The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by classic_prathai, 2021-11-08 02:11:01

ประวัติกฐิน

ประวัติกฐิน

กฐนิ

กฐินเปน็ ประเพณีที่อยู่คูก่ บั พุทธศาสนกิ ชนไทยมาชา้ นานตงั้ แต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐนิ
ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยนน้ั จัดเปน็ พระราชพธิ ีทส่ี าคญั มาต้ังแตโ่ บราณ

กฐิน (บาลี: ก น) เป็นศัพท์ในพระวนิ ัยปฎิ กเถรวาท เปน็ ช่ือเรยี กผา้ ไตรจวี รท่ีพระพุทธเจา้ ทรงอนุญาต
ให้ภิกษผุ ู้อยจู่ าพรรษาครบ 3 เดอื นแล้ว สามารถรบั มานุ่งห่มได้ โดยคาวา่ การทอดกฐิน หรอื การกรานกฐนิ จดั
เป็นสังฆกรรมประเภทหนึง่ ตามพระวนิ ัยบญั ญัติเถรวาทที่มีกาหนดเวลา คอื พระสงฆส์ ามารถกระทาสังฆกรรมนี้
ได้นับแตว่ นั แรม 1 คา่ เดอื น 11 ไปจนถึงวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 12 เท่านน้ั โดยมีวตั ถุประสงคส์ าคัญคือสรา้ ง
ความสามคั คใี นหมู่คณะสงฆ์ และอนเุ คราะหภ์ ิกษผุ ทู้ รงคณุ ท่มี จี วี รชารุด1 ดังนน้ั กฐินจงึ จัดเป็นเร่ือง
เกย่ี วกบั สงั ฆกรรมของพระสงฆ์โดยจาเพาะ ซ่งึ นอกจากในพระวนิ ยั ฝา่ ยเถรวาทแลว้ กฐินยงั มใี นฝ่ายมหายาน
บางนกิ ายอีกดว้ ย แตจ่ ะมขี ้อกาหนดแตกตา่ งจากพระวนิ ยั เถรวาท

การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนามากรานกฐนิ ตามพระวนิ ยั บัญญัตขิ องเถรวาทนี้ พระพทุ ธองคไ์ มท่ รง
หา้ มการรบั ผา้ จากผู้ศรทั ธาเพื่อนามากรานกฐนิ ด้วยเหตผุ ลดงั กลา่ วจงึ ทาให้เกดิ ทานพธิ ีการถวายผา้ กฐิน หรือ
การทอดกฐนิ ของพุทธศาสนิกชนข้ึน และดว้ ยการที่การถวายผา้ กฐินนน้ั จดั เปน็ สังฆทาน คือถวายแกค่ ณะสงฆ์
โดยไมเ่ จาะจงภิกษรุ ูปใดรปู หน่ึง เพื่อใหค้ ณะสงฆ์นาผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษรุ ปู ใดรูปหนงึ่ ตามที่คณะสงฆ์
ลงมติ (ญตั ติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ทม่ี ีกาหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆว์ ัดหน่งึ ๆ สามารถรบั
ไดค้ ร้งั เดียวในรอบปี จึงทาให้ประเพณกี ารทอดกฐนิ เปน็ บุญประเพณนี ิยมทส่ี าคัญของพุทธศาสนกิ ชนโดยทัว่ ไป
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย

ประเพณีการทอดกฐนิ ของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีท้งั พธิ ีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการ
ถวายผ้าพระกฐนิ ของพระมหากษตั ริยจ์ ัดเปน็ พระราชพธิ ที ี่สาคัญประจาปี ในปจั จุบนั ถวายผา้ กฐินในแง่การ
สนับสนุนผ้าไตรจีวรเพ่อื ใชใ้ นสงั ฆกรรมสาคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสาคัญลงไป แต่กลับให้ความสาคัญ
กับบริวารของกฐนิ ทานแทน เชน่ เงนิ หรอื วตั ถสุ ง่ิ ของ เพื่อนาสิง่ เหลา่ นม้ี าพฒั นาถาวรวัตถุและทานุบารุง
พระพทุ ธศาสนา ซ่ึงจัดเป็นสงั ฆทานอย่างหน่งึ เช่นเดยี วกนั

