The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารเรียงชุด pdf อารยธรรมตะวันออก 1.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunisa, 2020-04-02 22:44:47

วิชา อารยธรรมตะวันออก

เอกสารเรียงชุด pdf อารยธรรมตะวันออก 1.2563

เอกสารประกอบการสอน
วิชา อารยธรรมตะวันออก ส30271
รายวชิ าเพิม่ เติม ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 4

โดย
ครูสนุ ิษา กัณฑแ กว
กลุม สาระการเรยี นรูส ังคมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม

ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563
โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จงั หวัดสงขลา
สํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต16
สํานกั งานคณะกรรมการการจัดการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

คาํ นาํ

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก (ส30270) เลมนี้ ไดจัดทําขึ้นเพื่อใช
ประกอบการเรยี นการสอนนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/11-4/16 สาระวิชาเพิ่มเติมโดยเอกสาร
ประกอบการสอนเลมนี้ เปนเนื้อหาของหนวยที่ 1 เรื่อง อารยธรรมตะวนั ออกสมยั โบราณประกอบดว ย 6
เรื่อง ไดแก อารยธรรมจีน อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมญี่ปุน อารยธรรมอิสลาม อารยธรรมเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต และอารยธรรมเปอรเซีย แตละเรอ่ื งประกอบดวยใบความรู ใบงาน และแบบทดสอบ
ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้ จะเปนประโยชนแกนักเรียน ในรายวิชา
เพิ่มเติม อารยธรรมตะวนั ออกและรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถงึ ผสู นใจทว่ั ไป และหากมีขอผิดพลาด
ประการใด ผูเขียนขอนอมรับดวยความยินดียิ่งและขอขอบคณุ ในความอนเุ คราะหน น้ั มา ณ โอกาสนด้ี ว ย
และจะนําไปปรับปรุงเพื่อใหเกิดประโยชนตอการศึกษาตอไป

นางสนุ ษิ า กณั ฑแ กว
ผูจัดทํา

สารบญั

เรอ่ื ง หนา

คาํ อธบิ ายรายวชิ า 1
ผลการเรียนรู 1
โครงสรา งรายวชิ า 2
แบบทดสอบกอ นเรยี นหนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 3-7
อารยธรรมจนี สมยั โบราณ

 ใบความรทู ี่ 1.1 เรื่อง สภาพภมู ศิ าสตรท สี่ ง ผลตอ อารยธรรมจนี 8

 ใบความรทู ่ี 1.2 เรอ่ื ง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมจนี 9-20

 ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง สภาพภมู ศิ าสตรท ส่ี ง ผลตอ อารยธรรมจนี 21

 ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมจนี 22

 ใบงาน 1.3 เรอ่ื ง อารยธรรมจนี ทส่ี ง ผลตอ โลกปจ จบุ นั 23

 แบบทดสอบ เรอ่ื ง อารยธรรมจนี ยคุ โบราณ 24-25

....................................................................................................................................................

อารยธรรมอนิ เดยี สมยั โบราณ 26 -33
 ใบความรทู ี่ 2 เรื่อง อารยธรรมอนิ เดยี

 ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมอนิ เดยี 34

 ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง สภาพภมู ศิ าสตรท สี่ ง ผลตอ การสรา งอารยธรรมอนิ เดยี 35

 ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง การรกุ รานและพฒั นาการของอารยธรรมอารยนั 36

 ใบงานที่ 2.4 เรื่อง การรวมตวั กนั ของอารยธรรมอนิ เดยี สมยั ราชวงศ 37

 แบบทดสอบ เรื่อง อารยธรรมอนิ เดยี สมยั โบราณ 38-39

....................................................................................................................................................

อารยธรรมญี่ปุน 40-48
 ใบความรูที่ 3 เรื่อง อารยธรรมญป่ี นุ

 ใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง ยคุ สมยั อารยธรรมญป่ี นุ 49-50

 ใบงานท่ี 3.2 เรอ่ื ง สภาพภมู ศิ าสตรท ส่ี ง ผลตอ การสรา งอารยธรรมญป่ี นุ 51

สารบญั

เรอื่ ง หนา

 ใบงานท่ี 3.3 เรอ่ื ง พฒั นาการของอารยธรรมญป่ี นุ ทม่ี ผี ลตอ การพัฒนาการ 52

เปลยี่ นแปลงของโลก

 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง อารยธรรมญป่ี นุ 53-55

.................................................................................................................................................

อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต

 ใบความรูที่ 4 เรื่อง อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต 56-70

 ใบงานท่ี 4.1 เรอ่ื ง เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตก อ นการรบั วฒั นธรรมจากภายนอก 71 -72

 ใบงานท่ี 4.2 เรอ่ื ง อาณาจกั รสาํ คญั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต 73-74

 ใบงานท่ี 4.3 เรอ่ื ง อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท ม่ี ผี ลตอ การพฒั นาการ 75

เปลยี่ นแปลงของโลก

 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต 76

.......................................................................................................................................................

อารยธรรมอสิ ลาม

 ใบความรทู ่ี 5 เรอ่ื ง อารยธรรมอสิ ลาม 77-95

 ใบงานที่ 5.1 เรอ่ื ง กาํ เนดิ หลกั การและนกิ ายตา งๆในอสิ ลาม 96-97

 ใบงานท่ี 5.2 เรื่อง มรดกอสิ ลาม 98

 ใบงานที่ 5.3 อทิ ธพิ ลของอารยธรรมอสิ ลามทม่ี ผี ลตอ การพฒั นาการ 99

เปลยี่ นแปลงของโลก

แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง อารยธรรมอสิ ลาม 100-102

..........................................................................................................................................................

อารยธรรมเปอรเ ซยี

ใบความรทู ่ี 6 เรอ่ื ง อารยธรรมเปอรเ ซยี 103-109

ใบงานท่ี 6.1 เรอ่ื ง อารยธรรมเปอรเ ซยี 110

แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง อารยธรรมเปอรเ ซยี 111-112

แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 113-117

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 1

ส30270อารยธรรมตะวนั ออก

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ระดบั ชน้ั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จาํ นวน 1.0 หนว ยกติ (40 ชั่วโมง)

ศกึ ษาวเิ คราะหอ ารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ อนิ เดยี จนี ญปี ่ นุ เปอรเซยี อสิ ลาม และเอเชยี
ตะวนั ออกเฉยี งใต ศกึ ษาพฒั นาการของปรชั ญาแนวคดิ ทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมตะวนั ออกยุค
แหง ความรงุ เรอื งของปรชั ญาตะวนั ออก ยคุ แหง การเปลยี่ นแปลงสบื เนอ่ื งจากการเขา มามอี ทิ ธพิ ลของอารยธรรม
ตะวนั ตกตอ ระบบสงั คมและแนวคดิ ดา นตา งๆและการปรบั เปลยี่ นตนเองของภมู ภิ าคเอเชยี ตอ กระแสโลกาภวิ ตั น

โดยใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรใ นการสบื คน ขอ มลู
เพอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจพฒั นาการของมนษุ ยชาตทิ ม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงดา นการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม

ของโลก ผลกระทบที่มีตอภูมิภาคอื่น ๆ ซึ่งกอใหเกิดความเปนสมัยใหมและความขัดแยงในสวนตาง ๆ ของโลก
จนถึงสมัยโลกาภิวัตน

ผลการเรียนรู
1. วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทมี ่ ผี ลตอ พฒั นาการและการเปลยี่ นแปลง

ของโลก

2. วเิ คราะหเ หตกุ ารณส าํ คญั ตา งๆทสี่ ง ผลตอ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมือง
เขา สโู ลกสมยั ปจ จบุ นั

รวมทั้งหมด 2 ผลการเรียนรู

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 2

รหัสวิชา ส30270 โครงสรางรายวิชา
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ภาคเรยี นท่ี 1 (40ชั่วโมง) คะแนนเกบ็ 100 คะแนน

ลาํ ดบั ท่ี ชอ่ื หนว ย ผลการเรียนรู สาระสาํ คญั เวลา นาํ้ หนกั
1 การเรยี นรู (ชั่วโมง) คะแนน
อารยธรรม 1. วเิ คราะห อารยธรรมจนี และอนิ เดยี ญป่ี นุ
2 โลกตะวนั ออก 20 25
สมยั โบราณ อิทธิพลของอารย เปอรเ ซยี อสิ ลาม และเอเชยี
20 20
เหตกุ ารณ ธรรมโลก ตะวนั ออกเฉยี งใต เปน อารย 25
สาํ คญั ตางๆ 40
ทส่ี ง ผลตอ ตะวนั ออกสมยั ธรรมตะวนั ออกทม่ี คี วามเปน มา 30
การเปลยี่ นแปลง 100
โบราณ ทมี ่ ผี ล ยาวนานตงั้ แตย คุ กอน

ตอ พฒั นาการและ ประวตั ศิ าสตรจ นถงึ

การเปลยี่ นแปลง ปจ จบุ นั อารยธรรมเหลา นใ้ี ห

ของโลก อทิ ธพิ ลทางดา นสงั คมและ

วฒั นธรรม ศลิ ปกรรม ตลอดจน

วทิ ยาการตา ง ๆ แกภ มู ภิ าค

อื่น ๆ ในโลก

สอบกลางภาค

2. วเิ คราะห ความเจริญกาวหนาในดาน

เหตกุ ารณส าํ คญั ตางๆ ของมนุษยชาติ นาํ ความ

ตา งๆทสี่ ง ผลตอ เปลย่ี นแปลงมาสูสังคมอยางมาก

การเปลยี่ นแปลง กอใหเกิดเหตุการณสําคัญ ๆ ท่ี

ทางสงั คม สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของ

เศรษฐกจิ และ โลกปจ จบุ นั

การเมอื ง เขา สู

โลกสมยั ปจ จบุ นั

สอบปลายภาค

รวม

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563

3

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 3

แบบทดสอบกอนเรียนหนว ยการเรยี นรทู ่ี 1
เรื่อง อารยธรรมตะวนั ออกสมยั โบราณ วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563

ผลการเรียนร:ู วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ
ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการเปลยี่ นแปลงของโลก

คาํ สง่ั ใหน กั เรยี นเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ทสี ่ ดุ เพยี งขอ เดยี ว
1. เมอ่ื จนี เขา สยู คุ ประวตั ศิ าสตรเมอื่ ใด

ก. เมื่อมอี กั ษรคนู ฟิ อรม
ข. เมอื่ มี อกั ษรเฮยี โรกราฟฟก
ค. บนั ทกึ บนฝาผนงั ตามถ้ําตางๆ
ง. เมอ่ื มกี ารบนั ทกึ บนกระดองเตา
2.เสน ทางสายไหม (Silk Road )คอื อะไร
ก. เสน ทางการคา ไหม
ข. เสน ทางการเดนิ ทพั ในการรบ
ค. เสน ทางการพกั รบ ในการทาํ สงคราม
ง. เสน ทางแลกเปลยี่ นการคา และวฒั นธรรม
3.ระบบฟาเจยี หรอื ระบบนติ นิ ยิ ม คอื อะไร
ก. เปน ระบบทใ่ี หค วามยตุ ธิ รรมแกค นในสงั คม
ข. ระบบการคา ชั่ง ตวง วดั มี่มีมาตรฐาน
ค.เปน วฒั นธรรมทส่ี าํ คญั ของคนจนี ทสี่ บื ทอดมาจนถงึ ปจ จบุ นั
ง. มกี ฎหมายเปน เครอ่ื งกาํ หนดพฤตกิ รรมของคนในสงั คมใหร างวลั และมกี ารลงโทษอยา งรนุ แรง
4.เหตกุ ารณใ ดตอ ไปนไ้ี มไดเกดิ ขน้ึ ในสมยั ราชวงศฮ น่ั
ก. อารยธรรมจนี เผยแผไ ปยงั เกาหลแี ละเวยี ดนาม ข. เกดิ การสอบขา ราชการทเ่ี รยี กวา จอหงวน
ค. เกดิ การกอ สรา งกาํ แพงเมอื งจนี ทยี่ ง่ิ ใหญ ง. เกดิ เสน ทางสายไหมทเี่ จรญิ รงุ เรอื ง

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 4

5.จากการทป่ี ระเทศอนิ เดยี เปน แหลง อารยธรรมโลกขอ ใดเปน ขอ มลู ทสี ่ นบั สนนุ ขอ ความดงั กลา วท่ี
สาํ คญั ทส่ี ดุ
ก. เพราะอนิ เดยี มพี น้ื ทก่ี วา งใหญง า ยตอ การพฒั นา
ข. เพราะชาวอารยนั เขา มามบี ทบาทตอ การตง้ั ถน่ิ ฐานและพฒั นาประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี
ค. เพราะอนิ เดยี มแี มน าํ้ คงคา –สนิ ธุ ทม่ี คี วามอดุ ม สมบรู ณท เ่ี ปน ตวั แปรตอ การตง้ั ถน่ิ ฐานของมนษุ ย
ในยคุ โบราณ
ง. เพราะอนิ เดยี มสี ง่ิ ปลกู สรา งทยี่ ง่ิ ใหญ คอื ทชั มาฮาล 1 ใน 7 สง่ิ มหสั จรรยข องโลก

6. ขอ ใดทม่ี วี รรณะทง้ั 4 ครบในสงั คมอนิ เดยี
ก. กษตั ริย พราหมณ ศทู ร แพศ
ข. กษตั รยิ  พราหมณ แพศ ศูทร
ค. กษตั รยิ  แพศ พราหมณ ศูทร
ง. กษตั รยิ  ศูทรแพศ พราหมณ

7.

ภาพนค้ี อื อะไร มคี วามสาํ คญั อยา งไร
ก. เสาอโสก : สรา งขน้ึ ในสมยั ราชวงศโ มรยิ ะเพอ่ื เปน การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนา
ข. เสาอโสก : เปน อนสุ รณส ถานแหง การชนะสงคราม
ค. ทชั มาฮาล : สรา งขน้ึ เพอ่ื เปน อนสุ รณแ หง ความรกั โดยสมเดจ็ พระจกั รพรรดิแหงจกั รวรรดโิ มกลุ

ผมู รี กั มน่ั คงตอ พระมเหสขี องพระองค
ง. สถปู เมอื งสาญจี : เปน มหาวทิ ยาลยั ทมี ่ ชี อื่ เสยี งในสมยั พทุ ธกาล
8. ยคุ ทองของอนิ เดยี ตรงกบั สมยั ใด
ก. ราชวงศโ มรยิ ะ
ข. ราชวงศก ษุ านะ
ค. ราชวงศค ปุ ตะ
ง. ราชวงศโ มกลุ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 5

9. ญปี ่ นุ สมยั เรม่ิ แรกไดม กี ารปฏริ ปู การเมอื งการปกครองโดยไดร บั อทิ ธพิ ลจากทใ่ี ด

ก.จนี สมยั ราชวงศถ งั และราชวงศส ยุ ข. จนี สมยั ราชวงศห ยวน

ค. จนี สมยั ราชวงศฮ น่ั ง. จนี สมยั ราชวงศห มงิ

10. ทําไมญี่ปุนตอ งปด ประเทศในยคุ เอโดะ

ก. การหลงั่ ไหลเขา มาของชาวยโุ รปมผี ลกระทบตอ ญป่ี นุ

ข. คณะผสู อนศาสนาทาํ ใหช าวญป่ี นุ เปลยี่ นศาสนากนั มาก

ค. ความตอ งการของชาวยโุ รปในการเรยี นรวู ฒั นธรรมของชาวญปี่ ุน

ง. ถกู ทกุ ขอ

11. ระบอบศกั ดนิ าในญปี่ ุน คอื ขอ ใด

ก. การปกครองของโชกนุ

ข. ประชาชนดาํ รงชวี ติ แบบอสิ ระ

ค. ซามไู รคอื บคุ คลทไ่ี รศ กั ดนิ า

ง. หวั หนา ตระกลู มนิ ะโมะโตะมอี าํ นาจของจกั รพรรดิ

12.บูชิโด เปน วถิ ชี วี ติ ของใคร

ก. ตระกลู มนิ าโมะโตะ

ข. ซามไู ร

ค. ตระกลู โฮโจ

ง. โชกนุ

13. อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตห มายถงึ อารยธรรมทเ่ี กดิ บรเิ วณใด

ก.แผน ดนิ บนเกาะสมุ าตรา ข. แผน ดนิ บนเกาะชวา

ค. แผน ดนิ ไทย-เวยี ดนาม ง.แผน ดนิ ทอ่ี ยรู ะหวา งอนิ เดยี และจนี

14. อารยธรรมอนิ เดยี เขา มาผสมผสานกบั อารยธรรมดง้ั เดมิ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตอ ยา งไร

ก. การยอมรบั นบั ถอื ศาสนาพราหมณ ฮนิ ดู สงั เกตจากศวิ ลงึ คท แี ่ สดงถงึ ความอดุ มสมบูรณ

ข. มกี ารนาํ ตวั อกั ษรมาใชโ ดยเฉพาะภาษาบาลี และอกั ษรคพู ี

ค. มกี ารนาํ สถาปต ยกรรมทม่ี ลี กั ษณะหลงั คาโคง มน มาสรา งศาสนสถาน

ง. มกี ารนาํ การปกครองแบบพอ ปกครองลกู มาใชใ นการควบคมุ สมาชกิ คนในสงั คม

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 6

15.การทอ่ี ารยธรรมจนี เขา มาเผยแพรใ นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดอ ยางไร
ก. การคา
ข. เผยแพรศ าสนา
ค. สงคราม
ง. ลทั ธิความเชอ่ื ของชาวจนี

16. การคน พบหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรช น้ิ ใดทเี่ ปน การสะทอ นใหเ หน็ ถงึ ความเชอ่ื เกยี่ วกบั ความตาย
ของมนษุ ย
ก. การปลกู สรา งศาลไวท สี่ ูง
ข. ทาํ พธิ บี ชู าบรรพบรุ ษุ มี
ค. การตง้ั ไหหนิ โกศหนิ และหนิ ตงั้
ง. พระหรอื นกั บวชตอ งปฏบิ ตั ติ นอยา งเครง ครดั

17. ในทศั นะอสิ ลามตามขอ ใดทม่ี คี วามสมั พนั ธก บั การแปลความทเี่ รยี กวา สันติ
ก. การยอมตามและจงรกั ภกั ดตี อ พระเจา เพยี งองคเ ดียว
ข. การยอมรบั ในหลกั การและถอื เปน แนวปฏบิ ตั ิ
ค. การอดทนตอ สภาพทถี่ กู กาํ หนด
ง. การเคารพในหลกั ศรทั ธา

18. อารยธรรมอสิ ลามสง ผลตอ โลกในปจ จบุ นั ตามขอ ใด
ก. เมอื งหลวงทม่ี ชี อ่ื วา คอนสแตนตโิ นเปล (The City of Constantine)
ข. อารยธรรมทร่ี กั สนั ติ ภายใตร ม เงาของสนั ตภิ าพเกดิ การกอ สรา ง การประดษิ ฐ
และการบรู ณะภายใตส นั ตภิ าพ
ค. การเขยี นประวตั ศิ าสตรเ ปน ชาตแิ รกในโลกทเ่ี รม่ิ ศกึ ษาประวตั ศิ าสตรต ามแบบวธิ กี ารทาง
ประวตั ศิ าสตร
ง. การสรา งสถาปต ยกรรมแบบโรมาเนสก

19. ความเจรญิ ของเปอรเ ซยี ดไู ดจ ากสง่ิ ใด
ก. มแี มน าํ้ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณไ หลผา น
ข. ทะเลทรายทล่ี อ มรอบดว ยโอเอซสิ
ค. กษตั รยิ ม คี วามเขม แขง็ สามารถทางดา นการรบ
ง. “ศาสนาโซโรอสั เตอร” (Zoroaster)

