The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานBody Shaming เลขที่ 7

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sudaratmoonsarn, 2022-03-11 05:57:16

โครงงานBody Shaming เลขที่ 7

โครงงานBody Shaming เลขที่ 7

การวจิ ารณ์รูปร่างผ้อู นื่
( Body Shaming )

จัดทาโดย

1. นางสาวบงกช เจตวนั ม.5/4 เลขที่ 6
2. นางสาวพรนภา ไชยทิพย์ ม.5/4 เลขท่ี 7
3. นางสาวภคพร พิลาโสภา ม.5/4 เลขท่ี 8
4. นางสาวศุภกานต์ โรมเมือง ม.5/4 เลขท่ี 9
5. นางสาวสุดารัตน์ มูลสาร ม.5/4 เลขที่ 10

เสนอ

นางวนิดา บุญพเิ ชฐวงศ์

คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาคน้ ควา้

การศึกษาน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า การสื่อสารและการนาเสนอ
(IS2) รหสั วชิ า I30202

โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำมธั ยมศกึ ษำอุดรธำนี



ชื่อเรื่อง การวจิ ารณ์รูปร่างผู้อื่น ( Body Shaming )

ผ้ศู ึกษาค้นคว้า 1. นางสาวบงกช เจตวนั เลขท่ี 6
2. นางสาวพรนภา ไชยทิพย์ เลขท่ี 7
3. นางสาวภคพร พลิ าโสภา เลขท่ี 8
4. นางสาวศุภกานต์ โรมเมือง เลขท่ี 9
5. นางสาวสุดารัตน์ มูลสาร เลขที่ 10

ระดบั การศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/4

ครูทปี่ รึกษา 1. นางวนิดา บุญพิเชฐวงศ์

2. นายธงชยั บุญพเิ ชฐวงศ์

รายวชิ า ส่ือสารและการนาเสนอ ( Independent Study : IS2 )

ช่ือโรงเรียน โรงเรียนสตรีราชินูทศิ ปี การศึกษาทคี่ ้นคว้า 2564

บทคัดย่อ
รายงานการศึกษาค้นคว้า เร่ือง Body Shaming
มีวตั ถุประสงค์เพอื่ สร้างความมน่ั ใจใหน้ กั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศ
วธิ ีการศึกษาค้นคว้ามดี งั นี้
กลุ่มตวั อยา่ งเป็นนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1-6
จานวน 100 คนไดม้ าโดย การสุ่มทาแบบสอบถาม เคร่ืองมือท่ีใชป้ ระกอบดว้ ยแบบสอบถาม
จานวน 2 ตอน ตอนท่ี1 เร่ืองสอบถามเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การถูก Body Shaming
ตอนท2ี่ เรื่องให้เล่าประสบการณ์ถูก Body Shaming
ซ่ึงวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิตหิ าค่าเฉลย่ี และ ร้อยละ ประเภทแผนภูมิแท่งและวงกลม



ผลการศึกษาผลว่า

นกั เรียนในโรงเรียนสตรีราชินูทิศส่วนใหญ่เคยตกเป็นเหยือ่ ของ Body Shaming ร้อยละ 93.2 และนกั เรียนท่ีไมเ่ คย
ตกเป็นเหยอ่ื ของ Body Shaming ร้อยละ 6.8 ซ่ึงส่วนใหญ่ตกเป็นเหยอื่ จากคนรอบขา้ งที่รู้จกั



กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานฉบบั นีส้ าเร็จและสมบูรณ์เป็ นรูปเล่ม ด้วยความกรุณาและเอาใจใส่เป็ นอย่างดีจาก
คุณครู วนิดา บุญพเิ ชฐวงศ์ คุณครูประจาวชิ า และ นายธงชัย บุญพเิ ชฐวงศ์ คุณครูปรึกษา ทไ่ี ด้
กรุณาให้คาปรึกษาและแนะแนวทางการดาเนินการทางรายงานในคร้ังนีโ้ ดยไม่มขี ้อบกพร่อง รวมท้งั
ข้อเสนอแนะและข้อคิดเหน็ ต่างๆ ตลอดท้งั การตรวจแก้ไขรายงานฉบบั นีใ้ ห้สาเร็จสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้
ทางคณะผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณ เป็ นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่านทไ่ี ด้ประสิทธ์ประสาทวชิ า ความรู้ และประสบการณ์ตลอดจน
อานวยความสาเร็จให้บงั เกดิ

