The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natta_wannapa, 2022-06-23 04:07:23

คู่มือ 65

คู่มือ 65

คู่ มื อ

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 5

โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น พ บ พ ร ะ

1

คำนำ

สภาพสงั คมปัจจบุ นั ได้เปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ผลจากการเปล่ยี นแปลงทำให้เกิดปญั หาทางสงั คม
เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมทเี่ ข้ามาสูส่ ังคมไทย ทำให้เกดิ ผลกระทบต่อเด็กเยาวชนในวยั เรียน โดยเฉพาะเร่ือง
พฤติกรรมและลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็ก ความปลอดภัยในชวี ติ ปัญหายาเสพติดซึง่ เปน็ ภัยรอบข้าง
สำหรับเดก็ และเยาวชน จงึ จำเปน็ ตอ้ งมีผู้ชแี้ นะ ใหค้ ำแนะนำ ใหค้ วามรกั ความไวว้ างใจและความเข้าใจแก่เดก็
ทุกคนเพอ่ื หวงั ใหเ้ ยาวชนเติบโตอย่างมีคุณภาพ และเป็นคนดีมีพฤติกรรมทดี่ อี ยู่ในสงั คมอย่างปลอดภยั และมี
ความสุข

คมู่ ือระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนเล่มนี้ จัดทำขน้ึ เพ่ือครปู ระจำชนั้ ครูทป่ี รึกษา ครแู นะแนว
นำไปใชใ้ นการดำเนนิ การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นทุกคน โดยร่วมกับผปู้ กครองนักเรียน โรงเรียนชุมชนบ้าน
พบพระ ดำเนนิ การระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ป้องกนั และปญั หา และส่งเสรมิ
พัฒนานักเรียนอย่างเปน็ ระบบ

เอกสารคู่มอื เล่มน้ี สำเรจ็ ลงด้วยดีโดยได้รบั ความร่วมมือจากสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาการเรยี นรขู้ อง
คณะครูและผู้ทีเ่ ก่ียวข้อง จงึ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี

คณะผู้จัดทำ

2

สว่ นท่ี 1 ประวัติโรงเรียน

วสิ ัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนชุมชนบา้ นพบพระเป็นโรงเรยี นท่มี ีผลงานเชงิ ประจักษ์ ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น

คุณธรรม จริยธรรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะพ้ืนฐานสำหรบั ศตวรรษท่ี 21 และเป็น
พลเมืองท่ีดีพร้อมกา้ วสสู่ ากล

พันธกิจ (Mission)
1. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การภายในโรงเรยี นใหเ้ อือ้ ต่อการจดั การเรียนการสอน

ท่ีสรา้ งทักษะในศตวรรษท่ี 21
2. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้ทกุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
3. สง่ เสรมิ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจดั การศึกษา
4. พัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี นให้มีความรูด้ า้ นวชิ าการ ทักษะชวี ิตและทักษะอาชีพ
5. พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีคณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21
6. ส่งเสรมิ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชพี

ค่านิยม (Value)
สร้างสรรคส์ งั คมการเรียนรู้ มุ่งสโู่ รงเรยี นดีด้วยบวร ก้าวสู่องคก์ รแห่งความสขุ

เป้าประสงค์ (Goal)
1. โรงเรียนมีรปู แบบการบรหิ ารจัดการแบบองค์กรสมัยใหม่รว่ มมอื กับชุมชน ภาคเอกชน

และผเู้ ก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษาระดับพน้ื ที่ จัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นเพอื่ การเรียนรู้ในทกุ มติ ิเป็น
โรงเรยี นนวตั กรรม

2. ผเู้ รียน เปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ คดิ ริเรม่ิ และสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
3. ผู้เรียนมีความรู้ มีทกั ษะชวี ติ มที กั ษะอาชพี และคุณลักษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 และ
ความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และปรับตัวต่อการเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลกท่ดี ี
4. ผเู้ รียนใฝเ่ รียนรู้ รบั ผดิ ชอบ มีวินยั ซื่อสัตย์ แบ่งบนั มจี ิตอาสาเพื่อสว่ นรวม
5. ครูเป็นผ้เู รยี นรู้ มจี ติ วิญญาณความเป็นครู มีความแมน่ ยำทางวชิ าการ และมีทักษะการจัดการ
เรียนร้ทู ่ีหลากหลายตอบสนองผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล และเป็นผูส้ รา้ งสรรคน์ วตั กรรม
6. ผบู้ ริหารสถานศึกษา มคี วามเปน็ เลิศสว่ นบคุ คล คดิ เชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มภี าวะผู้นำทาง
วิชาการ มสี ำนกึ ความรับผดิ ชอบ (Accountability) และการบริหารแบบร่วมมอื

ประเด็นกลยทุ ธ์ (Strategic issues)
ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาการบรหิ ารจดั การและสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ ม
ประเด็นกลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 3 สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐาน
ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

3

ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 1 พฒั นาการบรหิ ารจดั การและสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วม

กลยุทธ์ มาตรการ/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1.1 จัดโครงสร้างการบรหิ ารงานและกระจายอำนาจการดำเนินงานตามภารกิจอย่าง
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ชดั เจน
1.2 กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล เพอ่ื การบริหารจดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
2. พฒั นารูปแบบการบริหาร โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
จัดการภายในโรงเรียนให้เอื้อ
ตอ่ การพัฒนานกั เรยี นสู่ 2.1 พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นร้กู ารวดั และประเมินผล โดยเน้นให้มีการวิจัยและ
ศตวรรษที่ 21 นวตั กรรมในชนั้ เรยี น
3. ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วม 2.2 สร้าง ปรับปรุงซอ่ มแซมอาคารสถานทแ่ี ละแหล่งเรียนรใู้ ห้เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ใน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ศตวรรษที่ 21

3.1 สนบั สนนุ ผ้ปู กครอง ชุมชน สงั คม และสาธารณชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ
ตระหนกั ในการสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดจนการมีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบในการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รียน
3.2 สร้างความเข้มแข็งในการยกระดบั คุณภาพการศึกษารูปแบบเครือขา่ ย เช่น เครือขา่ ย
สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศกึ ษาศนู ย์ พฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรู้
สหวิทยาเขต กลุ่มโรงเรียนฯลฯ

ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น

กลยทุ ธ์ มาตรการ/แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา

1. พัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น 1.1 สง่ เสริมผู้เรียนให้มีสมรรถนะดา้ นดจิ ิทัล

ใหม้ ที กั ษะการเรยี นร้ใู น (Digital Competence) และสมรรถนะดา้ นการส่อื สารภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3

ศตวรรษท่ี 21 มคี วามเป็นเลิศ 1.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รยี นในลกั ษณะ

ด้านวิชาการ นำไปสู่การสรา้ ง ของ STEM ศึกษา

ขีดความสามารถในการ 1.3 พัฒนาผู้เรียนสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะท่จี ำเปน็ 3

แขง่ ขนั ดา้ น 1. (Reading Literacy) 2. (Mathematical Literacy) 3. (Scientific Literacy)

2. พฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ที ักษะ 2.1 สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพอื่ ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรอู้ ิง

อาชพี และทกั ษะชวี ิต มีสุข สมรรถนะและเตรยี มความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพและการมที ักษะชีวิตท่ี

ภาวะทีด่ สี ามารถดำรงชีวติ อยู่ 2.2 สง่ เสริมสนบั สนุนให้ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจัดการเรยี นรูแ้ ก่ผเู้ รียนตาม

ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ความสนใจในทักษะอาชีพท่ีตนเองถนดั เพอื่ เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสตู่ ลาดแรงงานและ

สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

3. พัฒนาผ้เู รยี นทกุ คนให้มี 3.1 สง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษานอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจัด

คุณธรรมและจริยธรรม กจิ กรรมการสอนเพอ่ื พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามทก่ี ำหนด

4

ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3 สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพและมมี าตรฐาน

กลยุทธ์ มาตรการ/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

1. สร้างความเข้มแข็งในการ 1.1 สนับสนุนใหม้ หี อ้ งเรียน MEP ทมี่ ่งุ พฒั นาผ้เู รียนสคู่ วามเปน็ เลิศและกา้ วสู่ความเปน็
บรหิ ารจัดการสำหรับผู้เรยี นที่ สากลอยา่ งเต็มศักยภาพของแตล่ ะบุคคล
มีความต้องการพเิ ศษ 1.2 ส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมในการจดั การเรียนรโู้ ดยการจดั การเรียนการสอน
แบบ Block Course และใชห้ ลกั การสอนแบบ Microteaching และสรา้ งระบบเครือข่าย
2. พัฒนาระบบหอ้ งเรยี นให้ แบบทวภิ าคแี ละพหุภาคีกบั สถานศกึ ษาอืน่
เปน็ ห้องเรยี น Digital
2.1 ส่งเสริมให้เกดิ เป็นนวตั กรรมการจดั การศึกษาท่ีเป็นต้นแบบได้ (Best Practice)
2.2 สนับสนนุ ให้มโี ครงข่ายสือ่ สารและโทรคมนาคมทีม่ ีประสทิ ธภิ าพและปลอดภัย
2.3 สนบั สนุนงบประมาณ และบุคคลากรให้เพยี งพอต่อการจัดการศึกษา

ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนาผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

กลยทุ ธ์ มาตรการ/แนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษา

1. พฒั นาครูและบคุ ลากร 1.1 สง่ เสรมิ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถจดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพทั้ง
ทางการศกึ ษา ใหส้ ามารถ ระบบเชือ่ มโยงกับการเล่ือนวทิ ยฐานะในรปู แบบท่หี ลากหลาย เชน่ TEPE Online ชมุ ชน
จัดการเรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ แหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) การเรยี นรูผ้ ่าน
ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย กจิ กรรมการปฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning)

2. พัฒนาผู้บรหิ าร ครูและ 2.1 สนับสนนุ ใหผ้ ู้บริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเขา้ รับการพัฒนา
บุคลากรทางการศึกษาทุก ตามหลกั สตู รทก่ี ำหนดท่เี ชือ่ มโยงความก้าวหน้าในวชิ าชพี (Career Path)
ประเภท ให้มีสมรรถนะตาม 2.2 สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้บรหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ในรูปแบบชุมชนแหง่ การ
มาตรฐานวชิ าชพี มีศักยภาพ เรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC)
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.3 สง่ เสรมิ และพัฒนาผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มสี มรรถนะตาม
มาตรฐานวชิ าชีพ มีศกั ยภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม

5

วัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวคิดหลักของการพฒั นาโรงเรยี น

1. วัตถปุ ระสงค์ ( Objectives )

1. เพ่อื ใหป้ ระชากรในวยั เรียนทมี่ ี ทร.14 และไม่มี ทร.14 ไดเ้ ข้าเรียนในระดับการศกึ ษาภาคบังคบั
9 ปีและศกึ ษาต่อในระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานตามความพรอ้ มอย่างเหมาะสม

2. เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์และคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์
3. เพอ่ื พฒั นาครใู หม้ ีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน
4. เพอ่ื ให้ผ้ปู กครองชมุ ชนและท้องถ่นิ มสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
5. เพือ่ ประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
2. แนวคิดหลักของการพัฒนาโรงเรยี น
2.1 โรงเรยี นสนับสนุนใหช้ ุมชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษาสง่ เสริมให้บคุ ลากรในโรงเรียนพฒั นา
ทกั ษะความรโู้ ดยการศกึ ษาต่อการอบรมสัมมนาการทำวจิ ัยมกี ารวางแผนการจัดทำและพัฒนางานรว่ มกันมี
การปรับปรงุ บริเวณโรงเรียนและอาคารสถานท่ีมกี ารสร้างขวัญและกำลงั ใจในการทำงานเพื่อให้งานมี
ประสิทธิภาพ
2.2 จดั ระบบการบริหารจัดการท่มี ีประสิทธิภาพโดยใหช้ ุมชนมีสว่ นรว่ มโดย

1. พัฒนาระบบการบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มและหลักธรรมภิบาล
2. จดั ระบบข้อมลู สารสนเทศในการจดั การศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพ
3. จัดทำข้อมูลเพือ่ เสนอขอกำหนดอัตรากำลังและสรรหาบุคลากรให้มเี พยี งพอพอและ
เหมาะสมกบั ภาระงานของสถานศึกษา
4. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีมอี ยู่ทุกรูปแบบให้สามารถปฏิบตั งิ านได้ตาม
มาตรฐานชาตแิ ละจรรยาวชิ าชีพ
5. พฒั นาระบบการบรหิ ารงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงานให้เกิดประสทิ ธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลตอ่ การจัดการศึกษา
6. จดั สวสั ดกิ ารและสิทธิประโยชน์เกอ้ื กลู ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถึง
2.3 บริหารจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานชาตทิ ั้งด้านปจั จัย
กระบวนการการบริหารจัดการและผลผลติ ภายใต้บริบทและศกั ยภาพภาพของสถานศึกษาโดย
1. ปรับปรงุ พฒั นาหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียนชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ
2. สนับสนนุ และสง่ เสรมิ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาพัฒนาการเตรียมความพรอ้ มและ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ วมทั้งการทำวิจัยในชั้นเรยี นเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี น
3. ปฏริ ูปการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั
4. สนับสนนุ และสง่ เสริมใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรทู้ ่ี
หลากหลายและใช้นวัตกรรมเป็นเคร่ืองมือในการจัดประสบการณ์เรยี นรู้
5. ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรูแ้ ละพฒั นาตนเองตามความสามารถและเต็มตามศักยภาพ
6. พฒั นาและใชแ้ หล่งเรยี นรู้วฒั นธรรมประเพณภี มู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ของสถานศึกษาและชุมชน
มาใช้จัดการศึกษาอยา่ งหลากหลาย

ภารกจิ (Assign Mission)
1. พฒั นาสภาพภมู ทิ ศั น์ภายในโรงเรียนเน้นสภาพบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียนใหเ้ กดิ

ความร่มรื่นสดช่ืนสวยงามสะอาดมรี ะเบียบวนิ ัยตอ่ การเรียนรโู้ ดย

6

- เรง่ รัดพฒั นาสุขาภบิ าลภายในโรงเรยี นให้เพียงพอและเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
- สนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยสาธารณูปโภคให้เพยี งพอต่อความต้องการ
- เร่งรัดพฒั นาจดั ภูมิทัศน์และสิง่ แวดลอ้ มภายในโรงเรียน
- เรง่ รดั รณรงคจ์ ัดสร้างอาคารประกอบรวมท้งั บำรุงรักษาให้เกดิ ประโยชน์สดู
2. พัฒนาสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมรวมทง้ั การประชาสมั พนั ธเ์ พ่ือใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
ตอ่ การบริหารและกระบวนการจดั การเรียนการสอนโดย
- ระดมทรพั ยากรจดั หาอุปกรณ์ให้เพยี งพอกบั ความต้องการ
- เร่งรัดจัดหาสอ่ื อุปกรณ์ให้พรอ้ มสำหรับการพัฒนาระบบงานสารบรรณ
- สรา้ งระบบข้อมูลสาระสนเทศเพ่ือนำเสนอข้อมูลและประชาสัมพันธก์ จิ กรรมของโรงเรยี น
3. เร่งรดั พฒั นาระบบนิเทศกำกับตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลสง่ เสริมสวสั ดกิ ารของบคุ ลากร
เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ โดย
- จดั ระบบนเิ ทศกำกบั ติดตามอย่างสมำ่ เสมอรวมท้ังรายงานผล
- พัฒนาบคุ ลากรโดยใช้รปู แบบทีห่ ลากหลายและต่อเน่ือง
- ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งสม่ำเสมอ
- จดั สวสั ดิการและจดั กจิ กรรมสรา้ งขวัญกำลงั ใจบคุ ลากรอยา่ งต่อเนื่อง
4. ใหช้ ุมชนมีส่วนรว่ มและสนบั สนนุ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรยี นโดย
ออกเย่ียมบา้ นอยา่ งน้อยปีการศกึ ษาละ 2 ครั้ง
- จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและผูป้ กครองนักเรียนตามวาระ
- จดั ตั้งกองผา้ ปา่ เพ่ือพฒั นาโรงเรยี น
- จัดทำเว็บไซด์ (Website) ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมของโรงเรยี น
- จัดทำวารสารแนะนำโรงเรียน ( 2 เดือนต่อ 1 ฉบับ )
5. จดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ( Child Centered ) โดย
- จัดทำสำมะโนประชากรวยั เรยี น ( 0 - 8 ปี ) ท้งั มี ทร.14 และไม่มี ทร.14 และเกณฑ์เดก็
เขา้ เรยี นใหเ้ ป็นไปตาม พ.ร.บ.การศกึ ษา พ.ศ. 2545
- จัดรูปแบบกระบวนการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลายโดยเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
- เรง่ จดั หาสอื่ วัสดุครุภัณฑ์ใหเ้ พยี งพอกับความต้องการ
- จัดบรกิ ารแนะแนวครอบคลุมทั้ง 5 บริการ
- จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในทุกๆด้าน
- เรง่ จัดหาเคร่อื งดนตรีแลอุปกรณส์ ำหรับวงโยธวาทิต
- จดั กจิ กรรมทางวิชาการท่ีหลากหลายและเกิดประโยชนต์ ่อผู้เรียน
6. พัฒนาให้ผ้เู รียนมคี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานและคุณลักษณะท่ีพึงประสงคโ์ ดย
- พฒั นารูปแบบและวธิ ีการวัดและประเมินผลทส่ี อดคลอ้ งกับคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
- จัดทำหลกั สตู รท้องถิน่ โดยใหช้ ุมชนและองคก์ รตา่ ง ๆ ในชมุ ชนได้มสี ว่ นร่วม

7

ประวตั คิ วามเปน็ มา

ขอ้ มูลทั่วไป

โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระเป็นโรงเรียนที่ราษฎรชาวอำเภอพบพระร่วมแรงร่วมใจกันจับจองที่ดิน

แปลงหนึ่งซง่ึ อยตู่ ิดกับทางด้านเหนือของวดั พบพระ ประมาณ 1 ไร่เศษ เพื่อสรา้ งโรงเรียนให้ลกู หลาน

ชาวพบพระได้เรียนใน พ.ศ. 2477 และในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2478 ได้เปิดเรียนเป็นครั้งแรก

โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนเพอะพะ” ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2512 ได้ขอเปลี่ยนชื่อ “โรงเรียนเพอะพะ” เป็นชื่อ

“โรงเรียนบ้านพบพระ” และขยายเนื้อที่ของโรงเรียนเดิมจาก 10 ไร่ 2 งาน 93 ตารางวา จนถึงปัจจุบัน

ประชาชนร้อยละ 90 ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนเป็นคนไทยนับถือศาสนาพุทธ และมีแรงงานชาวพม่า

บางกล่มุ อยใู่ นชมุ ชน

การดำเนินงานของโรงเรียนไดเ้ ปิดการสอนตั้งแต่วนั ท่ี 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2478 โดยมนี ายแหลม มศี ริ ิ

เป็นครูใหญ่คนแรกที่สร้างอาคารเรียนชั่วคราวและเปิดเรียนครั้งแรกชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และขยายถึงชั้น

ประถมปีที่ 3 ต่อมานายพิชิตใจ พรมเมือง ซ่งึ ดำรงตำแหนง่ ครใู หญใ่ นปี พ.ศ. 2513-2523 ไดด้ ำเนนิ การขอ

เปลย่ี นชอ่ื โรงเรียนจากโรงเรยี นบา้ นพบพระเปน็ “โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ” ตง้ั แต่นนั้ มา

ปัจจุบันผดู้ ำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยการโรงเรียนคอื นายภรู นิ ท์ ชนิลกลุ

โรงเรียนชมุ ชนบ้านพบพระตง้ั อยเู่ ลขที่ 138 หมทู่ ี่2 ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก ในเน้ือ

ท่ี 13 ไร่ 2 งาน 93 ตารางวา

มีอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดังนี้

1. อาคารเรียนแบบถาวร 008 จำนวน 1 หลัง

2. อาคารเรยี นแบบถาวรสปช. 2/28 จำนวน 1 หลัง

3. อาคารเรยี นแบบถาวรสปช. 105/29 จำนวน 2 หลงั

4. อาคารเอนกประสงคแ์ บบสปช. 206/26 จำนวน 1 หลัง

5. ศาลาพักรอ้ น จำนวน 1 หลงั

6. โรงฝกึ งานแบบ 313 จำนวน 1 หลงั

7. อาคารเอนกประสงค์ตามแบบ 312 จำนวน 1 หลงั

8. ห้องพยาบาล จำนวน 1 หลัง

9. บา้ นพกั ครู จำนวน 7 หลัง

10. อาคารหอ้ งสมดุ (ปรับปรุงอาคารเรียนแบบ102/2526)จำนวน 1 หลัง

11. อาคารห้องศูนยส์ ื่ออนบุ าล จำนวน 1 หลงั

12. สว้ มแบบสปช.602/26 (หลังละ10ท่ีนง่ั รวม20ทนี่ ่งั ) จำนวน 2 หลัง

13. อาคารศนู ยเ์ ทคโนโลยีและสารสนเทศ ( IT ) จำนวน 1 หลัง

14. สว้ มแบบ 4 ทนี่ งั่ จำนวน 1 หลัง

15. อาคารห้องสมุดและเทคโนโลยกี อ่ นประถมศึกษา จำนวน 1 หลัง

16. อาคารโรงอาหาร (แบบกำหนดเอง) จำนวน 1 หลัง

17. อาคารเรียน 3 ชนั้ แบบ 318 ล/55 จำนวน 1 หลงั

ปัจจบุ นั ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน

มคี รปู ฏบิ ตั ิหน้าที่ จำนวน 62 คน

8

มีครูพนักงานราชการ จำนวน 2 คน
มีครจู ้างสอนช่วั คราว จำนวน 4 คน
มพี นักงานธุรการ จำนวน 1 คน
มคี รผู ทู้ รงคุณค่า จำนวน - คน
นกั การภารโรงช่ัวคราว จำนวน 1 คน
จำนวน 71 คน
รวม