กฐนิ มีกาหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผา้ ชนดิ อืน่ มิได้ ระยะเวลาน้นั มเี พียง 1 เดอื น คือ
ต้งั แตว่ ันแรม 1 ค่า เดือน 11 ไปจนถงึ วันขนึ้ 15 คา่ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรยี กว่า กฐิน
กาล คอื ระยะเวลา ทอดกฐนิ หรือ เทศกาลทอดกฐิน

ความหมายของกฐนิ

กฐิน เป็นศัพทบ์ าลี แปลตามศพั ทว์ า่ ไมส้ ะดงึ คือ "กรอบไม้" หรอื "ไม้แบบ" สาหรับขงึ ผา้ ทจ่ี ะเยบ็ เป็น
จีวรในสมยั โบราณ ซ่งึ ผ้าทเ่ี ย็บสาเรจ็ จากกฐนิ หรอื ไมส้ ะดึงแบบน้เี รียกว่า ผา้ กฐิน (ผ้าเย็บจากไม้แบบ)

กฐนิ อาจจาแนกตามความหมายเพ่ือความเขา้ ใจงา่ ยไดด้ ังน้ี

1. กฐนิ เปน็ ช่ือของกรอบไมแ้ ม่แบบ (สะดึง) สาหรบั ทาจีวร ดังกล่าวข้างต้น
2. กฐิน เปน็ ช่อื ของผา้ ที่ถวายแก่พระสงฆเ์ พ่ือกรานกฐิน (โดยไดม้ าจากการใชไ้ ม้แมแ่ บบขึงเย็บ)
3. กฐนิ เปน็ ชอ่ื ของงานบุญประเพณีถวายผ้าไตรจีวรแก่พระสงฆเ์ พ่ือกรานกฐนิ
4. กฐิน เป็นช่ือของสังฆกรรมการกรานกฐนิ ของพระสงฆ์
ความสาคัญพเิ ศษแตกต่างจากทานอย่างอ่ืน

การถวายกฐนิ น้นั มีข้อจากดั หลายอยา่ ง ซงึ่ ทาใหก้ ารถวายกฐินมคี วามความพเิ ศษแตกตา่ งจากทานอย่าง
อนื่ ดังน้ี มีไกว

1. จากัดประเภททาน คือ ตอ้ งถวายเปน็ สงั ฆทานเทา่ นัน้ จะถวายเฉพาะเจาะจงภิกษุรปู ใดรูปหนง่ึ เหมือน
ทานอย่างอืน่ ไมไ่ ด้

2. จากดั เวลา คือกฐนิ เป็นกาลทานอย่างหนึ่ง (ตามพระบรมพุทธานุญาต) ดังนน้ั จงึ จากัดเวลาวา่ ต้องถวาย
ภายในระยะเวลา 1 เดือน นับแต่วนั ออกพรรษา เปน็ ต้นไป

3. จากดั งาน คือ พระภิกษุทีก่ รานกฐนิ ตอ้ งตัด เยบ็ ย้อม และครองใหเ้ สร็จภายในวันที่กรานกฐนิ
4. จากัดไทยธรรม คือ ผ้าท่ีถวายตอ้ งถูกต้องตามลักษณะที่พระวนิ ัยกาหนดไว้
5. จากดั ผ้รู ับ คอื พระภกิ ษุผรู้ ับกฐนิ ตอ้ งเป็นผ้ทู ่จี าพรรษาในวัดน้ันโดยไม่ขาดพรรษา และจานวนไมน่ ้อย

กวา่ 5 รูป
6. จากัดคราว คือ วดั ๆ หน่งึ รับกฐนิ ไดเ้ พียงปลี ะ 1 ครั้งเทา่ น้ัน
7. เป็นพระบรมพุทธานุญาต ทานอยา่ งอ่นื ทายกทลู ขอให้พระสมั มาสัมพุทธเจ้าทรงอนญุ าต เช่น มหา