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 7

20. ขอ ใดทชี่ ี้ใหเห็นถงึ อารยธรรรมเปอรเ ซยี ทสี่ ง ผลตอ โลกปจ จบุ นั
ก. การแกะสลกั หวั เสาเปน รปู สตั วต า งๆ มคี วามสวยงามและประณตี
ข. ทาํ โครงเพดาน มกี ารตกแตง หวั เสาและแกะเสาเปน รอ งคลา ยของกรกี
ค. ประตมิ ากรรมทน่ี ยิ มคอื แบบนนู ตาํ่ โดยเฉพาะการแกะสลกั ฐานบนั ไดกาํ แพง หรอื ฝาผนงั
ง. ถกู ทกุ ขอ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 8

ใบความรทู ่ี 1.1
เรื่อง สภาพภมู ศิ าสตรท สี ่ ง ผลตอ การสรา งอารยธรรมจนี

วิชา อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

จีนเปนดินแดนที่มีความกวางใหญและอุดมสมบูรณของลุมน้ําฮวงโห หรอื แมน าํ้ เหลอื งในภาคเหนอื
ของจนี ในบรเิ วณลมุ แมน าํ้ ฮวงโห เปนที่ราบที่อดุ มสมบูรณเนื่องจากมีดินสีเหลือง ซึ่งเปนประโยชนตอ
การเกษตร ในหนา นาํ้ จะมนี ้ําเออลนและพัดดินตะกอนมาทับถมทําใหที่ราบริมแมน้ํามีความอุดมสมบูรณ
แตก็ทําใหเกิดน้ําทวมอยูเสมอ สวนลักษณะภูมิอากาศเปนเขตอบอุน ปรมิ าณฝนในหนา แลง มนี อ ยจงึ มนี า้ ํ
ไมเพียงพอ ตองอาศัยน้ําจากแมน้ําเปนสําคัญ ปจจัยดังกลาวจึงทําใหชาวจีนตองมาอยูรวมกันเปนชุมชน
และสรางระบบชลประทานขึ้นดวยการขุดคลองเพื่อระบายน้ําในขณะที่น้ําเออลน และทดน้ําและกักเก็บ
น้ําไวใชในฤดูแลง สวนทรัพยากรธรรมชาติบริเวณลุมแมน้ําฮวงโหมีปา ไมแ ละแรธาตุที่สําคัญ เชน ถาน
หินเหล็ก ตะกั่ว ทองแดง จากสภาพภูมิศาสตรนี้ทําใหชาวจีนสรางสรรคอารยธรรมอยางตอเนื่องเพื่อ
เอาชนะธรรมชาติ เชน การคํานวณฤดู การควบคุมอุทกภัย ซึ่งชาวจีนไดนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช
ประโยชนตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร และกอใหเกิดการรวมตัวเปนชุมชน มีการเกณฑแรงงานเพื่อ
ควบคุมระบบชลประทานภายใตผูนําชุมชน ซึ่งตอมากลายเปนชนชั้นปกครองและระบบกษัตริย

นอกจากนล้ี กั ษณะทต่ี ง้ั ของจนี มปี ราการธรรมชาติ คือ ทางตะวนั ออกมีมหาสมุทรแปซิฟก ทางใต
เต็มไปดวยภูเขาและปาดิบรอน สวนทางตะวันตกและทางเหนือก็เปนทุงหญาทะเลทรายและภูเขา มสี ว น
ชวยให อารยธรรมจีนคงอยูมาตอเนื่องยาวนานโดยไดรับอิทธิพลจากภายนอกนอยมาก

ทม่ี าhttps://panupong088.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 9

ใบความรทู ่ี 1.2
เรื่อง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมจนี

วิชา อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

1.สมยั กอ นประวตั ศิ าสตร
มีการคนพบโครงกระดูกของมนุษยปกกิ่ง ลักษณะคลายกับโครงกระดูกของชาวจีนในปจจุบัน

มีการคนพบเครื่องมือเครื่องใชทที่ ําจากหินแบบหยาบ ครองชีพโดยการลาสัตว โดยมีการคนพบแหลง
โบราณคดี 2 แหลง คือ

1. วัฒนธรรมหยางเชา ลักษณะสําคัญ คือ เครื่องปนดินเผาลายเขียนสีจํานวนมาก ลายที่มัก
เขียนเปนลายเรขาคณิต พืช นก สัตวตางๆ และภาพใบหนามนุษย สีที่ใชเปนสีดําหรือสีมวงเขมซึ่งสืบ
ทอดมาถึงสมัยสําริดและสมัยประวัติศาสตร

แบบจําลองที่อยูอาศัยในวัฒนธรรมหยางเชา
ที่มา https://panupong088.wordpress.com

เครื่องปนดินเผาในวัฒนธรรมหยางเชา
ที่มา https://sites.google.com

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 10

2. วฒั นธรรมหลงชาน ลักษณะสําคัญ คือ เครื่องปนดินเผามีเนื้อละเอียด สีดําขัดเงา คุณภาพดี
เนื้อบางและแกรง แสดงวามีการใชแปนหมุน และมีวิธกี ารเผาที่กาวหนากวาอารยธรรมหยางเชา รปู แบบ
ของภาชนะดินเผาที่สําคัญ คือ ภาชนะ 3 ขา ซึ่งสืบทอดตอมาในยุคสําริด

หมอ 3 ขาในวัฒนธรรมหลงซาน
ที่มา https://sites.google.com

2.สมยั ประวตั ศิ าสตรจ นี
2.1 ยคุ โบราณ
เปน ทเ่ี ลา ขานสบื ทอดกนั มาในหมชู าวจนี วา ตนเองเปน ลกู หลาน เหยยี นต้ี และ หวงต้ี เมือ่ ประมาณ

4,000 ปม าแลว และยงั เชอ่ื เชน นน้ั จวบจนปจ จบุ นั ราชวงศเ ซย่ี (2100-1600 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช) เลา กนั
วา ในสมยั เหยานน้ั แมน าํ้ หวงเหอ เกดิ อทุ กภยั นาํ้ หลากเขา ทาํ ลายบา นเมอื ง ทาํ ใหช าวบา นตอ งอพยพไป
อาศยั อยบู นตน ไมห รอื บนยอดเขาเทา นน้ั ซง่ึ ภายหลงั พระเจา อว่ี ใชเวลา 13 ปใ นการแกป ญ หาอทุ กภยั
นส้ี าํ เรจ็ และไดร บั ขนานนามวา ตา-ยวี่ ปกครองจนี ในชว ง 2100-1600 ปก อ นครสิ ตกาล (1557-1057 ป
กอน พ.ศ.) มอี าํ นาจอยแู ถบมณฑลชานสใี นปจ จบุ นั ใกลล มุ นาํ้ เหลอื ง กษตั รยิ เ ซยี ่ องคแ รกคอื พระเจา อว่ี
เรม่ิ ประเพณกี ารสบื ราชสมบตั ติ ามสายโลหติ ในระยะแรกสบื จากพม่ี าสนู อ ง สมยั ราชวงศเ ซยี่
มหี ลกั ฐานวา ผปู กครองมกั เปน หวั หนา ทางศาสนาหรอื มหี นา ทท่ี าํ ปฏทิ นิ ดว ย แตต อ มาความสาํ คญั ทาง
ศาสนาหรอื ความเชอื่ เรอ่ื งนเี้ สอ่ื มลงไป

เมื่อพระเจาอวี่ขึ้นครองราชยและสถาปนาราชวงศนี้ ในปที่ 2070 กอนคริสตกาล ยังยึดหลักการ
สละราชบัลลังกตามแบบประเพณีนิยมของพระเจาเหยาและพระเจาซุนแกผูที่มคี วามสามารถ โดยเตรยี มให
อ้ี ผชู ว ยรับชวงสืบราชสมบัติ แตหัวหนาเผาตางๆสนับสนุน ฉี่ โอรสของพระเจา อว่ี ซึ่งเปนผูทรงคุณธรรม
และ มีความสามารถอีกคนหนึ่ง จึงไดสืบทอดอํานาจตอจากพระบิดา ดวยการสถาปนาราชวงศเซี่ยขึ้น
นับเปนครั้งแรกที่ตําแหนงเจาผูครองราชยเปนการ สืบสันตติวงศ โดยการสืบทอดสมบัติจากพอสูลูก
พี่สูนองไปเรื่อยๆ การสืบทอดแบบนี้ทําใหเกิดลักษณะการปกครองประเทศดวยวงศส กลุ เดยี วขน้ึ เปน ครงั้
แรกในประเทศจนี

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 11

 ราชวงศเซี่ย
มีประวัติยาวนานเกือบ 500 ป มีกษัตริยปกครองทั้งสิ้น 17 องค จนกระทั่งพระเจาเจี๋ย ซึ่งมี

นิสัยโหดราย ไรค ณุ ธรรม จึงเปนที่เกลียดชังของประชาราษฎร ผูนําเผาซาง ชื่อทัง ผนึกกําลังกับเผาตางๆ
ทําสงครามขับไลพระเจาเจี๋ยและเอาชนะไดที่ หมิงเถียว (ตั้งอยูบริเวณใกลเมืองไคฟง มณฑลเหอ หนาน
ในปจจุบัน) พระเจาเจี๋ยหนีและสิ้นพระชนมที่หนานเฉา (อําเภอเฉาเซี่ยน มณฑลอานฮุยในปจจุบัน)
ราชวงศเซี่ยจึงลมสลายอยางสมบูรณ

ราชวงศซาง (1600-1046 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช)
ราชวงศซ างมอี าํ นาจอยปู ระมาณ 550 ป คอื ตั้งแต 1600-1046 ปกอนคริสตศักราช (1057-503
ปกอนพ.ศ.) ในชวงนี้เริ่มมีการกอตั้งกองทหาร, ขาราชการและมีการลงโทษตามกฎหมาย มีกษัตริย
ปกครอง ทั้งสิ้น 31 พระองค เมอ่ื พระเจา เจี๋ยแหงราชวงศเซี่ยซึ่งไรคุณธรรมสรางความเกลียดชังแกคนทั้ง
แผนดินเพิ่มขึ้น จนกระทั่งเปดโอกาสใหผูที่มิชอบพฤติกรรมของพระองค รวมตัวกันเปนกองกําลังเพื่อ
ตอตานการปกครองของเจาแผนดิน ทัง มีอํานาจอยูแถบเมืองซางไดรับการสนับสนุนจากหัวหนาเผา
ตางๆจึงใชกําลังพลและอาวุธโคนลมการปกครองของราชวงศเซี่ย แลวสถาปนาราชวงศซางขึ้น โดยตั้ง
เมืองหลวงที่ เมืองปว (อําเภอเฉาเซี่ยน มณฑลซานตงปจจุบัน) เนื่องจากทังเปนชนชั้นสูงในราชวงศเซี่ย
มากอ น จึงถือวาเปนการปฏิวัติของชนชั้นสูงครั้งแรกในประวัติศาสตรจีน นอกจากนน้ั ยคุ นี้ยังเริ่มมีการใช
ภาชนะสําริดอยางแพรหลายโดยเฉพาะประเภท ถวยสุรา มดี วงพระจนั ทร กลองสําริด ซง่ึ มกี ารขดุ คน พบ
เปนหลักฐานกันมาก
การครองราชยชวงแรกของพระเจาซางทังและทายาท บานเมืองมีความรมเย็นเปนสุขจนกระทั่ง
ไปถงึ พระเจา โจวหวงั ซึ่งเปนกษัตริยองคสุดทายของราชวงศนี้เปนผูเหี้ยมโหด ขูดรีดเงินทองจากราษฎร
อยางหนักเพื่อสรางอุทยานแหงใหม (สระสรุ า,ปา นาร)ี และลงโทษทัณฑแกผูตอตานนโยบายหรือสราง
ความขัดเคืองใจดวยการประหารชีวิต เหลาขุนนางเสพสุขบนความทุกขของราษฎรโดยเจาแผนดินไม
เหลียวแล จงึ สรา งแรงกดดันและเกิดการรวมตัวของ (นาจา เจียงจื่อหยา เออหลางฯ) และ พวกเผาโจ
วซึ่งอาศัยบนที่ราบสูงและมีกําลังเขมแข็ง โดยผูนํา ชื่อ จีฟา ไดรวมกําลังพลกับเผาอื่นที่ประสบความ
เดือดรอนเพื่อโจมตีกองทัพของพระเจาโจวหวังซึ่งแตกพายแพยับเยินที่ มูเหยีย พระเจาโจวหวงั ตองฆา
ตัวตายดวยการเผาตัวเอง ราชวงศซางจึงลมสลายลงแลวสถาปนาราชวงศโจวปกครองแผนดินแทน
ราชวงศซ างเมอ่ื ประมาณ 1046 ปกอนคริสตกาล
ราชวงศโ จว (1046-256 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช)
นักประวัติศาสตรจีนแบงราชวงศโจวออกเปน ราชวงศโจวตะวันตก และ ราชวงศโจวตะวันออก
ซึ่งมีระยะครองแผนดินตอเนื่องกัน 790 ป (ยาวนานทส่ี ดุ ในจนี ) แตมีการยายเมืองหลวงหลังจากแพชนะ
กัน จึงแบงราชวงศนี้ดวยทิศทางของเมืองหลวงเปนหลัก

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 12

ราชวงศโ จวตะวนั ตก (1046-771 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช)
ราชวงศโ จวตะวนั ตก เผา โจวเปนเผาเกาแกและใชแซ จี โดยอาศัยแถบลุมน้ําเวยเหอ ตอมายาย

ถิ่นไปอยู ฉีซาน (ดานเหนืออําเภอฉีซาน มณฑลฉานซีปจจุบัน) ซึ่งมีความอุดมสมบูรณดานการเพาะปลูก
มากกวา แลวเรียกตนเองวา ชาวโจว ผูนําเผาทุกรุนตางปรับปรุงโครงสรางเผา กอสรางบานเรือน และ
กาํ หนดตําแหนงขุนนาง ทําใหมีลักษณะของชาติรัฐชัดขึ้น เมอ่ื ผนู าํ นามวา จฟี า ทําลายราชวงศซางสําเร็จ
แลว จึงสถาปนาราชวงศโจวขึ้นปกครองแผนดิน และเปลี่ยนพระนามเปน พระเจาโจวอูหวัง แลวสราง
เมืองหลวงใหมที่ เมอื งเฮา (ดานตะวันตกอําเภอฉางอาน มณฑลสานซีปจจุบัน) นักประวัติศาสตรเรียก
แผนดินโจวชวงนี้วา ราชวงศโจว ตะวันตก นอกจากนั้นยังริเริ่มปูนบําเหน็จความชอบดวยที่ดินและ
ทรัพยสินแกขุนนางซึ่งสรางความชอบแกแผนดินหรือเจาแผนดินเปนครั้งแรกดวย

ราชวงศโจว ตราระบบสืบสายวงศขึ้นใชอยางชัดเจนเปนครั้งแรก โดยกําหนดวา ตําแหนง
กษัตริยหรือเจานครรัฐตางๆตองสืบทอดเฉพาะบุตรคนโตของภรรยาเอกเทานั้น บุตรที่เหลือจะรับการ
แตงตั้งในตําแหนงต่ําลงไป การสืบทอดชัดเจนนี้สรางความมั่นคงแกราชวงศยิ่งขึ้น

เมื่อลวงถึงสมัยของพระเจาโจวโยวหวัง เมืองเฮาซึ่งเปน เมืองหลวงเกิดแผน ดนิ ไหวรา ยแรงเกดิ โรค
ระบาด ประชาชนลําบากยากแคนโดยกษัตริยไมสนใจไยดี กลับลุมหลงสุรานารีและความบันเทิงหรูหรา
สว นขนุ นางประจบสอพลอ ไมทํางานตามหนาที่ ทําใหเจานครรัฐบางคนรวมตัวกับชนเผาเฉวี่ยนหรงเขา
โจมตีและปลงพระชนมกษัตริย ถือเปนจุดสิ้นสุดอาณาจักรโจวตะวันตก

ยคุ ชนุ ชวิ (770-256 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช)
หลงั จากอาณาจกั รโจวตะวนั ตกของพระโจวโยวหวงั ลม สลายลงโดยความรว มมอื ของเจา นคร
รัฐบางคนกับเผาเฉวี่ยนหรงแลว พวกเขาสถาปนารัชทายาท อจ้ี ว้ิ ขึ้นเปนกษัตริยองคใหมทรงพระนามวา
พระเจา โจว ผิงหวัง แลวยายไปตั้งเมืองหลวงใหมที่ เมืองลั่วอี้ เนื่องจากเมืองเฮาไดรับความเสียหายจาก
เพลิงไหมอยางมาก นักประวัติศาสตรเรียกชวงการครองอํานาจของราชวงศนี้วา ยุคชุนชิว (Spring and
Autumn Period) ซึ่งมีสงครามแยงชิงความเปนใหญของเจานครรัฐตางๆเปนระยะเพอื ่ ความเปน เจา ผนู  าํ
นครรฐั ยุคนี้เริ่มตนในป 770 กอ นค.ศ. (227 ปก อ นพ.ศ.) รชั สมยั พระเจา โจวผงิ หวงั ถึง ป 476 กอ นค.ศ.
(67 ปกอนพ.ศ.) หรือปที่ 44 สมยั พระเจา โจวจง้ิ หวงั
ยคุ เลยี ดกก
ตนยุคชุนชิวแผนดินจีนมีประมาณสองรอยนครรัฐ แตสงครามแยงชิงอํานาจหรือแผขยาย
อิทธิพลตางผนวกดินแดนตางๆเขากับรัฐผูชนะจนกระทั่งเหลือเพียงรัฐใหญ เจ็ดรัฐมหาอํานาจในตอน
ปลายยุคชุนชิวนักประวัติศาสตรจีนเรียกวา เจ็ดมหานครรัฐแหงยุคจั้นกั๋ว ไดแก รัฐฉี , รัฐฉู , รัฐเยียน ,
รฐั หาน , รฐั เจา , รัฐเวย , และรฐั ฉนิ ยุคสมัยนี้มีสงครามดุเดือดระหวางรัฐตอเนื่อง รัฐฉินกับรัฐฉีไดรับ
การขนานนามเปนสองรัฐมหาอํานาจฟากตะวันออกและฟากตะวันตก ซึ่งถือเปนดุลอํานาจตอกัน ยุคนี้
สิ้นสุดโดยการขึ้นครองอํานาจของ อิ๋งเจิ้ง แหงรัฐฉิน หรือที่รูจักกันในนาม ฉินสื่อหวงตี้ (พระเจาฉินสื่อ
หวงตี)้ โดยถือเปนจักรพรรดิองคแรกของจีน

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 13

2.2 สมยั ราชวงศแ ละจกั รวรรดิ
1. ราชวงศฉ นิ (221-206 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช) จนี ยคุ จกั รวรรดิ
นักประวัติศาสตรนิยมเรียกประวัติศาสตรจีนตั้งแต ราชวงศฉิน ถึง ราชวงศชิง วาเปนจีนยุค

จกั รวรรดิ ถึงแมวาราชวงศฉินจะมีอายุเพียงแค 12 ป แตพระองคไดวางรากฐานสําคัญของอารยธรรมชน
เผา ฮน่ั ไวเ ปน จาํ นวนมาก เมืองหลวงตั้งอยูที่เสียนหยาง (บรเิ วณเมอื งซอี านปจ จบุ นั ) พระเจาฉินสื่อหวงตี้
ตองการบังคับประชาชนใหใชมาตรฐานที่กําหนดขึ้นอยางรวดเร็วเพื่อใหก ารรวมประเทศสมบูรณ
จึงเลือกใชวิธีคอนขางบีบคั้นและรุนแรงดวยการประหารเหลาปญญาชนที่ตอตานคําสั่งของพระองคและ
สานุศิษยขงจื๊อ นอกจากนั้นยังออกคําสั่งเผาหนังสือในความครอบครองของขุนนางและชาวบานซึ่งมิใช
มาตรฐานของพระองคทั้งหมด แลวเรงเผยแพรม าตรฐานของแผนดินโดยเร็ว