สุดท้ายนีข้ อขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ทเี่ ป็ นกาลงั ใจและให้ความช่วยเหลอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
และให้คาแนะนาในการทารายงานคร้ังนีใ้ ห้สาเร็จลลุ ่วงด้วยดตี ลอดมา

นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/4
1 มกราคม พ.ศ. 2564

สารบญั

เรื่อง หน้า
บทคดั ย่อ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา
ทมี่ าและความสาคัญ 1
วตั ถุประสงค์ 2
สมมตฐิ าน
ระยะเวลาทใี่ ช้ 3
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง
บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า 8
วธิ ีการดาเนินการ
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ 13
ผลการดาเนินการ
บทท่ี 5 สรุปและอภิปรายผลการศึกษา 15
สรุปและอภิปรายผลการศึกษา 17
ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าคร้ังต่อไป 18
บรรณานุกรม 19
ประวตั ิผู้ศึกษา

1

บทท่ี 1

บทนา

ความเป็ นมาของปัญหา

Body Shaming คือ การวจิ ารณ์ ดูถูก ลอ้ เลียนรูปร่างหนา้ ตาภายนอกของคนอ่ืน ไมว่ า่ จะดว้ ยเจตนาขาขนั หรือดูถูก
จริงจงั แต่สิ่งท่ีคนฟังไดร้ ับมีแต่ความรู้สึกทางลบ รู้สึก อบั อาย และสูญเสียความมนั่ ใจ เพียงเพราะรูปร่างหนา้ ตาภายนอก ซ่ึง
ปัจจุบนั เราน่าจะเคยเห็นคาวา่ Body Shaming อยบู่ า้ งตามส่ือต่างๆ มกั จะใชเ้ พือ่ รณรงคไ์ ม่ใหม้ าตรฐานความสวยงามมีเพียง
หน่ึงเดียวตามโฆษณา
ในขณะเดียวกนั โลกความเป็ นจริงเรากย็ งั เห็นส่ิงเหล่าน้ีอยเู่ สมอไม่วา่ จะจากคาทกั ทาย มุกตลก คาลอ้ เลียน หลายๆ คร้ังการ
Body Shaming มาจากคนใกลต้ วั เองไมว่ า่ จะครอบครัว คุณครู หรือเพ่ือนๆ แต่ในขณะเดียวกนั การสร้างคา่ นิยมวา่ รูปร่าง
หนา้ ตาของคนอ่ืนเป็ นเรื่องตลกโปกฮาท่ีสามารถนามา “ลอ้ เลียนได”้ กป็ รากฏใหเ้ ราเห็นในสื่ออยเู่ นืองๆ
เช่น รายการโชวท์ ี่ลอ้ เลียนผิวพรรณของคนอ่ืน ลอ้ เลียนทรงผม เล่นมุกตลกกบั รูปร่าง การตื่นเตน้ เม่ือมีคู่รักที่คนหน่ึง
“หนา้ ตาดี” และอีกคน “ไม่ตรงมาตรฐาน” หรือที่ละครบางเร่ืองชอบให้ตวั เอกทาตวั สีเขม้ ดดั ผมหยกิ และติดไฝปลอมเพอ่ื
สื่อสารวา่ นี่คือ “อปั ลกั ษณ์”
ในปัจจุบนั น้ีคนไทยเร่ิมตระหนกั ถึงปัญหาน้ีและเร่ิมรณรงคเ์ กี่ยวกบั ปัญหา Body Shaming ทางผจู้ ดั ทาจึงไดเ้ ลือกหวั ขอ้ เพ่ือ
นามาศึกษาและพฒั นาโครงงาน

