The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปช่างเชื่อมไฟฟ้า เล่ม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orathai_air, 2024-01-31 03:25:54

สรุปช่างเชื่อมไฟฟ้า เล่ม 1

สรุปช่างเชื่อมไฟฟ้า เล่ม 1

รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว ก ค ำน ำ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว ก ค าน า เอกสารเล ่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลสรุปรายงานผลการจัดการศึกษาต ่อเนื ่องพัฒนาทักษะ อาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตร วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง ในวันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2567 ถึง วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2567 ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว หมู่ที่ 1 บ้านกอไร่ใหญ่ ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่ต าบลเสี้ยว ได้รับ ความรู้พัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อให้เกิดความมั่นคงและการเพิ่มพูน มูลค่าให้กับอาชีพและมีความรู้ ทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบันมีรายได้จากการประกอบ อาชีพตามที ่อบรมและผู้ที ่ผ ่านการอบรมแล้วสามารถน าความรู้ที ่ได้รับไปเทียบโอนความรู้สู่ศึกษาต ่อใน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของส านักงานส่งเสริมการรเรียนรู้ได้ ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปผลการด าเนินงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจน าไป ศึกษาหาความรู้ หรือหาเทคนิคการท าเพิ่มเติมหากมีข้อผิดพลาดตกหล่นประการใดในสรุปผลการด าเนินงาน เล่มนี้ทางผู้จัดท าต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ ศกร.ต าบลเสี้ยว


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว ข สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 เอกสารวิชาการ/บทความที่เกี่ยวข้อง 5 บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 15 บทที่ 4 ผลการดำเนินการ 17 บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 29 ภาคผนวก คณะผู้จัดทำ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 13 บทที่ 1 บทน า 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญ “การศึกษาต ่อเนื ่อง” หมายความว ่า เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบที ่เป็น หลักสูตรระยะสั้น การจัดการศึกษาสายอาชีพ กลุ่มสนใจ ที่จัดตามความต้องการของกลุ่มเป็นหมายที่มีเนื้อหา เกี ่ยวกับ อาชีพ ทักษะชีวิต การพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อให้เกิดความมั่นคงและการเพิ่มพูนมูลค่าให้กับอาชีพ และมี ความรู้ ทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งมุ่งใช้กระบวนการศึกษาเป็นเครื่องมือใน การพัฒนาสังคมและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความเอื้อ อาทร มีคุณธรรม จริยธรรม และมีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิธีและการจัดก ารศึกษาต่อเนื่อง 4 รูปแบบ 1. รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่มีการรวมกลุ่มหรือไม่รวมกลุ่ม ดังนี้ 1.1 จัดกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจที่มีการรวมกลุ่มกัน ของผู้เรียนตั้งแต่ 6 คน ขึ้นไป หลักสูตรไม่เกิน 30 ชั่วโมง 1.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามภารกิจ เช่น อ าเภอเคลื่อนที่ จังหวัดเคลื่อนที่ฯลฯ ผู้เรียนไม่มี การรวมกลุ่ม สนใจสมัครเรียน ณ สถานที่จัดกิจกรรม หลักสูตรไม่เกิน 5 ชั่วโมง 2. รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรตั้งแต่ 31 ชั่วโมงขึ้นไป ผู้เรียนตั้งแต่ 11 คนขึ้นไป 3. รูปแบบกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นการอบรม การศึกษาดูงานการจัดเวทีประชาคม หรือ กิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลักษณะเป็นการฝึกอบรม มีเนื้อหาเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อ พัฒนาสังคมและชุมชน การส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ มีเจตคติ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคม ปัจจุบันโดยมีโครงการและหลักสูตรที่มีช่วงระยะเวลาจัดที่แน่นอนผู้เรียนกลุ่มละ 15 คนขึ้นไปหลักสูตร 1-3 วัน 4. รูปแบบการเรียนรู้รายบุคคล เป็นการเรียนรู้ของผู้เรียนบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ต้องการจะเรียนรู้ใน หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาหรือภาคีเครือข่าย


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 14 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ (หลักสูตรตั้งแต่31 ชั่วโมงขึ้นไป)