อุบาสิกาวสิ าขาทูลขออนุญาตผา้ อาบน้าฝน แต่ผา้ กฐินน้ีพระองค์ทรงอนญุ าตเอง นับเปน็ พระประสงค์
โดยตรง

ความเป็นมาของกฐนิ

ภิกษชุ าวเมืองปาไฐยรัฐ 30 รูป ไดเ้ ดินทางเพื่อมาเข้าเฝา้ พระพุทธเจา้ ณ วดั เชตวันมหาวหิ าร เมืองสาวัต
ถี แต่ยังไม่ทันถึงเมืองสาวตั ถี ก็ถึงวนั เขา้ พรรษาเสียกอ่ น พระสงฆท์ ง้ั 30 รปู จงึ ตอ้ งจาพรรษา ณ เมอื งสาเกตุ
ในระหว่างทาง พอออกพรรษาแลว้ ภิกษเุ หล่านั้นจึงได้ออกเดินทางมาเข้าเฝา้ พระศาสดาด้วยความยากลาบาก
เพราะฝนยังตกชกุ อยู่ เมื่อเดินทางถึงวดั พระเชตวนั พระพุทธเจา้ ได้ตรัสถามถึงความเปน็ อยู่และการเดนิ ทาง
เมอ่ื ทราบความลาบากน้นั จงึ ทรงอนญุ าตให้ภกิ ษุผจู้ าพรรษาครบถว้ นไตรมาสสามารถรับผ้ากฐนิ ได้ และภกิ ษผุ ู้
ได้กรานกฐนิ ได้อานิสงส์ 5 ประการ ภายในเวลาอานสิ งส์กฐิน (นบั จากวนั ทรี่ บั กฐินจนถึงวันขน้ึ 15 ค่าเดือน 4)
คือ

1. ไปไหนไมต่ ้องบอกลา
2. ไมต่ ้องถือไตรจีวรไปครบสารับสามผนื 2
3. ฉันคณโภชนะได้ (รับนิมนต์ทเ่ี ขานมิ นต์โดยออกชื่อโภชนะฉันได้) 3
4. เก็บอดิเรกจีวรไว้ได้โดยที่ยังมิได้วิกปั ป์ และอธษิ ฐาน โดยไม่ตอ้ งอาบัติ
5. จีวรลาภอันเกดิ ขนึ้ จักไดแ้ ก่ภิกษผุ ไู้ ด้กรานกฐนิ แล้ว

การถอื ปฏิบัติประเพณกี ารบาเพญ็ กุศลเน่ืองในเทศกาลกฐินในประเทศไทย

สนั นษิ ฐานวา่ เรม่ิ มีมาแตแ่ รกท่ีรับพระพุทธศาสนาเถรวาทเขา้ มาในดินแดนประเทศไทย ซ่งึ อาจมปี ฏิบัติ
ประเพณนี ี้มาต้ังแต่สมัยทวาราวดี แตม่ าปรากฏหลักฐานชดั เจนว่าชาวไทยไดถ้ ือปฏบิ ัติในการบาเพ็ญกศุ ลใน
เทศกาลกฐินในสมัยกรงุ สุโขทัยเปน็ ราชธานี ดังปรากฏความในศลิ าจารกึ หลักที่ 1 (ด้านท่ี 2) ดงั นี้