จดั การเรยี นการสอน 3 ระดบั คือ
1. ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา
2. ระดับประถมศกึ ษา
3. ระดบั มัธยมศึกษา

ที่ต้งั และขนาด
โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นพบพระตงั้ อย่เู ลขที่ 138 หมูท่ ี่ 2 ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวัดตาก

รหัสไปรษณยี ์ 63160 หมายเลขโทรศัพท์ 0-5556-9095 มีเนื้อท่ี 13 ไร่ 2 งาน 93 ตารางวา

ประเภทของโรงเรียน
โรงเรยี นชุมชนบา้ นพบพระเป็นโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาตากเขต 2

เปดิ ทำการสอนระดับอนุบาลศกึ ษาระดับประถมศึกษาและระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นเปดิ เรยี น 2 ภาคเรียน
คือ

ภาคเรยี นท่ี 1 เปิด 14 มิถุนายน 2564 – 11 ตลุ าคม 2564
ภาคเรยี นท่ี 2 เปิด 1 พฤศจิกายน 2564 - 31 มีนาคม 2565

เขตบริการของโรงเรียนชุมชนบา้ นพบพระตามสภาพภมู ิศาสตร์
หมู่ท่ี 1 บา้ นพบพระ ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังหวดั ตาก
หมู่ท่ี 2 บ้านพบพระ ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก
หมทู่ ่ี 3 บา้ นพบพระ ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก
หมทู่ ี่ 7 บา้ นพบพระทรายงาม ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก
หมู่ที่ 8 บา้ นเกษตรพฒั นา ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวดั ตาก
หมู่ท่ี 9 บา้ นผากะเจ้อ ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวัดตาก

ข้อมูลข้อกำหนดโรงเรียนเปน็ สำนักงานในพน้ื ทพ่ี ิเศษ
สำนักงานตั้งอยู่สูงกวา่ ระดับน้ำทะเลปานกลาง 380 เมตร
จุดพกิ ดั MU 675124L 675 V 124

ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
บา้ นพบพระตงั้ อยูห่ มู่ท่ี 2 ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ จงั หวัดตาก
ผ้นู ำหมบู่ า้ นช่ือ นางหล่ัน แพรภ่ าษา ตำแหนง่ ผู้ใหญ่บ้านหมทู่ ี่ 2

9

ขอ้ มูลสภาพชุมชน
ภูมปิ ระเทศของตำบลพบพระสว่ นใหญเ่ ปน็ ท่ีราบสงู มีเนนิ เขาบา้ งเลก็ น้อยประชากรสว่ นมาก

เปน็ คนไทยประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมเช่นการทำไร่ทำสวนปลูกผัก

การศกึ ษา
สว่ นมากอยู่ในระดบั ประถมศึกษาเนื่องจากในอดีตประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการศึกษา

ประกอบกบั มฐี านะยากจนใช้จา่ ยในการเรียนสูงแต่ปัจจุบนั ประชากรมีการศึกษาสงู ข้ึนเหตทุ เ่ี ปน็ เชน่ นนั้
อาจเป็นเพราะประชาชนมีฐานะความเป็นอยู่ดขี น้ึ รัฐบาลสนับสนนุ โดยไมเ่ สียคา่ ใชจ้ า่ ยและท่สี ำคัญคอื โรงเรียน
ไดจ้ ัดทุนการศกึ ษาให้กับนักเรียนทย่ี ากจนและเรียนดีเพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จา่ ยของผู้ปกครอง

การดำรงชีวติ
ประชาชนในเขตบริการมอี าชพี เกษตรกรร้อยละ 90 เช่นการทำไร่ทำสวนทำนามกี ารเลย้ี งสตั ว์

เชน่ โคสกุ รไกเ่ ป็นต้นรายไดเ้ ฉลยี่ ต่อครอบครวั ประมาณ 12,900 บาท/ปี อาชพี รองลงมาเปน็ อาชีพรบั จ้าง
ท่วั ไปคา้ ขายพืชไร่และคา้ ขายทวั่ ไปประชาชนเปน็ ผมู้ ีอธั ยาศยั มีนำ้ ใจเออ้ื เฟื้อเผอื่ แผ่ให้ความรว่ มมือกบั โรงเรยี น
ท้ังกำลงั ทรัพย์และแรงงานทำใหใ้ นปจั จบุ ันโรงเรยี นมีความเจริญกา้ วหนา้ ขน้ึ ตามลำดบั การดำรงชวี ติ ยงั ยึดถือ
ขนบธรรมเนยี มประเพณีของบรรพบรุ ษุ รักษาขนบธรรมเนียมและการละเล่นสบื ตอ่ มา
สภาพการคมนาคม
ระยะทาง

จากโรงเรยี นชุมชนบา้ นพบพระถึงที่ว่าการอำเภอพบพระเท่ากับ 1 กิโลเมตร
จากโรงเรียนชมุ ชนบา้ นพบพระถงึ สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาตากเขต 2 เทา่ กบั 50 กิโลเมตร

การเดนิ ทาง
การเดินทางไปสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาตากเขต 2 ไปโดย
- รถจักรยานยนต์
- รถประจำทางหรือรถรับจา้ งเหมา
- รถยนตส์ ว่ นตัว

ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรยี นชุมชนบ้านพบพระ

1. ท่ตี งั้ โรงเรียนชุมชนบ้านพบพระตั้งอยู่ถนนสายดอนเจดีย์ – วาเลย่ ์ หมทู่ ่ี 2 ตำบลพบพระ

อำเภอพบพระ จังหวดั ตาก

2. บคุ ลากร

โรงเรียนชุมชนบา้ นพบพระมีขา้ ราชการครปู ฏิบัติงานฝ่ายบรหิ าร จำนวน 3 คน ฝ่ายปฏบิ ัตกิ ารสอน

จำนวน 63 คน พนักงานราชการ จำนวน 1 คน ครจู ้างสอนชั่วคราว จำนวน 5 คน และนักการภารโรง

ชั่วคราวรายเดือน จำนวน 1 คน พนกั งานธรุ การ จำนวน 1 คน รวมทัง้ สน้ิ 74 คน นักเรียนแบง่ เปน็ 3

ระดบั

1. ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา จำนวน 201 คน

2. ระดับประถมศึกษา จำนวน 875 คน

3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 289 คน

รวมทั้งสน้ิ 1,365 คน

10

ส่วนที่ 2

แนวทางการดาํ เนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือ

แนวคดิ

การจดั การศึกษามจี ดุ มุ่งหมายหลกั คอื การพฒั นานักเรยี นใหม้ ีความรู้ตามหลักสตู ร มคี ณุ ลักษณะที่พงึ
ประสงค์ และมคี ุณธรรมจริยธรรมตามแบบทส่ี งั คมคาดหวงั บทบาทหนา้ ท่ีของโรงเรียนจึงต้องพฒั นา นกั เรียน
โดยรอบด้าน และส่ิงสำคัญคือการให้นักเรียนเรยี นอยใู่ นระบบอย่างมีความสุข พบกบั ความสำเรจ็ ใน การศึกษา
ตามขอบข่ายระยะเวลาทหี่ ลักสูตรกำหนด สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ตระหนัก
ถงึ ความสำคัญในการพัฒนานักเรยี น จงึ กาํ หนดใหโ้ รงเรยี นในสงั กัด จัดระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน เพือ่ ให้มี
กระบวนการทำงานเปน็ ระบบ มีความชดั เจน มกี ารประสานความรว่ มมือของผู้เกย่ี วข้องทุกฝา่ ยท้งั ใน โรงเรียน
และนอกโรงเรียนรวมทัง้ วิธกี าร กิจกรรมและเคร่ืองมือต่างๆ ทมี่ คี ณุ ภาพในการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น อนั จะ
สง่ ผลให้ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นประสบความสำเร็จโดยมีแนวคิดหลักในการดาํ เนนิ งาน ดงั นี้

1. มนษุ ยท์ ุกคนมศี ักยภาพทจี่ ะเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ตลอดชวี ิต เพยี งแตใ่ ช้เวลาและวิธีการท่ี
ตา่ งกนั เน่ืองจากแตล่ ะคนมคี วามเปน็ ปจั เจกบุคคล ดังน้นั การยึดนักเรียนเป็นสำคัญในการพฒั นาเพ่ือดูแล
ช่วยเหลอื ท้ังด้านการป้องกนั แก้ไขปัญหา หรือการส่งเสรมิ จงึ เปน็ สิง่ จําเป็น

2. ความสำเร็จของงานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ตอ้ งอาศยั การมีส่วนรว่ มทง้ั การร่วมแรง ร่วมใจ
รว่ มคดิ ร่วมทำของทุกฝา่ ยทีม่ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งไม่ว่าจะเป็นบุคลากรโรงเรยี นในทกุ ระดบั ผปู้ กครองหรอื ชุมชน

ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น

การดูแลช่วยเหลือนักเรยี น คือ การสง่ เสริมพฒั นา การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาใหแ้ ก่นกั เรียน
เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ มภี ูมิคมุ้ กนั ทางจติ ใจท่เี ข้มแข็ง มีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี มที กั ษะการดำเนนิ
ชวี ิตและรอดพน้ จากวกิ ฤติท้ังปวง

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการดำเนนิ งานดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนอย่างข้ันตอน
พร้อมด้วยวธิ ีการและเครื่องมือการทำงานทชี่ ดั เจนโดยมีครูท่ปี รึกษาเปน็ บคุ ลากรหลักในการดำเนินการ
ดังกลา่ วและมีการประสานความรว่ มมืออยา่ งใกลช้ ิดกบั ครูที่เกยี่ วขอ้ งหรือบุคลากรภายนอก รวมท้งั การ
สนบั สนุน สง่ เสรมิ จากโรงเรียนมมี าตรฐานคุณภาพและหลักฐานการทำงานทต่ี รวจสอบได้

วตั ถุประสงค์ของระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน

1. เพอ่ื ให้การดำเนินงานดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของโรงเรยี น เป็นไปอยา่ งระบบและมีประสทิ ธภิ าพ
2. เพื่อให้โรงเรียน ผูป้ กครอง หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง หรอื ชุมชน มีการทำงานร่วมกนั โดยผ่าน
กระบวนการทำงานท่ีมีระบบ พร้อมด้วย เอกสาร หลักฐานการปฏิบตั งิ าน สามารถตรวจสอบหรอื รับการ
ประเมนิ ได้

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น

1. นักเรียนไดร้ ับการดูแลช่วยเหลืออยา่ งทวั่ ถงึ และตรงตามสภาพปญั หา

11

2. สัมพันธภาพระหวา่ งครกู ับนักเรียนเปน็ ไปด้วยดี และอบอุน่
3. นักเรยี นรู้จกั ตนเองและควบคุมตนเองได้
4. นักเรยี นเรียนร้อู ยา่ งมคี วามสขุ
5.ผเู้ กย่ี วข้องมีส่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพนกั เรียนอยา่ งจรงิ จัง