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 15 1.2 วัตถุประสงค์ 1. มุงจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอยางยั่งยืน โดยใหความส าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานท าที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียนและศักยภาพของแตละพื้นที่รวมทั้งสงเสริมการใชระบบ เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอาชีพ เพื่อใหผูเรียนสามารถน าความรูความสามารถ เจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ และทักษะที่พัฒนาขึ้นไปใชประโยชนในการประกอบอาชีพที่สรางรายไดไดจริง และการพัฒนาสูเศรษฐกิจเชิง สรางสรรคตอไป 2. มุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมายโดยจัดกิจกรรมการศึกษาที่มุงเนนให้ ทุกกลุมเปาหมายมีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข มี คุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งสามารถใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และชุมชน 3. มุงจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนตามแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการในรูปแบบ ของการฝกอบรม การประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการสรางชุมชนนักปฏิบัติ การเรียนทางไกล และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละพื้นที่ โดยเนนการสรางจิตส านึก ความเปนประชาธิปไตย ความเปนพลเมืองดี การสงเสริมบทบาทสตรี การสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจ ชุมชน การบริหารกองทุน การสรางความมั่นคงดานอาหาร การอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอม การบริหารจัดการน ้า และการรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน และหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. พัฒนาระบบคลังหลักสูตรการศึกษาตอเนื่องใหไดมาตรฐาน และสะดวกตอการใชงานเพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษาตอเนื่องของสถานศึกษาและภาคีเครือขาย 1.3 ขอบเขตในการท ากิจกรรม จากการศึกษาด้าน ”อาชีพ” หมายความว่า เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะ ในการประกอบอาชีพของบุคคล เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าสู่อาชีพสามารถประกอบอาชีพหรือพัฒนาอาชีพของ ตนเองได้ โดยพิจารณาถึงความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล จัดการศึกษาเพื่อพัฒนา”ทักษะชีวิต” หมายความว่า เป็นการศึกษาที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคน เพื่อให้มีความรู้ เจตคติและทักษะที่จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน เพื่อให้บุคคลสามารถเผชิญ สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตัวในอนาคต เช่น ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เป็นต้น จัดการศึกษาเพื่อ”การพัฒนาสังคมและชุมชน” หมายความว่า เป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และ ทักษะจากการศึกษาที่ผู้เรียนมีอยู่หรือได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบ แล้วน าไปใช้ให้เป็น


