คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
รหัสวิชา ญ 30218 รายวชิ า ภาษาญี่ปนุ่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ
.....................................................................................................................................................................................................................................................
ศึกษาความรเู้ กยี่ วกับ คาแนะนา คาอธบิ าย ทฟ่ี ังและอ่าน อ่านออกเสยี งถูกต้องตามหลกั การอ่าน จบั ใจความสาคัญและตอบคาถามจากการฟงั และอ่านบท
สนทนา บทอ่านสัน้ ๆ และเรอ่ื งเล่าสนทนาและเขยี นโตต้ อบเก่ยี วกบั ตนเอง เรือ่ งใกล้ตัว สถานการณ์ในชีวิตประจาวนั ประสบการณ์ และสอื่ สารได้ เลือกและใช้คาขอร้อง
ให้คาแนะนา คาขออนญุ าตตามสถานการณอ์ ย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความตอ้ งการขอและใหค้ วามช่วยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลอื ใน
สถานการณต์ ่างๆ พูดและเขียนบรรยายแสดงความรู้สึกของตนเองเกย่ี วกับเรอ่ื งใกลต้ วั กิจกรรมและประสบการณ์ ใหข้ ้อมูลเกี่ยวกบั เทศกาล วันสาคัญ ของญป่ี นุ่
เห็นคุณคา่ ความสาคัญทางวัฒนธรรมประเพณีและความจาเปน็ ของการใชภ้ าษาใฝเ่ รยี นรู้ ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการค้นหาความรู้ มุง่ ม่ันในการทางาน มีวนิ ยั
มคี วามสอื่ สตั ย์สุจริต มีความรับผิดชอบ มีเหตผุ ล มีความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ใช้ภาษาสร้างความสมั พนั ธ์ รจู้ กั ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อนื่ สุภาพ มีมารยาทในการพดู
และฟังในสังคม มีจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณต์ ่างๆ กล้าแสดงออก มคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง มชี วี ิตอยอู่ ยา่ งพอเพยี งและรักความเป็นไทย
ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายเก่ียวกับเร่ืองทเ่ี ดือดร้อนหรือเรื่องที่รูส้ ึกแยไ่ ด้
2. กลา่ วขอโทษหรือ แสดงความเสยี ใจในความผดิ พลาดของตนเองได้
3. ใหค้ าแนะนาหรือเสนอความชว่ ยเหลอื เมอ่ื เหน็ ผู้อ่นื ทาผิดพลาดหรอื มีเรอื่ งเดือดร้อนได้
4. บอกเล่าข้อมลู และเรอ่ื งราวเก่ียวกับงานเทศกาลขนบธรรมเนยี มประเพณีวัฒนธรรม ความเช่อื และความเปน็ มาของสิ่งตา่ งๆได้
5.บอกเล่าเกี่ยวกับความทรงจาในวยั เดก็ เช่นพ่อแม่อบรมส่ังสอนหรือให้เรยี นเสรมิ ทกั ษะต่างๆอะไรบ้าง ได้
6. เข้าใจข้อมูลทีใ่ ช้ภาษาสุภาพพนื้ ฐานที่ใช้กนั ทวั่ ไปได้ รวมท้ังสามารถใชภ้ าษาสุภาพตามระดบั ของบุคคลได้อย่างเหมาะสม