2

จุดมุ่งหมายของการศึกษา

1. ไดส้ ร้างความมน่ั ใจใหน้ กั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศ

2. นาความรู้เร่ือง Body Shaming ไปเผยแพร่เพ่ือหยดุ ปัญหา Body Shaming

3. ไดค้ วามรู้และความเขา้ เรื่อง Body Shaming

สมมติฐานของการวจิ ัย

นกั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศมีความมน่ั ใจในรูปร่างของตนเองมากข้ึน

ขอบเขตของงานวจิ ัย

1. ขอบเขตดา้ นเน้ือหา
บทความใหก้ าลงั ใจ สาเหตุของ Body Shaming แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ประสบการณ์ของผทู้ ี่ตกเป็ นเหย่ือ

Body Shaming

2. ขอบเขตดา้ นประชากร

นกั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศ

3. ขอบเขตดา้ นระยะเวลาผศู้ ึกษาไดเ้ ริ่มตน้ วเิ คราะห์ 1 ปี

ข้อตกลงเบอื้ งต้น

คาตอบของกลุ่มตวั อยา่ งน้นั ถือวา่ เป็นคาตอบที่ตรงกบั ความรู้สึกที่แทจ้ ริง

3

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง

การศึกษาในคร้ังน้ี ผศู้ ึกษาไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งโดยแบ่งเน้ือหาของเอกสารงานวจิ ยั ออกเป็ นหวั ขอ้ ตา่ งๆ
ดงั น้ี
1. Body shaming
2. วธิ ีการ Body shaming
3. สาเหตุของ Body shaming
4. ผลกระทบของ Body shaming
5. ช่องทางการแสดงออกของ Body shaming
6. วธิ ีรับมือเม่ือตกเป็นเหยอื่ ของ Body shaming
7. เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง

1. Body shaming
Body shaming คือการวจิ ารณ์ร่างกายของบุคคลอ่ืน โดยเปรียบเทียบ ลอ้ เลียน จนส่งผลใหอ้ ีกฝ่ าย
‘อบั อาย’ กบั ร่างกายของตวั เขาเอง และหลายคร้ังมนั ไดส้ ่งผลกระทบตอ่ จิตใจ
และความเชื่อในคุณคา่ ตวั เองของคนหน่ึงคน เกิดไดจ้ ากคาพดู ของพอ่ แม่ พนี่ อ้ ง ญาติ เพ่ือน คนอ่ืนๆ
ในสังคมผา่ นช่องทางต่างๆ รวมถึงตวั เราเองที่วจิ ารณ์ตวั เอง