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 16 ประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยมีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายและใช้ชุมชนเป็นการพัฒนาการ เรียนรู้ของคนในชุมชน เช่น ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม วิสาหกิจชุมชน เป็นต้น จัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้ความรู้ด้านแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สามารถน าความรู้และประสบการณ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้ชุมชน 1.4 ขอบเขตพื้นที่การจัดกิจกรรม ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว หมู่ที่ 1 บ้านกอไร่ใหญ่ ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 1.5 ขอบเขตระยะเวลาการจัดกิจกรรม วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2567 ถึงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2567 เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่ต าบลเมือง ได้รับความรู้พัฒนาความรู้ความสามารถและ ทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อให้เกิดความมั่นคงและการเพิ่มพูนมูลค่าให้กับอาชีพ และมีความรู้ ทักษะที่ จ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน และมีรายได้จากการประกอบอาชีพตามที่อบรมและผู้ที่ผ่านการ อบรมแล้วสามารถน าความรู้ที ่ได้รับไปเทียบโอนความรู้สู ่ศึกษาต ่อในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของ สถานศึกษาในสังกัด สกร. ได้ 1.6 เครือข่าย - ก านัน/ผู้ใหญ่บ้าน - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 17 บทที่ 2 เอกสารวิชาการ/บทความที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรช่างเชื่อม จ านวน 20 ชั่วโมง ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดเลย 1. ความเป็นมา ปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย โดยเฉพาะผู้ที่มีอาชีพเกษตรกรรมส่วนใหญ่ เมื่อ หมดช่วงฤดูกาลของการท าการเกษตรแล้วไม่มีอาชีพเสริมท าให้ขาดรายได้ จึงท าให้ประชาชนมีเวลาว่างหรือท า อาชีพเสริมต ่างๆ เช ่น รับจ้างทั ่วไป หลายคนจ าเป็นต้องออกจากบ้านละทิ้งถิ ่นฐานบ้านเกิดไปท างาน ต่างจังหวัด ต่างประเทศ เพื่อหารายได้เลี้ยงครอบครัวเท่าที่จะท าได้ ดังนั้น จึงเป็นอีกทางเลือกของประชาชน ในการสร้างรายได้โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่อาศัยรายได้จาก การเกษตรเพียงอย่างเดียวซึ่งสามารถหาอาชีพเสริม เหล็กและไม้เป็นวัสดุที่แข็งแรง ทนทาน ซึ่งประชาชน สามารถนามาท าเป็นครุภัณฑ์ต่างๆ และประกอบเป็น อาชีพได้ หลักสูตร “ช่างเชื่อมไฟฟ้า” เป็นหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริงและสร้างครุภัณฑ์ที่ สามารถจ าหน่ายได้ และมีการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงโดยการฝึกการขาย การส ารวจความต้องการของตลาด การพัฒนารูปแบบครุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้าต่างๆ ผู้จบหลักสูตรนี้สามารถน า ความรู้ไปสร้างอาชีพสร้างรายได้แก่ตนเองและครอบครัวได้ ด้วยเหตุนี้ ส านักงาน สกร. จึงได้ถอดความรู้จาก ภูมิปัญญาเป็นบทเรียน โดยจัดท าหลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้าให้กับผู้สนใจที่ต้องการเข้าสู่อาชีพนี้ และเป็นการ ยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานให้ได้มาตรฐาน เพื่อเป็นการสร้างโอกาสให้กับประชาชนในการประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้แก่ตนเองและครอบครัวต่อไป 2. หลักการของหลักสูตร 1. เน้นการเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ น าไปประกอบอาชีพให้เกิดรายได้ที่มั่นคงได้ 2. เน้นกระบวนการมีส ่วนร ่วมระหว ่างผู้เรียนและผู้ประกอบการ เพื ่อเชื ่อมโยงความรู้และ ประสบการณ์ระหว่างกัน 3. มุ่งเน้นให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม และความส านึกรับผิดชอบต่อลูกค้าเป็นส าคัญ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 18 3. จุดหมาย 1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ และทักษะทางด้านอาชีพช่างเชื่อม 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการท าเหล็กดัดแบบต่างๆ 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานการเชื่อไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องและมีความปลอดภัยในการ ท างาน 4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้ไปใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานและเป็นช่องทางในการประกอบ เป็นอาชีพสร้างรายได้แก่ตนเอง ชุมชนและสังคมได้ 4. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชน ผู้เรียน ผู้รับบริการนอกระบบโรงเรียน 1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ 2. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ 5. ระยะเวลา จ านวน 20 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี 6 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 14 ชั่วโมง 6. โครงสร้างหลักสูตร 1. ช่องทางการประกอบอาชีพ จ านวน 6 ชั่งโมง 1.1 ความส าคัญของการประกอบอาชีพ 1.2 แนวโน้มการประกอบอาชีพช่างเชื่อมไฟฟ้า 1.2.1 ความต้องการของตลาด 1.2.2 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ 1.2.3 การค านวณต้นทุน ราคาขาย 1.3 แหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ 1.4.1 การออกแบบและพัฒนาลวดลายเหล็กดัดรูปแบบต่างๆ 1.4.2 ความต้องการของตลาดในชุมชน


