The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soilbiotechldd, 2022-07-27 06:15:05

ดินและปุ๋ย

สารบัญ

01

ความรู้เรื่องดนิ เบื้องต้น

02

ธาตุอาหารพชื และปุ๋ย

16

การผลิตน้าหมกั ชีวภาพสง่ เสริม
การเจริญเตบิ โตของพชื

17

การผลิตสารป้องกันแมลงและศตั รพู ืช

19

จุลนิ ทรยี ์ควบคมุ โรคพชื

1

ความรเู้ รื่องดนิ เบ้ืองต้น

ดิน ... สำคญั อย่ำงไร

“ ดิน” มีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชและการเกษตรกรรม เน่ืองจาก
พืชจะเจริญเติบโตออกดอกออกผลได้ ต้องอาศัยดินเป็นที่ให้รากพืชไดเ้ กาะยดึ เหน่ียว เพื่อให้
ลาต้นของพืชยืนต้นได้อย่างม่ันคงแข็งแรงสามารถต้านทานต่อลมพายุไม่โคนล้มหรือถูกถอน
รากถอนโคนได้ง่าย และยังเป็นแหล่งของธาตุอาหารจาเป็นที่พืชต้องใช้ในกระบวนการการ
ผลิตต่าง ๆ เพ่ือสร้างดอก ใบ และผล นอกจากนี้ดินยังเป็นที่กักเก็บน้าหรือความชื้นที่พืชจะ
นาไปใช้หล่อเลี้ยงลาต้นและเป็นแหล่งให้อากาศแก่พืชในการหายใจอีกด้วยดินที่มีอากาศ
ถา่ ยเทดี รากพืชจะเจรญิ เติบโตแขง็ แรง ดูดน้า และธาตุอาหารไดม้ ากทาให้ต้นพชื เจรญิ เติบโต
แขง็ แรงและให้ผลติ ผลสูง

สว่ นประกอบของ ... ดิน

องค์ประกอบและสัดส่วนของดินในอุดมคติต่อการเจริญเติบโตของพืช คือ
อนนิ ทรียวตั ถุ 25% อินทรียวตั ถุ 5% นา้ 25% และอากาศ 25%

สว่ นประกอบดนิ

อากาศ 25% อนินทรยี วัตถุ 25%

อินทรียวัตถุ 5%

น้า 25%

ซ่ึงองคป์ ระกอบของดินช้ันบนซึง่ เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกพืช ประกอบด้วย
1. อนินทรียวัตถุ เป็นองค์ประกอบหลักที่แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของดิน
เป็นแหลง่ ธาตุอาหารพืช
2. อินทรียวัตถุ เกิดจากการเนา่ เป่ือยผุพัง หรือการสลายตวั ของเศษซากพืชและ
สัตว์ อินทรียวัตถุเป็นแหล่งธาตุอาหารพืชและแหล่งอาหารของจุลินทรยี ์ในดิน มีความสาคญั
ต่อสมบัติด้านต่าง ๆ ของดิน ท้ังทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ท่ีสาคัญได้แก่ การทาให้

2

อนุภาคดินจับตัวกันเป็นเม็ดดนิ เม็ดดินจับตัวกันเป็นก้อนดิน ทาให้เกิดเป็นโครงสร้างทีด่ แี ละ
ร่วนซุย ถ่ายเทอากาศได้สะดวกและระบายน้าได้ดี ทาให้ดินมีความสามารถในการอุ้มน้า
ดูดซับธาตอุ าหารพืชได้สูง

3. น้า หรือ สารละลายพบอยู่ในช่องว่างระหว่างเม็ดดินหรืออนุภาคดิน น้าช่วย
ละลายธาตอุ าหารต่าง ๆ ในดนิ รวมทั้งช่วยในการดดู ซมึ และเคลอื่ นยา้ ยธาตอุ าหารพชื

4. อากาศ พบอย่ใู นชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดนิ หรอื อนุภาคดิน ซงึ่ โดยทว่ั ไปประกอบด้วย
กา๊ ซไนโตรเจน ออกซิเจน และคารบ์ อนไดออกไซด์

ดนิ ดที ำงกำรเกษตร ... เปน็ อยำ่ งไร

ดินดี ในทางการเกษตร หมายถึง ดินที่มีความเหมาะสมต่อการปลกู พืช ซ่ึงจะตอ้ ง
มีลักษณะ และสมบัติของดินทางกายภาพ เคมี และชีวภาพที่เหมาะสม มีปริมาณนา้ และ
ธาตุอาหารที่เพียงพอ ต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต สามารถปลูกพืชได้โดยใช้
วิธีการจัดการดูแลตามปกติธรรมดา ท่ีไม่ยุ่งยาก มักจะมีหน้าดินสีดาหนา มีปริมาณ
อินทรียวัตถุสูง มีธาตุอาหารท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อพืชสูง ไม่มสี ารทเ่ี ปน็ พิษต่อพชื มีปฏิกิริยาดินใกล้
เปน็ กลาง มีค่าความเปน็ กรดเปน็ ด่างประมาณ 5.5-7.0 และไม่มชี ัน้ ท่ขี ัดขวางการเจรญิ เติบโตของ
รากพืช

ธาตุอาหารพชื และปุ๋ย

ธำตอุ ำหำรพืช

ธาตุอาหารพชื สามารถแยกเป็นธาตอุ าหารหลกั จานวน 3 ชนดิ คือ ไนโตรเจน (N)
ฟอสฟอรสั (P) และโพแทสเซยี ม (K) ซ่ึงเป็นธาตอุ าหารที่พชื ต้องการมากและมคี วามสาคัญต่อ
การเจริญเติบโต ธาตุอาหารรอง จานวน 3 ชนิด แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และ
กามะถัน (S) ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณที่น้อยกว่าธาตุอาหารหลักและ
ธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) ซ่ึงมีความต้องการในปริมาณท่ีน้อยมากอีก 8 ชนิด เช่น เหล็ก
ทองแดง สังกะสี โบรอน แมงกานีส เป็นต้น ธาตุอาหารที่สาคัญอีก 3 ชนิด คือ คาร์บอน (C)
ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O) ซึ่งเป็นธาตุอาหารสาหรับการสร้างแป้ง น้าตาล ตลอดจน
องค์ประกอบหลกั ในตน้ พชื ทุกชนิดน้นั พืชได้รบั จากนา้ และอากาศโดยตรง