สิ่งกอสรางที่สําคัญของราชวงศฉินคือ กําแพงเมืองจีน ซึ่งเปนการตอแนวกําแพงเกาใหเปน
ปกแผน ฉินซีฮองเตสรางแนวปกกันพวกปาเถื่อนจากทางเหนือโดยการสรางกําแพงตอเชื่อมกําแพงเดิม
ที่อยูเดิม จากการกอสรางของรัฐตาง ๆ สมัยจา นกว๊ั การกอสรางนี้ทําใหกลายเปนกําแพงขนาดยาวนับ
หมื่นลี้ จึงเรียกกําแพงนี้วา “กําแพงหมื่นลี้” ผลงานอื่นๆ ไดแกระบบกฎหมาย การเขียนหนังสือ
ระบบเงนิ ตรา เปนตน

ฉินซีฮองเตเปดศึกกับกษัตริยของรัฐ ทั้ง 6 ประเทศในลุมน้ําเหลือง คือ หาน จาว เวย ฉู
เยียน และฉี ในที่สุดการผนึกรวมรัฐตางๆเปนมหาอํานาจทาง ทหาร เศรษฐกิจ สังคม กลาวคือมีการใช
ภาษาเขียนภาษาเดียวคือจีน มาตราชั่งตวง วัด การเงิน เปนหนวยเดียวกันทั่วประเทศ มีระบบความ
กวางของถนนกวางสําหรับรถมา 2 คันสวนกันได ทั่วประเทศ ไมเวนแมแตกําแพงเมืองจีน อนุญาตให
ประชาชนมีสิทธิเปนเจาของที่ดิน จากเดิมที่ดินทั้งหมดเปนของพระราชา ฉิน หาน จาว เวย ฉู เยียน
และฉี ภายใตอํานาจเบ็ดเสร็จและการปกครองแบบรวบอํานาจที่ศูนยกลาง (ยกเลิกระบบออง (กษัตริย)
ครองประเทศราช) หลงั จากพระเจา ฉนิ สอ่ื หวงตี้สวรรคต เกิดความวุนวายขึ้นในราชวงศ ทําใหเกิดกบฏ
มากมาย หลิวปงสามารถรบชนะราชวงศฉินได แตเซี่ยงอี้ถือโอกาสยดึ อาํ นาจ แตหลิวปงก็รบชนะไดและ
สถาปนาราชวงศฮ น่ั

2. ราชวงศฮ น่ั ตะวนั ตก (206 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช - ค.ศ. 220)
เมื่อเลา ปงเอาชนะเซี่ยงอี่สําเร็จ จึงสถาปนาตนเองเปนจักรพรรดิองคแรกของราชวงศฮั่นอัน
ยิ่งใหญและยาวนาน มีพระนามวา สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู โดยตั้งเมืองหลวงที่ ฉางอาน (ใกล
บรเิ วณเมอื งซอี าน มณฑลสา นซปี จ จบุ นั ) แลวเรียกชื่อประเทศวา อาณาจกั รฮน่ั นักประวัติศาสตรจ นี แบง
ยุคสมัยของราชวงศฮั่นเปนสองยุคตามที่ตั้งของเมืองหลวง คือ ราชวงศฮ น่ั ตะวนั ตก (เริ่มตนโดยพระเจา
ฮน่ั เกาจ)ู โดยมีราชวงศซินของอองมังมาคั่นเปนระยะสั้นๆ กอ นทจ่ี ะเกดิ การฟน ฟู ราชวงศฮั่นตะวันออก
(เรม่ิ ตน ทพ่ี ระเจา ฮน่ั กวงอ)ู โดยยายนครหลวงไปที่เมืองลั่วหยาง

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 14

3. ราชวงศซ นิ (ค.ศ. 9-23)
ราชวงศซ นิ มเี ปน ราชวงศส น้ั ๆ ผกู อ ตงั้ คอื อองมงั ทรงไดอ าํ นาจมาจากการปฏวิ ตั โิ คน ลม
จกั รพรรดฮิ น่ั เมอ่ื เสดจ็ สวรรคต ราชวศฮ น่ั กฟ็ น ฟกู ลบั ขน้ึ มาอกี ครง้ั
4. ราชวงศฮ น่ั ตะวนั ออก (ค.ศ. 23-220)

ราชวงศนี้เปนราชวงศที่ถูกกูขึ้นมา หลังถูกอองมังยึดอํานาจ เปนราชวงศฮั่นดังเดิม แตยาย
เมืองหลวงไปลว่ั หยาง ชวงเสื่อมของฮั่นตะวันออก เกิดกบฏโจรโพกผาเหลือง ขึ้นใน ค.ศ. 184 (พ.ศ. 727)
ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของยุคขุนศึก หลังจากนนั้ ไดมีอาณาจักรสามแหงตั้งประชันกัน โดยเรียกวา ยุคสามกก
เปน ทม่ี าของวรรณกรรมเรอ่ื งสามกก เนื่องจากความเจริญของชนชาติจีนในยุคราชวงศฮั่น คนจีนจึงเรียก
ตัวเองวาเปน "ชาวฮน่ั " สืบทอดมาจนถึงปจจุบัน

5. ยคุ สามกก (ค.ศ. 220-280)
เปนยุคที่แผนดินจีนแตกออกเปน สามกก โดยมีกกของ เลาป, กกของ โจโฉ และกกของ

ซนุ กวน ซึ่งตางรบแยงชิงความเปนใหญในแผนดินมังกรทอง เรม่ิ จากการทพ่ี ระเจา เหย้ี นเต ถกู บตุ รชายโจ
โฉขับออกจากบัลลังก แผนดินจีนแตกออกเปน 3 แควน

ค.ศ. 263 (พ.ศ. 806) กก เลา ปล ม สลาย
ค.ศ. 265 (พ.ศ. 808) กก โจโฉถกู ขนุ ศกึ ภายในชอื่ สมุ าเอยี๋ น ยดึ อาํ นาจ และสมุ าเอยี๋ นกอ ตง้ั

ราชวงศจ น้ิ และเรม่ิ ครองราชยใ นนามราชวงศจ น้ิ
ค.ศ. 280 (พ.ศ. 823) กก ซนุ กวนลม สลาย สมุ าเอยี๋ นครองแผน ดนิ จนี ไดส มบรู ณ
6. ราชวงศจ น้ิ ตะวนั ตก (ค.ศ. 265-317)

สุมาเอี๋ยน สถาปนาตนเองเปนจิ้นอูตี้ กอตั้งราชวงคจิ้นตะวันตกใน ปคริสตศักราช 265
(พ.ศ. 808) แทนที่ราชวงศวุยของเฉาเชาหรือโจโฉ เมื่อถึงปค.ศ. 280 (พ.ศ. 823) จิ้นตะวันตกปราบงอ
กกลงได รวมแผนดินเปนปกแผน ยุติยุคสามกกลง ราชวงศจ น้ิ ไดเ ปด รบั เผา นอกดา นทางเหนอื เขา มาเปน
จํานวนมาก หัวหนาของชนเผาซงหนู หลิวหยวน ก็ประกาศตั้งตัวเปนอิสระ โดยใชชื่อวา ฮั่นกวอ
ภายหลังหลิวหยวนสิ้น บุตรชายชื่อหลิวชงยกกําลังเขาบุกลั่วหยางนครหลวงของจิ้นตะวันตก
จับจิ้นหวยตี้ เปนตัวประกันและสําเร็จโทษในเวลาตอมา

7.ราชวงศจ น้ิ ตะวนั ออก (ค.ศ. 317-420)
การลมสลายของราชวงศจิ้นตะวันตก ทําใหแผนดินจีนตกอยูในภาวะแตกเปนเสี่ยง ๆ ราช

สํานักจิ้นยายฐานที่มั่นทางการปกครองและเมืองหลวงลงไปทางใต สถาปนา ราชวงศจ น้ิ ตะวนั ออก (ค.ศ.
317-420หรือ พ.ศ. 860-963) ขณะที่สถานการณทางตอนเหนือวุนวายหนัก แผนดินที่แตกออกเปนแวน
แควนของชนเผาตางๆ 16 แควน โดยเรียกยุคนี้วา ยุคหาชนเผาสิบหกแควน เปนยุคสั้นๆ ที่เกิดการ
หลอมรวมทางวฒั นธรรมของชาวจนี เชื้อสายตางๆ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 15

8. ราชวงศเ หนอื ใต (ค.ศ. 420-581)
หลังจากการลมสลายของราชวงศจิ้นตะวันตก (ค.ศ. 265 – 316 หรือ พ.ศ. 808-860)
ภาคเหนือของจีนก็ตกอยูในภาวะจลาจลและสงครามชนเผาของยุค 16 แควน จวบจน ค.ศ. 386 หวั หนา
เผาทั่วปาเซียนเปยไดสถาปนาแควนเปยวุย และตั้งนครหลวงที่เมืองผิงเฉิง (ปจจุบันคือเมืองตาถงใน
มณฑลซันซ)ี ยุติความวุนวายจากสงครามแยงชิงอํานาจที่เกิดขึ้นทางภาคเหนือใน ค.ศ. 439 (พ.ศ. 982)
เมื่อถึงปค.ศ. 581 (พ.ศ. 1124) หยางเจียนปลดโจวจิ้งตี้ จากบัลลังก สถาปนาราชวงศสุย จากนน้ั
กรีธาทัพลงใต ยุติสภาพการแบงแยกเหนือใตอันยาวนานของแผนดินจีนไดเ ปน ผลสาํ เรจ็ เพิ่มเติม ทางฝา ย
เหนอื กอ นทร่ี าชวงศจ น้ิ จะพบจดุ จบ ทางเผาอนารยชน เผาเชียง เผาซวงหนู เผาตี เผาเซียนเปย (ที่แบง
ออกเปน ตระกูลมูหยงและตระกูลทัวปา) หลังจากฝูเจียนอองแหงแควนเฉียนฉินพายแพที่แมน้ําเฝยสุย
ก็เริ่มออนแอลง โดยไดมีการกลาแข็งขึ้นของกลุมที่เหลือ และฝูเจียนไดตายโดยน้ํามือของเหยาฉัง และ
ทางแดนเหนือ (ที่วานี้เปนแดนที่อยูเหนือ แมน้ําแยงซีเกียง) กเ็ ปน การชว งชงิ กนั ระหวง มูหยงยง เหยาฉงั
มูหยงฉุย (ตระกลู ทัวปาเริ่มกาวขึ้นมาอยางเงี้ยบๆ) โดยมูหยงฉุยกวาดลาง มูหยงหยงกอน แลว โดนทัว
ปากุยทําใหพายแพ โดยตามประวัติศาสตรแลว ทัวปากุยเปนโจรปลนชิงมามากอนที่จะกาวขึ้นเปน
ผูยิ่งใหญในแดนเหนือ อีกฝายทางใตนอกจากทัวปากุยทางแดนใต ตองเริ่มจากการชนะศึกที่แมน้ําเฝย
สุยของทัพจิ้น และผูปรีชาของจิ้นอันไดแก เซี่ยอานมหาเสนาบดี และจอมทัพเซี่ยเสียน ลมตายลง
ทางทัพของซุนเอินไดกอหวอด บวกกับทัพแดนจิงโจวของหวนเศียน ไดทําการกอกบฏ โดยมีวีรบุรุษใน
ตอนนั้น หลิวอวี้ที่พากเพียรจากทหารตําแหนงเล็ก ๆในกองทัพเปยพู และไดไตเตาขึ้นจนเปนผูนําในกอง
กําลังเปยพู และภายหลังไดบีบใหตระกูลซือหมา สละบัลลังก และไดก อ ตง้ั ราชวงศใ ตท ม่ี ชี อ่ื วา ราชวงศซ ง
และไดยกทัพตีชิงแดนเหนือแตเกิดเหตุ หลิวมูจือคนสนิทเสียชีวิตระหวางที่กําลังบุกตีขึ้นเหนือเนื่องจาก
การพายแพของฝูเจียน ทําใหการรวมแผนดินลาชาไปเกือบสองรอยป
9. ราชวงศส ยุ (ค.ศ. 581-618)

สุยเหวินตี้ฮองเต ไดรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนไดอีกครั้ง แตโอรสคือสุยหยางตี้ไมมี
ความสามารถ ทําใหซ้ํารอยราชวงศฉิน บรรดาผูปกครองหัวเมืองตางตั้งตนเปนใหญและแยงอํานาจกัน
ราชวงศสุยอยูไดเพียงสองรัชกาลเชนกัน (พ.ศ. 1124 - 1160) (ค.ศ. 581-617) ภายหลังการรวมแผนดิน
ของราชวงศสุย สภาพสังคมโดยรวมไดรับการฟนฟูจากภาวะสงคราม มีการเติบโตดานการผลิต
เกิดความสงบสุขระยะหนงึ่ สุยเหวินตี้ ไดดําเนินการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ โดยยุบรวมเขตปกครอง
ในทองถิ่น ลดขนาดองคกรบริหาร รวมศูนยอํานาจไวที่สวนกลาง ฮองเตกุมอํานาจเด็ดขาดทั้งในทาง
ทหาร การปกครองและเศรษฐกิจ โดยมีขุนนางเปนเพียงผูชวยในการบริหาร

10. ราชวงศถ งั (ค.ศ. 618-907)
หลี่หยวน (หลี่เอียน) หรือถังเกาจูฮองเต ขุนนางใหญในสมัยสุย ไดลุกฮือที่แดนไทหยวน

และไดบุตรชายคนรองหลี่ซื่อหมิน ทําการชนะศึกอยางตอเนื่อง ไดตั้งราชธานี ที่เมืองฉางอัน (เมืองฉาง
อันเปนเมืองหลวงของหลายราชวงศ อาทิ ฮน่ั ตะวนั ตก ราชวงศสุย ราชวงศจ น้ิ ตะวนั ออก) ผูนําของแควน

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 16

ถังไดสถาปนาตัวเองเปนอิสระจากสุยหยางตี้ และไดชัยชนะเด็ดขาดจากแควนอื่นๆ ในที่สุด ภายหลัง
โอรสองครองหลี่ซื่อ หมินยึดอํานาจจากรัชทายาท หลี่เจี้ยนเฉิง และโอรสองคที่สามหลี่หยวนจี๋ ใน
เหตุการณที่ประตูเสียนอู สุดทายหลี่เอียนสละราชสมบัติ หลี่ซื่อหมินขึ้นเปน ถังไทจงฮองเต และเริ่มยุค
ถัง ซึ่งรุงเรืองเทียบไดกับยุคฮั่น เปนยุดที่มีความรุงเรื่องทั้งทางดาน แสนยานุภาพทางทหาร การคา
ศิลปะ ๆลๆ มีนครหลวงฉางอัน (ซอี านในปจ จบุ นั ) ราชวงศถังมีอาณาเขตกวางใหญกวาราชวงศฮั่นมาก
นอกจากจักรพรรดิถังไทจงแลวในสมัยถังนี้ยังมีจักรพรรดิถังสวนจง ซึ่งในสมัยของพระองคกวีรุงเรื่องมาก
นับวาในสมัยของพระองคยังเปนยุดรุงเรื่องและเสื่อมลงเพราะปลายสมัยของพระองค ทรงลุมหลงห
ยางกุยเฟย ไมส นใจในราชกจิ บา นเมอื ง และในระหวางไดเกิดฮองเตหญงิ คนแรกของประเทศจีน ซึ่งก็คือ
พระนางบูเช็กเทียน อานลูซานแมทัพชายแดนจึงกอการปฏิวัติและยึดเมืองหลวงฉางอานเปนปน
ผลสาํ เรจ็ ทําใหราชวงศถังเริ่มเสื่อมตั้งแตบัดนั้นราชวงศถังมีระยะเวลาอยูชวงราวๆ พ.ศ. 1161-1450
(ค.ศ. 618-907)

11. ยคุ หาราชวงศสบิ อาณาจกั ร (ค.ศ. 907-960)
ตอนปลายราชวงศถังมีการกอกบฏประชาชนตามชายแดน ขนั ทคี รองอาํ นาจบรหิ ารบา นเมอื ง
อยางเหิมเกริม มีการแยงชิงอํานาจกัน แมทัพจูเวิน (จูเฉวียนจง) สังหารขันทีทรงอํานาจในราชสํานัก
แลวสถาปนาตนเปนจักรพรรดิ ทําใหราชวงศถังสิ้นสุด บรรดาหัวเมืองตางๆมีการแบงอํานาจกันเปนหา
ราชวงศ สบิ อาณาจกั ร คือ ราชวงศเหลียง ถัง จน้ิ ฮน่ั และโจว โดยปกครองแถบลุมน้ําฮวงโหติดตอกันมา
ตามลําดับ สวนเขตลุมแมน้ําแยงซีเกียงกับดินแดนทางใตลงไปเกิดเปนรัฐอิสระอีก 10 รัฐ รวมเรียกวา
สิบอาณาจักร การแบงแยกอํานาจปกครองยุคนี้ขาดเสถียรภาพ ชีวิตของประชาชนเต็มไปดวยความ
ลําบากยากแคน ตอมา เจา ควงอน้ิ ผูบัญชาการทหารองครักษชิงอํานาจจากราชวงศโจวตั้งตนสถาปนา
ราชวงศซงหรือซองเปน พระเจา ซง ไทจ ู แลวปราบปรามรวมอาณาจักรเรื่อยมา จนกระทั่งพระเจาซงไท
จง ผูสืบทอดราชบัลลังกป ดฉากสภาพการแบงแยกดินแดนทั้งหมดลงสําเร็จโดยใชเวลาเกือบ 20 ป
12. ราชวงศซ ง (ค.ศ. 960-1279)
ปค.ศ. 960 (พ.ศ. 1503) เจาควงอิ้นหรือพระเจาซงไทจู สถาปนาราชวงศซงหรือซองเหนือ
เมืองหลวงอยูที่ไคฟง (มณฑลเหอหนานในปจ จบุ นั ) รวบรวมแผนดินจีนเปนอันหนึ่งอันเดียวสําเร็จ แลว
ใชนโยบายแบบ “ลําตนแข็ง กิ่งกานออน” ในการบรหิ ารประเทศ ปฏิรูปการปกครอง การทหาร การคลัง
อันมีประโยชนในการสรางเสถียรภาพแกอํานาจสวนกลาง แตสวนทองถิ่นกลับออนแอ เมื่อตองทํา
สงคราม ยอมไมมีกําลังตอตานศัตรูได อํานาจการใชกระบวนการยุติธรรมถูกควบคุมโดยสวนกลาง
13.ราชวงศห ยวน (ค.ศ. 1279-1368)
ยุคนี้ประเทศจีนถูกปกครองโดยชาวมองโกล นําโดย หยวนชื่อจู (หรือกุบไลขาน) ซึ่งโคน
ราชวงศซง ตั้งราชวงศหยวน หรือราชวงศมองโกลขึ้น ยุดสมัยนี้ไดมีชาวตางประเทศเดินทางมาคาขาย
เชน มารโคโปโล มีการพิมพธนบัตรจีนขึ้นครั้งแรกมีการสงกองทัพรุกราน ชวา เวียดนาม ญี่ปุน แตไม
ประสบความสาํ เรจ็

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 17

สมัยนี้อาณาเขตมขี นาดใหญมาก วา กนั วา ใหญก วา อณาจกั รโรมถงึ 4เทา หลังจากกุบไลขานสิ้นพระชนม
ชนชั้นมองโกลไดกดขี่ชาวจีนอยางรุนแรง จนเกิดกบฏ และสะสมกองกาํ ลงั ทหารหรอื กลมุ ตอ ตา นขนึ ้ ชว ง
ปลายราชวงศหยวนจูหยวนจางไดปราบปรามกลุมตางๆ และขับไลราชวงศหยวนออกไปจากแผนดินจีน
ไดสําเร็จ

14. ราชวงศห มงิ (ค.ศ. 1368-1644)
ราชวงศหมิงเปนราชวงศของจีนสถาปนาโดยจูหยวนจาง (จักรพรรดิหงหวู) เมื่อปค.ศ.