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 19 2. ทักษะการประกอบอาชีพ จ านวน 9 ชั่วโมง 2.1 ขั้นเตรียมการเข้าสู่อาชีพช่างเชื่อมไฟฟ้า 2.1.1 การเลือกวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ 2.1.2 ความปลอดภัยในการเชื่อมโลหะ 2.1.3 หลักและวิธีการเชื่อมโลหะชนิดต่างๆ 2.2 ขั้นการฝึกทักษะการท าเชื่องไฟฟ้า 2.2.1 การท าเหล็ก 2.2.2 วิธีการพ่นสี อบสีเหล็ก 2.3 การพัฒนาเหล็กดัด 2.3.1 ศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ ผู้ประกอบการ หรือสถานประกอบการ 2.3.2 วิธีการเพิ่มมูลค่าและประยุกต์รูปแบบของผลิตภัณฑ์ 2.4 ประเมินทักษะความรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติชิ้นงานเป็นรายบุคคล 3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ จ านวน 3 ชั่วโมง 3.1 การวางแผนการผลิต การการส ารวจและศึกษาแหล่งวัสดุ อุปกรณ์การท าเหล็กและใช้ประโยชน์ ของแหล่งทรัพยากร และการหาแหล่งทุนต่างๆ 3.1.1 การวางแผนการผลิต 3.1.2 การด าเนินการส ารวจแหล่งทรัพยากรการผลิตและแหล่งทุนในท้องถิ่น 3.2 การค านวณต้นทุนการผลิต การก าหนดราคาขาย 3.3 การควบคุมคุณภาพในการผลิตเหล็กดัด 3.3.1 การควบคุมคุณภาพวัสดุ อุปกรณ์การผลิต 3.3.2 การควบคุมกระบวนการผลิต 3.3.3 การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูลการตลาด ความต้องการของตลาดและการประชาสัมพันธ์ 3.4.1 การส ารวจความต้องการของรูปแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต้องการของท้องตลาด 3.4.2 การประชาสัมพันธ์ และช่องทางการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ 4. โครงการประกอบอาชีพ จ านวน 2 ชั่วโมง 4.1 ความส าคัญของโครงการอาชีพ 4.2 ประโยชน์ของโครงการอาชีพการ 4.3 องค์ประกอบของโครงการประกอบอาชีพ 4.4 การเขียนโครงการอาชีพ 4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการอาชีพ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 20 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตรการท าช่างเชื่อมไฟฟ้า เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้จากวิทยากร แล้วสามารถน าความรู้ไปปฏิบัติได้จริง เมื่อจ าหลักสูตรแล้วสามารถน าทักษะความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจนเกิด ความช านาญ มีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมส ารวจ และวิเคราะห์ตนเอง ทรัพยากร อาชีพ และความต้องการของตลาดเพื่อให้ ผู้เรียนเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ 2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้กระบวนคิดเป็น และความเป็นไปได้ รวมทั้งการศึกษาดูงาน เพื่อการตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพ 3. ฝึกทักษะการประกอบอาชีพ 3.1 เรียนรู้จากวิทยากร 3.2 เรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อต่างๆแหล่งเรียนรู้ ผู้รู้ 3.2 เรียนรู้จาการลงมือปฏิบัติจริง 3.3 เรียนรู้จากภูมิปัญญา ทฤษฏี และปฏิบัติ 3.4 เรียนรู้จากกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ในการประกอบอาชีพ โดยเรียนรู้จากวิทยากร และการลงมือปฏิบัติจริง 5. จัดท าโครงการประกอบอาชีพ การเขียน โครงการ และการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ 6. ด าเนินการให้ผู้เรียนท าโครงการประกอบอาชีพไปสู่การปฏิบัติจริง 7. นิเทศ ติดตามผลและประเมินโครงการของผู้เรียนและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา 8. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ และ VCD 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ผู้รู้ 3. แหล่งเรียนรู้/สถานประกอบการ 9. การวัดและประเมินผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลงานระหว่างเรียนจาการปฏิบัติ ได้ผลงานที่มีคุณภาพจัดจ าหน่ายได้ 3. ประเมินความพึงพอใจของลูกค้า 10. การจบหลักสูตร