3

ควำมสำคญั ของธำตุอำหำรตอ่ กำรเจรญิ เตบิ โตและผลติ ของพืช

ธาตุอาหารพืชแตล่ ะชนิดมีความสาคญั ต่อการเจรญิ เตบิ โตและการใหผ้ ลผลดิ ของ
พชื ดังแสดงในตารางท่ี 1

ตำรำงที่ 1 ความสาคญั ของธาตุอาหารพืชและอาการแสดงเมือ่ ขาดธาตุ

หนำ้ ทสี่ ำคญั ของธำตุอำหำรพชื และอำกำรขำดำตอุ ำหำรพชื

ชนดิ ธำตอุ ำหำร หน้ำท่ีสำคัญ อำกำรขำดธำตอุ ำหำร

ไนโตรเจน - เปน็ องคป์ ระกอบของกรดอะมโิ นโน - พชื เจรญิ เตบิ โตช้า ใบลา่ งมีสี

(nitrogen: N) โปรตีน คลอโรฟิลล์ กรดนวิ คลอี กิ ส่งเสรมิ เหลืองซดี ทง้ั แผน่ ใบ ตอ่ มา

การเจรญิ เตบิ โตของยอดออ่ น ใบและกงิ่ กลายเป็นสนี า้ ตาลแล้วรว่ งหลน่

กา้ น หลงั จากนนั้ ใบบนๆ จะมสี ีเหลือง

ฟอสฟอรัส - ช่วยในการสงั เคราะหโ์ ปรตนี และ - ใบลา่ งเริม่ มสี มี ่วงตามแผ่นใบ
(Phosphorus: P) สารอินทรยี ์ท่ีสาคัญเปน็ องค์ประกอบของ ต่อมาเปน็ สีน้าตาลและรว่ งหลน่ ลา
สารทท่ี าหน้าท่ีถา่ ยทอดพลงั งานใน ต้นแคระแกรน็ ไม่ผลดิ อกออก
โพแทสเซียม กระบวนการต่างๆ ของพืช เช่น การ
(potassium: K) สังเคราะหแ์ สงและการหายใจ - ใบล่างแสดงอาการเหลือง และ
- ชว่ ยสงั เคราะห์นา้ ตาล แป้ง และโปรตนี เป็นสนี า้ ตาลตามขอบใบและ
แคลเซียม ส่งเสริมการเคล่อื นยา้ ยของนา้ ตาลจากใบ ลกุ ลามเข้ามาเป็นหย่อมๆตามแผน่
(calcium: Ca) ไปยังผล ชว่ ยใหผ้ ลเจรญิ เติบโตเร็ว พชื ใบอาจพบวา่ แผ่นใบโค้งเล็กนอ้ ย
แขง็ แรงและมีความต้านทานต่อโรคบาง รากพชื เจริญชา้ ลาตน้ ออ่ นแอ ผล
แมกนเี ซยี ม ชนดิ ไมเ่ ติบโต
(magnesium: - ใบที่เจรญิ ใหม่มอี าการหงกิ งอตา
- เป็นองคป์ ระกอบของสารเชอื่ มผนังเชลล์ ยอดไม่เจรญิ อาจมีจุดดาที่เส้นใบ
Mg) ช่วยในการแบง่ เชลล์ การผสมเกสร การ รากสน้ั ผลแตก และคณุ ภาพผลไม่
กำมะถัน งอกของเมลด็ และช่วยเอนไชมบ์ างชนดิ ดี
(sulfur: S) ทางาน ได้ - ใบแกจ่ ะมสี เี หลืองยกเว้นบรเิ วณ
- เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ช่วย เส้นใบ และใบจะรว่ งหลน่ เร็ว
สังเคราะหก์ รดอะมิโน วิตามนิ ไขมนั และ
นา้ ตาลทาใหก้ ารเปน็ กรดดา่ งในเชลล์ - ใบพชื ท้ังใบบนและใบลา่ งจะมสี ี
เหมาะสมและชว่ ยการงอกของเมล็ด เหลอื งซดี และต้นออ่ นแอ
- เปน็ องค์ประกอบของกรดอะมโิ น โปรตีน
และวิตามิน

4

หนำ้ ทส่ี ำคญั ของธำตุอำหำรพชื และอำกำรขำดำตุอำหำรพชื

ชนดิ ธำตุอำหำร หน้ำท่ีสำคัญ อำกำรขำดธำตุอำหำร

เหล็ก - ช่วยในการสังเคราะหค์ ลอโรฟลิ ล์สาคญั - ใบอ่อนของพืชจะมสี ขี าวซีดจาง
(iron: Fe) ตอ่ การสังเคราะห์แสงและการหายใจ ในขณะทใี่ บแก่ยงั มีสเี ขียวอยู่

ทองแดง - ชว่ ยในการสังเคราะหค์ ลอโรฟิลล์การ - ตายอดชะงักการเจริญเตบิ โตและ
(copper: Cu) หายใจการใชโ้ ปรตนี และแปง้ กระตนุ้ การ กลายเปน็ สดี า ใบออ่ นมสี ีเหลอื ง
ทางานของเอนไซม์บางชนิด พืชชะงักการเจริญเติบโต

แมงกำนสี - ชว่ ยในการสงั เคราะหแ์ สงและการ - ใบออ่ นมีสเี หลือง ในขณะท่เี สน้
(manganese: ทางานของเอนไชม์บางชนิด ใบยังมีสเี ขียวอยู่ ตอ่ มาใบดังกลา่ ว
จะเหีย่ วแล้วรว่ งหลน่
Mn)