1368 (พ.ศ. 1911) จู หยวนจาง หรอื จกั รพรรดหิ มงิ ไทจ ู ปฐมกษัตริยองคของราชวงศครองราชยท[ี่ เมือง
นานกิง] และไดสถาปนาราชวงศหมิงขึ้น 31ปแหงการครองอํานาจ จักรพรรดิหมิงไทจูไดเสริมสราง
ระบอบรวมศูนยอํานาจรัฐเผด็จการแบบศักดินาใหเขมแข็งขึ้นอยางสุดความสามารถ จักรพรรดิหมิงไทจู
ประหารขนุ นางผมู คี ณุ ปู การ ฆาผูคนที่มีความเห็นที่ไมเหมือนพระองค เพิ่มอํานาจของจักรพรรดิใหมาก
ขึ้น ปราบปรามอิทธิพลที่ตอตานพระองค หลังจากจักรพรรดิหมิงไทจูสวรรคตแลว จกั รพรรดเิ จย้ี นเหวิน
ซึ่งเปนพระราชนัดดาองคหนึ่งไดขึ้นครองราชย ตอมาไมนาน จูตี้ ผูเปนปตุลาของจักรพรรดิเจี้ยนเหวินซึ่ง
เปนไดลุกขึ้นตอสูและโคนอํานาจรัฐของจักรพรรดิเจี้ยนเหวินลง จูตี้ไดขึ้นครองราชยเปนจกั รพรรดหิ มงิ
เฉงิ จู หรอื จักรพรรดิหยุงเลอ ในปค .ศ. 1421 (พ.ศ. 1964) จักรพรรดิหยงเลอไดยายเมืองหลวงจากเมือง
หนานจิงไปยังกรุงปกกิ่ง แมรัฐบาลของราชวงศหมิงจะเสริมระบอบรวมศูนยอํานาจรฐั ใหมากขึ้นก็ตาม
แตมีจักรพรรดิหลายองคไมทรงพระปรีชาหรือไมก็ทรงพระเยาวเกินไป ไมสนพระทัยการบริหารประเทศ
อํานาจจึงตกอยูในมือของเสนาบดีและขันที พวกเขาทุจริตคดโกงและขูเข็ญรีดเอาเงิน ทํารายขุนนางที่
ซื่อสัตย กิจการบริหารบานเมืองเสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ ความขัดแยงในสังคมรุนแรง ชวงกลางสมัย
ราชวงศหมิงจึงเกิดการลุกขึ้นตอสูของชาวนาหลายครั้งหลายหนแตถูกปราบปรามลงได

ในสมัยราชวงศหมิง เคยมีนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชื่อจางจวีเจิ้ง สามารถคลี่คลายความขัดแยง
กันทางสังคมและกอบกูการปกครองของราชวงศหมิงดวยวธิ ีดําเนินการปฏิรูป เขาปรับปรุงระบบขุนนาง
พัฒนาการเกษตร ซอมแซมแมน้ําและคูคลอง และไดรวมภาษีอากรและการกะเกณฑบังคับตางๆใหเปน
อันหนึ่งอันเดียวกันไดชวยลดภาระของประชาชนลงไปไดบางระดับหนึ่ง

ในสมัยราชวงศหมิง การเกษตรพัฒนามากขึ้นกวายุคกอน การทอผาไหมและการผลิตเครื่อง
เคลือบดินเผามีความกาวหนารุงเรือง การทําเหมืองเหล็ก การหลอเครื่องทองเหลือง การผลิตกระดาษ
การตอเรือเปนตนก็มีการพัฒนาอยางมาก การแลกเปลย่ี นทางเศรษฐกจิ และวฒั นธรรมระหวา งประเทศมี
บอยครั้ง เจิ้งเหอซึ่งชาวไทยเรียกกันวาซําเปากงไดนํากองเรือจีนไปเยือนเอเซียตะวันออกเฉียงใตและ
แอฟริกาทั้งหมดกวา30ประเทศถึง7ครั้งตามลําดับ แตหลังชวงกลางราชวงศหมิงเปนตนมา จีนถูกการ
รกุ รานจากหลายประเทศรวมทง้ั ญป่ี นุ สเปน โปรตุเกสและเนเธอรแลนดเปนตน

ในสมัยราชวงศหมิง เศรษฐกิจการคาก็ไดพัฒนาเริ่มปรากฏเปนเคาโครงของเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยม ในชวงตนราชวงศหมิง จนี มที ด่ี นิ รกรา งวา งเปลา ทไ่ี มม เี จา ของจาํ นวนมากมาย จกั รพรรดหิ มงิ ไทจ ู
ไดรวบรวมคนพเนจร ลดและงดภาษีอากรใหพวกเขา ทําใหจํานวนชาวนามีที่นาทําเองเพิ่มมากขึ้น

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 18

อยา งมาก ผลิตภัณฑใหมๆทางเกษตรเชนใบยาสูบ มันเทศ ขาวโพดและถั่วลิสงเปนตนก็ไดมีการนําเขามา
ในจนี ในสมัยราชวงศ หมิงงานหัตถกรรมประเภทตางๆเชน เครื่องเคลือบดินเผาและสิ่งทอเปนตนได
พัฒนาถึงระดับคอนขางสูง โดยเฉพาะกิจการทอผาไหม มีเจาของโรงงานผลิตสิ่งทอที่มีเครื่องปนดาย
จาํ นวนหลายสิบเครื่อง และ”ชางปนทอ”มีฝมือที่รับจัดตามสั่งโดยเฉพาะขึ้นแสดงใหเห็นวาเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมเริ่มตนขึ้นแลว ในสมัยราชวงศ หมิงมีสินคาหลากหลายชนิด การแลกเปลี่ยนซื้อขายสินคา
เปนไปอยางคึกคัก ในสถานที่ที่มีผลผลิตอุดมสมบูรณและการคมนาคมสะดวกไดกอรูปขึ้นเปน
ศูนยการคาทั้งขนาดใหญและขนาดเล็ก เกิดเมืองใหญที่มีความเจริญรุงเรืองเชนปกกิ่ง นานกิง ซูโจว
หงั โจว กวา งโจว เปนตน

ในสมัยราชวงศหมิง ระบอบสอบจอหงวนนิยมสอบการเขียนบทความแบบแปดตอน
วรรณกรรมเรื่องยาวในสมัยราชวงศหมิงมีความเจริญรุงเรืองมาก มีวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงตางๆ เชน ”
ซองกั๋ง” “สามกก” “ไซอิ๊ว” “จินผิงเหมย” หรือ เรอ่ื ง”บุปผาในกุณฑีทอง”เปนตน นอกจากน้ี ขอเขียน
และบทประพันธที่มีลักษณะคลาสสิกตางๆเชนสารคดี”บันทึกการทองเที่ยวของสวี เสียเคอ”ในดาน
ภูมิศาสตร “ตําราสมุนไพร”ของหลี่ สือเจินในดานแพทยศาสตร “ชมรมหนังสือวิทยาศาสตรดาน
การเกษตร”ของสวี กวางฉี นักเกษตรศาสตร “ “เทียนกุงไคอู”หรือ”สารานุกรมเทคโนโลยีดาน
การเกษตรและหัตถกรรม”ของนายซงอิ้งซิง นักวิชาการดานหัตถกรรม “สารานุกรมหยงเลอ”ซึ่งเปน
ชุมนุมรวมเอกสารและวิทยานิพนธเปนตนกล็ วนประพันธขึ้นในสมัยราชวงศหมิงทั้งสิ้น

ชวงปลายราชวงศหมิง สภาพการผูกขาดที่ดินรุนแรงมาก พระราชวงศและบรรดาเจานายที่
ไดรับการแตงตั้งมีที่ดินกระจายอยูทั่วประเทศ ภาษีอากรของรัฐบาลก็นับวันมากขึ้น ความขดั แยง ระหวา ง
ชนชั้นตางๆของสังคมก็นับวนั รนุ แรงขน้ึ มีเสนาบดีและขุนนางบางคนพยายามจะคลี่คลายความขัดแยง
ในสังคมใหเบาบางลง และเรียกรองใหยับยั้งสิทธิ พิเศษของเสนาบดีขันทีและเชื้อพระวงศทั้งหลาย
เสนาบดีเหลานี้เทียวบรรยายวิชาการและวิพากษวิจารณการเมืองจึงถูกเรียกกันวาเปน”พรรคตงหลิน
ตั่ง” แตแลวพวกเขาก็ตองถูกเสนาบดีขันทีและขุนนางที่มีอํานาจโจมตีและทําราย ซึ่งยิ่งทําใหสังคม
วุนวายมากยิ่งขึ้น
การตอสูในชนบทก็ทวีความรุนแรงขึ้น ในปค.ศ. 1627 (พ.ศ. 2170) มณฑลสานซีเกิดทุพภิกขภัย แต
ขาราชการยังคงบีบบังคับใหประชาชนจายภาษี จนทําใหเกิดการลุกขึ้นตอสู ประชาชนที่ประสบภัยเปน
พันเปนหมื่นรวมตัวขึ้นเปนกองทหารชาวนาหลายกลุมหลายสาย จนปค.ศ. 1644 (พ.ศ. 2187) กอง
ทหารชาวนาบุกเขาไปถึงกรุงปกกิ่ง จกั รพรรดฉิ งเจนิ ซง่ึ เปน จกั รพรรดอิ งคส ดุ ทา ยของราชวงศห มงิ ตอ งผกู
พระศอสิ้นพระชนม ซึ่งในสมัยราชวงศหมิงมีการสงกองเรอื ออกเดินทางจากจีนแผนดินใหญไปจนถึง
แอฟริกา โดยทานเจิ้งเหอและบันทึกที่ชาวอังกฤษเชื้อสายจีนเขียนไวบางฉบับ บอกไววามีหลักฐานแสดง
วาจีนเดินทางไปอเมริกากอนโคลัมบัส

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 19

15.ราชวงศช งิ (ค.ศ. 1644-1912)
ราชวงศชิง (ค.ศ. 1644-1912 หรือ พ.ศ. 2187-2454) บุกเบิกและสรางราชวงศชิงตั้งแต
ค.ศ. 1582-ค.ศ. 1912 โดย เผา นรู ฮาชี (แมนจูเลีย) สมยานามกษัตริย ชิงไทจงฮองเต จกั รพรรดบิ นหลงั
มา ปฐมกษัตริยชื่อ จกั รพรรดหิ วงไทจ ๋ี ,ซนุ จอ่ื และคังซี และจักรพรรดิบัลลังกเลือด หยงเจิ้น (องคชาย
ส)่ี ,จกั รพรรดเิ จา สาํ ราญ เฉียนหลง (หลานหงษล)ิ ศึกลาบัลลังกทอง เจี่ยชิ่ง และเตากวง มจี กั รพรรดริ วม
ทั้งสิ้นในราชวงศ 13พระองคซ ึ่ง จกั รพรรดิ ปูยี เปนจักรพรรดิองคสุดทาย และเปนราชวงศสุดทายกอน
สถาปนาเปน ระบบสาธารณรฐั เปนราชวงศของ เผาแมนจูเลีย (ชนเผามองโกลเลีย มีชนเผาถึง 2,000-
3,000เผา) เปนชนตางชาติทางเหนือที่เขามาปกครองประเทศจีน ตอจากราชวงศหมิง ซึ่งภายหลังเกิด
"ศึกกบฏราชวงศหมิง" ภายในประเทศจีนโดยกบฏเปดประตูเมืองใหแมนจูเลียเขายึดครอง ทาํ ใหไ ดร บั สม
ยานามกษัตริย ชิงไทจงฮองเต เพราะเขายึดเมืองไดโดย ไมตองลงจากหลังมา เปนราชสมัยที่มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง,การตรวจตราขอบังคับของสังคม,ศาสนา และ การคาทางเรือที่รุงเรืองที่สุดยุค
หนึ่งก็วาได คือ การใหชายจีนไวผมหางเปยและใสเสื้อแบบแมนจูเลีย คือ ปดแขนเสื้อและขา เลียนแบบ
สมัยราชวงศถังเกา พรอ มประคาํ 500เม็ด และตองนับถือพุทธจีน ที่แตกตางไปจากเดิมคือมีประคํา 500
เม็ด และเริ่มนับถือศาสนาพุทธจีนที่เจริญรุงเรืองมากยุคหนึ่ง เพอ่ื บง บอกถงึ อารยธรรมชนเผา ของตนวา มี
ศาสนาและอารยธรรมยาวนาน (ตั้งแตสมัย เจง กิสขาน เรืองอํานาจบุกยึดไปถึงแดนตะวันตกในระหวาง
เดินทางพบ ขงจื้อ) ในราชสํานักยังคงมีขุนนางตําแหนงที่สําคัญๆถือกําเนิดขึ้นดวย คือ "ขันที" และ
เสนาบดีฝายซาย "ตงชิงออง" และ เสนาบดีฝายฝายขวา "กังชิงออง" อีกทั้งยังมีระบบศาลที่คาน
ดลุ อาํ นาจกนั และ ระบบการวาราชการที่เจริญที่สุดถอดแบบจากราชสมัย "ราชวงศซง" คลายระบอบ
การปกครองของประเทศไทยในรัชสมัยรัชกาลท5ี่ คือ ระบบเวียง ระบบวงั ระบบคลัง และระบบนา และ
ยังมีการแบงลักษณะการปกครองออกเปนหัวเมืองๆทั้งหมด 18มณฑลในประเทศจนี โดยทั้งหมดขึ้นตรง
ตอ "จกั รพรรดริ าชวงศช งิ ".
2.3 จนี ยคุ ใหม
ยคุ สาธารณรฐั จนี (ค.ศ. 1912-1949)
ป พ.ศ. 2454 เกิดการปฏิวัติซินไฮ ซึ่งเปนการปฏิวัติเปนสาธารณรัฐโดย ดร. ซุนยัดเซ็น
ราชวงศชิงถูกยึดอํานาจในปนั้น และใน พ.ศ. 2455 ผูอี๋ จักรพรรดิองคสุดทายถูกบังคับใหสละราชสมบัติ
ถือเปนจุดอวสานของราชวงศชิง และการปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยของจีน ดร. ซุนยัดเซ็น
เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณยาสิทธิราชยซึ่งปกครองดวยสิทธิขาดของ
จกั รพรรดิ มาเปนระบอบสาธารณรัฐโดยมียฺเหวียน ชื่อไขเปนประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐจีน
หลังจากซุนยัดเซ็นเสียชีวิต เปนชวงเวลาชิงอํานาจระหวางฝา ยประชาธิปไตย คือ เจียงไคเช็ค กับฝาย
คอมมิวนิสต นําโดย เหมาเจอตุง ชว งแรกเจยี งไคเชค็ เปน ฝา ยชนะและทาํ การปฏวิ ตั ไิ ดส าํ เรจ็ สดุ ทา ยกลมุ
ผูนําพรรคกกมินตั๋งรวมตัวกันขับไล เจียงไคเช็คหนีไปยังเกาะไตหวัน และสถาปนาสาธารณรฐั จนี ขน้ึ แทน

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 20

ยคุ สาธารณรฐั ประชาชนจนี (1949–ปจ จบุ นั )
ประวัติศาสตรสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 เมื่อพรรค
คอมมิวนิสตมีชัยชนะเหนือพรรคกกมินตั๋งในสงครามกลางเมืองจีน เหมา เจอตุง ประกาศจัดตั้ง
สาธารณรฐั ประชาชนจนี (PRC) ที่กรุงปกกิ่งบน จัตุรัสเทยี นอันเหมินเพื่อปกครองจีนแผนดินใหญ

ทม่ี า https://th.wikipedia.org

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 21

ใบงานที่ 1.1
เรื่อง สภาพภมู ศิ าสตรท สี ่ ง ผลตอ การสรา งอารยธรรมจนี

วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการ

เปลย่ี นแปลงของโลก
คาํ สง่ั : ใหน กั เรยี นวเิ คราะหส ภาพภมู ศิ าสตรข องอารยธรรมจนี และอธบิ ายวา สภาพภมู ศิ าสตรส ง ผลตอ
การสรา งอารยธรรมจนี อยา งไร
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................เด..ก็..ๆ..ๆ..ค..ด..ิ ..ว.า่..ส..ภ..า.พ...ภ..ม..ู..ิศ...า.ส...ต..ร..์
..........................................................................................................................ส.ง.่ ..ผ.ล..ต..อ.่..ก..า..ร.ส..ร.า..้ ..ง.อ...า.ร..ย..ธ..ร..ร.ม....
..........................................................................................................................จ.น.ี .อ..ย..า..่ .ง..ไ.ร.บ..า..้ .ง..ค..ะ...................

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 22

ใบงานที่ 1.2
เรื่อง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรจ นี
วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการ

เปลย่ี นแปลงของโลก
คาํ สง่ั : ใหน กั เรยี นเขยี น MY MAPPING แสดงยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรจ นี ใหถ กู ตอง

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 23

ใบงานที่ 1.3
เรื่อง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรจ นี
วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั : นกั เรยี นศกึ ษาใบความรทู ่ี 1.2 แลว วเิ คราะหว า อารยธรรมจนี มผี ลตอ พฒั นาการและการ
เปลยี่ นแปลงของโลกในปจ จบุ นั อยา งไร

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................