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 21 1. เวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. มีผลงานที่มีคุณภาพ 11. เอกสารหลักฐานการศึกษา 1. หลักฐานการประเมินผล 2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร 3. วุฒิบัตรการศึกษา ออกโดยสถานศึกษา 12. การเทียบโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถน าผลการเรียนไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษา นอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้ จัดท าขึ้น 7.การจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตรการท าช ่างปูน เป็นหลักสูตรที ่เน้นให้ผู้เรียนที ่ผ ่านกระบวนการเรียนรู้จากวิทยากรแล้ว สามารถน าความรู้ไปปฏิบัติได้จริง เมื่อจ าหลักสูตรแล้วสามารถน าทักษะความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติจนเกิดความ ช านาญ มีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมส ารวจ และวิเคราะห์ตนเอง ทรัพยากร อาชีพ และความต้องการของตลาดเพื่อให้ ผู้เรียนเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ 2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้กระบวนคิดเป็น และความเป็นไปได้ รวมทั้งการศึกษาดูงาน เพื่อการตัดสินใจ เลือกประกอบอาชีพ 3. ฝึกทักษะการประกอบอาชีพ 3.3 เรียนรู้จากวิทยากร 3.4 เรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อต่างๆแหล่งเรียนรู้ ผู้รู้ 3.5 เรียนรู้จาการลงมือปฏิบัติจริง 3.6 เรียนรู้จากภูมิปัญญา ทฤษฏี และปฏิบัติ 3.7 เรียนรู้จากกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ในการประกอบอาชีพ โดยเรียนรู้จากวิทยากร และการลงมือปฏิบัติจริง 5. จัดท าโครงการประกอบอาชีพ การเขียน โครงการ และการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ 6. ด าเนินการให้ผู้เรียนท าโครงการประกอบอาชีพไปสู่การปฏิบัติจริง 7. นิเทศ ติดตามผลและประเมินโครงการของผู้เรียนและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 22 8. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ และ VCD 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ผู้รู้ 3. แหล่งเรียนรู้/สถานประกอบการ 9. การวัดและประเมินผล 1 .การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลงานระหว่างเรียนจาการปฏิบัติ ได้ผลงานที่มีคุณภาพจัดจ าหน่ายได้ 3. ประเมินความพึงพอใจของลูกค้า 10. การจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. มีผลงานที่มีคุณภาพ 11.เอกสารหลักฐานการศึกษา 1. หลักฐานการประเมินผล 2. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร 3. วุฒิบัตรการศึกษา ออกโดยสถานศึกษา 12. การเทียบโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถน าผลการเรียนไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษา ได้จัดท าขึ้น