ปัจจยั สำคญั ท่ีมผี ลต่อประสิทธภิ าพของการดำเนินงานตามระบบการช่วยเหลอื นกั เรียน
1. ผู้บรหิ ารโรงเรยี น รวมทั้งผชู้ ่วยบรหิ ารโรงเรียนทุกฝา่ ย ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการดูแล

ช่วยเหลือนกั เรยี นและสนบั สนนุ การดำเนินงานหรือรว่ มกจิ กรรมตามความเหมาะสมอยา่ งสม่ำเสมอ
2. ครูทุกคนและผู้เก่ยี วข้องจำเป็นต้องมีความตระหนักในความสำคญั ของระบบการดูแลช่วยเหลอื

นักเรยี น มีทศั นคตทิ ่ดี ีตอ่ นักเรียนและมคี วามสุขที่จะพฒั นานกั เรยี นในทุกดา้ น
3. คณะกรรมการหรอื คณะทำงานทุกคณะ ตอ้ งมกี ารประสานงานอยา่ งใกลช้ ิดและมีการประชมุ ในแต่

ละคณะอย่างสม่ำเสมอตามท่ีกำหนด
4. ครทู ป่ี รึกษาเปน็ บุคลากรหลกั สำคัญในการดำเนนิ งานโดยไดร้ ับความรว่ มมอื จากครูทุกคนใน

โรงเรยี นรวมท้ังการสนบั สนุนในเรือ่ งต่างๆ จากโรงเรยี น
5. การอบรมให้ความรูแ้ ละทักษะ รวมท้ังการเผยแพรข่ ้อมูล ความร้แู ก่ครทู ่ีปรกึ ษาหรือผ้เู กี่ยวข้องใน

เรื่องที่เออ้ื ประโยชนต์ อ่ กรดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนเป็นสงิ่ จำเปน็ โดยเฉพาะเรื่องทักษะการปรึกษาเบื้องต้นและ
แนวทางการแกไ้ ขปญั หาต่างๆของนักเรยี น ซง่ึ โรงเรยี นควรดำเนินการอย่างต่อเนอื่ งและสมำ่ เสมอ

6. ผู้ปกครองและเครือข่ายการร่วมพัฒนาในทุกภาคส่วน มคี วามมุ่งมนั่ ในการดำเนนิ งาน

กระบวนการดำเนนิ งานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กระบวนดำเนินงานตามระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นโดยครทู ป่ี รึกษาเป็นบุคลากรหลกั ในการ

ปฏิบตั งิ านมอี งค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ คือ
1. การรจู้ กั นักเรียนเป็นรายบุคคล
2. การคัดกรองนักเรยี น
3. การส่งเสริมนกั เรียน
4. การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา
5. การส่งตอ่

กระบวนการดำเนินงานทั้ง 5 ประการดังกลา่ ว แสดงใหเ้ ห็นเปน็ แผนภูมิในหน้าต่อไปนี้

12

กระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนท่แี สดงในแผนภูมิเปน็ ความรบั ผิดชอบ
ของครูท่ีปรกึ ษาตลอดกระบวนการโดยมีการประสานงานหรอื รบั การสนบั สนนุ จากผ้บู ริหารครทู ีเ่ กยี่ วข้อง
รวมท้ังผปู้ กครอง ซึง่ มีวธิ ีการและเครื่องมือตวั อยา่ งสรปุ ได้ดังน้ี

กระบวนการดำเนินงาน วธิ ีการ เครือ่ งมอื
1) ระเบียนสะสม
1. การร้จู ักนักเรยี นเป็นรายบุคคล ศกึ ษาข้อมลู จากการใช้ 2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก
(SDQ)
1.1 ดา้ นความสามารถ 1) ระเบยี นสะสม 3) อน่ื ๆ เชน่

1.2 ดา้ นการเรียน 2) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็ก - แบบประเมนิ ความฉลาดทาง
อารมณ์(E.Q.)
1.3 ด้านร่างกาย (SDQ)
- แบบสัมภาษณ์นักเรยี น
1.4 ด้านจติ ใจ – พฤตกิ รรม 3) อน่ื ๆ เชน่ - แบบสังเกตพฤติกรรม
นักเรียน
1.5 ด้านเศรษฐกจิ - แบบประเมนิ ความฉลาดทาง - แบบสมั ภาษณ์ผูป้ กครองและ
เยีย่ มบา้ นนกั เรียน ฯลฯ
1.6 ดา้ นการคุม้ ครองนักเรียน อารมณ์(E.Q.)
1) เกณฑ์การคัดกรอง
1.7 ด้านสารเสพตดิ - แบบสัมภาษณ์นกั เรยี น 2) แบบสรุปผลการคัดกรองและ
ช่วยเหลือนกั เรียนเป็นรายบคุ คล
1.8 ด้านเพศสมั พันธ์ - แบบสังเกตพฤติกรรม 3) แบบสรุปผลการคดั กรอง
นักเรียนเป็นห้อง
นกั เรียน
1) แนวทางในการจัดกจิ กรรม
- แบบสมั ภาษณ์ โฮมรูมของโรงเรียน
2) แนวทางการจดั กิจกรรม
- แบบบันทกึ การเยี่ยมบ้าน ประชุมผ้ปู กครองช้ันเรยี นของ
โรงเรียน
2.การคดั กรองนักเรยี น ดำเนินการต่อไป 3) แบบบันทกึ /สรุปประเมนิ ผล
การดำเนินกจิ กรรม
2.1 กลุม่ ปกติ 1) วิเคราะห์ข้อมูลจาก
- โฮมรมู
2.2 กลุ่มเสย่ี ง 1.1 ระเบียนสะสม - ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน
- อ่นื ๆ
2.3 กลุ่มมีปญั หา 1.2 แบบประเมนิ พฤติกรรม 1) แนวทางในการจัดกิจกรรม
เพอื่ ป้องกนั และแก้ไขปญั หา
เด็ก(SDQ) ของนักเรยี น

1.3 แหลง่ ขอ้ มลู อื่นๆ

2) คดั กรองนักเรยี นตามเกณฑ์

การคัดกรองของโรงเรียน

3. สง่ เสรมิ นกั เรียน ดำเนนิ การต่อไป

(สำหรับนักเรยี นทุกกลุ่ม) 1) จัดกิจกรรมโฮมรมู

(Homeroom)

2) จดั ประชุมผปู้ กครองชน้ั เรียน

(Classroom meeting) หรือ

3) จดั กจิ กรรมอื่นๆ ทเ่ี หมาะสม

ในการสง่ เสรมิ นกั เรียนใหม้ ี

คุณภาพมากย่งิ ขึ้น

4.การป้องกันและแกไ้ ข ดำเนนิ การต่อไปน้ี

ปญั หา (จำเป็นมากสำหรับ 1) ให้การปรึกษาเบื้องตน้

นกั เรยี นกลุ่มเสยี่ ง/กลุ่มมีปญั หา)

13

5.การสง่ ตอ่ 2) ประสานงานกับครูและ 2) แบบบันทกึ สรุปการคดั กรอง
5.1 สง่ ต่อภายใน ผเู้ กยี่ วขอ้ งอื่นๆ เพ่อื การจัด และชว่ ยเหลอื นักเรียนเปน็
5.2 ส่งต่อภายนอก กิจกรรมสำหรับการป้องและ รายบคุ คล
ชว่ ยเหลอื ปัญหาของนักเรยี น 3) แบบบนั ทึกรายงานผลการ
คอื ดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น

2.1 กิจกรรมในห้องเรียน 1) แบบบนั ทกึ การสง่ ต่อของ
2.2 กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร โรงเรียน
2.3 กจิ กรรมเพื่อช่วยเพื่อน 2) แบบรายงานแจง้ ผลการ
2.4 กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ ชว่ ยเหลอื นกั เรียน
2.5 กจิ กรรมสอื่ สารกับ
ผู้ปกครอง

ดำเนนิ การต่อไปนี้
1) บันทกึ การสง่ นักเรียนไป

ยงั ครูที่เกย่ี วข้องในการ
ชว่ ยเหลือนักเรียนต่อไป
เชน่ ครแู นะแนว ครปู กครอง
ครปู ระจำวชิ า ครูพยาบาล
เปน็ ตน้ ซง่ึ เป็นการส่งต่อ
ภายใน

2) บันทกึ การส่งนักเรยี นไป
ยังผูเ้ ชยี วชาญภายนอกโดย
ครแู นะแนวหรือฝา่ ยปกครอง
เป็นผูด้ ำเนินการซงึ่ เป็นการ
ส่งต่อภายนอก

มาตรฐานการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนจดั ทำขน้ึ ตามแนวคดิ การบรหิ ารเชิงระบบ โดยมีความสอดคลอ้ ง
เชื่อมโยงกัน ดังภาพ

14

การประเมนิ มาตรฐานการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนของสถานศกึ ษานั้น
ประกอบด้วย ดา้ นปัจจัย ด้านกระบวนการ และดา้ นคุณภาพนกั เรียน(ผลผลิต) รายละเอียดแตล่ ะด้าน มีดังนี้

ด้านท่ี 1 ดา้ นปัจจยั
1.1 ผู้บริหารเป็นผ้นู ำในการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
1.2 ครูมีเจตคตทิ ่ดี แี ละมคี วามสามารถในการดำเนนิ งานตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
1.3 ผู้ปกครอง ชมุ ชน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
1.4 นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
1.5 สถานศกึ ษามีสื่อ และเครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น

ดา้ นท่ี 2 ด้านกระบวนการ
2.1 การวางระบบบริหารจัดการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น
2.2 การร้จู ักนักเรยี นเป็นรายบุคคล
2.3 การจำแนกคัดกรองนักเรียน
2.4 การส่งเสรมิ พัฒนานกั เรียนท่ีหลากหลาย
2.5 การปอ้ งกัน ชว่ ยเหลอื และแก้ไขปัญหานักเรียน
2.6 การสง่ ต่อนักเรยี นท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาอย่างเป็นระบบและมเี ครือข่ายสหวชิ าชีพ
2.7 การจัดกจิ กรรมแนะแนวและการใหบ้ ริหารแนะแนวในโรงเรียน
2.8 การนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผล รายงานผล และพัฒนาระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
2.9 การสรปุ รายงานผลและข้อเสนอแนะ นำมาพฒั นาปรบั ปรงุ ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

ดา้ นท่ี 3 ด้านคณุ ภาพนกั เรยี น
3.1 รจู้ ักตนเองและพง่ึ ตนเองได้
3.2 มีสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ และสขุ ลกั ษณะนิสยั ทด่ี ี
3.3 มที ักษะในการหลีกเลยี่ ง ป้องกนั ภัยอนั ตราย และพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์
3.4 รกั และเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อนื่ สามารถจัดการกับปญั หาและอารมณข์ องตนเองได้
3.5 เปน็ สมาชิกท่ดี ขี องครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และสังคม
3.6 มีเจตคติท่ีดี และมีทักษะพน้ื ฐานในการประกอบอาชพี สุจรติ