นึกถึงประเทศจีน สะพานกระจก..
แลวยิ่งใหญจริงๆ สุดยอด

เลยนะ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 24

แบบทดสอบ
เรื่อง อารยธรรมจนี ยคุ โบราณ วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ
ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั ใหน กั เรยี นเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ทสี ่ ดุ เพยี งขอ เดยี ว

1. เมอ่ื กลา วถงึ ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร มกี ารแบง ยคุ 3. รจู กั ประดษิ ฐต วั อกั ษรขน้ึ ใชเ ปน อกั ษรภาพถกู จารกึ

สมยั เพอ่ื การเรยี นรทู างประวติ ศิ าสตรแ ละใหท ราบ บนกระดกู เตา และกระดกู ววั ภายหลงั เกดิ การ

ชว งเวลาของเหตกุ ารณน น้ั ได อยากทราบวา แตกแยกภายในทาํ ให อาํ นาจออ นแอและเสอ่ื มลง

ยคุ ประวตั ศิ าสตรเกดิ ขน้ึ เมอ่ื มเี หตกุ ารณใ ด ลกั ษณะดงั กลา วเกดิ ขน้ึ ในราชวงศใ ด

ก. มนษุ ยร จู กั ทาํ การเกษตรเพอ่ื เลยี้ งชพี ก. ราชวงศเ ซยี่ ข. ราชวงศซ าง

ข. มกี ารตงั้ ชมุ ชนขน้ึ มกี ารปกครองเปน ชนเผา ค. ราชวงศโ จว ง. ราชวงศฉ นิ

ค. มกี ารใชโ ลหะเปน อาวธุ ในการตอ สู สงคราม 4. เหตุการณใดตอไปนไี้ มไ ดเกดิ ขน้ึ ในสมยั ราชวงศฮ น่ั

ง. มกี ารบนั ทกึ เปน ลายลกั ษณอ กั ษรลงบนวตั ถุ ก. อารยธรรมจนี เผยแผไ ปยงั เกาหลแี ละเวยี ดนาม

ตางๆ ข. เกดิ การสอบขา ราชการทเี่ รยี กวา จอหงวน

เชน กระดกู ววั ดนิ เหนยี ว เปนตน ค. เกดิ การกอ สรา งกาํ แพงเมอื งจนี ทยี่ ง่ิ ใหญ

2. เมอื่ จนี เขา สยู คุ ประวตั ศิ าสตรน น่ั หมายความวา มี ง. เกดิ เสน ทางสายไหมทเ่ี จรญิ รงุ เรอื ง

การ 5.เสน ทางสายไหม (Silk Road ) มลี กั ษณะสาํ คญั ตอ

จดบนั ทกึ เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน ภาษาเขยี น หลกั ฐาน การคา ในยคุ นน้ั อยา งไร

ในขอ ทเ่ีกดิ ขน้ึ ในลกั ษณะดงั กลา ว ก. การคา มคี วามเจรญิ รงุ เรอื ง โดยมสี นิ คา ทส่ี าํ คญั

ก. บนั ทกึ ลงดนิ เหนยี วเรยี กวา อกั ษรคนู ฟิ อรม คอื ผา ไหม

ข. บนั ทกึ ลงในกระดาษปาปร สุ เรยี กวา ข. มกี ารแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมจากตะวนั ออกสู

อกั ษรเฮยี โรกราฟฟก ตะวนั ตก

ค.บนั ทกึ บนกระดองเตา และกระดกู ววั ค. มกี ารปกครองทเ่ี ปน ระบบ มคี วามมน่ั คง

ง. บนั ทกึ บนฝาผนงั ตามถาํ้ ตา งๆ ง. เปน ยคุ ทองของจนี

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 25

6.ระบบฟาเจีย หรอื ระบบนติ นิ ยิ ม มลี กั ษณส มั พนั ธ 9. เสน ทางสายไหม ( Silk Road ) มลี กั ษณะสาํ คญั

ตรงกบั ขอ ใด ตอ การคา ในยคุ นน้ั อยา งไร

ก. เปน ระบบทใ่ี หค วามยตุ ธิ รรมแกค นในสงั คม ก.การคา มคี วามเจรญิ รงุ เรอื ง โดยมสี นิ คา ทส่ี าํ คญั

ข. เปน วฒั นธรรมทส่ี าํ คญั ของคนจนี ทส่ี บื ทอดมา คอื ผา ไหม

จนถงึ ปจ จบุ นั ข.มกี ารแลกเปลยี่ นวฒั นธรรมจากตะวนั ออกสู

ค.ระบบการคา ชงั่ ตวง วดั มม่ี มี าตรฐาน ตะวนั ตก

ง. มกี ฎหมายเปน เครอ่ื งกาํ หนดพฤตกิ รรมของคนใน ค.มกี ารปกครองทเ่ี ปน ระบบ มคี วามมน่ั คง

สงั คมใหร างวลั และมกี ารลงโทษอยา งรนุ แรง ง.เปน ยคุ ทองของจนี

7. ลทั ธขิ งจอ๊ื ใหค วามสาํ คญั ในเรอ่ื งใด 10. ความเชอื่ ในเรอ่ื งใดมผี ลทาํ ใหส งั คมของจนี

ก.การคา ใหค วามสาํ คญั ตอ ขา ราชการ

ข.การศกึ ษา ก.ยดึ มั่นในลัทธิเตา

ค.การเขา รบั ราชการ ข.เปน ผแู ทนของฮอ งเต

ง.การสรา งครอบครวั ค.เปน ผทู ส่ี รา งความราํ่ รวยได

8. เหตุการณใดตอไปนไี้ มไดเกดิ ขน้ึ ในสมยั ราชวงศฮ น่ั ง.ปฏบิ ตั ติ ามบญั ชาแหง สวรรค

ก. อารยธรรมจนี เผยแผไ ปยงั เกาหลแี ละ

เวยี ดนาม

ข. เกดิ การสอบขา ราชการทเ่ี รยี กวา จอหงวน

ค. เกดิ การกอ สรา งกาํ แพงเมอื งจนี ทยี่ ง่ิ ใหญ

ง. เกดิ เสน ทางสายไหมทเี่ จรญิ รงุ เรอื ง

คะแนนเตม็
10

คะแนนทไ่ี ด

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 26

ใบความรทู ี่ 2
เรื่อง อารยธรรมอินเดีย
วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

1. ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมอนิ เดีย
อารยธรรมอนิ เดยี มคี วามเจรญิ รงุ เรอื งและมอี ายเุ กา แก ไมแ พอ ารยธรรมแหลง อน่ื ๆ ทกี ่ ลาว

มาแลว สรปุ สาระสาํ คญั ไดด งั น้ี
1.1 สมยั อารยธรรมลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ (ประมาณ 2,500-1,500 ป กอ นครสิ ตศ กั ราช)ถอื วา เปน สมยั

อารยธรรม “กง่ึ กอ นประวตั ศิ าสตร” เพราะมกี ารคน พบหลกั ฐานจารกึ เปน ตวั อกั ษรโบราณแลว แตย ัง
ไมม ผี ใู ดอา นออก และไมแ นใ จวา เปน ตวั อกั ษรหรอื ภาษาเขยี นจรงิ หรอื ไม ศนู ยก ลางความเจรญิ อยทู ่ี
เมอื งโมเฮนโจ – ดาโร และเมอื งฮารปั ปา รมิ ฝง แมน าํ้ สนิ ธปุ ระเทศปากสี ถานในปจ จบุ นั สนั นษิ ฐานวา
เปน อารยธรรมของชนพน้ื เมอื งเดมิ ทเี่ รยี กวา “ทราวฑิ ” หรอื พวกดราวเิ ดยี น (Dravidian)

เมืองโมเฮนโจดาโร เมืองฮารัปปา
ที่มา: https://th.wikipedia.org. ที่มา: https://th.wikipedia.org.

1.2 สมยั พระเวท (ประมาณ 1,500-600 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช) เปน อารยธรรมของชนเผา อนิ โด-อารยนั
(Indo-Aryan) ซง่ึ อพยพมาจากเอเชยี กลาง เขา มาตง้ั ถน่ิ ฐานในบรเิ วณทร่ี าบลมุ แมน าํ้ สนิ ธแุ ละคงคาโดย
ขบั ไลช นพนื้ เมอื งทราวฑิ ใหถ อยรน ลงไปทางตอนใตข องอนิ เดยี สมยั พระเวทแสดงถงึ ความเจรญิ รงุ เรอื ง
ของศาสนาพราหมณ หลกั ฐานทที่ าํ ใหท ราบเรอ่ื งราวของยคุ สมยั นี้ คอื “คมั ภรี พ ระเวท” ซง่ึ เปน บทสวด
ของพวกพราหมณ นอกจากนยี้ งั มบี ทประพนั ธม หากาพยท ยี่ งิ ่ ใหญอ กี 2 เรอ่ื ง คอื มหากาพยร ามายณะ
และมหาภารตะ บางทจี งึ เรยี กวา เปน ยคุ มหากาพย

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 27

1.3 สมยั พทุ ธกาล หรอื สมยั กอ นราชวงศเ มารยะ (Maurya) ประมาณ 600-300 ปกอน
ครสิ ตศ กั ราช) เปนชวงที่อนิ เดยี ถอื กาํ เนดิ ศาสนาทสี่ าํคญั 2 ศาสนา คอื ศาสนาพทุ ธและศาสนาเชน

1.4 สมยั จกั รวรรดเิ มารยะ (Maurya) ประมาณ 321-184 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช พระเจา จนั ทรคปุ ต
ปฐมกษตั รยิ ร าชวงศเ มารยะไดร วบรวมแวน แควน ในดนิ แดนชมพู ทวปี ใหเ ปน ปก แผน ภายใตจ กั รวรรดทิ ่ี
ยง่ิ ใหญเ ปน ครง้ั แรกของอนิ เดยี สมยั ราชวงศเ มารยะ พระพทุ ธศาสนาไดร บั การอปุ ถมั ภใ หเ จรญิ รงุ เรอื ง
โดยเฉพาะในสมยั พระเจา อโศกมหาราช (Asoka) ได เผยแพรพ ระพทุ ธศาสนาไปยงั ดนิ แดนทง้ั ใกลแ ละ
ไกล รวมทงั้ ดนิ แดนในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ซงึ่ เผยแพรเ ขา สแู ผน ดนิ ไทยในยคุ สมยั ทยี ่ งั เปน
อาณาจกั รทวารวดี

1.5 สมยั ราชวงศก ษุ าณะ (ประมาณ 200 ปก อ นครสิ ตศ กั ราช – ค.ศ.320 ) พวกกษุ าณะ
(Kushana)เปน ชนตา งชาตทิ เ่ี ขา มารกุ รานและตงั้ อาณาจกั รปกครองอนิ เดยี ทางตอนเหนอื กษตั รยิ ที่
ยิ่งใหญค อื พระเจา กนษิ กะ รชั สมยั ของพระองคอ นิ เดยี มคี วามเจรญิ รงุ เรอื งทางดา นศลิ ปวทิ ยาการแขนง
ตา งๆ โดยเฉพาะดา นการแพทย นอกจากนน้ั ยงั ทรงอปุ ถมั ภพ ระพทุ ธศาสนา (นกิ ายมหายาน) ให
เจรญิ รงุ เรอื ง โดยจดั สง สมณทตู ไปเผยแพรพ ระศาสนายงั จนี และทิเบต มกี ารสรา งพระพทุ ธรปู ทม่ี ศี ลิ ปะ
งดงาม และสรา งเจดยี ใ หญท เ่ี มอื งเปชะวาร

1.6 สมยั จกั รวรรดคิ ปุ ตะ (Gupta) ประมาณ ค.ศ.320-550 พระเจา จนั ทรคปุ ตท ่ี 1 ตน ราชวงศค ปุ ตะ
ไดท รงรวบรวมอนิ เดยี ใหเ ปน จกั รวรรดอิ กี ครง้ั หนง่ึ ไดช อื่ วา เปน ยคุ ทองของอนิ เดยี มคี วามเจรญิ รงุ เรอื งใน
ทุก ๆ ดา น ทง้ั ดา นศลิ ปวฒั นธรรม การเมอื ง การปกครอง ปรชั ญาและศาสนา ตลอดจนการคา ขายกบั
ตา งประเทศ

1.7 สมยั หลงั ราชวงศค ปุ ตะ หรอื ยคุ กลางของอนิ เดยี (ค.ศ.550 – 1206) เปน ยคุ ทจ่ี กั รวรรดแิ ตกแยก
เปน แควน หรอื อาณาจกั รจาํ นวนมาก ตา งมรี าชวงศแ ยกปกครองกนั เอง

1.8 สมยั สลุ ตา นแหง เดลฮี หรอื อาณาจกั รเดลฮี (ค.ศ. 1206-1526) เปน ยคุ ทพ่ี วกมสุ ลิมเขามา
ปกครองอนิ เดยี มสี ลุ ตา นเปน ผปู กครองทเ่ี มอื งเดลฮี

1.9 สมยั จกั รวรรดโิ มกลุ (Mughul) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858 พระเจา บาบรู  ผกู อ ตง้ั ราชวงศโ ม
กลุ ไดร วบรวมอนิ เดยี ใหเ ปน ปก แผน อกี ครง้ั หนง่ึ ไดช อ่ื วา เปน จกั รวรรดอิ สิ ลามและเปน ราชวงศส ดุ ทา ย
ของอนิ เดยี โดยอนิ เดยี ตกเปน อาณานคิ มขององั กฤษในป ค.ศ. 1858กษตั รยิ ร าชวงศโ มกลุ ทยี ่ งิ ่ ใหญ คอื
พระเจา อกั บารม หาราช (Akbar) ทรงทะนบุ าํ รงุ อนิ เดยี ใหม คี วามเจรญิ รงุ เรอื งในทกุ ๆ ดา น และในสมยั
ของชาห เจฮนั (Shah Jahan) ทรงสรา ง “ทัชมาฮัล” (Taj Mahal) ซง่ึ เปน อนสุ รณแ หง ความรกั เปนงาน
สถาปต ยกรรมทผ่ี สมผสานศลิ ปะอนิ เดยี และเปอรเ ซยี ทม่ี คี วามงดงามยงิ่

ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 28

2. สภาพภมู ศิ าสตรท ส่ี ง ผลตอ การสรา งอารยธรรม
อารยธรรมลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ เปน อารยธรรมในยคุ สาํ รดิ (ประมาณ 2500 - 1900 กอ นครสิ ตกาล) ถือ

กาํ เนดิ ขน้ึ บรเิ วณลมุ แมน าํ้ สนิ ธใุ นประเทศอนิ เดยี และปากสี ถานในปจ จบุ นั ถอื เปน อารยธรรมยคุ แรก ๆ
ของโลก ซงึ่ นกั โบราณคดเี รยี กวา ยคุ ฮารปั ปน วฒั นธรรมเกา สดุ เรม่ิ จาก

เมอื งอมั รี (Amri) บรเิ วณปากแมน าํ้ สนิ ธุ อายุ 4,000 B.C. พบเครอ่ื งปน ดนิ เผาระบายสี
คลา ยของเมโสโปเตเมยี

เมอื งฮารบั ปา และโมเหนโจ –ดาโร อายุ 2,600 – 1,900 B.C.
เมืองชคุ าร และจนั หดุ าโร อายุ 1,000 – 500 B.C.
อารยธรรมลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ มเี มอื งสาํ คญั ทไ่ี ดร บั การขดุ คน แลว 2 แหง คอื เมอื งฮารบั ปา และโมเหนโจดาโร
ทง้ั สองเมอื งมอี ารยธรรมทเ่ี หมอื นกนั ทกุ ประการ แมห า งกนั 350 ไมล (600 กโิ ลเมตร)จดั เปน สมยั
แรกเรม่ิ ประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี เพราะพบจารกึ จาํ นวนมาก แตย งั ไมม ผี ใู ดอา นออกอารยธรรมลมุ แมน าํ้
สนิ ธถุ กู โจมตอี ยา งรนุ แรง พบโครงกระดกู ถกู ฆา ตายจาํ นวนมาก หรอื อาจลม สลายเพราะภยั ธรรมชาติ
เชน นาํ้ ทว ม หรอื โรคระบาด หรอื เพราะความมง่ั คงั่ ชาวอารยนั ผรู กุ ราน คอ ย ๆ แพรจ ากภาคเหนอื ไป
ทางตะวนั ออก และลงไปทางใตอ ยา งชา ๆ ลงไปยงั ดนิ แดนคาบสมทุ รเดคขา น (ซงึ่ ยงั เปน วฒั นธรรม
หินใหมอย)ู นาํ เอาทองแดง และเหลก็ ไปเผยแพร ทางใตจ งึ เปลยี่ นจากหนิ ใหมเ ปน โลหะทนั ทเี มื่อ
อารยนั ตง้ั หลกั แหลง ในประเทศอนิ เดยี แลว จงึ เขา สสู มยั ประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี อยา งแทจ รงิ
ลกั ษณะสาํ คญั ของอารยธรรมลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ
1. ประตมิ ากรรมอารยธรรมสนิ ธคุ อื ความเปน แบบเดยี วกนั (Uniformity) และ เปน อนรุ กั ษนยิ ม

(Conservation)
2. การวางผงั เมอื ง (City Planning) แผนผงั มรี ะเบยี บ งดงาม มถี นนตดั กนั แบง เมอื งเปน ตาราง

แยกพน้ื ทใ่ี ชส อยออกจากกนั เชน ทอ่ี ยอู าศยั อาคารสาธารณะ ทอ่ี ยชู า งฝม อื ยงุ ขา ว ปา ชา
ทา เรอื พน้ื ทท่ี างศาสนาแสดงถงึ ความรดู า นวศิ วกรรมการสาํ รวจและเรขาคณติ อยา งดี
3. มถี นน และซอยตดั กนั เปน มมุ ฉาก บา นอยู 2 ฟาก ถนนมเี สาตะเกยี งเปน ระยะ ๆการสขุ าภบิ าล
มปี ระสทิ ธภิ าพมาก ทกุ บา นมหี อ งนาํ้ มที อ ระบายนาํ้ เสยี -นาํ้ ดี พบอา งอาบนาํ้ ใหญ เจรญิ กวา
อารยธรรมอน่ื จนสมยั โรมนั จงึ มหี อ งนาํ้ ดี ๆ เทยี บได
4. มกี ารสรา งกาํ แพงเมอื งและปอ มปราการเพอ่ื กนั ผรู กุ ราน มอี าวธุ กระสนุ ดนิ เผา
5. การคา และการขนสง ตดิ ตอ เอเชยี กลาง อฟั กานสิ ถาน เปอรเ ซยี อนิ เดยี ตอนใต เพอื่ นาํ วตั ถดุ บิ
มาผลติ เครอ่ื งใชเ ครอ่ื งประดบั พบภาพเรอื บนดวงตรา ลกั ษณะเรอื คลา ยอยี ปิ ต พบอฐู พาหนะ
เทยี มเกวยี นเทยี มววั มี 2 ลอ 4 ลอ พบลกู ตมุ นาํ้ หนกั
6. การเพาะปลกู ทานขา วสาลเี ปน อาหารหลกั
7. เลยี้ งสตั ว สนุ ขั ววั ควาย หมู แกะ ปลา ไก ลา ชา ง แมว

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 29

8. ทอ่ี ยอู าศยั ลักษณะอาคารแบบเดยี วกนั หมด หลงั คาแบนราบ มบี า นใหญ บา นเลก็ ชน้ั เดยี วและ
หลายชั้น มหี อ งเดยี วถงึ หลายหอ ง สรา งแบบเรยี บ ๆ ไมม กี ารประดบั ประดา อาคารทาํ ดว ยอฐิ
เผาไฟ อฐิ ขนาดเดยี วกนั ทงั้ หมด

9. การแตง กาย ใชผ า ฝา ย และหนงั สตั ว ชาย/หญงิ แตง กายดว ยผา 2 ชน้ิ ลา งเปน ผา นงุ แบบโธติ
มเีชอื กคาดเอว ทอ นบนเปด ไหลข วา มเี ครอ่ื งประดบั ผม และเครอ่ื งประดบั อน่ื ๆ เชน สรอ ย
กําไล หวี แหวน เขม็ ขดั ตุมหู ผชู ายไวผ มยาว มสี ายคาดศรี ษะ ผหู  ญงิ มที รงผมหลายแบบ

10. ศลิ ปกรรม ไมพ บศลิ ปกรรมชน้ิ ใหญเ ลย เชน รปู แกะสลกั จากหนิ รปู ชายมเี ครา(อาจเปน นกั บวช)
สงู 7 นว้ิ ทเ่ี มอื งโมเหนโจ -ดาโร รปู หญงิ สาวในทา รา ยราํ ทาํ ดว ยสาํ รดิ หนา ตาพน้ื เมอื ง รปู สลกั
หนิ ผชู ายคลา ยศลิ ปะกรกี โบราณ รปู ปน ดนิ เผาชาย/หญงิ รปู ปน สตั ว เชน ววั ตวั ผู ควาย สนุ ขั
แกะ ชา ง แรด หมู ลิง เตา นก พบเกวยี นมลี อ เกวยี นเทยี มววั เปน ของเดก็ เลน พบภาชนะดนิ
เผา ภาชนะโลหะพบนกหวดี พบลกู เตา พบของเขยา เดก็ เลน พบชอ นดนิ เผาโดยเฉพาะตรา
ประทบั พบมากกวา 2,000 อัน สลกั จากหนิ บนตรามตี วั อกั ษรและมภี าพสตั วต า ง ๆ ภาพสตั ว
ผสมหมกี ง่ึ คน สตั วใ นจนิ ตนาการ 3-6 หวั ภาพคนใตต น ไมม สี ตั วล อ มรอบ อาจเปน ตน เคา พระ
ศวิ ะตอ มา ภาพตน โพธ์ิ ภาพววั หนา แทน บชู าหรอื รางหญา ภาพผหู ญงิ กบั ตน ไม (ยกั ษิณ)ี ภาพ
เรอื ดวงตราสลกั ฝม อื ประณตี มาก ถกู ตอ งตามลกั ษณะธรรมชาติ อาจเปน ดวงตราบรษิ ทั การคา
หรอื ของพอ คา แตล ะคน หรอื ของคนสาํ คญั ประจาํ ตวั หรอื เครอ่ื งรางของขลงั