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 23 บทที่ 3 วิธีการด าเนินการ 1. ขั้นตอนการวางแผนปฏิบัติงาน การจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบที ่เป็นหลักสูตรระยะสั้น มีกระบวนการในการ ด าเนินงานดังนี้ 1.1 มีการส ารวจความต้องการด้านการจัดการศึกษาต่อเนื่องในพื้นที่ ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้มีการส ารวจ ความต้องการในการเรียนรู้ ความสนใจในการประกอบอาชีพของกลุ่มเป้าหมายในต าบลเมือง เพื่อน ามาวาง แผนการจัดกิจกรรมให้เหมาะสม 1.2 มีการจัดท าแผน/โครงการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดท าแผนงาน โครงการเสนอเพื่อจัดกิจกรรมตามนโยบายการด าเนินงานของ ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ 1.3 มีหลักสูตร/สื่อ/รูปแบบการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดท าหลักสูตรการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าโดยได้จัดท าหลักสูตรช่างปูน จ านวน31 ชั่วโมง เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเป้าหมายที่สนใจในต าบลเสี้ยว ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดท าแบบจัดตั้งกลุ่มการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น (31 ชั่วโมงขึ้นไป) วิชาช่างปูน จ านวน 31 ชั่วโมง เสนอเพื่ออนุมัติเพื่อด าเนินการจัดกิจกรรมต่อไป 1.4 มีการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่องตามแผน/โครงการ ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้ด าเนินการจัดการเรียนการสอนไปแล้วตามบันทึกข้อความขออนุญาตจัดตั้งกลุ่ม หลักสูตรระยะสั้น กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง ลงวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2567 ก าหนดจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2567 ถึงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2567 ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว หมู่ที่ 1 บ้านกอไร่ใหญ่ ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 1.5 มีการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเมืองเลย ได้มีการประชุมชี้แจง นโยบายการด าเนินงานและมีโครงการ พัฒนาบุคลากร ด้านการศึกษาต ่อเนื ่องในเรื่องต่างๆ ประจ าปี 2566 ไปพรางก ่อน เพื ่อเป็นแนวทางการ ด าเนินงานให้เป็นไปตามระเบียบ 1.6 มีการนิเทศติดตามผลประเมินผลอย่างเป็นระบบ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเมืองเลย ได้มีการท าค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศติดตามผลการ ด าเนินงานของสถานศึกษาในสังกัด ประจ าปีงบประมาณ 2566 ไปพรางก่อน และได้มีการจัดท าแผนนิเทศ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 24 ติดตามผลการจัดกิจกรรมตามแผนงาน ที่ ศกร.ต าบล จัดไว้ เพื่อตรวจติดตามให้ข้อเสนอแนะการจัดกิจกรรม และน าเสนอผลการด าเนินงานต่อผู้บริหารต่อไป 1.7 มีการรายงานผลการด าเนินงานการจัดโครงการ/จัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรระยะสั้น ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดท ารายงานสรุปโครงการ/การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เสนอขออนุมัติจบหลักสูตร ในแต่ละหลักสูตรเมื่อจัดกิจกรรเสร็จเรียบร้อยแล้ว และมีการจัดท าสรุปผลการด าเนินเป็นรูปเล่มเพื่อใช้เป็น เอกสารอ้างอิงการด าเนินงานและเพื่อเผยแพร่แก่ผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ต่อไปได้ 1.8 การน าผลการประเมินไปพัฒนาต่อเนื่อง ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดท ารายงานการประเมินโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรระยะสั้น(31 ชั่วโมงขึ้นไป) วิชาช่างปูน จ านวน 31 ชั่วโมง สรุปผลการด าเนินงาน ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพื ่อใช้วิเคราะห์และน าผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงการด าเนินงานในครั้งต ่อไปและมีการรายงานผลให้ สถานศึกษาในสังกัดทราบเพื่อให้ทราบผลการด าเนินงาน ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการด าเนินงานต่อไป 2. ขั้นการเตรียมงาน 2.1 จัดเตรียม/จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม 2.2 จัดเตรียมสถานที่ให้มีความพร้อมก่อนการจัดกิจกรรม. 2.3 แจ้งวิทยากรเพื่อเตรียมการก่อนจัดกิจกรรม 3. ระยะเวลาด าเนินงาน วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2567 ถึงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2567 4. รูปแบบการจัดกิจกรรม ศกร.ต าบลเสี้ยว ได้จัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพหลักสูตรตั้งแต่ 31 ชั่วโมงขึ้นไป โดยได้ด าเนินการจัดตั้งกลุ่มฝึกอาชีพ กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 25 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน แนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง หลักการ 1. ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการสื่อของจริงสื่อบุคคลในชุมชน เพื่อ น าข้อมูลมาวิเคราะห์การจัดกิจกรรมและใช้ในการประกอบอาชีพได้ 2. ศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ ต่างๆ 3. จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับรูปแบบการเชื่อมผลิตภัณฑ์แบบต่างๆ 4. อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. จัดผู้เรียนไปศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ชุมชน พร้อมจดบันทึก 6. จัดท าแผนการฝึกทักษะการเชื่อมโลหะแบบต่างๆ 7. จัดให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติการเชื่อมโลหะแบบต่างๆ ตามแผนการฝึกทักษะที่ได้ก าหนดไว้ และมีการ จดบันทึกผลการเรียนรู้ 8. ด าเนินการวัดและประเมินผลตามที่หลักสูตรก าหนด 9. ฝึกปฏิบัติจริงการเชื่อมโลหะแบบต่างๆ หรือเชื่อมท าผลิตภัณฑ์ที่สามารถน ามาใช้งานได้จริง เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เป็นต้น 10.การบรรยาย ฝึกปฏิบัติ และแลกเปลี ่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการการผลิต จัดให้ผู้เรียนศึกษา เอกสารเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาก าหนดและการควบคุมคุณภาพผลผลิตที่ต้องการ ศึกษาการลดต้นทุน การผลิตแต่คุณภาพคงเดิม ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นและมีแนวทางในการจัดการ ความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม 11.การบริหารจัดการการตลาด จัดให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ความต้องการช ่าง เชื่อมไฟฟ้าในสถานประกอบการต่างๆ 12.บรรยายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบริหารจัดการการผลิต 13.จัดให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ศึกษาการก าหนดและการควบคุมคุณภาพ ผลผลิตที่ต้องการ การลดต้นทุนการผลิตแต่คุณภาพคงเดิม วิเคราะห์ ปัจจัยความเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และ มีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 26 14.การบริหารจัดการการตลาด ข้อมูลการตลาด วิเคราะห์ความต้องการของตลาดทิศทาง เป้าหมาย และแผนการจัดการการตลาดที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับช่างปูน สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ ท าหรือสร้างขึ้นแบบต่างๆ ได้ตรงตามเป้าหมายการอบรมหรือความต้องการของ ผู้เข้าอบรมเพื่อน าไปประกอบ อาชีพที่มั่นคง มีรายได้จากการประกอบอาชีพตามที่อบรม