แนวทางการดำเนนิ การระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น

ดา้ นท่ี 1 ด้านปจั จยั

ตัวชีว้ ดั แนวทางการปฏบิ ัติ

1.1 ผ้บู ริหารเปน็ ผ้นู ำใน 1. ผบู้ รหิ ารมกี ารกำหนดทศิ ทางเป้าหมายนโยบายการบริหารงานระบบการ

การดำเนนิ งานระบบการ ดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนไดเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี นและท้องถน่ิ

ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน 2. ผ้บู ริหารมคี วามรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญกับงานระบบการดูแล

ชว่ ยเหลือนักเรียน

3. ผบู้ ริหารมีการพัฒนาตนเองและพัฒนางานระบบการดูแลช่วยเหลอื

นกั เรียนอยา่ งตอ่ เน่ือง

15

4. ผ้บู รหิ ารมกี ารสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนนิ งานระบบการดแู ล

ช่วยเหลอื นกั เรยี นโดยการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นทีเ่ กย่ี วข้อง

1.2 ครมู ีเจตคติที่ดแี ละมี 1. ครูตระหนัก เห็นคณุ คา่ และมีความรู้ ความเขา้ ใจการดำเนินงานระบบการ

ความสามารถในการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ดำเนนิ งานตามระบบการ 2. ครใู กล้ชดิ เอาใจใสด่ ูแลนักเรียนทีร่ ับผิดชอบอย่างทัว่ ถึงต่อเนือ่ ง

ดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 3. ครูสามารถปฏิบตั งิ านตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ

4. ครมู กี ารพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่องในด้านความรู้ ความเข้าใจพฤติกรรม

และพฒั นาการของนักเรยี น ความสามารถและทักษะในการวิเคราะห์ผ้เู รียน

การศึกษา และแก้ปญั หารายกรณี

5. ครูใหค้ ำแนะนำช่วยเหลือผรู้ ่วมงานและสร้างเครือขา่ ยในการปฏิบัติงาน

1.3 ผูป้ กครอง ชุมชน มี 1. ผ้ปู กครองมคี วามรู้ความเข้าใจการดแู ลบตุ รหลาน

สว่ นรว่ มในการดำเนนิ งาน 2. ผปู้ กครองใหค้ วามร่วมมือกบั สถานศึกษาในกจิ กรรมการดูแลชว่ ยเหลอื

ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น

นกั เรียน 3. สถานศึกษามเี ครือขา่ ยผู้ปกครองในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

4. ชุมชนให้ความร่วมมอื ในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

1.4 นกั เรียนมีสว่ นรว่ มใน 1. นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจในการช่วยเหลอื ผอู้ ่ืน

การดำเนนิ งานระบบการ 2. นักเรยี นมีความสามารถในการช่วยเหลอื ผู้อน่ื

ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น 3. นกั เรยี นมจี ิตอาสาในการชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน

4. มีกลุม่ นักเรยี นแกนนำในการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น

1.5 สถานศึกษามีส่ือ และ 1. มีสอื่ และเครื่องมือในการรู้จกั นักเรยี นเปน็ รายบุคคล

เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการ 2. มีส่อื และเครื่องมือในการจำแนกคดั กรองนกั เรยี น

ดำเนินงานระบบการดูแล 3. มีแนวปฏบิ ัต/ิ เกณฑก์ ารจำแนกคัดกรองท่อี าศัยหลักวชิ าและเปน็ ข้อตกลง

ชว่ ยเหลือนกั เรียน รว่ มกนั ของสถานศึกษา

4. มีการรวบรวมจดั หา ใช้ และพฒั นาสือ่ เทคโนโลยี นวตั กรรมและเครื่องมือ

ในการส่งเสริมชว่ ยเหลอื ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหานกั เรียน

5. มีแบบบันทึกการส่งตอ่ นักเรยี นและบันทึกการตดิ ตามผล

ดา้ นที่ 2 ดา้ นกระบวนการ

ตัวชวี้ ดั แนวทางการปฏบิ ัติ

2.1 การวางระบบบรหิ าร 1. มีโครงสร้างการดำเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน

จดั การดแู ลชว่ ยเหลือ 2. มกี ารคดั สรรและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานระบบการดแู ล

นักเรยี น ช่วยเหลือนักเรียน

3. มแี ผนงาน/ โครงการ/ ปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานตามแผนท่ีชดั เจน และมีคู่มอื การ

ปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา

4. มีการศึกษาและพฒั นาการดำเนินงานใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของ

สถานศึกษา

16

2.2 การร้จู ักนักเรยี นเป็น 1. มีการรวบรวมขอ้ มูลนักเรียนเปน็ รายบุคคลดว้ ยวิธีการที่เหมาะสม
รายบุคคล หลากหลาย
2. มีการศึกษาข้อมลู นักเรยี นเป็นรายบคุ คล
2.3 การจำแนกคดั กรอง 3. มีการวิเคราะห์ข้อมลู และสรุปผลนกั เรยี นรายบคุ คล/ รายกลุ่ม/ ระดับช้นั /
นักเรียน ระดับสถานศึกษา
4. มีการนำข้อมลู ไปใช้ในการสง่ เสริมพัฒนาช่วยเหลอื นักเรียน
2.4 การสง่ เสรมิ พฒั นา
นกั เรียนที่หลากหลาย 1. มีการจำแนกคัดกรองนกั เรียนตามแนวทาง/เกณฑ์ ท่สี ถานศกึ ษากำหนด
2. มกี ารสรปุ ผลการจำแนกคัดกรองนักเรยี นครบทกุ คน
2.5 การป้องกันช่วยเหลอื 3. มกี ารสรุปผลการจำแนกคัดกรองนักเรียนเปน็ ระดบั ช้ันและระดับโรงเรียน
และแก้ไขปัญหานกั เรียน 4. มกี ารนำผลท่ไี ด้จากการจำแนกคัดกรองนักเรยี นมาจัดทำสารสนเทศระดับ
สถานศกึ ษาและนำไปใชใ้ นการแก้ปัญหาสง่ เสริมพัฒนานกั เรยี น
2.6 การสง่ ต่อนักเรียนท่ี
สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา 1. มแี ผน/โครงการ/กิจกรรม ส่งเสรมิ พัฒนานักเรียนและมีการนำแผนไป
อยา่ งเปน็ ระบบและมี ปฏบิ ตั ิ
เครือข่ายสหวชิ าชีพ 2. มกี ารจัดกจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนานักเรียนทส่ี อดคล้องกบั สารสนเทศผลการ
คดั กรองนักเรียนของสถานศึกษา
3. มีการจดั กิจกรรมโฮมรูม อยา่ งต่อเน่ืองช่วยเหลือและพัฒนานักเรียน
4. มีการประชุมผปู้ กครองชัน้ เรียน (Classroom Meeting) โดยครูทีป่ รกึ ษา/
ครูประจำช้นั และผู้ปกครอง ร่วมกนั วางแนวทางในการดูแล
5. มีการติดตามพฤติกรรมจากการชว่ ยเหลือส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของ
นกั เรยี นอย่างต่อเน่ือง
6. มีการประเมินสรปุ และรายงานผลการ ดำเนนิ งาน

1. มีการใหค้ ำปรึกษาเบื้องต้น
2. มกี ารจดั กจิ กรรมซ่อมเสรมิ
3. มกี ารติดตอ่ สื่อสารกับผู้ปกครองอย่างทันเหตุการณ์
4. มีกจิ กรรมและ/หรือการจัดการเรียนร้เู พ่ือป้องกนั ช่วยเหลือและแก้ไขท่ี
สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา เช่น เพศศึกษา ประสิทธิภาพการเรยี นรู้ตกต่ำ ผ้มู ี
ความสามารถพิเศษและผู้มคี วามต้องการพเิ ศษ ภาวะซมึ เศร้า ภาวะทพุ
โภชนาการ ขาดแคลน ดอ้ ยโอกาส การขาดทักษะทางสังคม การใชย้ าในทาง
ทีผ่ ดิ สารเสพตดิ การกลน่ั แกล้งรังแก และการใชค้ วามรนุ แรง การลักขโมย
การหมกมนุ่ กับเกมและการพนันฯลฯ
5. มีกิจกรรมส่งเสริมการดูแลช่วยเหลือซึง่ กนั และกันในกลุ่มเพ่ือนนักเรยี น
อยา่ งหลากหลาย ตามสภาพปัญหา เช่น เพอ่ื นชว่ ยเพื่อน พีด่ ูแลนอ้ ง ฯลฯ
6. นักเรยี นกลุ่มเสย่ี ง กลุ่มท่ีมีปญั หาได้รบั การป้องกนั ชว่ ยเหลือ และแกไ้ ขให้
มพี ฤติกรรมดีขน้ึ

1. มีเครอื ขา่ ยการส่งต่อภายในและภายนอกโรงเรยี น
2. มีการสง่ ต่อภายในและ/หรือภายนอกพร้อมกับข้อมลู ผลการช่วยเหลือ
เบ้อื งตน้
3. มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล สรุปรายงานงานผลการสง่ ต่อ

17

2.7 การจัดกจิ กรรมแนะ 4. มกี ารปรบั ปรุงพฒั นาการสง่ ต่ออยา่ งมรี ะบบ
แนวและการให้บรหิ าร 5. มเี ครือข่ายสหวิชาชีพทมี่ ีการจดั ตงั้ มีแผนดำเนินงาน และมีกิจกรรมการ
แนะแนวในโรงเรยี น ประสานงาน การร่วมดำเนนิ งานป้องกนั แก้ไข และสง่ เสรมิ ดูแลชว่ ยเหลือ
นักเรยี นอย่างต่อเน่ือง
2.8 การนิเทศ กำกับ 1. ให้คำปรึกษาและฝกึ อบรมแก่นักเรยี น
ตดิ ตาม ประเมินผล 2. ให้บริการแนะแนวโดยการมสี ว่ นรว่ มของผู้เกี่ยวข้อง
รายงานผล และพฒั นา 3. จัดให้มีบริการแนะแนวครอบคลมุ การแนะแนวการศกึ ษา อาชีพ รวมท้งั
ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื การแนะแนวทกั ษะชีวติ
นกั เรียน 4. มีการติดตามผลนักเรียนทั้งด้านการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี การ
2.9 การสรปุ รายงานผล ดำเนินชวี ิต
และข้อเสนอแนะ นำมา 1. มแี ผนการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามประเมนิ ผลระบบการดแู ลช่วยเหลือ
พัฒนา ปรบั ปรุงระบบการ นักเรยี น
ดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น 2. มีการดำเนนิ งานตามแผนอย่างต่อเน่อื ง
3. มกี ารประเมินผลเพื่อทบทวนโดยผเู้ ก่ียวข้อง

1. มีการสรุปผลการประเมนิ และนำมาปรบั ปรงุ พัฒนาการดำเนินงานของ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
2. มกี ารประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพร่ผลการดำเนนิ งานแก่สาธารณชน

ด้านที่ 3 ดา้ นคณุ ภาพนกั เรียน

3.1 ร้จู กั ตนเองและ 1. ร้คู วามสนใจ ความถนดั ความสามารถ จดุ เด่น จดุ ด้อยของตนเอง และมี