คนในเมืองสโุ ขทยั น้ี มักทาน มกั ทรงศีล มันโอยทาน พ่อขนุ รามคาแหงเจ้าเมืองสโุ ขทยั น้ี ทงั ชาวแม่ชาว
เจ้า ท่วยปัว่ ท่วยนาง ลกู เจา้ ลกู ขุน ท้ังสิน้ ทังหลายทงั ผ้ชู ายผู้หญิง ฝงู ท่วยมีศรทั ธาในพระพุทธศาสนา ทรง
ศลี เมือ่ พรรษาทกุ คน เมอ่ื โอกพรรษากรานกฐนิ เดือนแล้ว เมอ่ื กรานกฐิน มพี นมเบย้ี มีพนมหมาก มีพนม
ดอกไม้ มหี มอนน่ังหมอนโนน บรพิ ารกฐิน โอยทานแล่ปีแล้ญบิ ล้าน ไปสูดญัตกฐนิ เถงิ อไรญกิ พูน้ เมื่อจัก
เขา้ มาเวียง เรยี งกันแต่อไรญิกพนู้ เท้าหวั ลาน ดมบงั คมกลองดว้ ยเสียงพาทย์เสียงพิณ เสียงเล้ือนเสยี งขับ
ใครจกั มักเล่น เล่น ใครจกั มักหัว หัว ใครจกั มักเลอ้ื น เล้อื น เมืองสโุ ขทยั นี้มีสี่ปากตหู ลวง เทีย้ รย่อมคนเสยี ด
กัน เข้ามาดูทา่ นเผาเทียนท่านเลน่ ไฟ เมืองสโุ ขทยั นี้มีดั่งจกั แตก ...

คาอ่านศลิ าจารึกพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ดา้ นที่ ๒

ในศิลาจารึกดงั กลา่ ว ปรากฏทั้งคาว่า กรานกฐนิ , บรวิ ารกฐิน (บริพานกฐิน), สวดญัตตกิ ฐิน (สดู ญตั
กฐิน) ซ่งึ คาดังกล่าวกย็ งั คงใช้สืบมาจนถงึ ปจั จุบัน แสดงให้เห็นว่า เทศกาลทอดกฐนิ มีคกู่ ับสงั คมไทยทง้ั สถาบนั
พระมหากษัตริย์และประชาชนมาช้านาน ดังปรากฏว่าชาวพทุ ธในประเทศไทยให้ความสาคัญกบั งานทอดกฐิน
ที่จัดในวัดต่าง ๆ มาก โดยถอื วา่ เป็นงานบญุ สาคัญทส่ี ุดงานหนึง่ ในรอบปี บางวัดที่มีผู้ศรัทธามาก อาจมีผจู้ อง
เปน็ เจา้ ภาพทอดกฐินลว่ งหนา้ ยาวเปน็ สบิ ๆ ปี ซง่ึ แสดงให้เห็นถงึ ความศรัทธาของชาวพุทธในประเทศไทยทไ่ี ด้
รว่ มใจกันสืบทอดประเพณีน้ีมาจนปัจจุบัน

ชนดิ ของกฐินในประเทศไทย

ตามพระวนิ ยั แล้ว ไมไ่ ด้จาแนกการทอดกฐนิ (การถวายผา้ กฐนิ แก่พระสงฆ์) ออกเปน็ ชนิด ๆ ไว้แตอ่ ย่าง
ใด คงกลา่ วแตเ่ พยี งในสว่ นการทาหรอื รบั ผา้ มากรานกฐินของพระสงฆเ์ ทา่ นั้น แตห่ ากพิจารณาจากประเพณที ่ี
นิยมปฏบิ ตั ิในปจั จบุ ัน คงพอจาแนกชนดิ ของการทอดกฐินได้เปน็ สองคือ

1.จุลกฐนิ คือ คาเรยี กการทอดกฐินที่ตอ้ งทาด้วยความรบี ด่วน โดยต้องอาศยั ความสามัคคีของผศู้ รัทธา
จานวนมาก เพื่อผลติ ผ้าไตรจีวรให้สาเรจ็ ด้วยมือภายในวันเดยี ว กลา่ วคือ ตอ้ งเร่ิมตง้ั แตเ่ ก็บฝ้าย ตัดเยบ็ ย้อม
และถวายให้พระสงฆ์กรานกฐนิ ให้เสรจ็ ภายในเวลาเช้าวันหนง่ึ จนถงึ ย่าร่งุ ของอีกวันหนง่ึ ดังนัน้ โบราณจึงนบั ถือ
กันวา่ การทาจุลกฐนิ มีอานสิ งสม์ าก เพราะต้องใช้ความอุตสาหะพยายามมากกวา่ กฐนิ แบบธรรมดา (มหากฐิน)
ภายในระยะเวลาอนั จากดั โดยจุลกฐินน้ปี จั จุบันมักจดั เปน็ งานใหญ่ มีผเู้ ขา้ ร่วมเปน็ จานวนมาก