4

2. วธิ ีการ Body shaming
การ Body shaming ผอู้ ื่นหรือตวั เองมีหลายแบบ เช่นคาพูดเหล่าน้ี
“ผหู้ ญิงตอ้ งมีส่วนเวา้ ส่วนโคง้ ผชู้ ายตอ้ งไหล่กวา้ ง”
ไม่วา่ จะเป็นเพศไหนก็มีรูปร่างที่หลากหลายและแตกตา่ งกนั ไดเ้ ป็นเรื่องปกติ
เพราะสิ่งท่ีกาหนดความแตกต่างของรูปร่างคือยนี ท่ีถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม
ไม่ใช่เกิดจากใครคนใดคนหน่ึงหรือคนกลุ่มหน่ึง หมายความวา่
เมื่อไหร่ก็ตามที่เราเร่ิมกาหนดรูปร่างของผอู้ ่ืนหรือตวั เอง แสดงวา่ กาลงั เกิดการ Body shaming
ข้ึน ยกตวั อยา่ งเช่น ผหู้ ญิงแขนใหญ่ ผชู้ ายไม่มีกลา้ ม เป็นตน้
“ไม่ไดม้ ีดีแค่หนา้ ตานะเน่ีย” คาพดู เหล่าน้ีดูเผนิ ๆ อาจจะเป็นการชื่นชน
แตแ่ อบแฝงไปดว้ ยการตดั สินวา่ “คนหนา้ ตาดี” “คนท่ีดูดี” ทาไดแ้ คน่ ้ี หรือคงมีดีแค่หนา้ ตา เป็ น
Body shaming รูปแบบหน่ึงเช่นกนั ซ่ึงจริงๆ แลว้ ความสามารถหรือความสนใจเร่ืองตา่ งๆ
ในชีวติ ไมไ่ ดข้ ้ึนอยกู่ บั หนา้ ตา หากเราอยากช่ืนชนความสามารถของใครสักคน
ควรใชค้ าพดู อ่ืนแทน เช่น เก่งมากเลย ทาออกมาไดด้ ีมาก เป็นตน้
“อว้ นเกินไป ผอมเกินไป เป็ นโรคอะไรหรือเปล่า”
การที่มีน้าหนกั มากกวา่ เกณฑห์ รือนอ้ ยกวา่ เกณฑ์
ไมไ่ ดแ้ ปลวา่ ทุกคนตอ้ งเป็นโรคหรือมีปัญหาสุขภาพเสมอไป
และไมไ่ ดแ้ ปลวา่ คนเหล่าน้นั ไม่ชอบรูปร่างของตวั เอง
บางคนชอบที่จะดูอว้ นหรือชอบที่จะดูผอมเพรียวก็ได้
ตราบใดท่ีไม่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายและความสุขส่วนตวั
ซ่ึงการวจิ ารณ์ความอว้ นหรือผอมของคนอ่ืนหรือของตวั เอง คือการ Body shaming รูปแบบหน่ึง
และเป็นสิ่งที่พบเห็นไดบ้ ่อยในสงั คมปัจจุบนั

5

3. สาเหตุของ Body shaming
สาเหตุของ Body shaming น้นั มีอยหู่ ลายแบบออกไป เช่นตวั อยา่ งดงั ตอ่ ไปน้ี
- การนาเอามาตรฐานความงาม (Beauty standard)
มาเป็นกฎเกณฑใ์ นการตดั สินหรือใชว้ ดั คุณค่าในตวั ผอู้ ่ืนและตวั เอง
- การขาดสติย้งั คิดของบุคคล ขาดการรู้จกั เอาใจเขามาใส่ใจเรา (Empathy) ทาใหเ้ กิด Body
shaming ไปโดยไม่รู้ตวั ท้งั ๆ ที่บางคร้ังไม่ไดม้ ีวตั ถุประสงคท์ ่ีจะดูถูกหรือทาร้ายจิตใจอีกฝ่ าย
- ขาดการถูกปลูกฝังเร่ืองน้ีหรือเห็นตวั อยา่ ง Body shaming จากพอ่ แมห่ รือผใู้ หญ่
ทาใหเ้ ดก็ มีพฤติกรรมแบบเดียวกนั และติดตวั ไปจนกระทงั่ กลายเป็นผใู้ หญ่ในสงั คม
- อิทธิพลของส่ือ เช่น สื่อออนไลน์ ส่ือโทรทศั น์ หนงั สือพิมพ์ แมกกาซีน หรือส่ืออ่ืนๆ
ในรูปแบบของการโฆษณาหรือการนาเสนอขอ้ มลู ท้งั ท่ีเป็ นตวั อกั ษร ภาพถ่าย หรือภาพเคลื่อนไหว
ซ่ึงมกั จะมีแต่ดาราหรือนกั แสดงท่ีมีรูปลกั ษณ์เหมือนกนั
จนทาใหเ้ กิดเป็นบรรทดั ฐานของความงามในสังคม
3. ผลกระทบของ Body shaming
- ส่งผลตอ่ ความรู้สึกในดา้ นต่างๆ เช่น รู้สึกอบั อาย ผดิ หวงั หรือเสียใจ
รวมถึงเกิดการขาดความมนั่ ใจในรูปร่างของตวั เอง
- ส่งผลใหเ้ กิดภาวะซึมเศร้า ความวติ กกงั วล หรือปัญหาสุขภาพจิตอ่ืนๆ
- ส่งผลใหเ้ กิดความผดิ ปกติเกี่ยวกบั การกินอาหาร เช่น โรคคลงั่ ผอม(Anorexia nervosa)
- ส่งผลใหเ้ กิดการทาร้ายตวั เองหรือเส่ียงต่อการฆ่าตวั ตาย
- ส่งผลต่อการเขา้ สังคม หรือปัญหาความสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่ืน ท้งั พอ่ แม่ ญาติ เพื่อน หรือที่ทางาน
- ส่งผลต่อการใชช้ ีวิต การตดั สินใจเรื่องตา่ งๆ ในชีวติ เช่น การเลือกงาน การเลือกสายเรียน

