The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

The Exhibition Smart Digital Education for All

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanatip.l, 2019-12-15 11:03:42

The Exhibition Smart Digital Education for All

The Exhibition Smart Digital Education for All

สภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบันในยุคของข้อมูลข่าวสาร
เทคโนโลยีเป็นส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษา
ตลาดแรงงาน อาชีพใหม่เกิดขึ้น อาชีพเก่าบางอาชีพจะลดความสาคัญลง
ปริมาณความรู้มีอัตราการเติบโตสูง ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ส่งผลให้เกิด
แนวโน้มที่ชัดเจนเก่ียวกับความจาเป็นของกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ซ่ึงรูปแบบการศึกษาแบบเก่าอาจไม่สามารถรองรับการสร้างอาชีพให้กับคน
รุ่นใหม่ตลอดชีวิตได้อีกต่อไป ผู้ประกอบอาชีพต้องปรับตัวและพร้อมเรียนรู้
ใหม่อยู่เสมอ อุตสาหกรรมต้องพฒั นาทกั ษะของลูกจ้างให้เหมาะสม รูปแบบ
การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับยุคข้อมูลข่าวสารคือ รูปแบบที่สามารถนา
เทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ซึ่งมวลชนหมู่มากสามารถเรียนรู้ได้แต่ต้องเรียนรู้

1

อย่างเหมาะสมกับความสนใจและความสามารถของแต่ละบุคคลด้ว ย
ทาให้เกิดรูปแบบการเรียนรู้ใหม่ อาทิ หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดสาหรับ
มวลชน (MOOCs) หรือช่องทางการเรียนรู้อื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพ เสียง
วีดิทัศน์ ส่ือสงั คม เกม จึงนับเป็นโอกาสดีของคนรุ่นใหม่ในการเลอื กรูปแบบ
การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับตนเองได้ Platform ออนไลน์ ท่ีมีความนิยม
มีตัวอย่างที่เป็นที่ประสบความสาเร็จ มีการใช้โดยแพร่หลายทั้งในและ
ต่างประเทศ มีความสอดคล้องกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ มีโอกาสสูงที่คน
รุ่นใหม่จะเข้าถึงได้ และมีแนวโน้มที่จะทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในการ
เรียนรู้ในอนาคตอันใกล้ ได้แก่ หลักสูตรออนไลน์แบบเปิด Massive Open
Online Courses (MOOCs) สื่อวีดิทัศน์ (YouTube) เกมคอมพิวเตอร์

2

(Games) ส่ือสังคม (Social Media) สื่อทางเสียง (Audiobooks and
Podcasts)

ในยุคท่ีทุกสิ่งเข้าสู่โลกของดิจิทัล (Digital) ทั้งเร่ืองของแนวโน้ม
การตลาด สอ่ื สงั คมออนไลน์ เวบ็ ไซต์ แอพพลิเคช่นั บนสมารท์ โฟนหรือธุรกิจ
ไปจนถึงภาครัฐฯ สาหรับส่วนของการศึกษาเองก็มีการต่ืนตัวในการนา
เทคโนโลยีและสารสนเทศที่มากมายมาประยุกต์ใช้กับผู้เรียน เช่น นักเรียน
นิสิต หรือนักศึกษาเช่นกัน แนวโน้มการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนน้ีว่า
“การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (Changing
Education Paradigms, Ken Robinson, 2006)” โดยมีข้อมูลท่ีถูกตกผลึก
และพฒั นาออกมาในประเทศไทย โดยท่าน ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช (หนงั สอื วถิ ี

3

สร้างการเรียนรู้ครูเพ่ือศิษย์ในศตวรรษที่ 21) ท่ีตอกย้ากับสายวิชาการในแง่
ของแนวคิดที่ว่า สาระวิชาความรู้แม้จะมีความสาคัญ แต่ก็ยังไม่เพียงพอ
สาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 เพราะปัจจุบันการ
เรียนรู้สาระวิชา (Content หรือ Subject Matter) ส่วนมากจะเป็นการ
เรียนรู้จากผู้เรียน หรือนักศึกษา โดยการค้นคว้าเองผ่านสารสนเทศจานวน
มหาศาลบนโลกอินเทอร์เน็ตท่ีเป็นส่ือหลักที่แซงหน้าหนังสือ และตารา
ไปแล้ว การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 น้ี ครูหรืออาจารย์จะมีเพียง
บทบาทในเชิงการช่วยแนะนาและออกแบบกิจกรรม ไปจนถึงการสร้าง
เงื่อนไขท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของ
ตนเองได้ ในรูปแบบการศึกษา และนวัตกรรมการสอนก็มีหลากหลาย