ประเพณีการทอดจุลกฐินน้ีเปน็ ประเพณีท่ีพบเฉพาะในประเทศไทยและลาว ไมป่ รากฏประเพณกี าร
ทอดกฐนิ ชนิดน้ีในประเทศพุทธเถรวาทประเทศอ่ืน สาหรบั ประเทศไทย มีหลักฐานว่ามกี ารทอดจลุ กฐนิ มาแล้ว
ตง้ั แต่สมัยอยธุ ยา ดังปรากฏในหนังสือคาให้การชาวกรงุ เก่า หนา้ 268 วา่ "ถึงวันข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๑๒) โปรด
ให้ทาจลุ กฐิน" ปัจจุบนั ประเพณกี ารทาจุลกฐินนิยมทากันเฉพาะชมุ ชนทางภาคเหนือและอสี านเท่าน้ัน โดย
อสี านจะเรยี กกฐินชนิดนี้ว่า "กฐินแล่น" (จุลกฐินไมใ่ ช่ศัพท์ท่ีปรากฏในพระวนิ ยั ปฎิ ก)

กฐนิ พระราชทานที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานใหบ้ ุคคลและหนว่ ยงานรบั พระราชทานไปถวาย
ยงั พระอารามต่าง ๆ

เคา้ มูลของการทาจวี รใหเ้ สรจ็ ในวันเดียว ปรากฏหลักฐานในคัมภีร์อรรถกถา กล่าวถงึ เร่ืองท่ี
พระพุทธเจ้ารับสง่ั ในคณะสงฆใ์ นวดั พระเชตวนั ร่วมมือกันทาผา้ ไตรจีวรเพื่อถวายแกพ่ ระอนรุ ทุ ธะผ้มู ีจวี รเกา่ ใช้
การเกือบไม่ได้แล้ว โดยในคร้ังน้นั เปน็ งานใหญ่ ซึ่งพระพทุ ธเจ้าเสดจ็ มาทรงชว่ ยการทาไตรจีวรดว้ ย โดยทรงรบั
หนา้ ทสี่ นเข็มในการทาจีวรครั้งนี้ดว้ ย[6]

สาเหตปุ ระการหน่งึ ทีม่ ีการทาจุลกฐิน เน่อื งมาจากกาหนดการกรานกฐนิ น้นั มรี ะยะเวลาจากดั และ
พระสงฆไ์ มส่ ามารถขวนขวายดาเนนิ การเพื่อให้ไดม้ าซงึ่ ผ้ากฐนิ เองได้ (เพราะจะทาใหก้ ฐนิ เดาะ (สงั ฆกรรมเสีย)
จึงอาจมีบางวัดที่ใกล้กาหนดหมดฤดูกฐนิ แตย่ งั ไมม่ ีผนู้ าผา้ กฐินมาถวาย) ทาให้ในสมัยก่อนเมื่อใกล้เดือน ๑๒
(หมดฤดูกฐนิ ) มกั จะมผี ู้ศรัทธาตระเวนไปตามวัดต่าง ๆ เม่ือเจอวดั ที่ยงั ไม่ได้รับถวายผ้ากฐิน จึงต้องเร่งรีบ
ขวนขวายจดั การทาผ้ากฐนิ ให้เสรจ็ ทันฤดกู ฐินหมด ซงึ่ บางครัง้ อาจเหลือเวลาแคว่ ันเดียว จึงตอ้ งอาศยั ความ
ร่วมมือของคนทัง้ ชมุ ชน ในการรว่ มกนั จดั ทาผ้าไตรจีวรให้สาเร็จก่อนหมดฤดูกฐิน (เพราะสมยั กอ่ นไมม่ ีผา้ ไตร
จีวรสาเร็จรปู สาหรบั ขาย) การรว่ มมือกนั จดั ทาจุลกฐินดังกล่าวจงึ ถือได้วา่ เป็นเครื่องมือสรา้ งความสามัคคขี อง
คนในชุมชนไดเ้ ป็นอยา่ งดี