สงั กะสี (zinc: Zn) - ชว่ ยในการสังเคราะหอ์ อกซเิ จน (auxin - ใบออ่ นมสี เี หลอื งซีดและปรากฏสี
hormone) คลอโรฟลิ ลแ์ ละแปง้ ขาวประปรายตามแผ่นโดยเส้นใบ
โมลบิ ดนิ มั ยงั มีสเี ขียว รากสั้น
(molybdenum: - ช่วยใหพ้ ชื ใช้ไนเตรตใหเ้ ปน็ ประโยชน์ใน ไม่เจรญิ เติบโตตามปกติ
การสงั เคราะหโ์ ปรตนี - พืชมีอาการคลา้ ยการขาดธาตุ
Mo) ไนโตรเจน ใบมลี กั ษณะโค้งคล้าย
- ช่วยในการออกดอกและการผสมเกสรมี ถ้วยปรากฎจดุ สเี หลอื ง ๆ ตาม
โบรอน บทบาทสาคัญในการติดผลและการ แผ่นใบของพืช
(boron: B) เคลือ่ นย้ายนา้ ตาลมาสู่ผลการเคลอ่ื นยา้ ย
ฮอร์โมน การใชป้ ระโยชน์จากไนโตรเจน - ตายอดจะตายแลว้ เริม่ มตี าขา้ งแต่
คลอรนี และการแบ่งเชลล์ ตาขา้ งจะตายอกี ลาตน้ ไม่ค่อยยืด
(chlorine: CI) - ชว่ ยในการออกดอกและการผสมเกสร มี ตวั ก่ิงและใบชิดกัน ใบพชื มีขนาด
บทบาทสาคญั ในการติดผลและการ เล็ก หนา โค้ง และเปราะ
นิกเกิล เคล่ือนยา้ ยน้าตาลมาสู่ผลการเคล่อื นยา้ ย
(nickel: Ni) ฮอรโ์ มน การใชป้ ระโยชนจ์ ากไนโตรเจน - พืชเหย่ี วงา่ ย ใบพืชมีสซี ีดและ
และการแบง่ เซลล์ บางส่วนแหง้ ตาย
- เป็นโคแฟคเตอรข์ องเอนไชม์ยูเรอีสและ
เอนไชม์ไฮโดรจเี นสช่วยในการงอกของ - เนือ้ เยอ่ื บริเวณปลายใบจะตาย
เมลด็ พืช และกลายเปน็ สีนา้ ตาล

5

กำรปรบั ปรงุ บำรงุ ดินโดยใช้ปุย๋

ปุ๋ย คือ สำรอนินทรีย์ หรือสำรอินทรีย์ ซ่ึงมีธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช

สารน้ีจะมาจากธรรมชาติหรือเป็นสารสังเคราะห์ก็ได้ ซึ่งไม่ว่าปุ๋ยในรูปของอนินทรีย์หรือ
อินทรีย์ก็ตาม เมื่อละลายหรือย่อยสลายแล้ว จะให้ธาตุอาหารพืชในเดียวกัน แต่การให้ปุ๋ยใน
รูปแบบที่แตกต่างกันจะได้รับผลพลอยได้ท่ีต่างกันไป ปุ๋ยแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ปุ๋ยเคมี
ปุย๋ อนิ ทรยี ์ และป๋ยุ ชวี ภาพ

1. ปุ๋ยเคมี คือ ปุ๋ยท่ีได้จากหินและแร่ต่างๆ แล้วผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์

เพ่ือให้อยใู่ นบรรจภุ ณั ฑพ์ ร้อมใช้หรือได้จากการสังเคราะห์ขึ้นทางวิทยาศาสตร์ เชน่ ปุ๋ยทริปเป้ิล
ซปุ เปอร์ฟอสเฟต (0-46-0) ปยุ๋ โพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) เชน่ ปุ๋ยยูเรยี (46-0-0) เป็นต้น

2. ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นปุ๋ยท่ีเป็นสารอินทรีย์ธรรมชาติ ธาตุอาหารจะเป็นประโยชน์ต่อ

พชื ต้องผ่านการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ และปลดปล่อยธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์กับพืช
ปุย๋ อนิ ทรยี ์มีธาตอุ าหารเปน็ องค์ประกอบท้ังธาตุหลัก ธาตุรอง และจลุ ธาตุ และมสี ารอินทรีย์ จะ
ช่วยให้สมบัติของดินทางเคมี กายภาพ และชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ประกอบด้วย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
และปุ๋ยพืชสด

2.1 ปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยหมักเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งเกิดจากการนาซากหรือเศษเหลือจาก

พืชมาหมักรวมกันและผ่านกระบวนการย่อยสลายโดยกิจกรรมจุลินทรีย์ จนเปลี่ยนสภาพไป
จากเดมิ เป็นวสั ดทุ มี่ ีลกั ษณะอ่อนนมุ่ เปอ่ื ยยุ่ย ไมแ่ ขง็ กระด้าง และมีสีน้าตาลปนดา
การผลิตปุ๋ยหมกั โดยใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด.1

สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 สาหรับผลติ ปุ๋ยหมกั เป็นกลุ่มจุลนิ ทรีย์
ที่มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร
และอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร ท่ีมีองค์ประกอบของ
เซลลโู ลส ไขมันที่ยอ่ ยสลายยาก เพ่ือผลิตปยุ๋ หมกั ในเวลาทร่ี วดเร็วและ
มีคุณภาพ เป็นจุลินทรีย์ที่ทนอุณหภูมิสูง ประกอบด้วย เชื้อราย่อย
เซลลูโลส 4 สายพันธุ์ แอคติโนมัยซิสต์ย่อยเซลลูโลส 2 สายพันธุ์
และแบคทีเรยี ย่อยไขมัน 2 สายพันธ์ุ

6

 สว่ นผสม
 กำรผลิตปยุ๋ หมักแบบกองเป็นชนั้

7

 กำรผลติ ปุย๋ หมกั แบบกองผสมคลกุ เคลำ้

กำรดูแลรกั ษำกองปยุ๋ หมกั
รดน้ารักษาความช้ืนในกองปุ๋ยกองปุ๋ยชุ่มให้มี
ความชื้น 50-60% พร้อมกลับกองปยุ๋ หมัก ควรกลบั กอง
ปุ๋ยทุก ๆ 15 วัน เพ่ือเป็นการระบายอากาศ เพ่ิมออกซิเจน
และชว่ ยใหว้ ัสดคุ ลกุ เคล้าเข้ากัน
หลกั กำรพจิ ำรณำปยุ๋ หมกั ทเี่ สรจ็ สมบูรณ์แลว้
1) สีของวสั ดเุ ศษพชื มสี ีนา้ ตาลเขม้ จนถงึ สีดา วัสดมุ ี
ลักษณะออ่ นนุ่ม ยยุ่ ขาดออกจากกนั งา่ ย
2) ปุ๋ยหมกั ทีส่ มบูรณจ์ ะไม่มกี ลิ่นเหมน็
3) ไมม่ คี วามร้อนในกองปยุ๋ อุณหภมู ภิ ายในและภายนอกกองป๋ยุ ใกลเ้ คยี งกนั
4) มีการเจริญของพืชบนกองป๋ยุ หมัก
5) ค่าอัตราสว่ นคาร์บอนต่อไนโตรเจนเท่ากบั หรือต่ากว่า 20:1