4

รูปแบบแยกย่อยออกไปตามคุณลักษณะของผู้เรียนหรือนักศึกษา อาจจะ
สรุปได้ว่า ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 น้ัน จะต้องมีทักษะเหล่าน้ีอยู่ในเกณฑ์ที่
ต้องทาการวิเคราะห์ โลกของการศึกษาเองนั้นไม่ได้ติดอยู่กับรูปแบบเก่าๆ
เดิมๆ งานเอกสาร ผู้สอน หรืออาจารย์ในยุคน้ีต้องมีการเรียนรู้ และปรับตัว
ให้ทันผเู้ รียนในสว่ นของทกั ษะทั้ง 10 และเน้นท่ีจุดเด่นบนทกั ษะ 3 ข้ออย่าง
Critical thinking & Problem Solving Communications, Information
& Media Literacy Computing & ICT literacy การเปน็ ผู้สอนหรืออาจารย์
ไมใ่ ชแ่ ค่การสอนด้านเดียว ผ้สู อนจาเปน็ ตอ้ งเพิม่ ภาระของตวั เองในการสร้าง
Content ในส่ืออื่นๆ มากขึ้น เพ่ือเป็นช่องทางช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้เกิด
ความเข้าใจ และแก้ปัญหาด้วย เพราะผู้เรียนในศตวรรตที่ 21 หรือ

5

คน Gen Z นั้นแม้จะสามารถหาแหล่งความรู้ได้เองจากส่ือออนไลน์ต่างๆ
แต่เราจะทราบได้อย่างไรว่า ส่ือออนไลน์เหล่านั้นมันถูกต้อง และสร้างสรรค์
ดังนั้น ในภาวะของการเป็นอาจารย์ ผู้สอน หรือ “ครู” นั้นจาต้องสร้าง
แหล่งข้อมูลสารสนเทศให้มากข้ึนผ่านเทคโนโลยีเว็บไซต์ และส่ือสังคม
ออนไลน์ เพื่อประโยชน์ต่อผู้เรียนที่จะได้เข้าใจและทบทวน เพ่ือนาไป
ประยุกต์ใช้ แก้ปัญหา สาหรับการสร้างอนาคตของผู้เรยี นตอ่ ไป

ในยุคของการแข่งขันยุคดิจิทัล พบว่าในหลายๆ มหาวิทยาลัยเกิด
การแข่งขันสูงเพื่อดึงนักศึกษาเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยแนวโน้มที่จะ
เปล่ียนแปลงในอนาคตสร้างความสั่นคลอนให้มหาวิทยาลัย ที่จะต้องเข้าสู่
ระบบเลี้ยงตัวเองให้ได้ การมุ่งพัฒนาการบริหารจัดการให้มหาวิทยาลัยใน

6

หลักสูตรต่างๆ สามารถรับผู้เรียนได้ตามแผนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีผลงาน
นวัตกรรมหรอื งานสร้างสรรค์ และนาไปสู่การใช้ประโยชน์ตอ่ สังคมเพือ่ สร้าง
มูลค่าเชิงพาณชิ ย์นน้ั หากมหาวทิ ยาลัยไดว้ างกรอบทศิ ทางและสามารถตอบ
โจทย์ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยได้ น่ันคือตัวช้ีวัดความสาเร็จท่ีจะเกิดขื้น
และสร้างความมั่งคง ม่ังค่ัง และย่ังยืนให้กับมหาวิทยาลัยได้ คณะครุศาสตร์
อุตสหกรรมและเทคโนโลยี เล็งเห็นความสาคัญของการจัดการศึกษาและ
ยกระดับการศึกษาสู่การเปล่ียนแปลงในยุคดิจิทัล โดยได้เปิดเวทีสู่ Digital
Education for All ข้ึน มีกิจกรรมย่อยที่บ่งบอกและชี้อัตลักษณ์ของความ
เป็นครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ภายใต้นโยบาย “เรียนครุศาสตร์ เป็นได้
มากกว่าครู” ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมมากมาย อาทิ The Exhibition

7

“Digital Education for All” เป็นการนาเสนอผลงานเด่นของอาจารย์และ
นักศึกษา จัดแสดงสินค้าของบริษัทท่ีเกี่ยวข้องกับ Digital Education
กิจกรรม Pitching แสดงผลงานวิจัย/นวัตกรรมโดดเด่นของอาจารย์และ
นั ก ศึ ก ษ า กิ จ ก ร ร ม Show and Share ( Smart Classroom, Active
Learning ,Digital Learning Platform, AR/ VR Technology, STEM
Education) และกจิ กรรมอน่ื ๆ อกี มากมาย

8


Click to View FlipBook Version