11. ศาสนา ไมพ บโบสถว หิ ารใหญโ ต แตชาวสนิ ธคุ งนบั ถอื เทพเจา หลายองค เชน เทพเี จา แม เทพ
เจา ผชู ายศวิ ลงึ ค นบั ถอื ตน ไทร ตน โพ มา มเี ขา เทพมงี จู งอางแผแ มเ บยี ้ เหนอื ศรี ษะ นบั ถอื พระ
อาทติ ย มรี ปู สวสั ดกิ ะ รปู วงลอ รถการทาํ ศพ มกี ารเผาศพ เกบ็ ขเี้ ถา ใสโ กศ หรอื ฝง ศพพรอ มของ
ใช และนาํ ศพใหแ รง กากนิ แลว จงึ เกบ็ กระดกู ใสโ กศ

3. การรกุ รานการพฒั นาการของอารยธรรมอารยนั
พวกอนิ โดอารยนั ไดอ พยพมาจากทร่ี าบภาคกลางของเอเชยี ใกลท ะเลสาบแคสเปย น บุกรุกเขามา

ทางภาคตะวนั ตกเฉยี งเหนอื บรเิ วณชอ งแคบไคเบอร เขา สอู นิ เดยี บรเิ วณลมุ นา สนิ ธุ ไดท า การรกุ ราน
พวกดราวเิ ดยี น ชาวพน้ื เมอื งทอี่ าศยั บรเิ วณนน้ั ถอยรน ลงมาทางใต แลว เขา ครอบครองลมุ แมน าํ้ สนิ ธแุ ทน
และไดส รา งสรรคอ ารยธรรมทม่ี คี วามโดดเดน ทางภาคเหนอื ของอนิ เดยี

ผลงานทางอารยธรรมทส่ี าํ คญั ของพวกอนิ โด-อารยนั
ชว งเวลาทช่ี าวอารยนั เรม่ิ สรา งสรรคอ ารยธรรมอนิ เดยี กอ นทจ่ี ะมพี ฒั นาการไปสสู มยั จกั รวรรดิ แบง ได
2 ยคุ คือ ยคุ พระเวท และยคุ มหากาพย ซง่ึ นา ไปสกู ารเกดิ ศาสนาเชนและศาสนาพทุ ธ

• ยคุ พระเวท
ยคุ พระเวท คอื ชว งแรกทชี่ าวอารยนั เรม่ิ เขา มาในอนิ เดยี หลกั ฐานทก่ี ลา วถงึ เรอ่ื งราวของชาว
อารยันชวงนี้ คอื คมั ภรี พ ระเวท ซงึ่ เปน ตาํ ราทร่ี วบรวมโคลงและบทสวดทางศาสนา อารยธรรมยคุ มหา
กาพย ปรากฏในลกั ษณะตา งๆดงั น้ี

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 30

1. การปกครองอาศยั รวมกนั เปน เผา มผี นู าํ คอื ผใู หญบ า น มหี นา ทแี่ จกจา ยทดี่ นิ และเกบ็ ภาษี
2. สรา งทอ่ี ยโู ดยกอ กาํ แพงดว ยโคลน พน้ื ปดู ว ยดนิ เหนยี ว หลงั คามงุ ดว ยหญา
3. ดาํ รงชพี ดว ยการเลย้ี งปศสุ ตั วท ง้ั ววั มา แพะ แกะ ทาํ การเกษตรทง้ั ทา นาและทาํ ไร
4. งานหตั ถกรรมฝม อื เชน ชา งปน ชา งไม ชา งทา อาวธุ

• ยคุ มหากาพย
ยุคมหากาพย คือ ชวงเวลาที่ชาวอารยันไดขยายตัวเต็มที่ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือและทางใต
แถบลุมแมน้ําคงคา อารยธรรมยุคมหากาพยปรากฏในลักษณะตางๆดังนี้
การปกครองลักษณะคลายนครรัฐ เปนอิสระไมขึ้นแกกัน แควนที่มีชื่อเสียงและมีอานาจมากใน
สมัยนั้น คือ แควนมคธ เรื่องราวของชาวอารยันปรากฏออกมาในลักษณะของวรรณคดี 2 เรื่อง คือ
รามายณะและมหาภารตะ สะทอนใหเห็นถึงการปกครอง สังคม และเศรษฐกิจของชาวอารยัน
มีการนําระบบวรรณะมาใชเพื่อแบงแยกชาวอารยันและพวกดราวิเดียน รวมถึงชาวอารยันดวยกันเอง
โดยแบงเปน 4 วรรณะคอื พราหมณ กษัตริย แพศย และศูทร พวกที่ทําผิดกฎเกณฑของระบบวรรณะ
เรยี กวา จณั ฑาล ยุคมหากาพยศาสนาพราหมณมีความเจริญรุงเรืองมาก ตอมามีการปรังปรุงความเชื่อ
และคําสอนของศาสนาพราหมณเปนศาสนาฮินดู เทพเจาที่นับถือสูดสุดมี 3 พระองค เรียกวา ตรีมูรติ
ไดแก พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ ความเชื่อ โคลง บทสวดทางศาสนา ถูกรวบรวมไวในคัมภีร
พระเวท แบงเปน 3 สว น เรยี กวา ไตรเวท ฤคเวช ยชุรเวท และสามเวท และยังมีเวทที่เกิดขึ้นในสมัย
หลังเรียกวา อถรรพเวท และคัมภีรอุปนิษัท

คัมภีรพระเวท วรรณกรรมรามายนะ
ที่มา: https://supawann096.wordpress.com ที่มา: https://supawann096.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 31

ความรงุ เรอื งของศาสนาพราหมณ ทาํ ใหพ วกพราหมณม อี าํ นาจมากในสงั คม เกดิ ความไมเ สมอภาค
ทาํ ใหเ กดิ ศาสนาทสี่ าํคญั ขึ้นอีก 2 ศาสนา เพอ่ื สรา งความเสมอภาคและความสงบสขุ ในสงั คม ไดแ ก

•ศาสนาเชน ผกู  อ ตง้ั คอื พระมหาวรี ะ หลกั ความเชอ่ื ทส่ี าํ คญั ของศาสนาเชน คอื การทาํ ใจให
บรสิ ทุ ธไ์ิ มเ นน ความทกุ ขท างกายเพอ่ื การหลดุ พนสูโมกษะ

•ศาสนาพทุ ธ ผูกอตั้ง คอื พระพทุ ธเจา หรอื เจา ชายสทิ ธตั ถะ หลกั คาํ สอนทส่ี าํ คญั คอื อรยิ สจั 4
ไดแ ก ทุกข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค

พระมหาวีระผูกอตั้งศาสนาเชน พระพทุ ธเจาผูกอตั้งศาสนาพุทธ
ที่มา: https://supawann096.wordpress.com ที่มา: https://supawann096.wordpress.com

4.การรวมตวั กนั ของอารยธรรมอนิ เดยี สมยั ราชวงศ
•ราชวงศโ มรยิ ะ (พ.ศ. 220 - พ.ศ. 385) ประมาณพ.ศ. 200 แควน มคธภายใตร าชวงศน นั ทาแผ

อทิ ธพิ ลไปทว่ั อนิ เดยี เหนอื กลนื กนิ มหาชนบททง้ั หลายจนหมดแลว แตใ นพ.ศ. 223 โกตลิ ยะ จนกั ขยะ
ปราชญค นหนงึ่ ไดข อเขา รบั ราชการกบั ทางแควน มคธ แตพระเจา ธนาแหง นนั ทาทรงปฏเิ สธ ทาํ ใหโ กติล
ยะแคน จงึ ยยุ งเจา ชายจนั ทรคปุ ต โมรยิ ะ เขา ยดึ บลั ลงั กจ ากราชวงศน นั ทา ตง้ั ราชวงศโ มรยิ ะ พระเจา
จนั ทรคปุ ตท รงขบั พวกกรกี ออกจากปญ จาบและคนั ธาระ และไดด นิ แดนจากเปอรเ ซยี มาบางสว น และ
บกุ ลงไปทางใต ยดึ ไดอ นิ เดยี เกอื บทง้ั ทวปี ยกเวน กลงิ ครฐั ตอ มาสมยั พระเจา อโศกมหาราช ทรงมงุ มน่ั
มากทจ่ี ะยดึ กลงิ ครฐั ประมาณพ.ศ. 270 จงึ ทรงทาํ สงครามอยา งหนกั ทาํ ใหช าวแควน กลงิ ครฐั ตายเปน
เบอื พระเจา อโศกทรงสาํ นกึ และหนั เขา หาพระพทุ ธศาสนาเพอ่ื ชดเชยบาปทที่ รงเคยกอ หลกั ฐานทส่ี าํ คญั
ในสมยั พระเจา อโศกคอื เสาตา งทพ่ี ระเจา อโศกทรงใหส ลกั พระราชโองการลงไป เรยี กวา เสาพระเจา
อโศก ซงึ่ กระจายทว่ั อนิ เดยี พระเจา อโศกทรงสง สมณทตู ออกไปเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาตามดนิ แดนตา งๆ
เปน การแพรก ระจายพระพทุ ธศาสนาไปยงั ดนิ แดนอน่ื

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 32

•ราชวงศส าตวหนะ (พ.ศ. 313 - 763) ประมาณพ.ศ. 300 อทิ ธพิ ลของราชวงศโ มรยิ ะในอนิ เดยี ใต
เสื่อมลง ทาํ ใหอ าณาจกั รตา งๆตง้ั ตนเปน อสิ ระอกี ครง้ั ราชวงศส าตวหนะ ตงั้ ประเทศขน้ึ ในอนิ เดยี กลาง
ในราชวงศโ จฬะ และราชวงศป ณ ฑยะสว นราชวงศโ มรยิ ะเองกถ็ กู โคน ไปในพ.ศ. 358 โดยราชวงศส งั กะ
อาํ นาจของแควน มคธออ นแอลง พระเจา เดเมตรอิ สุ ท่ี 1 แหง แบคเทรยี เปน พนั ธมติ รกบั ราชวงศโ มรยิ ะ
จงึ นาํ ทพั เขา บกุ อนิ เดยี ตง้ั อาณาจกั รกรกี ขน้ึ ในแควน ปญ จาบ ตอ มาพระเจา เมนนั เดอร (พระเจา มลิ นิ ท)
สามารถยกทพั บกุ ปาฏลบี ตุ ร เมอื งหลวงของแควน มคธได อาณาจกั รกรกี -อนิ เดยี รงุ เรอื งภายใตพ ระเจา
เมนนั เดอร ศลิ ปะแบบกรผี สมผสานกบั พระพทุ ธศาสนากลายเปน พระพทุ ธรปู องคแ รก ในทางกลบั กนั
ราชวงศส งั กะกลบั กดขพ่ี ระพทุ ธศาสนา ทาํ ใหช าวพทุ ธจาํ นวนมากหนไี ปอยทู อ่ี าณาจกั รกรกี -อนิ เดยี
ประมาณพ.ศ. 400 ราชวงศส าตวหนะบกุ ปาฏลบี ตุ ร และยดึ มธั ยประเทศได ราชวงศสงั กะจงึ ถกู ราชวงศ
คนั วะ ลมใน พ.ศ. 468 ราชวงศค ันวะอยไู ดไ มน าน กถ็ กู ลม โดยราชวงศส าตวหนะในพ.ศ. 517 ประมาณ
พ.ศ. 500 พวกซเิ ทยี น (Scythians) จากเอเชยี กลางบกุ เขา อนิ เดยี ทาํ ลายอาณาจกั รกรกี -อนิ เดยี และยดึ
ลมุ แมน าํ้ คงคาได ชาวอนิ เดยี เรยี กวา ซเิ ทยี นวา พวกสกั กะ (Sakas) จนพวกสกั กะตงั้ อาณาจกั รยอ ย
มากมายเรยี กวา กษตั รยิ ต ะวนั ตก (Western Kshatrapas หรอื Western Satraps) ทางตะวนั ตกของ
ราชวงศส าตะวะหนะในแควน มลั ละ ราชวงศส าตวหนะถกู พวกสกั กะรกุ รานอยา งหนกั จนพระเจา โคตรมี
บตุ ร สตั ตการณ แหง สาตวหนะ เอาชนะพวกสกั กะไดใ นพ.ศ. 621 แตต อมาพ.ศ. พระเจา รทุ ราดามนั ของ
พวกสกั กะกเ็ ขา ถลม ราชวงศส าตวหนะจนยอ ยยบั ประมาณพ.ศ.700 อาํ นาจของราชวงศส าตวหนะ
เสอ่ื มลงอาณาจกั รตา งๆแยกตวั ออกไป

•ราชวงศก ษุ าณะ (พ.ศ. 600 - 918) พวกเยจ อ่ื (Yuezhi) เปน ชนเผา ทางตะวนั ตกของจนี เรร อ นออ ม
เทอื กเขาหมิ าลยั จนมาถงึ อนิ เดยี ประมาณพ.ศ. 600 กจุ ฬุ า กษุ าณะ รวบรวมเผา เยจ อ่ื หรอื พวกกษุ าณะ
ขน้ึ เปน อาณาจกั รพวกกษุ าณะพบกบั ชาวกรกี -อนิ เดยี จงึ รบั อารยธรรมกรกี และพระพทุ ธศาสนา ราชวงศ
กษุ าณะเรอื งอาํ นาจสมยั พระเจา กนษิ กะ พ.ศ. 670 แผอ ทิ ธพิ ลไปทว่ั ทงั้ ลมุ  แมน าํ้ คงคา ขบั พวกสกั กะลง
ไปทางใต แตพ.ศ. 783 ราชวงศซ าสสานดิ (Sassanid dynasty) จากเปอรเ ซยี เขา บกุ ยดึ อนิ เดยี และขบั
พวกกุษาณะออกไปทางเหนอื พระเจา ชารป รู แ หง เปอรเ ซยี ตงั้ ขา หลวงปกครองอนิ เดยี เรยี กวา
กชุ านชาห (Kushanshah) แปลวา เจา แหง กษุ าณะ

•ราชวงศค ปุ ตะ (พ.ศ. 863 - 1149) เมอ่ื ไมม พี วกกษุ าณะเปน โอกาสใหแ ควน มคธเรอื งอาํ นาจอกี ครง้ั
ภายใตพ วกลจิ ฉวี ในพ.ศ. 863 จนั ทรคปุ ต แตง งานกบั ลกู สาวพวกลจิ ฉวี จงึ ไดค รองแควน มคธภายใต
ราชวงศค ปุ ตะ พระโอรสคอื พระเจา สมทุ รคปุ ต แผข ยายอทิ ธพิ ลคปุ ตะไปทางใตแ ทนทร่ี าชวงศส าตวหนะ
ประมาณพ.ศ. 900 ราชวงศค ปุ ตะกไ็ ดอ นิ เดยี ไปครง่ึ ทวปี และพ.ศ. 952 พระเจา จนั ทรคปุ ตท ่ี 2 ปราบ
พวกสกั กะในแควน มลั ละไดห มด สมยั คปุ ตะเปน สมยั ทศี ่ ลิ ปวฒั นธรรมอนิ เดยี รงุ เรอื ง เปน ยคุ ทองของ
ศาสนาฮนิ ดแู ละพุทธ คมั ภรี ป รุ าณะกถ็ อื กาํ เนดิ ในสมยั น้ี แตร าชวงศค ปุ ตะกเ็ สอ่ื มลง ดว ยการรกุ ราน
จากพวกหนุ ะ หรือ พวกฮน่ั (Huns) หรอื เฮฟทาไลท (Hephthalites) จากเอเชยี กลาง พวกหนุ ะบกุ
ทะลทุ ะลวงเขา มายดึ ไดต งั ้ แตเทอื กเขาฮนิ ดกู ชู ถงื แควน มลั ละ ราชวงศค ปุ ตะออ นแอลงและแตกออกเปน

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 33

อาณาจกั รยอ ยๆ ขณะทร่ี าชวงศค ปุ ตะยงั คงครองแควน มคธอยแู ตส ญู เสยี การควบคมุ อาณาจกั รอน่ื
สว นทางใตใ นพ.ศ. 888 ราชวงศค าดมั บา (Kadamba dynasty) เปน ราชวงศค นั นาดา เปน พวกฑราวทิ
ตง้ั ตนขน้ึ มามอี าํ นาจแทนราชวงศส าตวหนะเดมิ และตา นทานอนิ ธพิ ลของราชวงศค ปุ ตะได นอกจากพวก
ทมฬิ แลว ราชวงศค าดมั บาเปน ราชวงศด ราวเิดยี นราชวงศแ รกทไ่ี ดป กครองตนเอง ขณะทพ่ี วกทมฬิ ก็
สญู เสยี เอกราชใหแ กร าชวงศก ลั พร (Kalabhras)

•การรกุ รานของชาวมสุ ลมิ (พ.ศ. 1754 - 1858) มสุ ลมิ เชอ้ื สายเตริ ก (เอเชยี กลาง) ไดข ยายอํานาจ
เขา มาปกครองลมุ แมน าํ้ สนิ ธุ ตง้ั ราชวงศป กครองอนิ เดยี ใหเ มอื งเดลเี ปน เมอื งหลวง การเผยแผศ าสนา
ของเตริ ก มงุ ใชว ธิ ปี ราบปรามและบบี บงั คบั และมกี ารเกบ็ ภาษจี ซิ ซา (jizya) จากประชาชนทไ่ี มไ ดน บั ถอื
ศาสนาอสิ ลามในอตั ราทส่ี งู ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้น ทาํ ใหม กี ารหาทางออกจากผทู เ่ี ลอ่ื มใสในศาสนาพราหมณ
ฮนิ ดู ซงึ่ ไดป ระยกุ ตห ลกั ของศาสนาใหเ ขา กบั ศาสนาอสิ ลาม และเกดิ ศาสนาใหมข น้ึ คอื ศาสนา สขิ
จนกระทง่ั พวกมคุ ลั ไดล ม อาํ นาจสลุ ตา นแหง เดลี และสถาปนาราชวงศใหม คอื ราชวงศโ มกลุ แตก ระนน้ั
กม็ กี ารกอ กบฏอยหู ลายครง้ั จนกระทง่ั การเขา มาของจกั วรรดอิ งั กฤษในยคุ ลา อาณานคิ ม ราชวงศโมกลุ
แพส งครามกบั องั กฤษหลายครง้ั จนกระทง่ั ตกเปน รฐั อาณานคิ มขององั กฤษในป พ.ศ. 1858

ภาพวาดที่ถ้ําอชันตะสมัยคปุ ตะ เสาอโศกในสมัยราชวงศโมริยะ
ที่มา: https://www.google.co.th ที่มา: https://www.google.co.th

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 34

ใบงานที่ 2.1
เรื่อง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ ารยธรรมอินเดีย

วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั ใหน กั เรยี นศกึ ษาใบความรเู รอ่ื ง ยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี แลว เขยี นเสน Time line
เพอ่ื แสดงเหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขน้ึ ตามยคุ สมยั ประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 35

ใบงานที่ 2.2
เรื่อง สภาพภมู ศิ าสตรท ส่ี ง ผลตอ การสรา งอารยธรรมอนิ เดยี

วิชา อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั : ใหน กั เรยี นศกึ ษาแผนทข่ี องประเทศอนิ เดยี แลว อธบิ ายวา สภาพทางภมู ศิ าสตรท สี่ ง ผลตอ การ
สรา งอารยธรรมอนิ เดยี อยา งไร

เทอื กเขาหมิ าลยั

ที่ราบสูงเดดขาน

แมน าํ้ คงคา สนิ ธุ

มหาสมทุ รอนิ เดยี

( นกั เรยี นสามารถคน ควา หาขอ มลู เพม่ิ เตมิ จากอนิ เตอรเ นตได )