มหากฐิน

มหากฐนิ เปน็ ศัพทท์ ี่เรียกเพื่อหมายความถึงการทอดกฐนิ ทมี่ ีบริวารกฐนิ มาก ไม่ต้องทาโดยเร่งรีบ
เหมอื นจุลกฐนิ มหากฐินคือกฐินทท่ี อดถวายตามวัดตา่ ง ๆ ในประเทศไทยในปัจจบุ นั ทีจ่ ะมกี ารรวบรวม
จตปุ จั จัยไทยธรรมและส่ิงของตา่ ง ๆ เพ่ือนาไปเปน็ เคร่อื งประกอบในงานกฐนิ ถวายแก่พระสงฆ์ เพ่ือนาไปทานุ
บารงุ พระพุทธศาสนาต่อไป (มหากฐินไม่ใชศ่ พั ทท์ ป่ี รากฏในพระวนิ ัยปิฎก) โดยมหากฐินนนั้ อาจเปน็ กฐนิ ที่มี
เจา้ ภาพเพยี งคนเดยี วหรือกฐินสามคั คีกไ็ ด้

การทอดกฐนิ ในประเทศไทย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวเสด็จพระราชดาเนินถวายผ้าพระกฐิน โดยกระบวนพยหุ ยาตราชลมารค ณ วัด
อรณุ ราชวราราม

กฐินหลวง

กฐินหลวง เป็นผ้าพระกฐนิ พระราชทานที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดาเนินไป
พระราชทานด้วยพระองคเ์ อง หรอื โปรดเกลา้ ให้พระบรมวงศานุวงศช์ ัน้ ผใู้ หญ่เสด็จไปพระราชทานแทน กฐนิ
หลวงนจ้ี ัดเครอื่ งพระราชทานดว้ ยพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ และบางคร้ังมีการจัดพิธแี ห่เคร่ืองกฐิน
พระราชทานอย่างใหญ่ โดยกระบวนพยุหยาตราชลมารค หรอื กระบวนพยหุ ยาตราสถลมารถ แล้วแตพ่ ระราช
ประสงค์ (ในปัจจบุ นั คงการเสด็จพระราชดาเนนิ ทรงถวายผ้าพระกฐินอยา่ งพิธีใหญ่นัน้ คงเหลอื เพียงโดย
กระบวนพยุหยาตราชลมารคเทา่ นนั้ )

กฐินหลวงในปจั จุบันมีเพยี ง 16 วดั เท่านน้ั ไดแ้ ก่ ในกรุงเทพมหานคร

• วดั มหาธาตยุ ุวราชรงั สฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
• วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวหิ าร
• วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ าร
• วัดสุทศั น์เทพวรารามราชวรมหาวิหาร
• วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร
• วัดราชประดิษฐสถติ มหาสีมารามราชวรวหิ าร
• วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
• วัดบวรนเิ วศราชวรวหิ าร
• วดั ราชาธวิ าสราชวรวหิ าร
• วดั เบญจมบพติ รดสุ ิตวนารามราชวรวิหาร
• วดั มกุฏกษตั ริยารามราชวรวิหาร

• วดั เทพศิรินทราวาส ราชวรวหิ าร
ต่างจงั หวัด

• วดั พระปฐมเจดีย์
• วดั สุวรรณดาราราม
• วัดนิเวศธรรมประวัติ
• วัดพระศรีรตั นมหาธาตวุ รมหาวหิ าร (พิษณโุ ลก)

กฐินต้น เป็นผ้าพระกฐินพระราชทานท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว เสด็จพระราชดาเนินไป
พระราชทานยังวัดราษฎร์เปน็ การสว่ นพระองค์
กฐนิ พระราชทาน

