดน ของจงั หวดั อุทยั ธานี

การใชประโยชนที่ผานมาทําใหแหลงธรรมชาติทางธรณีหลายแหลง โดยเฉพาะอยางย่ิง
แหลงธรณีสัณฐานประเภทถ้ําเส่ือมโทรมและสูญส้ินสภาพไป แตยังมีบางสวนที่ไดรับความคุมครองจาก
ประกาศเปนแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษขางตน รวมท้ังอยูในเขตรับผิดชอบของหนวยงานที่เกี่ยวของ
อยางชัดเจน แตการพัฒนาใชประโยชนซ่ึงเนนหนักไปดานการเปนแหลงทองเท่ียวนันทนาการ ประกอบกับ
การมีระบบการบริหารจัดการที่ไมเหมาะสมเพียงพอ อาจสงผลใหแหลงธรรมชาติซึ่งมีคุณคาทางวิชาการ
ธรณวี ทิ ยาหลายแหลง ถกู ละเลยจนเส่ือมโทรม และสูญสิน้ สภาพตามธรรมชาติไปในที่สุด

แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาอันควรอนุรักษที่มีความโดดเดนทางธรณีวิทยาสูงและมี
ศกั ยภาพในการใชประโยชนใ นการทองเทยี่ วและสนบั สนนุ การเรียนรูทางธรณีวิทยาของประชาชนในทองท่ี
ของจังหวัดอุทัยธานี ไดแก เขาผาแรด น้ําพุรอนบานสมอทอง ถ้ําเขาวง ถํ้าพุหวาย ถ้ําเขาพระยาพายเรือ
น้าํ ตกไซเบอร น้ําตกผารม เย็น เปนตน ซ่งึ แตละแหลง มลี กั ษณะเดน ทางธรณีวิทยา ดงั นี้

5.2.1 แหลง พนุ ้ํารอน

พุนํา้ รอนบา นสมอทอง
พุน้ํารอนบานสมอทอง ตั้งอยูที่บานสมอทอง ตําบลคอกควาย อําเภอหนองฉาง จังหวัด
อุทัยธานี (พิกัด 1695907 เหนือ และ 0555686 ตะวันออก) ในแผนท่ีภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000


Click to View FlipBook Version