พึง่ ตนเองได้ การตรวจสอบทบทวนเพือ่ ปรับปรงุ ตนเอง

2. สามารถวเิ คราะห์ตดั สินใจเลือกประพฤติ-ปฏิบตั ิตนและเข้าร่วมกิจกรรม

ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมเชงิ สร้างสรรคแ์ ละมั่นใจในตนเอง

4. สามารถบริหารจดั การตนเองในด้านการเรียนและการดำเนนิ

ชีวิตประจำวนั ได้

5. สามารถแกป้ ัญหาได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม

3.2 มสี ขุ ภาพกาย 1. มนี ำ้ หนัก/สว่ นสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน(กรมอนามัย)

สุขภาพจติ และสุขลักษณะ 2. มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

นสิ ัยทด่ี ี 3. มสี ุขนสิ ยั ในการดำรงชีวิตประจำวนั

4. สามารถปอ้ งกันดูแลสุขภาพตนเองได้

5. ร่าเริง แจ่มใส มีมนษุ ยสมั พนั ธ์และปรับตัวได้

6. เป็นแบบอยา่ งที่ดี ให้คำแนะนำแก่ผู้อืน่ ได้

3.3 มีทักษะในการ 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจในส่งิ ทเี่ ปน็ พษิ ภยั อันตราย และพฤตกิ รรมที่ไม่พึง

หลีกเลยี่ ง ปอ้ งกันภยั ประสงค์

2. สามารถวเิ คราะหแ์ ละจำแนกสง่ิ ที่เป็นพิษภยั อนั ตรายและพฤตกิ รรมท่ไี ม่

18

อนั ตราย และพฤติกรรมท่ี พึงประสงค์
ไม่พึงประสงค์ 3. ร้เู ท่าทนั และกล้าทจี่ ะปฏิเสธสงิ่ ท่เี ปน็ พษิ ภยั อนั ตรายและพฤตกิ รรมท่ีไม่
พึงประสงค์
3.4 รกั และเห็นคณุ ค่าใน 4. สามารถป้องกนั ตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเล่ียงสภาวะเสย่ี งต่อ
ตนเองและผ้อู ืน่ สามารถ ความรุนแรง โรคภัย อุบัตภิ ยั และปัญหาทางเพศ
จัดการกบั ปญั หาและ 5. สามารถชกั ชวนหรอื สง่ เสริมให้เพ่ือนประพฤตติ นตามแนวทางทถี่ ูกต้อง
อารมณ์ของตนเองได้ และเหมาะสม

3.5 เป็นสมาชิกทดี่ ขี อง 1. ศรทั ธาและเชื่อม่นั ในตนเอง เหน็ คุณค่าและ เคารพศักด์ิศรีความเปน็
ครอบครวั โรงเรยี น ชมุ ชน มนุษยข์ องตนเองและผอู้ ่นื
และสังคม 2. แสดงออกทางอารมณ์ความรูส้ กึ ได้อย่างเหมาะสม
3.6 มีเจตคติที่ดี และมี 3. สามารถใชห้ ลกั เหตุผลในการแกป้ ัญหาความขัดแย้ง
ทกั ษะพน้ื ฐานในการ 4. สามารถจดั การกับปญั หาและสามารถควบคมุ การแสดงออกทางอารมณ์ท่ี
ประกอบอาชีพสจุ ริต ไม่พึงประสงค์ของตนเอง
5. มีทักษะในการสื่อสารรับร้สู รา้ งความเขา้ ใจ ถา่ ยทอดความรู้สึกนกึ คิดการ
ทักทาย การแสดงความชืน่ ชม การปฏเิ สธการรบั คำวพิ ากษ์วจิ ารณ์

1. รับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะสมาชิกของครอบครวั
2. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของสถานศกึ ษา
3. ปฏิบตั ิตามกฎกติกาประเพณวี ฒั นธรรม
4. เปน็ แบบอย่างที่ดีและมจี ิตสาธารณะ

1. รู้จักงานและอาชีพ
2. ร้คู วามสนใจด้านอาชีพของตนเอง
3. มแี นวทางและเหตุผลในการตดั สนิ ใจเลอื ก อาชพี
4. มีทกั ษะพน้ื ฐานอาชพี ท่ีถนัดและสนใจ เห็นคุณคา่ ในอาชีพสุจริต

กระบวนการระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน

กระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นโดยครูประจำชั้น/ครทู ่ีปรึกษามี
องค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ คือ การรู้จักนกั เรียนเปน็ รายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การส่งเสริมนักเรียน
การป้องกนั และแก้ไขปัญหา และ การส่งต่อในแต่ละองค์ประกอบ มแี นวปฏิบัติ ดังน้ี

1. การรจู้ ักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ดว้ ยความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคนท่ีมีพ้นื ฐานความเป็นมาของชวี ติ ที่ไมเ่ หมือนกันหล่อหลอมให้
เกิดพฤตกิ รรมหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ดา้ นบวกและลบ ดงั น้ันการร้ขู ้อมลู ท่จี ำเป็นเกย่ี วกับตวั นักเรยี นจึงเป็น
สง่ิ สำคญั ท่จี ะช่วยให้ครูทปี่ รึกษามคี วามเขา้ ใจนักเรียนมากขึน้ สามารถนำขอ้ มูลมาวิเคราะห์เพ่ือการคดั กรอง
นักเรยี น เปน็ ประโยชน์ในการสง่ เสรมิ การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาของนกั เรียนไดอ้ ย่างถูกทาง ซง่ึ เป็นข้อมลู
เชิงประจกั ษ์มใิ ช่การใช้ความรู้สึกหรอื การคาดเดาโดยเฉพาะในการแกไ้ ขปัญหานกั เรยี น ซ่ึงจะทำให้ไมเ่ กดิ
ขอ้ ผิดพลาดตอ่ การช่วยเหลือนักเรียนหรอื การเกดิ ได้น้อยที่สดุ
ข้อมลู พน้ื ฐานของนักเรียนทคี่ รปู ระจำชัน้ /ครทู ี่ปรึกษาควรมีข้อมลู เกย่ี วกบั นักเรยี นอยา่ งน้อย 3 ด้าน
1. ด้านความสามารถแยกเป็น

1.1 ด้านการเรียน

19

1.2 ด้านความสามารถอื่น ๆ
2. ดา้ นสขุ ภาพแยกเป็น

2.1 ด้านร่างกาย
2.2 ด้านจิตใจ-พฤติกรรม
3. ด้านครอบครัวแยกเป็น
3.1 ดา้ นเศรษฐกจิ
3.2 ด้านการคุมครองนักเรยี น
4. ด้านอืน่ ๆที่ครูพบเพ่ิมเตมิ ซง่ึ มีความสำคญั หรือเกยี่ วข้องกับการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

ขอ้ มูลพน้ื ฐานของนกั เรียนที่ครคู วรทราบ รายระเอยี ดข้อมลู พน้ื ฐานท่คี วรทราบ
ข้อมูลนักเรียน
- ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละวชิ า
1.ดา้ นความสามารถ - ผลการเรียนเฉลี่ยในแต่ละภาคเรียน
1.๑ ดา้ นการเรยี น - พฤติกรรมการเรียนในห้องเรียนท่มี ีผลต่อการ
1.2 ด้านความสามารถอน่ื ๆ เรยี นรู้ของนักเรียน เชน่ การไม่ตง้ั ใจเรยี น ขาดเรียน
เป็นตน้
2.ด้านสขุ ภาพ - ฯลฯ
2.1 ด้านรางกาย - บทบาทหนา้ ท่ีพเิ ศษในโรงเรยี น
- ความสามารถพิเศษกลุ่มสาระตา่ ง ๆ
2.2 ดา้ นจิตใจ
- สว่ นสงู น้ำหนกั
3.ดา้ นครอบครัว - โรคประจำตวั ความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย เชน่ การ
3.1ด้านเศรษฐกจิ ได้ยิน การมองเหน็
- ฯลฯ
3.2 ดา้ นการคมุ้ นักเรยี น - อารมณ์ซึมเศรา้ /วิตกกงั วล
- ความประพฤติ
- พฤติกรรมอยู่ไมน่ งิ่ /สมาธิส้ัน
- บุคลกิ ภาพเกบ็ ตัว/ขี้อาย
- ฯลฯ

- รายได้ของบดิ า มารดา/ผปู้ กครอง
- อาชพี ของผูป้ กครอง
- คา่ ใช้จ่ายท่ีนักเรียนได้รับในการมาโรงเรียน
- ฯลฯ
- จำนวนพนี่ ้อง/บุคคลในครอบครวั
- สถานภาพของบิดา มารดา
- บุคคลทดี่ ูแลรบั ผดิ ชอบนักเรียน
- ความสำคัญของบคุ คลในครอบครวั
- ลักษณะที่อยู่อาศัยและสงิ่ แวดลอ้ ม

20

- ความเจบ็ ป่วยของบุคคลในครอบครัว/การใชส้ าร
เสพตดิ การ
ตดิ สุรา การพนัน
- ฯลฯ

วธิ กี ารและเครอื่ งมือในการรจู้ ักนักเรียนเป็นรายบคุ คล

1. การรจู้ กั นกั เรยี นเป็นรายบุคคล มเี คร่ืองมือดังต่อไปน้ี
1. ระเบยี บสะสม
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็ก (SDQ)
3. หรืออนื่ ๆ เช่น การสัมภาษณน์ ักเรียน การศึกษาจากแฟม้ สะสมผลงาน การเยยี่ มบา้ น

การศึกษาข้อมลู จากแบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพดว้ ยตัวเองซ่งึ จดั ทำโดยกรมอนามยั เป็นต้น
2. การคดั กรองนกั เรยี น มีความสำคัญต่อโรงเรยี น เปน็ การพิจารณาข้อมูลทีเ่ กย่ี วกับตวั นักเรยี น

เพ่ือการจัดกล่มุ นักเรยี นเปน็ 3 กล่มุ คือ
1. กลมุ่ ปกติ คอื นักเรียนท่ีได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของ

โรงเรยี นแล้ว อยใู่ นเกณฑ์ของกลมุ่ ปกติ
2. กลมุ่ เส่ียง คือ นกั เรียนท่จี ัดอยใู่ นเกณฑ์ของกล่มุ เส่ยี งตามเกณฑก์ ารคัดกรองของ

โรงเรยี นซึ่งโรงเรียนต้องให้ความช่วยเหลอื ป้องกันหรือแกไ้ ขปัญหาตามแตก่ รณี
3. กลมุ่ มปี ญั หา คอื นักเรียนทจ่ี ดั อยูใ่ นเกณฑข์ องกลุ่มมปี ัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของ

โรงเรียน ซ่งึ โรงเรียนตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื ปอ้ งกนั หรือแก้ไขปัญหาตามแต่กรณี