8

อัตรำและวธิ กี ำรใช้ปุ๋ยหมกั
1) ข้าว : ใช้ 2 ตนั ตอ่ ไร่ หว่านใหท้ ัว่ พ้ืนที่แลว้ ไถกลบกอ่ นปลกู พืช
2) พืชไร่ : ใช้ 2 ตันต่อไร่ โรยเป็นแถวตามแนวปลกู พชื แลว้ คลุกเคล้ากบั ดิน
3) พืชผัก : ใช้ 4 ตนั ต่อไร่ หวา่ นทวั่ แปลงปลูกไถกลบขณะเตรียมดนิ
4) ไม้ผล : ไม้ยืนต้น: เตรียมหลุมปลกู ใช้ 20 กิโลกรัมต่อหลุม คลุกเคล้าปุ๋ย หมักกับ
ดินใส่รองก้นหลุม ต้นพืชท่ีเจริญแลว้ ใช้ 20-50 กิโลกรัมตอ่ ตน้ โดย ขุดร่องลึก 10 เซนติเมตร
ตามแนวทรงพมุ่ ของต้นใส่ปุ๋ยหมักในรอ่ ง และกลบดว้ ยดนิ หรือหว่านใหท้ ัว่ ภายใตท้ รงพ่มุ
5) ไม้ตดั ดอก : ใสป่ ยุ๋ หมกั 2 ตันต่อไร่ ไม้ดอกยนื ต้นใช้ 5-10 กโิ ลกรัมตอ่ หลุม
ประโยชนข์ องปยุ๋ หมกั
1) ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพดิน ทาให้ดินร่วนซุย การระบายอากาศ และการอุ้มน้า
ของดินดขี ้นึ
2) เป็นแหล่งธาตุอาหารพชื ท้งั ธาตุอาหารหลัก ธาตอุ าหารรองและจุลธาตุ
3) ดูดยึดและเป็นแหล่งเก็บธาตุอาหารในดินไม่ให้ถูกชะล้างสูญเสียไปได้ง่าย และ
ปลดปลอ่ ยออกมาใหพ้ ชื ใช้ประโยชนท์ ลี ะนอ้ ยตลอดฤดปู ลกู
4) เพม่ิ ความต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดเปน็ ดา่ งของดนิ
5) เพม่ิ แหล่งอาหารของจุลนิ ทรีย์ดิน

2.2 ปยุ๋ คอก
หมายถึง ปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้มาจากมูลสัตว์ท่ีขับถ่ายและสะสมอยู่ตามพื้น

คอกรวมทั้งวัสดรุ องพน้ื คอก มูลและน้าลา้ งคอกท่รี วมในบอ่ เก็บน้าท้ิงหรอื บอ่ แกส๊ ชีวภาพ หรอื
มูลสัตว์ท่ีได้จากแหล่งธรรมชาติ เช่น มูลค้างคาว ซ่ึงจะให้อินทรียวัตถุ ธาตุอาหารหลัก และ
ธาตุอาหารรองทีจ่ าเปน็ ต่อการเจริญเติบโตของพชื ช่วยปรบั ปรุงโครงสรา้ งของดินให้เหมาะสม
ต่อการเจริญเติบโตของพชื

วธิ ีกำรใชป้ ยุ๋ คอก
1) การใช้ปุ๋ยคอกสดหรือแห้ง หรือนาไปผ่านกระบวนการหมักให้
สมบูรณ์ อัตรา 1-3 ตันต่อไร่ ในขณะเตรียมดิน ถ้าเป็นมูลสัตว์สดให้ไถกลบทิ้งไว้ 15-30 วัน
ก่อนปลูกพืช แตถ่ า้ ใสใ่ นดนิ ทม่ี ีพืชเจรญิ อยแู่ ลว้ นามูลสัตว์ใส้บรเิ วณรอบทรงพุม่
2) การนาไปใสใ่ นกองปยุ๋ หมัก โดยใชม้ ลู สัตว์ 200 กโิ ลกรมั ตอ่ เศษวสั ดุ 1 ตนั
ประโยชนข์ องปุ๋ยคอก
1) เพ่ิมธาตุอาหารพืช เม่ือสัตว์กินอาหารเข้าไปธาตุอาหารจะถูกย่อย
สลายไม่หมดโดยเฉล่ียทั่วไปแลว้ ปริมาณ 3/4 ของไนโตรเจน 4/5 ของฟอสฟอรัส 9/10 ของ

9

โพแทสเซียม จะยังคงเหลือในมูลสัตว์ท่ีถ่ายออกมา ดังนั้นปุ๋ยคอกจึงเป็นแหล่งธาตุอหารของ
พืช ปรมิ าณธาตุอาหารหลกั ในปุย๋ คอกแตล่ ะชนดิ ดังแสดงในตาราง

ธำตุอำหำรเฉลย่ี ในป๋ยุ คอกชนิดตำ่ ง ๆ

ชนดิ ปุ๋ยคอก ไนโตรเจน ปรมิ ำณธำตอุ ำหำร (%) โพแทสเซียม
1.91 1.40
มลู โค 1.23 ฟอสฟอรสั 0.69
มลู กระบือ 3.77 0.56 1.76
มูลไก่ 1.87 0.55 0.92
มูลแกะ 2.33 1.89 1.31
มลู ม้า 2.80 0.79 1.18
มลู สกุ ร 1.05 0.83 1.84
มลู คา้ งคาว 1.36
14.82

2) ปรับปรุงบารุงดิน การใส่ปุ๋ยคอกในอัตราท่ีเหมาะสมและต่อเนื่อง
จะช่วยปรบั ปรุงคุณสมบตั ิทางกายภาพ เชน่ ช่วยให้เกิดเมด็ ดิน และลดความหนาแน่นของดิน
สมบัติทางเคมี เช่น เพ่ิมธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง และสมบัติทางชีวภาพของดิน
ชว่ ยในการเพ่มิ ชนดิ และจานวนของจุลนิ ทรียด์ นิ

2.3 ปยุ๋ พืชสด
เป็นปุ๋ยอินทรียท์ ่ไี ดจ้ ากการตดั สับหรอื ไถกลบลงไปในดินในขณะที่พืชยัง

เขียวสดอยู่ในช่วงระยะที่พืชออกดอก เพื่อใช้ในการปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ของดิน
โดยพืชปุ๋ยสดที่นิยมใช้ คือ พืชตระกูลถ่ัว ซ่ึงมีแบคทีเรียไรโซเบียมท่ีอาศัยอยูใ่ นปมของรากและ
ลาต้นของพืชตระกูลถั่วจะช่วยตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศเปลี่ยนเป็นแอมโมเนียสะสมใน
พืชตระกูลถั่ว จึงทาให้พืชตระกลู ถว่ั มี ไนโตรเจนสูง เมื่อไถกลบลงไปในดินและย่อยสลายแลว้
จะชว่ ยในการเพิม่ ไนโตรเจนและอินทรยี วัตถุในดนิ