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 27


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 28


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้


สี้ยว 21


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 22 สรุปแบบส ารวจความพึงพอใจ โครงการอบรมการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มพัฒนาทักษะอาชีพ หลักสูตร ช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง วันที่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2567 ถึงวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2567 ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว บ้านกอไร่ใหญ่ หมู่ที่ 1 ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ********************************* การส ารวจความพึงพอใจ สรุปแบบส ารวจความพึงพอใจโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว บ้านกอไร่ใหญ่ หมู่ที่ 1 ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ได้ส ารวจจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 10 คน จากแบบสอบถาม 10 ชุด โดยแยก ตามประเภทผู้ตอบแบบสอบถามดังนี้ ตารางที่ 1 เนื้อหาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 1 เนื้อหาที่จัดการเรียนรู้ตรงตาม ความต้องการของท่านเพียงใด 8 80.00 2 20.00 จากตารางที่ 1 เนื้อหาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ ตารางที่ 2 วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 2 วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา 10 100.00 จากตารางที่ 2 วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 23 ตารางที่ 3 วิทยากรให้ความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 3 วิทยากรให้ความรู้ ครบถ้วนตามหลักสูตร 9 90.00 1 10.00 จากตารางที่ 3 วิทยากรให้ความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 9 คน คิดเป็น ร้อยละ 90.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามล าดับ ตารางที่ 4 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 4 ความสามารถในการถ่ายทอด ความรู้ของวิทยากร 10 100.00 จากตารางที่ 4 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร มีความพึงพอใจมากที่สุดจ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ตารางที่ 5 มีสื่อและปุปกรณ์เพียงพอต่อการเรียนรู้ ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 5 มีสื่อและปุปกรณ์เพียงพอต่อการ เรียนรู้ 8 80.00 2 20.00 จากตารางที่ 5 มีสื่อและปุปกรณ์เพียงพอต่อการเรียนรู้มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 24 ตารางที่ 6 ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้เพียงใด ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 6 ท่านได้รับความรู้และสามารถ ฝึกทักษะได้เพียงใด 10 100.00 จากตารางที่ 6 ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้เพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ตารางที่ 7 สามารถน าความรู้และทักษะ ไปประกอบอาชีพได้ ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 7 สามารถน าความรู้และทักษะ ไปประกอบอาชีพได้ 9 90.00 1 10.00 จากตารางที่ 7 สามารถน าความรู้และทักษะ ไปประกอบอาชีพได้มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามล าดับ ตารางที่ 8 สถานที่เรียนรู้เหมาะสมเพียงใด ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 8 สถานที่เรียนรู้เหมาะสม เพียงใด 8 80.00 2 20.00 จากตารางที่ 8 สถานที่เรียนรู้เหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 25 ตารางที่ 9 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 9 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่า เทียมกัน 7 70.00 3 30.00 จากตารางที่ 9 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 7 คน คิดเป็น ร้อยละ 70.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 ตามล าดับ ตารางที่ 10 ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม มีความเหมาะสม ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 10 ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม มีความเหมาะสม 10 100.00 จากตารางที่ 10 ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ตารางที่ 11 ความรู้ที่ได้รับ คุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจ ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 11 ความรู้ที่ได้รับ คุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจ 10 100.00 จากตารางที่ 11 ความรู้ที่ได้รับ คุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจ มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 26 ตารางที่ 12 ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 12 ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด 8 80.00 2 20.00 จากตารางที่ 16 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด มีความพึงพอใจมาก ที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 27 ตารางที่ 13 สรุปความพึงพอใจ ข้อที่ รายการ ระดับความพึงพอใจ 5 (มากที่สุด) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยที่สุด) 1 เนื้อหาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความ ต้องการของท่านเพียงใด 9 90.00 1 10.00 2 วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา 10 100.00 3 วิทยากรให้ความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร 9 90.00 1 10.00 4 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของ วิทยากร 10 100.00 5 มีสื่อและปุปกรณ์เพียงพอต่อการเรียนรู้ 8 80.00 2 20.00 6 ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ เพียงใด 10 100.00 7 สามารถน าความรู้และทักษะ ไปประกอบ อาชีพได้ 9 90.00 1 10.00 8 สถานที่เรียนรู้เหมาะสมเพียงใด 8 80.00 2 20.00 9 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน 7 70.00 3 30.00 10 ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม มีความเหมาะสม 10 100.00 11 ความรู้ที่ได้รับ คุ้มค่ากับเวลา และความ ตั้งใจ 10 100.00 12 ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด 8 80.00 2 20.00 รวม 108 90.00 12 10.00