การจดั กลุม่ นักเรียนน้ี มปี ระโยชนต์ ่อครูทป่ี รึกษาในการหาวิธกี ารเพอ่ื ดูแลช่วยเหลือนกั เรียนได้อยา่ ง
ถกู ต้องโดยเฉพาะการแกไ้ ขปัญหาของนักเรียนยิง่ ขึน้ และมีความรวดเร็วในการแกไ้ ขปัญหาเพราะมขี ้อมูลของ
นักเรียนในดา้ นต่างๆ ซึ่งหากครทู ี่ปรึกษาไมไ่ ด้คดั กรองนักเรียนเพือ่ การจัดกลมุ่ แล้ว ความชัดเจนในเปา้ หมาย
เพื่อการแกไ้ ขปญั หาของนักเรียนจะมีนอ้ ยลง มีผลต่อความรวดเร็วในการช่วยเหลอื ซ่ึงบางกรณีจำเป็นต้อง
แก้ไขโดยเร่งด่วน

ผลการคดั กรองนกั เรียน ครูท่ีปรึกษาจำเป็นต้องระมดั ระวังอยา่ งยิ่งทีจ่ ะไมท่ ำใหน้ กั เรยี นรบั รูไ้ ด้วา่ ตน
ถูกจดั กลุ่มอยูใ่ นกลุ่มเส่ียง/มีปัญหาซึง่ มคี วามแตกตา่ งจากกลมุ่ ปกติโดยเฉพาะนักเรยี นวัยรนุ่ ที่มคี วามไวต่อการ
รับร(ู้ sensitive)แมว้ า่ นกั เรียนจะรตู้ วั ดวี า่ ขณะนี้ตนมีพฤติกรรมอยา่ งไรหรือประสบกบั ปัญหาใดก็ตามและเพ่ือ
เป็นการป้องกนั การล้อเลยี นในหม่เู พ่ือนอีกด้วยดงั นั้น ครทู ่ีปรึกษาต้องเก็บผลการคัดกรองนกั เรียนเป็น
ความลบั นอกจากนี้หากครูท่ีปรึกษามีการประสานงานกับผปู้ กครองเพ่ือการช่วยเหลือนักเรียน กค็ วร
ระมดั ระวงั การสือ่ สารทที่ ำให้ผู้ปกครองเกิดความรูส้ ึกวา่ บุตรหลานของตนถกู กล่มุ ท่ีผิดปกตแิ ตกต่างจากเพ่ือน
นกั เรียนอน่ื ๆ ซงึ่ อาจมีผลเสียต่อนกั เรียนในภายในภายหลังได้

แนวทางการวิเคราะห์ข้อมลู เพอ่ื การคัดกรองนักเรยี น การวิเคราะหข์ ้อมูลเพือ่ การคดั กรองนกั เรียนนั้น
ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของครูท่ีปรึกษาและยึดถือเกณฑ์การคัดกรองนักเรยี นของโรงเรียนเป็นหลักดว้ ยดังนั้น
โรงเรยี นจึงควรมีการประชุมครเู พ่ือการพจิ ารณาเกณฑ์การจดั กลุ่มนักเรยี นรว่ มกนั เพ่ือให้มีความมาตรฐานหรือ
แนวทางการคดั กรองนกั เรยี นทเ่ี หมอื นกนั เปน็ ที่ยอมรบั ของครูในโรงเรียน รวมทงั้ ใหม้ ีการกำหนดเกณฑว์ ่า
ความรุนแรงหรือความถ่ีของพฤตกิ รรมเทา่ ใดจงึ จัดอยูใ่ นกลุ่มเสีย่ ง/มีปัญหา

21

สำหรับประเดน็ การพจิ ารณาเพอ่ื จดั ทำเกณฑ์การคดั กรองและแหล่งข้อมูลเพื่อคัดกรองนักเรยี นแต่ละ
ด้าน มีตวั อย่างตามตารางต่อไปน้ี

ข้อมูลนักเรียน กลมุ่ ปกติ กลมุ่ เสี่ยง มีปญั หา
1. ด้านความสามารถ
- ผลการเรียนเฉลี่ย - ผลการเรยี นเฉลย่ี - ผลการเรียนเฉล่ยี ตำ่
1.1 ด้านการเรียน
มากกว่า 2.00 1.50 – 2.00 กว่า 1.50
1.2 ดา้ น
ความสามารถพเิ ศษ - ผา่ นการประเมนิ ผล - ได้ 0 ร มส ใน - ได้ 0 ร มส ใน
2. ด้านสขุ ภาพ
การเรยี นรายวิชา รายวิชาต่าง ๆ 1 – 5 รายวชิ า ต่าง ๆ รวมกนั
2.1 ด้านร่างกาย
- เข้าเรยี นในแตล่ ะ รายวชิ า ใน 1 ภาค ตง้ั แต่ 3 รายวชิ าข้นึ ไป
2.2 ด้านจิตใจ/
พฤติกรรม รายวชิ าเกินร้อยละ 90 เรยี น - เขา้ เรยี นรายวชิ าเกิน

ของเวลาเรียน - ผลการประเมินได้ ๐ รอ้ ยละ 20 ของเวลา

จำนวน 1 – 3 วชิ า เรียน

- เขา้ เรียนในแตล่ ะ - พฤติกรรมการเรยี น

รายวิชา เกนิ รอ้ ยละ หรอื ผลการเรยี น

85 ของเวลาเรียน เปลย่ี นไปจากเดิมใน

- พฤติกรรมการเรยี น ด้านลบ และมี

หรือผลการเรียน ผลกระทบต่อวิถี

เปลีย่ นไปจากเดิมใน ชีวิตประจำวัน

ด้านลบ แต่ยังไม่มี

ผลกระทบต่อวถิ ี

ชีวติ ประจำวนั

- ถ้านักเรียนมคี วามสามารถพิเศษ จะเป็นจุดแขง็ ของนักเรยี นในทกุ กลุม่

- มนี ำ้ หนกั สว่ นสูง - มีนำ้ หนัก ส่วนสงู - มีน้ำหนกั ส่วนสงู
และอายสุ ัมพันธ์กัน
- รา่ งกายแขง็ แรง นำ้ หนกั น้อยกวา่ บวกลบ บวก ลบ มากกวา่ 5
- ไม่มีโรคประจำตัว
- เจ็บป่วยเปน็ บางคร้งั 5 ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์
ซงึ่ ไม่มีผลกระทบตอ่
การเรียนหรือ - เจบ็ ป่วยบอ่ ยคร้งั - เจ็บป่วยบอ่ ยคร้ัง
พฤติกรรมของนกั เรียน
- มโี รคประจำตัว - มีโรคประจำตัว
- มคี ะแนนจากแบบ
ประเมนิ พฤติกรรม - มีความพิการทาง - มคี วามพิการทาง
(SDQ) ในระดบั ปกติ
- ไมม่ พี ฤตกิ รรมที่เปน็ ร่างกายหรือมีความ รา่ งกายหรอื มคี วาม
ปญั หา เชน่ ปญั หาดา้ น
บกพร่องดา้ นการไดย้ นิ บกพร่องด้านการได้

การมองเหน็ หรืออ่นื ๆ ยิน การมองเหน็ หรอื

อืน่ ๆ

- มีคะแนนจากแบบ - มีคะแนนจากแบบ

ประเมินพฤติกรรม ประเมนิ พฤติกรรม

(SDQ) ในระดบั เสย่ี ง (SDQ) ในระดับมี

- ไมม่ พี ฤตกิ รรมที่ ปัญหา

เบ่ยี งเบนไปจากปกติเช่น - มพี ฤติกรรมท่ีเปน็

22

อารมณ์ จติ ใจ ทดลองดื่ม/เสพ/สูบสิ่ง ปญั หาชัดเจนทำให้

พฤติกรรมลักขโมย ติด เสพตดิ มกี ารปรับตวั ตนเองและ/หรอื ผู้อ่นื

การพนนั ใช้ยาเสพติด ทางเพศไมเ่ หมาะสม มี เดือนร้อน เช่น

พฤติกรรมทางเพศทไ่ี ม่ พฤติกรรมด้านชูส้ าว พฤติกรรมลกั ขโมย

เหมาะสม ดา้ นช้สู าว การตง้ั ครรภใ์ นวัยเรียน ตดิ การพนัน ใช้สาร

การต้ังครรภ์ในวยั เรียน เก็บตวั หรอื แสดงออก เสพติด พฤตกิ รรมทาง

การปรับตัว เปน็ ตน้ เกินขอบเขต เร่มิ มี เพศที่ไม่เหมาะสม

- ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบ ปัญหาการเรียนสภาพ การต้ังครรภ์ มีปญั หา

ของโรงเรยี นอย่าง อารมณเ์ ปลี่ยนแปลงไป การเรยี นชัดเจน

สม่ำเสมอแต่อาจทำผิด เปน็ ตน้ มีสภาพอารมณ์ จติ ใจ

บ้างในบางคร้ังโดยไม่มี - ไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ผดิ ปกติ เกบ็ ตวั เป็นตน้

ผลเสียตอ่ ตนเองหรือ กฎระเบียบของโรงเรียน - ไมป่ ฏบิ ตั ติ าม

ผ้อู ื่น บอ่ ย ๆ แตไ่ มม่ ผี ลเสยี ตอ่ กฎระเบยี บข้อบังคับของ

ตนเองหรือผู้อน่ื โรงเรียนบ่อยจนทำให้

ตนเองหรอื ผู้อ่นื เดือน

ร้อนเสียหาย

3. ดา้ นครอบครวั - ครอบครวั มีอาชพี ท่ี - รายได้ครอบครัวอยู่ - รายได้ครอบครัวต่ำ
3.1 ด้านเศรษฐกจิ
ม่นั คงและสุจรติ มรี ายได้ ระหวา่ ง 5,000 – กวา่ 5,000 บาท/เดือน
3.2 ดา้ นการ
คุ้มครองนกั เรยี น เพยี งพอในการเลย้ี งดู 10,000 บาท/เดือน - บดิ าหรอื มารดาตกงาน