7. กล่าวสนุ ทรพจน์แสดงความรู้สึกขอบคุณในโอกาสต่างๆเชน่ งานเล้ยี งอาลา ฯลฯ ดว้ ยคากลา่ วส้นั ๆระดับพืน้ ฐานได้
8. รู้และเขา้ ใจเกีย่ วกบั วฒั นธรรมญป่ี นุ่ (แผน่ ดนิ ไหว,เทศกาลของญ่ีปุน่ , お風呂,พิธีสาเรจ็ การศกึ ษา,)
รวม 8 ผลการเรยี นรู้
โครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้และการกำหนดนำ้ หนกั คะแนนการวดั และประเมิน
รายวชิ า ภาษาญี่ปุ่น 6 รหัสวชิ า ญ 30218 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
คะแนนตามช่วงเวลาการวัดและ
คะแนน ประเมินผล
จำนวนช่ัวโมง
หนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ้นำหนักคะแนนตามพสิ ัย
เรยี นรู้ กลางภาค
ปลายภาค
รวม
ระหว่างเรียน
K PAC K P A C K PK P
วันแหง่ ความ 1. อธบิ ายเกย่ี วกบั เรื่องทีเ่ ดือดรอ้ นหรือ ประโยคบอกความเดอื ดรอ้ นทีเ่ กดิ
วุ่นวาย เรอื่ งทร่ี ูส้ กึ แยไ่ ด้ ขน้ึ กับตนเอง โดยใชค้ ำกริยารปู
2. กลา่ วขอโทษหรือ แสดงความเสยี ใจใน ถกู กระทำ คำกล่าวขอโทษ
ความผดิ พลาดของตนเองได้ คำแนะนำและเสนอความ 15 25 10 10 3 2 5 5 3 2 5 5 0 25
3. ให้คาแนะนาหรือเสนอความช่วยเหลือ ชว่ ยเหลอื
เมื่อเห็นผู้อ่ืนทาผดิ พลาดหรอื มีเรือ่ ง
ขอ้ มลู แผน่ ดินไหวท่ีญป่ี นุ่
เดือดร้อนได้
เทศกาล บอกเล่าข้อมูลและเรื่องราวเกี่ยวกับงาน ประโยคบอกเล่าเก่ยี วกับเรือ่ งราว
เทศกาลขนบธรรมเนียมประเพณี งานเทศกาล โดยใช้คำกริยารปู ถูก
วฒั นธรรม ความเชื่อ และความเปน็ มา กระทำ 15 25 10 5 3 2 5 5 3 2 5 5 0 0 25
ของสง่ิ ต่างๆได้
ขอ้ มลู เกี่ยวกับงานเทศกาลของ
ญ่ปี ุ่น
คะแนน คะแนนตามช่วงเวลาการวดั และ
ตามพิสัย ประเมินผล
ระหวา่ งเรยี น
หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ จำนวนช่ัวโมง
เรียนรู้ ้นำหนักคะแนน
กลางภาค
ปลายภาค
รวม
K PAC K P A C K PK P
ความทรงจา บอกเลา่ เกย่ี วกบั ความทรงจาในวัยเด็ก คากริยารปู ให้กระทา 15 25 5 15 2 3 5 5 2 3 0 0 0 10 25
ในวยั เด็ก เช่นพอ่ แม่อบรมสั่งสอนหรอื ให้เรยี นเสรมิ ประโยคบอกเลา่ เกี่ยวกบั ความ
ทักษะต่างๆอะไรบ้าง ได้ ทรงจาในวยั เด็ก
ขอ้ มลู เก่ียวกบั โอะฟโุ ระ
งานเลีย้ ง 1. เข้าใจขอ้ มูลท่ใี ช้ภาษาสุภาพพื้นฐานที่ ภาษาสภุ าพ คำกรยิ ารปู ยกยอ่ ง
อาลา ใช้กนั ท่วั ไปได้ รวมท้ังสามารถใชภ้ าษา รูปถอ่ มตัว
สุภาพตามระดับของบุคคลได้อยา่ ง ข้อมูลเกีย่ วกบั พิธีสำเร็จการศึกษา
เหมาะสม
2. สามารถกล่าวสุนทรพจนแ์ สดง 15 25 15 10 3 2 5 5 2 3 0 0 0 10 25
ความร้สู กึ ขอบคุณในโอกาสต่างๆเชน่ งาน
เลย้ี งอาลา ฯลฯ ด้วยคากล่าวสั้น ๆ
ระดับพืน้ ฐานได้
รวม 60 1 2.0 20 10 10 10 10 0 20
0 10 60 20 20
100 40 40 100