6

4. ช่องทางการแสดงออกของ Body Shaming
ช่องทางในการ Body shaming เกิดข้ึนไดใ้ นทุกช่องทาง เช่น
- เกิดจากการวจิ ารณ์อีกฝ่ ายขณะสนทนากนั
- เกิดจากการวจิ ารณ์ผอู้ ื่นโดยท่ีผนู้ ้นั ไมร่ ับรู้ผา่ นการสนทนากบั คนอื่น
- การ Body shaming หรือวจิ ารณ์ตวั เอง
- การนาเสนอผา่ นสื่อโฆษณาตา่ งๆ โทรทศั น์ วทิ ยุ หนงั สือ หนงั สือพิมพ์
- การวจิ ารณ์ผา่ นสังคมออนไลน์ เช่น การโพสตข์ อ้ ความ การคอมเมนตภ์ าพ การสร้างคอนเทนต์

5. วธิ ีรับมือเม่ือตกเป็ นเหยอ่ื ของ Body shaming
การรับมือกบั Body shaming ไม่มีกฎตายตวั ข้ึนอยกู่ บั พ้นื ฐานความมนั่ ใจของแต่ละคน
และรูปแบบของ Body shaming ที่ตอ้ งเผชิญ ยกตวั อยา่ งเช่น
- การท่ีคนอื่นไมช่ อบรูปร่างหรือหนา้ ตาของเรา เป็ นปัญหาของคนเหล่าน้นั ไม่ใช่ปัญหาของเรา
ในบางคร้ังการตอบโตด้ ว้ ยคาพดู หรือการกระทากไ็ ม่จาเป็ นเสมอไป
และไม่ใช่หนา้ ที่ของเราที่ตอ้ งคอยแนะนาคนเหล่าน้นั ใหร้ ู้จกั การเห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืน
หรือการเคารพผอู้ ่ืน เพราะฉะน้นั กป็ ล่อยผา่ นไดเ้ ลย
- เดินหนีออกมาจากสถานการณ์ที่ถูก Body shaming และการเดินหนีกไ็ ม่ไดแ้ ปลวา่ ยอมแพ้
แตเ่ ป็นการแสดงออกวา่ เราไมไ่ ดส้ นใจคาพดู เหล่าน้นั
อีกอยา่ งการแสดงออกหรือพยายามอธิบายอะไรออกไป อีกฝ่ ายจะมองวา่ เป็นจุดอ่อนได้
- พยายามสร้างความมนั่ ใจใหต้ วั เองและไมต่ ดั สินหรือวจิ ารณ์ตวั เองและคนอ่ืน
- พดู คุยกบั คนที่เราไวใ้ จได้ และสามารถเป็นตวั เองเมื่ออยดู่ ว้ ย จะช่วยเพม่ิ ความมน่ั ใจใหเ้ ราได้