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 36

ใบงานที่ 2.3
เรอ่ื ง การรกุ รานและพฒั นาการของอารยธรรมอารยนั

วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั : ใหน กั เรยี นศกึ ษาการรกุ รานและพฒั นาการของอารยธรรมอารยนั จากใบความรู แลว สรปุ
ประเดน็ การศกึ ษาลงในใบงานใหถ กู ตอ ง

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 37

ใบงานที่ 2.4
เรื่อง การรวมตวั กนั ของอารยธรรมอนิ เดยี สมยั ราชวงศ

วิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั ใหน กั เรยี นจบั คขู อ ทสี ่ มั พนั ธก นั โดยนาํ ขอ ความดา นบนไปเตมิ ในชอ งวา งใหถ กู ตอ ง
สมยั จกั รวรรดโิ มกลุ สมยั ราชวงศเ มารยะ สมยั พทุ ธกาล สมยั ราชวงศก ษุ าณะ สมยั ราชวงศ
คุปตะ

.................................. เกดิ ศาสนาพทุ ธ และมกี ารใชภ าษาบาลี (มคธ)
.. เกดิ ศาสนาเชน ผกู  อ ตง้ั คอื วรรธมาน มหาวรี ะ

.................................. พวกกษุ าณะเปน ชนตา งชาตทิ เ่ี ขา มารกุ ราน
.. และตงั้ อาณาจกั รปกครองอนิ เดยี ทางตอน
เหนือ ดา นการแพทยเ จรญิ มากในสมยั พระ
เจา กนษิ กะสง สมทตู ไปเผยแผพ ทุ ธศาสนา
นกิ ายมหายานทจ่ี นี และธเิ บต

พระเจา จนั ทรคปุ ต ไดร วบรวมแวน แควน ในดนิ แดนชมพทู วปี ใหเ ปน ปก แผน ..................................
..
เรม่ิ การปกครองโดยรวบอาํ นาจไวท ก่ี ษตั รยิ แ ละเมอื งหลวง

พระเจา อโศกมหาราช สง สมทตู ไปเผยแผพ ทุ ธศาสนาในแวน แควน ตา งๆ
หลงั ราชวงศเ มารยะลม สลาย เกดิ การแตกแยกเปน แวน แควน

พระเจา จนั ทรคปุ ตท ่ี 1 ทรงรวบรวมอนิ เดยี ..................................
ใหเ ปน จกั รวรรดอิ กี ครง้ั หนงึ่ เปน ยคุ ทองของ ..
อนิ เดยี ทง้ั ดา นศลิ ปวฒั นธรรม การเมอื ง
ปรัชญา ศาสนา ..................................
..
พระเจา บาบรู  ผกู อ ตง้ั ราชวงศโ มกลุ นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
เปน ราชวงศส ดุ ทา ยของอนิ เดยี พระเจา อกั บารม หาราช
ทรงทะนุบํารงุ อนิ เดยี ใหม คี วามเจรญิ รงุ เรอื งทกุ ดา น และทรง
ใหเสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา สรา งสามคั คใี หเ กดิ ขน้ึ ในชาติ
พระเจา ซาร เจฮนั ทรงเปน มสุ ลมิ ทเ่ี ครง ครดั และศรทั ธาใน
ศาสนาอสิ ลาม เปน ผสู ราง ทชั มาฮาล ทมี ่ คี วามงดงาม

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 38

แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรื่อง อารยธรรมอนิ เดยี โบราณ วชิ า อารยธรรมตะวนั ออก ส30270 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4

ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ทิ ธพิ ลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลย่ี นแปลงของโลก

คาํ สง่ั ใหน กั เรยี นเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ทส่ี ดุ เพยี งขอ เดยี ว

1. จากการทป่ี ระเทศอนิ เดยี เปน แหลง อารยธรรม 4. ขอ ใด ไมใ ช เปน ลกั ษณะทางดา นสงั คม

โลกขอ ใดเปน ขอ มลู ทส่ี นบั สนนุ ขอ ความดงั กลา วท่ี ในสมยั มหากาพยห รอื สมยั พระเวท

สาํ คญั ทสี่ ดุ ก. มกี ารแบง วรรณะอยา งเหน็ ชดั มากยิ่งขึ้น

ก. เพราะอินเดยี มพี น้ื ทก่ี วา งใหญง า ยตอ การ ข. วรรณะกษตั รยิ ท าํ หนา ทปี่ กครองบา นเมอื ง

พัฒนา เปน กาํ ลงั ของสงั คม

ข. เพราะชาวอารยนั เขา มามบี ทบาทตอ การตงั้ ถิ่น ค. วรรณะพราหมณเ ปน ผทู ม่ี บี ทบาทเพม่ิ มาก

ฐานและพฒั นาประวตั ศิ าสตรอ นิ เดี ขน้ึ และมคี วามสาํ คญั มาก

ค. เพราะอนิ เดยี มแี มน าํ้ คงคา –สนิ ธุ ทมี ่ คี วาม ง. มกี ารปกครองแบบสาธารณรฐั ทป่ี กครอง

อดุ มสมบรู ณท เ่ี ปน ตวั แปรตอ การตงั้ ถน่ิ ฐานของ ดว ยสภาอาํ มาตยใ นระบบรฐั สภา

มนษุ ยใ นยคุ โบราณ 5. ระบบวรรณะในอนิ เดยี เกดิ มาจากสาเหตใุ ด

ง. เพราะอนิ เดยี มสี งิ่ ปลูกสรา งทย่ี ง่ิ ใหญ คอื ก. เมอื่ ชาวอารยนั เขา มาปกครองอนิ เดยี และ

ทชั มาฮาล 1 ใน 7 สงิ่ มหสั จรรยข องโลก กลวั วา ชาวดราวเิ ดยี นจะกลนื เผา พนั ธแุ ละ

2. สงิ่ ใดทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ ความเจรญิ รงุ เรอื งของ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณขี องพวกตน

อารยธรรมอนิ เดยี ในยคุ กอ นประวตั ศิ าสตร ข. ชาวอารยนั ขบั ไลด ราวเิดยี นออกไป

ก. เมอื งโมเฮนโจดาโร- ฮารปั ปา ค. ชาวดราวเิ ดยี นตอ งการแยกตวั ออกจาก

ข. แมน าํ้ คงคา -สนิ ธุ สังคมอารยัน

ค. ทชั มาฮาล ง. ชาวอารยนั มรี ะบบการปกครองทแี่ นน อน

ง. การนบั ถอื ระบบวรรณะ 6. ขอ ใดทม่ี วี รรณะทง้ั 4 ครบในสงั คมอนิ เดยี

3. ความเจรญิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในยคุ กอ นระวตั ศิ าสตร ก. พราหมณ ชา งทอผา ขอทาน กรรมกร

อนิ เดยี เปน ความเจรญิ ของชนเผา ใด ข. นายกรฐั มนตรี พอ คา ชา งตเี หลก็ ขอทาน

ก. อารยนั ข. ดราวเิ ดยี น ค. เกษตรกร นกั บญั ชี อตุ สาหกรรมพราหมณ

ค. เซไมท ง. เปอรเ ซยี ง. พราหมณ รฐั มนตรี รกั การธนาคาร กรรมกร

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 39

7. เพราะเหตใุ ดจงึ ถอื วา สมยั ราชวงศค ปุ ตะเปน 9.ขอ ใดมคี วามสมั พนั ธก บั ราชวงศส ดุ ทา ยของ

ยคุ ทองของอารยธรรมอนิ เดยี อนิ เดยี

ก. ราชวงศค ปุ ตะสง เสรมิ ใหเ ขยี นคมั ภรี อ ปุ นษิ ทั ก. ราชวงศน มี้ ชี อื่ วา กษุ าณะ

ซง่ึ มคี วามสาํ คญั ตอ ววิ ฒั นาการของศาสนา ข. มกี ารสรา งทชั มาฮาลทยี่ ง่ิ ใหญ

ตา ง ๆทง้ั ฮนิ ดู พทุ ธ และเซน ค. คมั ภรี พ ระเวทไดเ กดิ ขน้ึ และแบง แยกระบบ

ข. ราชวงศค ปุ ตะฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนาจน วรรณะไดอ ยา งชดั เจน

รงุ เรอื งพรอ มทง้ั ลดหยอ นกฎเกณฑข องระบบ ง. มกี ารบชู าเทพสตรหี รอื เทพมารดา

วรรณะลงทาํ ใหช าวอนิ เดยี มชี วี ติ 10.
ความเปน อยดู ขี น้ึ

ค. ราชวงศค ปุ ตะรบั อทิ ธพิ ลศลิ ปวฒั นธรรมจาก

ภายนอกเขา มามาก โดยเฉพาะจากกรกี

และเปอรเ ซยี ทาํ ให ศลิ ปวฒั นธรรมอนิ เดยี มี ภาพนม้ี คี วามสาํ คญั อยา งไร
พฒั นาการรงุ เรอื งขน้ึ มาก ก. สรา งขน้ึ ในสมยั ราชวงศโ มรยิ ะเพอ่ื เปน การ
ง. สมยั ราชวงศค ปุ ตะมเี สถยี รภาพทางการเมอื ง
เออ้ื ใหม กี ารสง เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมจน เผยแผพ ระพทุ ธศาสนา
รงุ เรอื งโดยเฉพาะวรรณกรรมของกาลทิ าสจติ ข. เปน อนสุ รณส ถานแหง การชนะสงคราม
กรรมและประตมิ ากรรมในถาํ้ อชนั ตะ และ ค. สรา งขน้ึ เพอ่ื เปน อนสุ รณแ หง ความรกั โดย
พระพทุ ธรปู แบบคปุ ตะ
8. ราชวงศโ มรยิ ะหรอื เมารยะไดส รา งสรรค สมเดจ็ พระจกั รพรรดแิ หง จกั รวรรดโิ มกลุ
อารยธรรมไวต า งๆ มากมาย ยกเวน ขอใด ผมู  รี กั มน่ั คงตอ พระมเหสขี องพระองค
ก. ในสมยั พระเจา อโศกมหาราชไดก อ สรา ง ง. เปน มหาวทิ ยาลยั ทมี่ ชี อ่ื เสยี งในสมยั
ศาสนสถานโดยไดร บั อทิ ธพิ ลจากเปอรเ ซยี พทุ ธกาล

โชคดจี า

ข. ภาพแกะสลกั ของพระเจา อโศก คะแนนเต็ม

ค. สถปู ทเี่ มอื งสญั จี 10
ง. ภาพเทพเจา อพอลโล
คะแนนทไ่ี ด

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 40

ใบความรูท่ี 3
เรื่อง อารยธรรมญป่ี ุน
วิชา อารยธรรมตะวนั ออก ส30270

ผลการเรียนรู : วเิ คราะหอ ิทธิพลของอารยธรรมโลกตะวนั ออกสมยั โบราณ ทม่ี ผี ลตอ พฒั นาการ
และการเปลี่ยนแปลงของโลก

1. ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตรญ่ีปุน
•ยคุ โจมง
ชว งประมาณ 10,000 ปทแี่ ลว กไ็ ดมีการผลิตเคร่ืองมือเคร่ืองใชท่ีทําจากหินดวยความประณีต

มีการพัฒนาวิธกี ารลา สัตวโดยใชค นั ธนูและลกู ธนู ตลอดจนมีการผลิตภาชนะเครื่องปนดินเผาใสอาหาร
และเก็บรักษาอาหารยคุ ประมาณ 14,000 ป ถึง 300 ป กอ นครสิ ตศกั ราชเรยี กวา สมยั โจมงตามรูปแบบ
เคร่ืองปนดนิ เผาโจมงทม่ี ลี วดลายเปนเชอื ก

•ยคุ ยะโยอิ
คําวายะโยอิน้ันไดมาจากแขวงหนึ่งในเขตบุงเกียว กรุงโตเกียว ซ่ึงเปนสถานที่แรกที่คนพบ
รองรอยเกีย่ วกับยุคนีช้ ว งตน ของยคุ ยะโยอิปรากฏใหเ ห็นถงึ การท่ีไดเรยี นรถู ึงการเกษตร เชน การปลกู ขา ว
การทําเครอ่ื งใชโลหะ การเคารพบูชาภตู ิผปี ศ าจซงึ่ เปน วฒั นธรรมท่ีเขา มาทางเกาหลีแลแผนดินใหญชาว
ญี่ปุนใชเคร่ืองมือเคร่ืองใชทําดวยเหล็กท่ีใชในการเพาะปลูกในชีวิตประจําวัน การจัดแบงงานทําให
ชอ งวา งระหวา งผูป กครองดินแดนและผอู ยใู ตการปกครองกวา งขนึ้ ในชวงนรี้ ัฐเล็กๆ จํานวนมากจึงไดก อ
ตวั ข้นึ ทวั่ ประเทศ
แหลง โยะชิโนะงะริ เปนแหลงโบราณคดขี นาดใหญข องยคุ ยะโยอทิ ต่ี งั้ อยูบนเกาะควิ ชู การขดุ คน
ปรากฏใหเ หน็ ถงึ สวนทเี่ กา แกทส่ี ดุ ทีถ่ ูกสรา งข้นึ ในชว ง 400 ปก อ น ค.ศ. วตั ถสุ วนมากทข่ี ุดคน พบน้ันเปน
วตั ถทุ ่ีทําจากโลหะสัมฤทธ์ิ รวมทั้งสิง่ ที่นาํ เขามาจากจนี แลว
•ยคุ โคะฟุง
โคะฟงุ สสุ านจักรพรรดนิ นิ โตะกรุ าวป พ.ศ. 793 (ค.ศ. 250) เร่ือยมาจนถงึ การเขา มาของศาสนา
พทุ ธ กระท่งั ครสิ ตศตวรรษท่ี 7 เรยี กวายุคโคะฟุง ตั้งชื่อตามสุสานที่นิยมสรางข้ึนกันในยุคดังกลาวท่ัว
ประเทศรัฐเล็กๆ เหลาน้ันคอยๆ รวมตัวกัน ในศตวรรษท่ี 4 กลุมผูมีความเขมแข็งทางการเมืองซึ่งมี
ศูนยกลางอยทู ร่ี าบยะมะโตะ ไดม ีอาํ นาจปกครองประเทศต้ังแตศตวรรษที่ 4 จนถึงศตวรรษท่ี 6 มีการ
พฒั นาทางดานเกษตรกรรมขนานใหญ และวฒั นธรรมจีนรวมท้ังลัทธิขงจื๊อและศาสนาพุทธไดเผยแพร
เขา มาในประเทศญ่ีปนุ ผา นทางเกาหลี ถงึ ปลายศตวรรษที่ 4 ไดมีการติดตอระหวางญี่ปุนกับอาณาจักร

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 41

บนคาบสมุทรเกาหลี ศิลปะ อุตสาหกรรมตางๆ เชน การทอผา งานโลหะ การฟอกหนงั และการตอเรือ
ญี่ปุนไดรับเอาตัวอักษรแบบจีนซึ่งมีรากฐานมาจากอักษรภาพมาใช และโดยผานทางสื่อตัวอักษรนี้เอง
ชาวญี่ปุนไดเรียนความรูเบื้องตนทางการแพทย การใชปฏิทินและดาราศาสตร ตลอดจนปรัชญาของลัทธิ
ขงจื๊อ

•ยคุ อะซกึ ะ
จติ รกรรมฝาผนงั บนสสุ านทะกะมะสซึ กึ ะ จงั หวดั นะระ เขียนในชวงคริสตศตวรรษที่ 8 ยุคอะซึกะ
ยุคอะซึกะคือยุคที่ศูนยกลางของระบอบกษัตริยยะมะโตะตั้งอยูในอะซึกะ จังหวัดนะระ ดํารงอยูตั้งแต
ชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 6 ถึง 8 ในป ค.ศ. 538เมื่อศาสนาพุทธไดเขามาในญี่ปุนเปนครั้งแรกจาก
ประเทศอินเดียโดยผานทางจีนและเกาหลี ผูปกครองญี่ปุนไดถือระบบการปกครองของจีนเปนแนวทาง
ในการสรางระบบการปกครองของตนราวปลายคริสตศตวรรษที่ 6ราชวงศสุยของจีนไดทําการรวม
ประเทศใหมอีกครั้งในรอบ 400 ป เจาชายโชโตะกุ ผูสําเร็จราชการแทนจักรพรรดินีซุยโกะจึงทรงสง
คณะราชทตู "เคนซุยช"ิ ไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั จนี แลวดวยเหตุนี้ญี่ปุนจึงไดรับถายทอดนวัตกรรมจาก
แผนดินใหญมามาก นอกจากนั้นยังทรงตรารัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา ที่มีใจความสําคัญเกี่ยวกับการ
จัดระบบของการเมืองการปกครอง และความสงบสุขในบานเมือง
•ยคุ นะระ
ญี่ปุนกาวเขาสูยุคนะระในปพ.ศ.1253 (ค.ศ.710) เมื่อเมืองหลวงถาวรแหงแรกของญี่ปุน
เฮโจเกียวไดรับการสถาปนาขึ้นโดยสรางตามแบบเมืองฉางอาน (เมืองซีอานในปจจุบัน) เมืองหลวงของ
จีนในขณะนั้น มีราชวงศของญี่ปุนเปนผูปกครอง ราชวงศญี่ปุนประทับอยูที่เมืองนะระโดยตลอดและ
ขยายอํานาจไปทั่วประเทศทีละนอยจนรวมประเทศเปนปกแผนได (ยกเวนโอะกินะวะ และฮอกไกโด)
หากแตวาระบอบการปกครองในยุคนี้ใชตามแนวคิดแบบจีน ซึ่งเมื่อมาใชกับญี่ปุนแลว ไมเหมาะสมนัก
และเกดิ ผลกระทบจากความไมเหมาะสมนั้น และเกิดเปน ผลกระทบแบบลูกโซ ผลสดุ ทา ยคอื ตอ งขนึ้ ภาษี
ประชาชนอยางหนัก ทําใหเฮโจเกียวเปนเมืองหลวงไดไมนานนัก และเพื่อหนีอิทธิพลของพระในศาสนา
พทุ ธทม่ี อี าํ นาจมาก เมืองหลวงเฮโจวเกียวจึงถูกยายไปยังนะงะโอะกะเกียวในป พ.ศ. 1327 (ค.ศ. 784)
และตอมาที่เฮอังเกียวในป พ.ศ. 1337 (ค.ศ. 794) ทางดา นวฒั นธรรม การแตงตัว สถาปตยกรรม ฯลฯ
ยังปรากฏใหเห็นวัฒนธรรมที่ยังคงแบบจีนอยู อาจจะมีความแตกตางกันนิดหนอยในรายระเอียดยอยๆ
เชนบันทึกที่เขียนเปนตัวอักษรจีนแตอานเปนภาษาญี่ปุน โคะจกิ ิ บันทกึ ทางประวัติศาสตร) นิฮงโชะกิ ,
บันทึกทางประวัติศาสตรมังโยชู บนั ทกึ เกย่ี วกบั วรรณกรรม) ฟูโดะกิ (บันทึกเกี่ยวกับภูมิอากาศ) อิทธิพล
ดังกลาวนาจะมาจากการที่ราชสํานักญี่ปุนไดสงคณะราชทูตสูราชวงศถังของจีน "เคนโตชิ"
ไปสูแ ผน ดนิ ใหญเ ปน จาํ นวนมากเพอ่ื รบั วฒั นธรรม และสิ่งของตางๆ จากเสนทางสายไหม เชนถวยแกว
จากยุโรปตะวันออกกลับมาสูญี่ปุนอีกดวย