กฐินพระราชทาน เป็นผา้ พระกฐนิ พระราชทานทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรด
เกลา้ ฯ พระราชทานผา้ พระกฐนิ และเครือ่ งกฐินแก่พระบรมวงศานวุ งศ์ ขา้ ราชบริพาร สว่ นราชการ หน่วยงาน
สมาคม หรอื เอกชน ให้ไปทอดยังพระอารามหลวงตา่ ง ๆ ท่ัวราชอาณาจักร (ในปัจจบุ ันกรมการศาสนา
รบั ผดิ ชอบจดั ผ้าพระกฐินและเครอ่ื งกฐนิ ถวาย)

กฐินพระราชทานกองทัพเรือ กองทัพเรือถือเปน็ นโยบายที่จะขอรบั พระราชทานผ้าพระกฐินไปถวาย
ณ พระอารามหลวงท่ีตงั้ อยู่ใกลก้ องทัพเรือทกุ ปี และได้ดาเนินการมาตั้งแตป่ พี ุทธศักราช ๒๕๐๐ เป็นตน้ มา
กฐนิ ราษฎร์

ในปัจจบุ ัน การถวายผ้ากฐินโดยทวั่ ไปในประเทศไทยไดใ้ ห้ความสาคญั กับ "บริวารกฐิน" มากกว่าผ้ากฐินซึ่งเปน็
สว่ นสาคัญทีส่ ุดในการกรานกฐิน

กฐินราษฎร์ คือกฐินทร่ี าษฏรหรอื ประชาชนทัว่ ไปท่ีมีจติ ศรัทธาจัดถวายผา้ กฐนิ และเครื่องกฐนิ ไปถวาย
ยังวัดราษฎรต์ ่าง ๆ โดยอาจแบง่ ออกเปน็ จลุ กฐนิ และมหากฐนิ (กฐินสามัคค)ี ในปจั จุบันกฐนิ ราษฎร์ หรือเรียก

กันโดยทั่วไปวา่ กฐินสามคั คี ผู้เปน็ ประธานหรอื เจา้ ภาพในการทอดกฐนิ จะใหค้ วามสาคัญกับการรวบรวม
(เรี่ยไร) เงนิ และสงิ่ ของเพอื่ เข้าประกอบเป็นบริวารกฐนิ มากกวา่ เพราะวดั สามารถนาส่ิงเหล่านไ้ี ปใช้ประโยชน์
ทานุบารงุ พระพุทธศาสนาได้ และเนอื่ งจากการถวายผ้ากฐินเปน็ กาลทาน จงึ ทาใหป้ ระเพณกี ารทอดกฐนิ เป็น
งานสาคัญประจาปขี องวัดต่าง ๆ โดยท่ัวไปในประเทศไทย

คาถวายผา้ กฐินภาษาบาลี
บทปุพพภาคนมการ
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ สสฺ ” (๓ จบ)
กล่าวคาถวายผ้ากฐนิ
อิม ภนฺเต สปรวิ าร ก นทุสสฺ สงฆฺ สสฺ โอโณชยาม,
สาธุ โน ภนฺเต สงโฺ ฆ, อิม สปรวิ าร ก นทุสสฺ , ปฏิคฺคณหฺ าตุ,
ปฏิคฺคเหตวฺ า จ, อิมินา ทุสเฺ สน ก น อตถฺ รตุ, อมหฺ าก
ทีฆรตฺต หิตาย สุขาย
กล่าวคาแปล
ข้าแต่พระสงฆผ์ เู้ จรญิ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอน้อมถวายผ้ากฐินกบั ทั้งผา้ บรวิ ารนี้ แด่พระสงฆ์ ขอ
พระสงฆ์จงรับผ้ากฐิน กับท้งั บรวิ ารน้ี ของขา้ พเจา้ ท้ังหลาย คร้นั รบั แล้ว จงกรานกฐนิ ดว้ ยผ้านี้ เพ่อื
ประโยชน์เกื้อกลู เพ่ือความสุขแก่ขา้ พเจ้าทง้ั หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ


Click to View FlipBook Version