พืชตระกูลถ่ัวที่กรมพฒั นาท่ีดนิ ไดส้ ง่ เสรมิ ใช้เป็นพืชปุ๋ยสด มี 5 ชนิด ได้แก่ ปอเทือง
โสนอฟั ริกนั ถั่วพร้า ถ่ัวพมุ่ และถว่ั มะแฮะ

ปอเทือง ขึ้นได้ดีในพ้ืนท่ีดอนท่ีมีการระบายน้าดี ไม่ชอบน้าท่วมขัง ทนแล้งได้ดี นิยม
ปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดปรับปรุงดินโดยปลูกเป็นพืชหมุนเวียนหรือปลูกแซมกับพืชหลัก เช่น ปลูก
ปอเทืองไถกลบแล้วปลูกมันสาปะหลังตามหรือปลูกปอเทืองแซมในแถวข้าวโพด ปลูกโดย
วิธีการหวา่ นเมลด็ อตั รา 5 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ไถกลบชว่ งออกดอกอายปุ ระมาณ 45-50 วนั

10

โสนอัฟริกัน เจริญเติบโตได้ท้ังในสภาพดินไร่และดินนา ในสภาพน้าท่วมขังทนต่อ
สภาพดนิ เคม็ ทรี่ ะดบั ความเคม็ ประมาณ 2-8 เดซซิ ีเมนต่อเมตร นิยมปลกู เป็นป๋ยุ พืชสดไถกลบ
ก่อนปลูกข้าวหรือปลูกหมุนเวียน สลับกับพืชไร่ เช่น ข้าวโพด และอ้อย ปลูกโดยหว่านเมลด็
อตั รา 5 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ก่อนปลกู ควรแช่เมล็ด 1 คนื ไถกลบชว่ งออกดอกอายปุ ระมาณ 50 วัน

ถ่วั พรำ้ เปน็ ปุ๋ยพืชสดในระบบการปลกู พชื หมนุ เวยี น หรือพชื แซมในแถวพืชเศรษฐกจิ
เจรญิ เติบโตไดด้ ีในดนิ ทีมกี ารระบายน้าดี ทนความแห้งแลง้ ได้ดี ปลกู โดยหว่านเมลด็ อัตรา 10
กิโลกรมั ต่อไร่ ไถกลบช่วงออกดอกอายปุ ระมาณ 50 วนั

11

จุลนิ ทรียส์ ำหรบั พชื ปรบั ปรงุ บำรงุ ดนิ พด.11 เพิ่มมวลชวี ภำพพชื ปุย๋ สด

ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ พด.11 ประกอบด้วยแบคทีเรียไรโซเบียม

ที่มีประสิทธิภาพสูงในการตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศเพื่อเพิ่ม

มวลชีวภาพให้แก่พืชปุ๋ยสด ซึ่งไรโซเบียมจะมีความเฉพาะเจาะจงกับ

พชื ปุ๋ยสดแต่ละชนดิ ดังน้นั กรมพฒั นาท่ดี ินจงึ ผลติ จุลนิ ทรีย์ พด.11 ที่

แนะนาให้ใช้กับพืชปุ๋ยสด 3 ชนิด ได้แก่ ปอเทือง โสนอัฟริกัน และ

ถว่ั พร้า

กำรใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์ พด.11 จะแบง่ ได้เป็น 2 วิธี ดงั น้ี

1) จุลนิ ทรยี ์สำหรับพชื ปรับปรงุ บำรุงดิน พด11.

สำหรับปอเทอื ง และโสนอฟั ริกนั

 วัสดุสำหรบั ขยำยเชอ้ื

ปุ๋ยหมัก 100 กโิ ลกรมั

ราข้าว 1 กโิ ลกรมั

จุลนิ ทรยี ์ พด.11 1 ซอง (100 กรมั )

(ปอเทือง และโสนอัฟริกัน)

 วธิ กี ำรขยำยเชอ้ื

อัตรำและวธิ ีกำรใชป้ ยุ๋ หมักที่ขยำย พด.11 สำหรับปอเทอื ง และโสนอฟั รกิ ัน
1) หว่านปุ๋ยหมกั ท่ีขยายเช้อื พด.11 สาหรับปอเทือง หรือโสนอัฟริกนั ใหท้ ว่ั พื้นที่
ปลูก หรือโรยในแถวรอ่ งปลกู 100 กิโลกรัมต่อไร่

12

2) หว่านเมล็ดปอเทอื งอัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนโสนอัฟริกันหวา่ นเมลด็ พันธ์ุที่

แช่น้าแล้ว 1 คืน อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อถึงระยะออกดอกไถกลบลงดิน ปล่อยให้ย่อยสลาย

ประมาณ 15 วัน ปลูกพืชหลัก

2) จุลนิ ทรีย์สำหรับพืชปรับปรงุ บำรุงดนิ พด11. สำหรบั ถว่ั พรำ้

 วัสดุสำหรบั คลกุ เมล็ด

เมล็ดพันธถุ์ ั่วพรา้ 10 กโิ ลกรมั

จุลนิ ทรีย์ พด.11 (ถั่วพร้า) 1 ซอง (200 กรมั )

น้ามนั พืช 5 มิลลิลติ ร

 วิธกี ำรคลุกเมล็ด

วธิ ีกำรใช้ในระบบกำรปลูกพืช
ปลูกเป็นพืชหมุนเวียน : หว่านเมล็ดถั่วพร้าท่ีคลุกไรโซเบียมถ่ัวพร้าแล้วให้ทั่วพื้นที่ปลูก
อตั รา 10 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ กอ่ นปลกู พืชเศรษฐกิจประมาณ 2 เดอื น
ปลูกเป็นพืชแซม : โรยเมล็ดถั่วพร้าที่คลุกไรโซเบียมถั่วพร้าระหว่างแถว พืช
เศรษฐกิจ อตั รา 8-10 กโิ ลกรัมต่อไร่ หลงั ปลกู พชื เศรษฐกิจประมาณ 1 เดือน

ประโยชน์ของจุลินทรยี ์สำหรับพชื ปรับปรงุ บำรุงดิน พด.11
1) เพิ่มปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจนให้กับพืชปรับปรุงบารุงดิน เมื่อสับกลบจะเป็น
แหลง่ ธาตุอาหารไนโตรเจนทดแทนปยุ๋ เคมี ในระบบเกษตรอนิ ทรีย์
2) เพิ่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินช่วยให้พืชปรับปรุงบารุงดินดูดใช้
และสะสมปรมิ าณฟอสฟอรสั ให้กับพืชปรบั ปรงุ บารุงดินมากข้นึ