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 42

•ยุคเฮอัง
ญี่ปุนไดสรางอารยธรรมใหมขึ้นพรอมๆ กับการลมสลายของนะระ โดยยุคถัดมาคือ ยุคเฮอัง,
เมื่อเมืองหลวงใหมซึ่งเลียนแบบเมืองหลวงของประเทศจีน "เฮอังเกียว" ไดรับการสถาปนาเมื่อป พ.ศ.
1337 (ค.ศ. 794) การยายเมืองหลวงไปอยูที่เมืองเฮอังเกียว นับเปนจุดเริ่มตนของสมัยเฮอันซึ่งดํารงอยู
ยาวนาน รุงเรือง และยิ่งใหญที่สุดสมัยหนึ่งของการพัฒนาการในประเทศญี่ปุน การตดิ ตอกับประเทศจีน
หยุดชะงักลงในชวงปลายศตวรรษที่ 9 และอารยธรรมญป่ี นุ เรม่ิ ทจ่ี ะมลี กั ษณะและรปู แบบเปน ของตนเอง
สิ่งเหลานี้นับเปนกระบวนการของการผสมกลมกลืนและการปรับเปลี่ยน โดยที่สิ่งตางๆ ซึ่งญี่ปุนรับมา
จากภายนอกคอยๆ กลายเปนรูปแบบของญี่ปุนไปโดยปริยาย ตัวอยางที่เห็นไดโดยทั่วไปของ
กระบวนการน้ี คือการพัฒนาของตัวอักษรญี่ปุนในสมัยเฮอัน ความซับซอนของการเขียนของจีนทําให
นักเขียนและพระคิดคนรูปพยางคขึ้นสองระบบโดยยึดรูปแบบอยางของจีน ภายในกลางสมัยเฮอัน ไดมี
การปรับปรุงพยัญชนะที่เรียกกันวา ฮริ ะงะนะ และคะตะคะนะ และนํามาใชกันอยางกวางขวางเชนการ
นํามาเขียนในวรรณคดีเรื่องนิทานเกนจินับเปนการเปดทางใหแกงานเขียนที่มีรูปแบบเปนของญี่ปุนอยาง
แทจริง และมีการใชกันอยางแพรหลายแทนถอยคําสํานวนที่ยืมมาจากภาษาจีน ชีวิตในเมืองหลวงเปน
ชีวิตที่หรูหราและสะดวกสบาย ขณะที่ราชสํานักใชเวลาทั้งหมดไปกับศิลปะและความสุขทางสังคม
อํานาจที่เคยมีเหนือกลุมที่มีอิทธิพลทางการทหารในหัวเมืองตางๆจึงเริ่มจะคลอนแคลน อํานาจในการ
ควบคุมอาณาจักรอยางมีประสิทธิภาพไดหลุดมือไป ในชวงคริสตศตวรรษที่ 11 อํานาจการปกครอง
บานเมืองไดหลุดไปอยูในมือของตระกูลฟุจวิ ะระ และไดกลายเปนสิ่งลอใจสําหรับตระกูลนักรบที่เปน
ปรปกษตอกันในชวงปลายยุค ไดแก ตระกลู มนิ ะโมะโตะ และไทระ ซึ่งเปนตระกูลที่สืบทอดเชื้อสายมา
จากจกั รพรรดอิ งคก อ นๆ ทั้งสองตระกูล ตระกูลมินะโมะโตะและไทระไดตอสูในการรบที่โดงดังที่สุด และ
มีความรุนแรงมากในยุคกลางอันวุนวายสับสนของญี่ปุน ในทส่ี ดุ ตระกลู มนิ ะโมะโตะเปน ฝา ยชนะสงคราม
โดยไดทําลายลางตระกูลไทระจนพินาศในศึกดันโนะอุระ (Battle of Dannoura) อันเกริกกองและเลื่อง
ลอื ในป พ.ศ. 1728 (ค.ศ. 1185) ซึ่งเปนจุดจบของยุคเฮอัง เมืองหลวงเฮอังเกียว หรือเกียวโตะยังคงมี
ฐานะเปนเมืองหลวงของญี่ปุนมาอีกกวา 600 ป กระทั่งสิ้นสุดยุคเอะโดะในป พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867)
และยายเมืองหลวงมาที่โตเกียวในอีก 2 ปตอมา
•ยุคคะมะกุระ
ชัยชนะของตระกูลมินะโมะโตะแสดงถึงความเสื่อมของบัลลังกอํานาจทางการเมืองของ
จกั รพรรดอิ ยางแทจริง และเปนจุดเริ่มตนของการปกครองโดยระบอบศักดินา ยุคกลางของญี่ปุน ภายใต
การปกครองของ โชกุน หรือผูปกครองทางการทหารที่สืบตอกันมาอีก 700 ปเริ่มตนในป พ.ศ. 1728
(ค.ศ. 1185) โยะรโิ ตะโมะ หัวหนาตระกูลมินะโมะโตะที่เปนผูชนะสงครามไดสถาปนาระบบโชกุน หรือ
รฐั บาลทหารขน้ึ ที่เมืองคะมะกุระใกลกับนครหลวงโตเกียวในปจจุบัน และยึดอํานาจบริหารบางประการ
ที่เคยเปนอํานาจของจักรพรรดิในกรุงเกียวโตะเพื่อตานสิ่งที่ถือวาเปนความเสื่อมของเกียวโตะที่ไดฝกใฝ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 43

ในสันติภาพโชกุนที่เมืองคะมะกุระ ไดสนับสนุนความมัธยัสถอ ดออมและศิลปะการตอสูปองกันตัว
ตลอดจนความมีระเบียบวินัยซึ่งเปนสิ่งจําเปนที่จะฟนฟูอํานาจการควบคุมทั่วทั้งแผนดินอยางมี
ประสิทธิภาพกลับคืนมา โดยเฉพาะอยางยิ่งการควบคุมกลุมที่มีอิทธิพลทางการทหารในจังหวัดที่อยูไกล
ออกไป สมยั คะมะกรุ ะ ซึ่งเปนชื่อเรียกยุคของระบบโชกุนของโยริโตะโมะเปนยุคที่มีแนวคิดในเรื่องของ
ความกลาหาญและรักเกียรติยศ (bushido) ซึ่งเปนวิถีชีวิตของซามูไร

•ยคุ มโุ ระมะจิ
ตระกูลอะชิคะงะไดขึ้นเปนตระกูลโชกุน โดยมีโชกุนคนแรกคืออะชิคะงะ ทะกะอจุ มิ บี ะหรอื คา ย
ทหารอยทู ม่ี โุ ระมะจใิ นกรงุ เกยี วโต ยคุ นม้ี กี ารพฒั นาระบบชลประทาน การเพาะปลกู และเกิดการเติบโต
ของกิจการคาขายและบริการ ในยุคนี้ระเบียบวินัยที่เครงครัดของลัทธิบุชิโดแสดงใหปรากฏทั้งในดาน
ความงามทางศิลปะและศาสนา และมีอิทธิพลลึกล้ําตอศิลปะของประเทศ ลักษณะเดนซึ่งคงอยูแมใน
ปจจุบันนี้คือลักษณะของความอดกลั้น และความเรียบงาย ยุคนี้ยังเปนยุคแรกที่ชาวตะวันตกกลุมแรก
ชาวโปรตุเกสไดเขามาสูญี่ปุน เกิดการลอบสังหารโชกุนขึ้น ทําใหการปกครองระบอบโชกุนเสื่อมถอยลง
และเกิดเปนสงครามกลางเมื่องขึ้นในป พ.ศ. 2019 (ค.ศ. 1476) สงครามดําเนินมาอยางยาวนานกวา
100 ป
•ยคุ อะซจุ โิ มโมะยะมะ
ญี่ปุนเขาสู ยคุ อะซจุ โิ มโมะยะมะ ในป พ.ศ. 2116 (ค.ศ.1573) ผูสถาปนาคือ โอะดะ โนะบนุ ะงะ
เขามีเจตนารมณที่จะรวมประเทศญี่ปุนที่ยังไมเปนปกแผนใหอยูในผูนําเพียงคนเดียว แตเมื่อเกิด
เหตุการณที่วัดฮนโนในป พ.ศ. 2125 (ค.ศ. 1582) โนะบุนะงะเสียชีวิต โทะโยะโตะมิ ฮเิ ดะโยะชิ นายพล
นายหนึ่งของเขาจึงไดเปนผูสืบทอดเจตนารมณตอมา และสามารถรวบรวบประเทศญี่ปุนไดสําเร็จในป
พ.ศ. 2133 (ค.ศ. 1590) ยุคนี้เปนยุคที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ เซรามิก ภาพวาด เครื่องเงิน
อุปกรณเกี่ยวกับชา ฯลฯ ซึ่งทําใหนับไดวายุคนี้เปนยุคที่หรูหราที่สุดยุคหนึ่งของญี่ปุน วัฒนธรรมใหมๆ
จากตะวนั ตก เชนการใชปนคาบศิลา การสอนคริสตศาสนาก็ไดเจริญรุงเรืองในยุคนี้ดวย
•ยคุ เอะโดะ
อิเอะยะสึตั้งตนเปนผูปกครองญี่ปุนทั้งประเทศที่มีอํานาจอยางแทจริง โดยขึ้นดํารงตําแหนงโช
กุนที่เมืองเอโดะ ลม ลา งอารยธรรมโมโมะยะมะ และสรา งอารยธรรมใหมข น้ึ ทําใหยุคอะซุจิโมโมะยะมะ
จบลงใน ค.ศ. 1603 และปเดียวกันนั้นก็ถือเปนจุดเริ่มตนของ ยุคเอะโดะซึ่งเปนจุดแหงการเปลี่ยนแปลง
ที่สําคัญในประวัติศาสตรญี่ปุน โชกุนอิเอะยะสึไดสรางแบบแผนแทบจะทุกแงมุมของวิถีชีวิตของประเทศ
ญป่ี นุ โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันทางการเมืองและสังคมใหเปนแบบอยางตอมาอีก 265 ป การที่โชกุน
โทะกุงะวะดําเนินการปดประเทศจากโลกภายนอกโดยสิ้นเชิงในป พ.ศ. 2182 (ค.ศ. 1639) นับเปนวิธี
หนึ่งที่จะรักษาเสถียรภาพของโครงสรางทางสังคมและการเมืองที่อิเอะยะสึไดกอตั้งขึ้น ชาวตะวนั ตกกลมุ
แรกไดเดินทางมาถึงชายฝงญี่ปุนในศตวรรษกอนคือในสมัยมุโรมาจิ พอคาชาวโปรตุเกสขึ้นบกที่เกาะ

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 44

เล็กๆ เกาะหนึ่งทางตะวันตกเฉียงใตของญี่ปุนในป พ.ศ. 2086 (ค.ศ. 1543) โดยไดนําอาวุธปนเขาใน
ประเทศญี่ปุน อีกไมกี่ปตอมาคณะผูสอนศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกนําโดยนักบุญ ฟรานซิสโก
ซาเวียร ตลอดจนชาวสเปนอีกหลายกลุมไดเดินทางเขามาในประเทศญี่ปุน กลุมพอคาชาวเนเธอรแลนด
และอังกฤษก็ไดเขามาตั้งรกรากในแผนดินญี่ปุนดวยเชนกัน

การหลั่งไหลเขามาของชาวยุโรปมีผลกระทบตอญี่ปุนอยางมาก คณะผูสอนศาสนาทําใหชาวญี่ปุน
เปลี่ยนศาสนากันมาก โดยเฉพาะทางตอนใตของญี่ปุน โชกนุ ตระหนกั ดวี า ศาสนาครสิ ตอ าจจะมอี านภุ าพ
ในการทําลายทัดเทียมกับอาวุธปนที่เขามาในญี่ปุน ในที่สุดไดมีการสั่งหามเผยแพรศาสนาคริสตในญี่ปุน
และโชกุนโทะกุงะวะไดออกคําสั่งหามชาวตางชาติทุกคนเขาประเทศญี่ปุน ยกเวนกลุมพอคาชาว
เนเธอรแลนดกลุมเล็กๆ กลุมหนึ่งที่ถูกจํากัดบริเวณอยูที่เกาะเดะจิมะที่อาวนะงะซะกิ ตลอดจนชาวจีน
จาํ นวนหนง่ึ ทอ่ี าศยั อยทู น่ี ะงะซะกิ และทูตจากราชวงศลีของประเทศเกาหลีที่เดินทางมาญี่ปุนเปนครั้ง
คราว เปน เวลา 250 ปที่ญี่ปุนไดติดตอกับโลกภายนอกผานกลุมคนเหลานเี้ ทานั้น นกั วชิ าการญป่ี นุ ไดร บั
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการแพทยตะวันตกและวิทยาศาสตรแขนงอื่นๆ โดยผานทางกลุมพอคาที่เมือง
เดะจิมะในระหวางระยะเวลาแหงการแยกตัวอยูอยางโดดเดี่ยวอันยาวนานของประเทศ
ประชากรทั้งหมดแบงออกเปน 4 ระดบั เรียกกันวา "มิบุงเซ"ประกอบดว ย

1. นกั รบ หรอื ซามูไร (ประมาณรอ ยละ 5 ของประชากรทง้ั หมด)
2. ชาวไรช าวนาโนมงิ , ประมาณรอ ยละ 80 ของประชากรทง้ั หมด)
3. ชา งฝม อื
4. พอ คา
ความสงบสุขจากการปดประเทศเปนเวลานานทําใหชนที่อยูใตอํานาจปกครองอยางเชนชาวเมืองไดมี
โอกาสที่จะประดิษฐสิ่งตางๆ ใหมๆ ขึ้นมาไปเปนทางของตนเอง ไดเกิดความนิยมในการเรียนวิทยาการ
ใหมๆ เชน แพทยศาสตร ดาราศาสตร ภูมิศาสตร คณิตศาสตร ประวตั ศิ าสตร ฯลฯ ชาวนาเองที่มีหนาที่
ทํานายังตองมาศึกษาวิทยาการเหลานี้เพื่อคิดคํานวณผลกําไรที่ตนเองได การศึกษาที่เสมือนกับการเรียน
พิเศษที่เรียกวา เทระโกะยะจงึ ไดร บั ความนยิ มอยา งมาก
ในป พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) พลเรอื จตั วา แมทธิว ซี เพอรรี แหงสหรัฐอเมริกา นํากองเรือ
4 ลําเขามาในอาวโตเกียว พลเรือจัตวาแมทธิวกลับมาอีกครั้งในปถัดมา และประสบความสําเร็จในการ
ชักจูงใหญี่ปุนลงนามในสนธิสัญญาสัมพันธไมตรีกับประเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาในปเดียวกันนั้นเอง
ญี่ปุนไดลงนามในสนธิสัญญาทํานองเดียวกันกับประเทศรัสเซีย อังกฤษ และเนเธอรแลนด ดังนั้นจึงเปน
การเปดประเทศญี่ปุนอีกครั้งหนึ่ง สี่ปตอมาสนธิสัญญาเหลานี้ไดถูกเปลี่ยนเปนสนธิสัญญาทางการคา
และญี่ปุนไดลงนามในสนธิสัญญาทํานองเดียวกันนี้กับประเทศฝรั่งเศสดวยผลกระทบจากเหตุการณ
เหลานี้ เพิ่มความกดดันแหงกระแสทางสังคมและการเมือง ซึ่งกัดกรอนรากฐานของโครงสรางระบบศักดิ
นาทลี ะนอ ย ความวุนวายครั้งใหญไดเกิดขึ้นกินเวลาประมาณทศวรรษ จนกระทั่งระบบศักดินาของโชกุน

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา อารยธรรมตะวันออก ส30270 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563 45

โตกุงาวะไดสิ้นสุดลงในป พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867) และไดถวายอํานาจอธิปไตยทั้งมวลคืนพระจักรพรรดิ
ในการปฏริ ปู เมจิ (Meiji Restoration) ในปตอมา

•ยคุ เมจิ
การปฏิรูปเมจิ ทําใหยุคเอะโดะสิ้นสุดใน พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) และปเดียวกันนั้นนับเปน
การเริ่มตนของยุคเมจิ เปนสมัยที่เดนที่สุดสมัยหนึ่งในบรรดาประวัติศาสตรของประเทศ ภายใตการ
ปกครองของสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ ญี่ปุนไดบรรลุความสําเร็จในการพัฒนาประเทศโดยใชเวลาเพียง
ไมกี่ทศวรรษ กลาวคือการสรางสรรคประเทศใหเขาสูยุคใหมดวยอุตสาหกรรม พัฒนาสถาบันทาง
การเมืองและรูปแบบของสังคมแบบใหม ทง้ั ทป่ี ระเทศตะวนั ตกตอ งใชเ วลาพฒั นานานนบั ศตวรรษในชว ง
ปแรกๆ ของการครองราชย สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงยายเมืองหลวงจากกรุงเกียวโตไปอยูที่เมือง
เอโดะ ซึ่งเปนที่ตั้งของรัฐบาลระบบศักดินาที่ผานมา และไดทรงเปลี่ยนชื่อเมืองหลวงเปนโตเกียว
ซึ่งแปลวา "เมืองหลวงตะวันออก" มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ ตลอดจนตั้งคณะรัฐมนตรี และสถาบัน
นิติบัญญัติระบบสองสภา ยกเลิกการแบงชนชั้นแบบเกาของสมัยศักดินา ญี่ปุนทั้งประเทศทุมเทพลังงาน
และความกระตอื รอื รน ในการศกึ ษาและรบั อารยธรรมตะวนั ตกมาใช การปฏิรูปเมจิเหมือนกับการทลาย
ของเขื่อนที่กอปรดวยพลังและแรงผลักดันสะสมมานับศตวรรษ ตา งชาตเิ องรสู กึ ถงึ ความรนุ แรงและความ
ตื่นตัวที่เกิดจากการปลดปลอยพลังเหลานี้ออกมาในฉับพลัน กอนจะสิ้นศตวรรษที่ 19 ญี่ปุนเขารวม
สงครามจีน-ญี่ปุนครั้งที่หนึ่ง ระหวา งป ค.ศ. 1894-95 ซึ่งลงเอยดวยชัยชนะของญี่ปุน ผลของสงครามคือ
ญป่ี นุ ไดไ ตห วนั มาจากจนี สิบปตอมาญี่ปุนประสบชัยชนะอีกครั้งหนึ่งในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุน ระหวางป
ค.ศ. 1904-05 และยึดไดซัคคาลินตอนใต ซึ่งยกใหร ัสเซียเมื่อป ค.ศ. 1875 เพื่อแลกกับเกาะคูริล และทาํ
ใหชาวโลกรับรูวาญี่ปุนมีความสนใจในดินแดนแมนจูเรียเปนพิเศษ หลังจากที่ไดกําจัดอํานาจอื่นๆ ที่จะ
มามีอิทธิพลเหนือเกาหลีแลว ในตอนแรกญี่ปุนไดจัดการใหเกาหลีเปนดินแดนในอารักขา และผนวก
เกาหลีในเวลาตอมาคือในป ค.ศ. 1910 สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิทรงปกครองประเทศดวยความเขาใจ
ถองแทและสรางสรรค ซึ่งการปกครองของพระองคชวยนําประเทศใหผานพนชวงทศวรรษแหงการ
เปลี่ยนแปลง พระองคเสด็จสวรรคตในป ค.ศ. 1912 กอนจะเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อสงครามโลก
ครั้งนี้สิ้นสุดลง ญปี่ ุนก็ไดรับการยอมรับวาเปนหนึ่งในประเทศมหาอํานาจของโลก เพราะญี่ปุนไดเขารวม
สงครามโลกเนื่องจากไดทําสัญญาเปนพันธมิตรกับประเทศอังกฤษไวเมื่อป ค.ศ. 1902และสมเด็จพระ
จักรพรรดิไทโช ไดเสด็จขึ้นครองราชยตอจากสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ ใน ค.ศ. 1912 ทําใหป 1912
นับเปนปสิ้นสุดของยุคเมจิ และเปนจุดเริ่มตนของ ยุคไทโช และจักรพรรดิไทโชเสด็จสวรรคตใน ค.ศ.
1926 และสมเดจ็ พระจกั รพรรดฮิ โิ รฮโิ ต ครองราชยตอจากสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช ซึ่งทําใหป 1926
เปนจุดสิ้นสุดสมัยไทโช และเปนจุดเริ่มตนของยุคโชวะ


Click to View FlipBook Version