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 28 จากตารางที่ 13 สรุปผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.00 และ ความพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อย 10.00 ตามล าดับ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ ไม่มี สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้เข้าร่วมการจัดการศึกษาโครงการอบรมการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั ่วโมง) วิชาช ่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั ่วโมง ระหว ่างวันที ่ 11 เดือน มกราคม พ.ศ. 2567 ถึงวันที ่ 19 มกราคม พ.ศ. 2567 ณ ศกร.ต าบลเสี้ยว บ้านกอไร่ใหญ่ หมู่ที่ 1 ต าบลเสี้ยว อ าเภอเมืองเลย จังหวัดเลย เนื้อหาที่ จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา มีความพึง พอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 วิทยากรให้ความรู้ครบถ้วนตามหลักสูตร มีความพึงพอใจ มากที่สุด จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามล าดับ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร มีความพึงพอใจมากที่สุดจ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 มีสื่อและปุปกรณ์เพียงพอต่อการเรียนรู้มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึง พอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้เพียงใด มี ความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 สามารถน าความรู้และทักษะ ไปประกอบอาชีพได้ มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00 ตามล าดับ สถานที่เรียนรู้เหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม มีความ เหมาะสม มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ความรู้ที่ได้รับ คุ้มค่ากับเวลา และ ความตั้งใจ มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึง พอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด มีความพึงพอใจมากที่สุด จ านวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ความพึงพอใจมาก จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามล าดับ สรุปผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 90.00 และความพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อย 10.00 ตามล าดับ ปัญหาและอุปสรรค ไม่มี


รายงานผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า ศกร.ต าบลเสี้ยว 29 บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากความคิดเห็นจากแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) วิชาช่างเชื่อมไฟฟ้า จ านวน 20 ชั่วโมง ของ ศกร.ต าบลเสี้ยว พื้นที่ให้บริการมีความเหมาะสม และมีสิ่งอ านวยความสะดวกที่พร้อมใช้งานวิทยากร/ครู ความเป็นกันเองระหว่าง ผู้เรียน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม การ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการวิทยากรสามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจได้ดีและความรู้ที่ได้สามารถน าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันของตนเองได้ ผู้จัดโครงการจะน าเอาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้เข้าร ่วมโครงการไป ปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องต่างๆ ในการอบรมครั้งนี้ต่อไป ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองเลย ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อำเภอเมืองเลย ลงชื่อ ผู้อนุมัติ (นางนงลักษณ์ พร้อมจะบก) ผู้อ านวยการ กศน.อ าเภอเมืองเลย ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเมืองเลย


ภาคผนวก


คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา 1. นางนงลักษณ์ พร้อมจพบก ผู้อ านวยการ กศน.อ าเภอเมืองเลย ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ านวยการ สกร.อ าเภอเมืองเลย 2.นางวาสนา โสธรรมมงคล ครูช านาญการ 3.นางปราณี สุขปื้อ ครูช านาญการ 4.นางสาวพิมจันทร์ จิตรพานิช บรรณารักษณ์ช านาญการ 5.นางสาวพิมลรัตน์ หุมอาจ ครู 6.นางสาวนิฤมล บุตรโยจันโท ครูอาสาฯ 7.นางมณีรัตน์ ลุนธิระวงค์ ครูอาสาฯ 8.นางนฤมล ราชพัฒน์ ครูอาสาฯ 9.นางลัดดาวัลย์ แสงขาว ครูอาสาฯ สรุปรวบรวม/เรียบเรียง/รูปเล่ม/แบบปก 1.นางสาวปุณณดา จ าปานิล ครู กศน.ต าบล 2.นางสาวอรทัย เต็มสอาด ครู กศน.ต าบล


Click to View FlipBook Version