7

6. เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง
บทความของ นพ.ธนญั ชยั อศั ดามงคล แพทยเ์ ฉพาะทางดา้ นศลั ยกรรมตกแตง่
และผอู้ านวยการศูนยศ์ ลั ยกรรมความงาม กล่าวถึงปัญหา Body shaming ในคนไขว้ า่
การลอ้ เลียนเรื่องรูปร่างหนา้ ตา เช่น อว้ น ดา จมูกแบน หนา้ อกเลก็
บางคร้ังผกู้ ระทาอาจจะทาไปโดยความคึกคะนอง สนุกสนาน หรือ รู้เทา่ ไม่ถึงการณ์
แตก่ ารลอ้ เลียนดงั กล่าวกลบั ส่งผลกระทบทางดา้ นจิตใจต่อผอู้ ่ืนเป็นอยา่ งมาก และหลายคร้ังท่ีคาพดู ตา่ งๆ
เหล่าน้ี ฝังเขา้ ไปในจิตใจผอู้ ่ืน จนกลายเป็นปมภายในใจท่ียากจะรักษาใหห้ ายได้
จากประสบการณ์การเป็นศลั ยแพทยต์ กแตง่
และมีโอกาสพดู คุยกบั คนไขท้ ่ีมาปรึกษาดา้ นศลั ยกรรมความงามจานวนมาก
เราจะพบคนไขก้ ลุ่มหน่ึงท่ีมีปัญหาถูกกระทบทางดา้ นจิตใจ เน่ืองจากการถูก Body shaming ต้งั แต่วยั เด็ก
และส่งผลกระทบมาจนถึงปัจจุบนั ท้งั น้ี แมก้ ารศลั ยกรรมความงามจะช่วยใหร้ ูปร่างหนา้ ตาภายนอกดูดีข้ึนได้
แตป่ ัญหาภายในจิตใจจาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการรักษาควบคู่กนั ไปดว้ ย ในบางคร้ังการผา่ ตดั ศลั ยกรรม
ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ีดีมาก แตห่ ากไมส่ ามารถเปล่ียนแปลงการมองภาพตนเองในจิตใจลึกๆ ได้
หากเขายงั รู้สึกเป็นปมดอ้ ยในใจอยู่ สุดทา้ ยแลว้ การผา่ ตดั น้นั ก็ไมป่ ระสบความสาเร็จ
และไมส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาภายในจิตใจที่เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง

8

บทท่ี 3

วธิ ีการดาเนินการ

ในการศึกษาคร้ังน้ีผศู้ ึกษาไดท้ าการศึกษา Body Shaming ซ่ึงมีวธิ ีการดงั น้ี
ระเบียบวธิ ีที่ใชใ้ นการศึกษาในการศึกษาใชร้ ูปแบบการสารวจ สืบคน้ ขอ้ มูล จากหนงั สือ อินเตอร์เน็ต และตอบแบบสอบถาม
ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษา
1. ประชากร
ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็ นนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-6
โรงเรียนสตรีรานูทิศ ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2564 เป็ นนกั เรียนท้งั สิ้น 100 คน
2. กลุ่มตวั อยา่ ง
กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ีไดแ้ ก่นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-6
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ภาคเรียนท่ี 1-2 ปี การศึกษา 2564 เป็นนกั เรียนท้งั สิ้น 100 คน
ไดม้ าโดยสุ่มอยา่ งง่าย เพอื่ ตอบแบบสอบถามที่สร้างข้ึน
3. ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา
ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา ในภาคเรียนท่ี 1-2 ปี การศึกษา 2564
วธิ ีดาเนินการศึกษา
ผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี
1. กาหนดเรื่องท่ีจะศึกษา โดยสมาชิกท้งั 5 คน ประชุมร่วมกนั และร่วมกนั คิดและวางแผน
วา่ จะศึกษาเรื่องใด
2. สารวจปัญหา Body Shaming ที่พบในโรงเรียน

9

3. เลือกเรื่องท่ีจะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่สมาชิกมีความสนใจมากท่ีสุดเพ่อื เป็นแรงจงู ใจในการคน้ หาคาตอบ

4. ศึกษาแนวคิดในการแกป้ ัญหา ( ในขอ้ น้ียงั ไม่สามารถดาเนินการไดเ้ นื่องจาก การเรียนรายวชิ า