13

3) เพิ่มมวลชีวภาพของพืชปรับปรงุ บารุงดนิ (ปอเทืองและโสมแอฟริกันเป็นการเพม่ิ

อินทรียวัตถุ และความอุดมสมบูรณข์ องดินหลังสับกลบ

4) ทาให้การปลกู พชื หลักตามมาได้รบั ผลผลติ เพมิ่ สูงขน้ึ

2.4 ปยุ๋ ชีวภำพ

เป็นปุ๋ยที่ได้จากการนาจุลินทรียท์ ี่มีชีวติ ที่สามารถสรา้ งธาตอุ าหาร หรือ

ชว่ ยใหธ้ าตุอาหารเป็นประโยชนก์ ับพืช มาใชใ้ นการปรับปรงุ บารงุ ดนิ ทางชวี ภาพ ทางกายภาพ

หรือทางชีวเคมี การนามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรน้ันส่วนใหญ่จะเน้นเพ่ือเพ่ิมความอุดม

สมบูรณ์ของดนิ และการเจริญเติบโตของพืช

ปยุ๋ ชวี ภำพ พด.12 เพมิ่ ธำตอุ ำหำร และฮอรโ์ มนพชื

เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ ที่สามารถสร้างธาตุอาหาร หรือช่วยให้ธาตุ

อาหารเป็นประโยชน์กับพืช เพ่ือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน และ

ฮอร์โมนส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วย แบคทีเรียตรึง

ไนโตรเจนแบบอิสระ แบคทีเรียที่ละลายฟอสเฟต แบคทีเรียละลาย

โพแทสเซยี ม และแบคทเี รยี สรา้ งสารฮอรโ์ มนกระตุ้นการเจรญิ เตบิ โตของพชื

กำรขยำยเชอื้ ปยุ๋ ชีวภำพ พด.12

 วัสดุสำหรับขยำยเชอื้

ป๋ยุ หมกั 300 กิโลกรัม

ราข้าว 3 กิโลกรมั

ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 1 ซอง (100 กรมั )

 วธิ กี ำรขยำยเช้ือ

14

อตั รำและวิธีกำรใชป้ ๋ยุ หมักที่ขยำยเชอื้ ปยุ๋ ชีวภำพ พด.12

1) ข้าว : 300 กโิ ลกรัมต่อไร่ หว่านใหท้ ่ัวพื้นท่ชี ว่ งเตรียมดินปลกู

2) พืชไร่ พืชผัก หญ้าอาหารสัตว์ : 300 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ระหว่างแถวตามแนว

ปลกู พืชแล้วคลุกเคลา้ กับดนิ

3) ไมผ้ ลหรอื ไมย้ ืนตน้ : 3-5 กโิ ลกรมั ตอ่ ตน้ เตรยี มผลมุ ปลกู ใสโ่ ดยคลกุ เคลา้ กบั ดนิ

รองไว้กน้ หลมุ พชื ท่ีเจรญิ แล้ว ใสร่ อบทรงพุม่ หรือหวา่ นให้ทัว่ ภายใตท้ รงพุม่

ประโยชน์ของปุ๋ยชีวภำพ

1. ลดปรมิ าณการใชป้ ุย๋ เคมลี งได้ 25-40 %

2. เพ่มิ ความเปน็ ประโยชนข์ อง ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี มในดนิ

3. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใช้ปยุ๋

4. ช่วยสรา้ งความสมดุลของธาตุอาหารพืช

5. ใชป้ ริมาณน้อย ราคาถกู ลดต้นทนุ และชว่ ยเพม่ิ ผลผลิตพชื

6. เพิม่ ผลผลิตพืช 10 %

พด.13 ไมคอรไ์ รซำสำหรับข้ำวโพด

เป็นผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ท่ีประกอบด้วย เช้ือราไมคอร์ไร

ซา แบคทีเรียตรึงไนโตรเจนแบบอิสระ และผลิตฮอร์โมนพืช

ช่วยเพิ่มการดูดใชธ้ าตุอาหารพชื โดยเฉพาะฟอสฟอรสั ลดการใช้

ปุ๋ยเคมี ส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโตและเพมิ่ ผลผลิตขา้ วโพด

วสั ดุและวิธกี ำรขยำยเชอื้ พด.13

พด.13 ไมคอรไ์ รซาสาหรับข้าวโพด จะต้องนาไปเพ่มิ

ปริมาณสปอร์ในพชื อาศัย เชน่ ข้าวโพด หรอื ข้าวฟ่าง เป็นเวลา 60 วนั เพอ่ื ใหไ้ ดป้ รมิ าณ

เพียงพอกบั การใช้หยอดก้นหลุมปลูกขา้ วโพดได้ 1 ไร่

 วสั ดุสำหรบั ขยำยเชอ้ื

ทราย 16 กิโลกรมั

ปยุ๋ หมัก 4 กโิ ลกรมั

กระถาง หรือถงุ 1 ใบ

เมลด็ ขา้ วโพด หรือขา้ วฟา่ ง 10 เมลด็

พด.13 ไมคอร์ไรซาสาหรับขา้ วโพด 1 ซอง (100 กรัม)

15

 วธิ กี ำรขยำยเชือ้

อัตรำและวิธีกำรใช้
การเตรียมดินปลูกข้าวโพด ใช้หัวเชื้อ พด.13
ไมคอร์ไรซาท่ีขยายเชื้อเตรียมไว้ในอัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
ผสมปุ๋ยหมัก 70 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากัน โดยแบ่งใส่
2 ช้อนชา (10 กรัม) รองก้นหลุม พร้อมหยอดเมลด็ ข้าวโพด
ตาม
ประโยชน์ พด.13
1) ช่วยเพิ่มการดูดน้าและธาตุอาหารของพืช เส้นใยของ
ราไมคอร์ไรซาท่ีเจริญรอบรากและแพร่กระจายในดิน ช่วยเพิ่มพ้ืนทีผ่ วิ
ทาให้รากดดู น้า และธาตอุ าหารเพิม่ ขน้ึ จงึ ชว่ ยสง่ เสริมการเจริญเติบโต
ของพชื
2) ชว่ ยให้พืชดูดฟอสฟอรัสได้เพิ่มขึน้ 20-30 %
3) ลดการใช้ปุ๋ยเคมสี าหรับการปลกู ขา้ วโพด 25-50 %
4) ช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวโพด 10-20 %