ครอบครวั ซง่ึ อาจมภี าระ - บิดาหรือมารดาตกงาน - มภี าระหนส้ี ินจำนวน

หน้สี ินบ้างแต่สามารถ - มภี าระหนี้สินที่มี มากมีปัญหาในการชำระ

ชำระหนี้ไดโ้ ดยไมเ่ ดอื น ปัญหาในการชำระ หน้สี นิ

ร้อน หนีส้ นิ เปน็ คร้ังคราว - อาชีพของครอบครวั ไม่

- มเี หตุการณใ์ ห้เกิดการ มน่ั คง เส่ียงต่ออนั ตราย

สูญเสยี กระทบต่อ รายได้น้อย ไม่พอกับ

เศรษฐกิจของครอบครัว รายจ่าย

เช่น ไฟไหม้ นำ้ ท่วม - นักเรยี นไม่มเี งนิ มา

บ้าน เป็นตน้ โรงเรยี น ไม่มเี งนิ ซ้ือ

- นักเรียนไม่มีอาหาร อปุ กรณ์การเรียน ชดุ

กลางวันรบั ประทาน นกั เรยี น อาหารกลางวัน

หรือไม่มเี งนิ ซ้ืออปุ กรณ์ ฯลฯ

การเรยี น

- นกั เรียนอาศัยอยกู่ ับ - นกั เรียนอย่หู อพักหรือ - มีลกั ษณะเหมือนใน

พ่อ แมห่ รอื ญาติ และ อยกู่ ับคนรูจ้ ัก หรือญาติ กลุม่ เสย่ี งแต่ลกั ษณะ

นกั เรียนมีความสัมพนั ธ์ แตม่ คี วามสมั พนั ธท์ ่ีไม่ดี ดังกล่าวมผี ลกระทบต่อ

ที่ดีกับสมาชิกทกุ คนใน ตอ่ กนั การเรียนและพฤติกรรม

ครอบครวั - ความสัมพันธข์ อง ของนักเรียน

นกั เรยี นกบั สมาชกิ ใน

23

ครอบครัวไม่ราบรืน่ มี

ความขัดแย้งและ

ทะเลาะกัน

- บิดาหรือมารดาหย่า

ร้างหรอื สมรสใหม่

- ท่ีพกั ของนักเรยี นอยู่ใน

ชมุ ชนแออัดหรือใกล้

แหล่งมวั่ สมุ หรอื แหลง่

ทอ่ งเท่ยี วกลางคืน

- มบี ุคคลในครอบครวั

ของนักเรยี นใช้สารเสพ

ตดิ ติดการพนัน ม่ัวสมุ

อบายมุขต่าง ๆ หรอื

เจ็บปว่ ยด้วยโรคทางจิต

เวช

4. ด้านอน่ื ไมย่ ่งุ เกย่ี วและสมาคม - ซึม กระสบั กระสา่ ย - ใช้ยาเปน็ ประจำ
4.1 สารเสพติด กับเพ่ือนทย่ี ุ่งเกี่ยวสาร
เสพติด - แยกตัวไมเ่ ข้าร่วม - มีอาการด้ือยา ใช้ยา
5. การปรับตัวทาง
เพศ - ประพฤตปิ ฏิบตั ติ น กจิ กรรมขาดเรยี น มากขน้ึ
เหมาะสมกับเพศและ
วยั - ไมส่ นใจสขุ ภาพความ - ตอ้ งการใช้ยา ควบคุม

สะอาด ตนเองไม่ได้

- คบเพอ่ื นในกลุ่มค้ายา/ - ไมส่ นใจการเรียน

เสพยา สงั คม ไม่ดูแลตนเอง

- สมาชิกในครอบครวั ใช้

ยา/คา้ ยา

- อยูใ่ นกลมุ่ ประพฤติตน - ประพฤตติ นเหมือน

เหมอื นเพศตรงขา้ ม เพศตรงขา้ ม

- ทำงานพเิ ศษท่ี - ขาดเรียนไปกับคู่ของ

ลอ่ แหล่มต่อการถูกลว่ ง ตนเสมอ ๆ

ละเมดิ ทางเพศ - อยูด่ ว้ ยกัน

- จับค่ชู ดั เจนและแยก - ต้งั ครรภ์

กลมุ่ อย่ดู ว้ ยกันสองต่อ - ขาดบริการทางเพศ

สองบ่อยครัง้ - มกี ารมั่วสุมทางเพศ

- อยใู่ นกลุ่มขายบริการ

- มพี ฤติกรรมอยู่ดว้ ยกัน

สองคนนอกเวลาเรยี น

บ่อยครั้ง

24

3. การสง่ เสริมนกั เรียน การสง่ เสรมิ นักเรยี นเป็นการสนับสนุนใหน้ กั เรียนทุกคนท่ีอย่ใู นความดูแล
ของครูที่ปรึกษาไมว่ า่ จะเป็นนักเรยี นกลมุ่ ปกตหิ รือกล่มุ เส่ยี ง หรือกลุม่ มีปญั หาใหม้ ีคุณภาพมากขน้ึ มีความ
ภาคภูมใิ จในตวั เองในดา้ นต่างๆ ซึ่งจะช่วยใหน้ ักเรยี นที่อยใู่ นกล่มุ ปกติกลายเป็นนักเรยี นในกล่มุ เสียง หรอื กลุ่ม
มปี ญั หาและเป็นการช่วยเหลอื ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ เสี่ยง กลมุ่ มีปญั หากลบั มาเป็นนักเรียนกลุ่มปกติและมคี ุณภาพ
ตามท่โี รงเรยี นหรือชุมชนคาดหวงั ตอ่ ไป

วิธีการและเครื่องมือเพ่ือการสง่ เสริมนกั เรียน การสง่ เสรมิ นักเรียนมหี ลายวิธีที่โรงเรียนสามารถ
พจิ ารณาดำเนนิ การได้แตม่ ีกิจกรรมหลักสำคญั ทโ่ี รงเรยี นต้องดำเนนิ การ คือ

1) การจดั กจิ กรรมโฮมรูม (Homeroom)
2) การจดั ประชมุ ผู้ปกครองชนั้ เรียน (Classroom meeting)
3) การจัดกจิ กรรมอนื่ ๆท่สี ่งเสรมิ พัฒนานกั เรียนท่ีหลากหลาย
4. การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน นอกจากจะใหก้ าร
ปรึกษาเบ้ืองต้นแลว้ การจัดกิจกรรมต่างๆ เพ่อื การชว่ ยเหลือนักเรยี นก็เป็นสิง่ สำคัญเพราะจะทำให้การ
ช่วยเหลือมีประสิทธิภาพ ก่อใหเ้ กดิ ความร่วมมือร่วมใจของครูทกุ คนรวมท้งั ผ้ปู กครองด้วย
วิธีการและเครื่องมือเพ่ือการป้องกันและแก้ไขปญั หา ครูท่ีปรกึ ษาสามารถคิดพิจารณากิจกรรมเพ่ือ
แก้ไขปญั หาของนักเรยี นไดห้ ลายแนวทาง ซ่ึงในทนี่ ้สี รุปไว้ 5 แนวทางทจ่ี ำเปน็ คือ
1) การใช้กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร
2) การใชก้ ิจกรรมในหอ้ งเรยี น
3) การใชก้ จิ กรรมเพื่อนชว่ ยเพ่ือน
4) การใช้กิจกรรมซ่อมเสริม
5) การใชก้ ิจกรรมการสื่อสารกบั ผ้ปู กครอง
สำหรับขอ้ 2) 3) และ 5) ครูท่ีปรึกษาสามารถดำเนินการด้วยตนเอง ส่วนข้อ 1) และ 4) จำเป็นต้อง
มีการประสานงานเพื่อขอความรว่ มมือจากครูอนื่ ๆ ท่เี ก่ียวข้องรวมทั้งการสนับสนุนของผู้บรหิ ารโรงเรียนดว้ ย
แตอ่ ย่างไรกต็ ามการชว่ ยเหลือทง้ั 5 กจิ กรรมดังกล่าว ครทู ี่ปรกึ ษาสามารถขอคำแนะนำความคิดเหน็ จากครู
อ่ืน ๆ ในการจัดกจิ กรรมเพ่ือให้ได้ผลดยี ิ่งขึน้
ขอ้ ท่ีพงึ ตระหนกั ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรยี น
1) เร่อื งราวข้อมลู ของนักเรยี นทใี่ หก้ ารช่วยเหลือและแก้ไข ต้องไมน่ ำไปเปิดเผย ยกเว้นเพือ่ ขอความ
ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นกับบุคคลทีเ่ กย่ี วขอ้ ง โดยไมร่ ะบุช่ือ-สกลุ จรงิ ของนักเรยี นและการเปิดเผยควรเปน็ ไปใน
ลักษณะทใี่ หเ้ กยี รตินกั เรียน
2) บันทกึ ข้อมูลการช่วยเหลอื นกั เรียน ควรเก็บไวใ้ นท่เี หมาะสมและสะดวกการเรียกใช้
3) การรายงานชว่ ยเหลือนักเรียน ควรรายงานในสว่ นที่เปิดได้ โดยให้เกยี รติและคำนึงถึงประโยชน์
ของนักเรียนเปน็ สำคัญ
4) การชว่ ยเหลือแก้ไขปัญหาของนักเรยี น ตอ้ งพจิ ารณาสาเหตขุ องปัญหาใหค้ รบถว้ นและหาวิธกี าร
ช่วยเหลอื ให้เหมาะสมกบั เหมาะสมกับสาเหตุนน้ั ๆ เพราะปัญหามิไดเ้ กิดจากสาเหตเุ พียงสาเหตุเดียวแตอ่ าจจะ
เกดิ จากหลายสาเหตุท่ีเกย่ี วเนื่องสัมพนั ธก์ ัน
5) ปัญหาท่ีเหมือนกนั ของนักเรยี นแตล่ ะคน ไม่จำเปน็ ต้องเกดิ จากสาเหตุทเ่ี หมือนกนั และวธิ กี าร
ชว่ ยเหลือทีป่ ระสบความสำเร็จกบั นกั เรียนคนหน่ึง ก็ไม่เหมาะกับนักเรียนอีกคนหนึง่ เน่ืองจากความแตกต่าง
ของบุคคล ดังนน้ั การช่วยเหลอื โดยเฉพาะการใหก้ ารปรึกษาจงึ ไมม่ ีสตู รการชว่ ยเหลอื สำเรจ็ ตายตัว เพยี งแต่มี

25

แนวทาง กระบวนการหรือทักษะการช่วยเหลอื ที่ครแู ตล่ ะคนสามารถเรยี นรู้ ฝกึ ฝน เพ่ือการนำไปใชใ้ ห้
เหมาะสมกบั แตล่ ะปัญหาในนักเรยี นแตล่ ะคน

5. การสง่ ต่อ เพื่อใหก้ ารแก้ไขปญั หาและการให้ความชว่ ยเหลอื นกั เรียนมีประสิทฺธิภาพ เกดิ
ประสทิ ธผิ ล จำเป็นต้องอาศัยความรว่ มมอื ในการแก้ไขปญั หา เพราะบางปัญหา ครูประจำชัน้ /ครูทีป่ รกึ ษาอาจ
ไมส่ ามารถแก้ไขปัญหาไดล้ ุล่วงจึงจำเปน็ ต้องส่งตอ่ นักเรียนไปยงั ส่วนที่เกี่ยวข้อง หรือมีความถนัด ความชำนาญ
การเฉพาะทางเพอ่ื การแก้ปญั หาที่ถกู ต้อง ตรงประเด็น

วธิ กี ารและเคร่ืองมือเพ่ือการสง่ ตอ่
1) บันทึกการส่งนักเรยี นไปยังครทู เี่ ก่ียวข้องในการชว่ ยเหลอื นกั เรียนต่อไป เช่น ครูแนะแนว

ครปู กครองครูประจำวิชา ครูพยาบาล เป็นต้น ซึง่ เปน็ การสง่ ตอ่ ภายใน
2) บนั ทกึ การสง่ นักเรียนไปยังผู้เชย่ี วชาญภายนอกโดยครแู นะแนวหรอื ฝ่ายปกครองเป็น

ผดู้ ำเนินการซง่ึ เปน็ การสง่ ต่อภายนอก

26

27

28

29

30

31

32

33

34


Click to View FlipBook Version