IS 2 เวลามีจากดั ผศู้ ึกษาจึงทาไดเ้ ฉพาะการสารวจความคิดเห็นและแบบสอบถาม ศึกษาเพียงเพื่อใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ เร่ือง
กระบวนการวจิ ยั เท่าน้นั

5. ต้งั ช่ือเร่ือง

6. สมาชิกท้งั 5 คนของกลุ่ม พบครูผสู้ อนเพ่อื ปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็นปรับปรุงแกไ้ ข

7. เขียนความสาคญั ความเป็นมาของปัญหา วตั ถุประสงค์ สมมุติฐาน

ขอบเขตการวจิ ยั และประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ โดยศึกษาขอ้ มูลจากหนงั สือ

และสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเตอร์เน็ต และจดบนั ทึกในโครงร่างรายงานเชิงวชิ าการ (ตามใบงาน)

8. สร้างเคร่ืองมือ ท่ีเป็นแบบสอบถาม จานวน 6 ขอ้

9. นาแบบสารวจไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง

10. รวบรวมขอ้ มูล

11. วเิ คราะห์ขอ้ มูล

12. สรุปผลการศึกษา

10

ข้นั ตอนวธิ ีดาเนินการศึกษา

11

เครื่องมือทใี่ ช้ในการศึกษา

เครื่องมือที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ แบบสอบถาม ( หรือแบบประเมินความพึงพอใจ) 1 ฉบบั

ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี

1. ออกแบบสอบถาม เร่ือง Body Shaming

โดยขอคาแนะนาจากคุณครู วนิดา บุญพิเชฐวงศ์ โดยเตรียมร่างขอ้ คาถาม

มีลกั ษณะเป็นขอ้ คาถามจานวน 6 ขอ้ เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณ 6 ระดบั คือ

6 หมายถึง เป็นประจา

5 หมายถึง บ่อยคร้ัง

4 หมายถึง ค่อนขา้ งบ่อย

3 หมายถึง มีบา้ ง

2 หมายถึง ค่อนขา้ งนอ้ ย

1 หมายถึง นอ้ ยคร้ัง

การพจิ ารณาค่าเฉลย่ี จะใชเ้ กณฑด์ งั น้ี

คา่ เฉล่ีย 5.51 – 6.00 หมายถึง เป็นประจา

คา่ เฉล่ีย 4.51 – 5.50 หมายถึง บ่อยคร้ัง

คา่ เฉล่ีย 3.51 – 4.50 หมายถึง คอ่ นขา้ งบ่อย

คา่ เฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีบา้ ง

ค่าเฉล่ีย 1.00 – 2.50 หมายถึง นอ้ ยคร้ัง

2. สร้างแบบสอบถาม เรื่อง Body Shaming

โดยขอคาแนะนาจากคุณครู วนิดา บุญพิเชฐวงศ์ จากน้นั นามาปรับปรุงแกไ้ ข แลว้ นาไปตรวจสอบความเหมาะสม

3.นาแบบสอบถามเร่ือง Body Shaming ท่ีแก้ไข ปรับปรุงแล้ว ให้กลุ่มตวั อย่างประเมิน หลงั จากน้ันนาผลทไี่ ด้มาหาค่าเฉลย่ี

12

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
การศึกษาคร้ังน้ีไดด้ าเนินการโดยนาแบบสอบถามท่ีสร้างข้ึนใหน้ กั เรียนกลุ่มตวั อยา่ งตอบ
จานวน 100 คน และเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากนกั เรียน ที่เป็นกลุ่มตวั อยา่ ง โดยผศู้ ึกษาท้งั 5 คน
ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเอง
การวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผศู้ ึกษาไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี
1. นาแบบสอบถามท้งั หมดท่ีตอบโดยนกั เรียนกลุ่มตวั อยา่ ง มาหาคา่ คะแนนรวม
2. นาผลรวมมาคิดค่าร้อยละ 93.2
สถิตทิ ใ่ี ช้ในการศึกษา
สถิติที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ การหาค่าเฉล่ียคิดเป็น ร้อยละ 16.66