16

การผลิตน้าหมักชีวภาพสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตของพชื

กำรผลิตนำ้ หมกั ชีวภำพ โดยใช้สำรเร่งซปุ เปอร์ พด.2

เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติในการเพ่ิมประสิทธิภาพการย่อย
วัสดุท่ีมีลกั ษณะสด ความช้ืนสงู เพื่อผลิตน้าหมักชีวภาพ ในเวลาส้ันและได้
คุณภาพ น้าหมกั ชวี ภาพท่ีไดป้ ระกอบด้วย ฮอรโ์ มน กรดอะมิโน กรดฮวิ มคิ
กรดอินทรีย์ และธาตุอาหาร สารเร่งซปุ เปอร์ พด. 2ประกอบด้วยจลุ นิ ทรยี ์
5 สายพันธ์ุ ไดแ้ ก่

 สว่ นผสมและขน้ั ตอนกำรผลิตนำ้ หมักชวี ภำพ

สำรทดแทนกำกน้ำตำลในกำรผลติ นำ้ หมักชีวภำพ

น้าตาลทราย 5 กิโลกรมั นา้ อ้อย 10 ลิตร

อตั รำและวิธีกำรใช้

1) พืน้ ท่นี าขา้ ว

- แช่เมล็ดพันธุ์ข้าว : ผสมนา้ หมักชวี ภาพ 2 ชอ้ นโต๊ะ ในน้า 1 ป๊ปี แช่เมลด็ ขา้ ว

20กิโลกรมั 12 ช่ัวโมงแล้วนาข้ึนพกั ไว้ 1 วนั แล้วนาไปปลกู

- ไถกลบตอซัง : ใช้นาหมักชวี ภาพ 5 ลิตร ผสมน้า 100 ลิตร ราดให้ทว่ั แปลง

หมกั ไว้ 15-10 วนั ในพ้นื ท่ี 1 ไร่

17

- ชว่ งการเจรญิ เตบิ โต : ผสมน้าหมกั 12 ช้อนโตะ๊ ในนา้ 60 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลง
ดินในพนื้ ท่ี 1 ไร่ เมอ่ื ขา้ วอายุ 50 30 และ 60 วัน

2) พืชไร่ : ผสมน้าหมักชีวภาพ 40 ช้อนโต๊ะในน้า 200 ลิตร ฉีดพ่นหรือรดลงดนิ ทุก ๆ
10วนั ในพนื้ ที่ 1 ไร่

3) พืชผักและไม้ดอก : ผสมน้าหมักชีวภาพ 5 ช้อนโต๊ะในน้า 50 ลิตร ฉีดพ่นหรือรด
ลงดนิ ทกุ ๆ 10 วันในพน้ื ท่ี 1 ไร่

4) ไม้ผล : ผสมน้าหมกั ชวี ภาพ 20 ช้อนโต๊ะในนา้ 100 ลติ ร ฉีดพน่ หรอื รดลงดิน ทกุ
1 เดอื น

การผลติ สารปอ้ งกันแมลงและศตั รูพชื

กำรผลติ สำรควบคมุ แมลงศัตรพู ืชโดยใช้สำรเร่งซปุ เปอร์ พด. 7

สารเร่งซปุ เปอร์ พด.7 เป็นจุลินทรยี ท์ ี่มคี ณุ สมบัตเิ พ่ิมประสทิ ธิภาพ
การสกัดสารออกฤทธ์โิ ดยกระบวนการหมักพืชสมุนไพรชนดิ ตา่ งๆ เพื่อผลติ
สารควบคุมแมลงศัตรูพืช สารเร่งซุปเปอร์ พด.7 ประกอบด้วย ยีสต์
แบคทีเรียผลิตกรดอะซิติก และแบคทเี รยี ผลิตกรดแลกตกิ

สารสกัดท่ีได้จากการหมักพืชสมุนไพร โดยกิจกรรมจุลินทรีย์
ประกอบด้วย สารออกฤทธ์ิ และสารไล่แมลงที่อยู่ในพืชสมุนไพร รวมทั้งกรดอินทรีย์หลาย
ชนดิ เพื่อใช้ในการปอ้ งกันและกาจดั แมลงศัตรูพืช
สมุนไพรทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพควบคุมหนอนกระทู้ผัก และหนอนใยผัก

เหง้าว่านน้า เมลด็ มนั แกว เมลด็ สะเดา เหง้าหนอนตายหยาก เหงา้ ขมิ้นชนั

18

สมนุ ไพรทีม่ ีประสทิ ธิภาพควบคุมเพลี้ยแปง้ และเพลี้ยออ่ น

ยาสบู (ยาเส้น) ดปี ลี รากหางไหล หวั กลอย พริก
 วัสดุสำหรบั ผลิตสำรควบคมุ แมลงศตั รพู ืช

 ขน้ั ตอนกำรผลิตน้ำหมกั ชวี ภำพ

1. ละลายกากน้าตาลในน้า ให้เข้ากัน ใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด. 7 คน

นาน 5 นาที

2. นาสมนุ ไพร และราข้าวใส่ลงในถังหมกั

3. คนใหเ้ ขา้ กัน ปดิ ฝาไมส่ นิท หมัก 21 วนั โดยสังเกตฟองก๊าซและ

คราบเชอ้ื จะลดลง pH ประมาณ 3-4

อตั รำกำรใชแ้ ละวิธีกำรใช้
1) เจือจางสารควบคมุ แมลงศตั รพู ืช: นา้ เท่ากบั 1: 100 ฉีดพ่นทกุ ๆ 3-5 วนั และฉดี
ต่อเน่ืองอย่างน้อย 3 ครั้ง ขึ้นอยู่กับการระบาดของหนอนและเพลี้ย ควรฉีดพ่นช่วงตัวอ่อน
หรอื ช่วงท่ีเพล้ียยงั ไม่เกดิ แป้ง

19

2) ใส่สารจับใบ เช่น น้ายาล้างจาน 10 มิลลิลิตร ลงในสารควบคุมแมลงศัตรพู ชื
10 ลิตร

3) พชื ไร่ พชื ผกั และไมด้ อก ฉดี พ่นสารควบคมุ แมลงศัตรูพชื ท่ีเจือจางแลว้ อตั รา 50
ลิตรต่อไร่

4) ไม้ผล ฉีดพ่นสารควบคุมแมลงศัตรพู ืชท่ีเจือจางแล้วอัตรา 100 ลิตรต่อไร่ ฉีด
พน่ ทใ่ี บ ลาตน้ หรือบริเวณท่ีมหี นอนหรอื เพล้ียอาศัยอยู่

จุลนิ ทรยี ์ควบคมุ โรคพชื

จุลนิ ทรียค์ วบคุมเช้อื สำเหตโุ รคพืช โดยใช้สำรเรง่ ซปุ เปอร์ พด.3

สารเรง่ ซปุ เปอร์ พด.3 เป็นกลุม่ จลุ นิ ทรียท์ ี่ควบคมุ เช้อื สาเหตุโรคพืช
ในดินมีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถทาลายหรือยับยั้งการเจริญของ
เชื้อจุลินทรีย์ในดินในสภาพน้าขังที่เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการรากเน่าหรือ
โคนเน่า ประกอบด้วย เชื้อราไตรโคเดอร์มา (Trichoderma sp.) และเช้ือ
แบคทเี รียบาซิลลัส (Bacillus sp.)

 วัสดุสำหรบั ขยำยเชื้อ

ปุ๋ยหมัก 100 กโิ ลกรัม

สารเรง่ ซปุ เปอร์ พด.3 1 ซอง ราละเอยี ด 1 กิโลกรมั น้า 5 ลิตร

 วิธกี ำรขยำยเชื้อซุปเปอร์ พด.3
1. คลกุ เคลา้ ส่วนผสมให้เขา้ กัน
2. ตัง้ กองในทรี่ ่วม อากาศถา่ ยเทสะดวก
3. คลุมกองปุ๋ยเพ่ือรกั ษาความชนื้ เปน็ เวลา 7 วัน
4. นาไปใชใ้ นแปลงอัตรา 1 กิโลกรัมต่อไร่

20

กำรดูแลรักษำ
รักษาความช้ืนของกองปุ๋ยหมักให้สม่าเสมอโดยใช้
วัสดุคลุม หลังจากขยายเชื้อเป็นเวลา 7 วัน เชื้อจุลินทรีย์จะ
เพิ่มปริมาณขึ้น สังเกตได้จากกลุ่มเส้นใยสีขาวและสปอร์
สเี ขยี วเจริญในกองปุ๋ยหมกั เปน็ จานวนมาก คลุกเคล้าปุ๋ยหมัก
ให้เข้ากนั นาไปเก็บไวใ้ นทร่ี ่ม
กำรใช้ประโยชน์
สามารถป้องกนั และควบคมุ การเจรญิ ของเชอ้ื สาเหตุโรครากเนา่ โคนเนา่ ในไมผ้ ล ไม้
ยืนตน้ เชน่ ทุเรียน มะละกอ กลว้ ย พืชไร่ เช่น สับปะรด มันสาปะหลัง ออ้ ย ข้าวโพด พชื ผกั
และไมด้ อกไม้ประดับ เชน่ พริก มะเขอื เทศ ผักกาด กะหลา่ ปลี โรคถอดฝักดาบของข้าว และ
โรคผลเน่าของผลสตรอเบอร์ร่ี
อตั รำและวิธกี ำรใช้
1) พืชไร่ พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ ใช้อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ระหว่างแถว
กอ่ นปลกู
2) ไมผ้ ล และไมย้ ืนตน้ ใช้อตั รา 3-6 กิโลกรมั ตอ่ ต้น ใสร่ องก้นหลุม หรือรอบทรงพ่มุ
3) แปลงเพาะกล้า ใช้อัตรา 1-2 กิโลกรัมต่อพ้ืนที่ 10 ตารางเมตร โรยให้ทั่วแปลง
เพาะกลา้

พด.14 ไตรโคเดอร์มำ ผงละลำยนำ้ Trichoderma harzianum

เชื้อรำไตรโคเดอร์มำ เป็นเชื้อราท่ีอาศัยอยู่ในดิน โดยใช้เศษซากพืช ซากสัตว์ และ
อินทรียวตั ถเุ ปน็ แหลง่ อาหาร

พด.14 เป็นผลิตภัณฑ์แบบผงละลายน้าพร้อมใช้ ไม่ต้องขยายเชื้อ มีประสิทธิภาพใน
การยบั ยงั้ โรคของพืชเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ ไม้ผล พืชผัก และขา้ ว เก็บรกั ษาไดน้ าน 1 ปี

 วิธกี ำรใช้
ละลาย พด. 14 จานวน 1 ซอง (25 กรมั ) ต่อน้า 250 ลติ ร หรอื 5 กรมั (1 ชอ้ นตวง)

ต่อนา้ 50 ลติ ร
 อัตรำกำรใช้ พด.14 ไตรโคเดอร์มำ
พด.14 ไตรโคเดอร์มา แบบผงละลายนา้

1 ซอง : น้า 250 ลิตร หรือ 5 กรัม (1 ช้อนตวง) ต่อ
นา้ 50 ลิตร ใช้ 50 ลิตรต่อไร่

21

อัตรำและวธิ กี ำรใช้
1) พชื ผัก พชื ไร่ และขา้ ว : ฉีดพน่ ทุก ๆ 10 วนั ติดต่อกัน 2-3 ครง้ั
2) ไมผ้ ลและไม้ยืนตน้ : ฉดี พ่นท่บี รเิ วณแผลท่ตี ้นหรือโคนตน้ ทกุ ๆ 10 วนั ตดิ ต่อกัน
2-3 ครง้ั หรือจนแผลแหง้
ประโยชน์ของ พด.14 ไตรโคเดอรม์ ำ ผงละลำยนำ้ Trichoderma harzianum
1. สามารถยับยง้ั เชือ้ สาเหตโุ รคพชื ไดห้ ลายชนิด ไดแ้ ก่

- โรครากเน่าโคนเน่า ในทุเรียน ยางพารา ลาไย (Phytophthora palmivora)
- โรคใบจุดในขา้ ว (Cercospora oryzae)
- โรคใบร่วงและแอนแทคโนสในพรกิ (Colletotrichum gloeosporiodes)
- โรคใบจุด ในพืชผกั (Alternaria spp.)
- โรคเน่าคอดนิ ในผัก (Pythium spp.)
- โรคเน่าคอดนิ ในพชื ผัก (Sclerotium sp.)
- โรคเหยี่ วเหลอื งในพริก มะเขอื เทศ (Fusarium oxysporum)
- โรคเน่าเละในผัก (Erwinia carotovora)
2. ลดอาการของโรครากเนา่ โคนเน่าได้
3. ลดการใช้สารเคมที างการเกษตร
4. ปลอดภยั ต่อผลผลติ เกษตรกร และสง่ิ แวดลอ้ ม


Click to View FlipBook Version