13

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู Body Shaming
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ไดผ้ ลดงั น้ี
แผนภมู ิที่ 1 แสดงผลระดบั คะแนนการประเมิน Body Shaming
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-6 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ จานวน 100 คน

แผนภมู ิที่ 2 แสดงการถูก Body Shaming

14

แผนภมู ิท่ี 3 แสดงการตกเป็ นเหยอ่ื Body Shaming จากใคร

15

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

จากการศึกษาคร้ังน้ี เพอ่ื สร้างความมน่ั ใจใหน้ กั เรียน โรงเรียนสตรีราชินูทิศ
ในภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2564 ซ่ึงสามารถสรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะไดด้ งั น้ี
1. วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา
2. สมมุตติฐานของการศึกษา
3. ขอบเขตของการศึกษา
4. เครื่องมือที่ใชใ้ นการศึกษา
5. วเิ คราะห์ขอ้ มลู
6. สรุปผลการศึกษา
7. ขอ้ เสนอแนะ
วตั ถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพ่อื ไดส้ ร้างความมนั่ ใจให้นกั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศ
2. เพอ่ื นาความรู้เร่ือง Body Shaming ไปเผยแพร่เพ่ือหยดุ ปัญหา
3. ไดค้ วามรู้และความเขา้ ใจตวามหมายของคาวา่ Body Shaming
สมมุตติฐานของการศึกษา

นกั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศมีความมนั่ ใจในรูปร่างของตนเองมากข้ึน

16

ขอบเขตของการศึกษา
1. ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษา
ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คือ นกั เรียนโรงเรียนสตรีราชินูทิศ
2. กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษา
กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษา คือ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1-6
เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการศึกษา
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี ประกอบดว้ ยแบบสอบถาม จานวน 1 ฉบบั
เร่ือง Body Shaming โรงเรียนสตรีราชินูทิศ จานวน 6 ขอ้
การวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผศู้ ึกษาไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลของนกั เรียนที่มีตอ่ เรื่อง Body Shaming
โดยการคิดคะแนนเฉล่ีย เป็นค่าร้อยละ 93.2
สรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษาที่มีตอ่ การศึกษาเรื่อง Body Shaming
อยใู่ นระดบั คุณภาพ มากท่ีสุด
การอภปิ รายผล
จากการศึกษา Body Shaming ของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ
พบวา่ นกั เรียนทุกคนเคยตกเป็นเหยอ่ื Body Shaming อยใู่ นระดบั มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 93.2

17

ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้ังน้ี
1. สามารถนาไปศึกษาปัญหาตา่ งๆที่พบในโรงเรียนได้ แต่ควรมีตวั แปรร่วมดว้ ยเพ่อื ใหก้ ารศึกษามีคุณภาพ
2. สามารถนาไปศึกษากบั กลุม่ ตวั อยา่ งอ่ืน
3. ควรมีเวลาศึกษามากข้ึน

18

บรรณานุกรม

นายแพทย์ ธนญั ชยั อศั ดามงคล . (2561) .
“Body shaming” ไมใ่ ช่เร่ืองลอ้ เล่น . จาก https://www.bangmodaesthetic.com/ . สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 5 พฤศจิกายน 2564
Raksa Content Team . (2563) .

Body Shaming ค่านิยมท่ีผดิ เพ้ียน และการไม่ยอมรับความแตกต่างทางร่างกาย

จาก https://www.doctorraksa.com/ . สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน 2564

19

ประวตั ผิ ู้ศึกษา

ชื่อ - นามสกลุ นางสาวบงกช เจตวนั
วนั เดือน ปี สถานที่ 10 มกราคม 2548
เกิดท่ี ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี
ประวตั ิการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา72(เทศบาล8) ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2559
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2562
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กาลงั ศึกษาอยชู่ ้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี

20

ชื่อ - นามสกุล ประวตั ผิ ู้ศึกษา
วนั เดือน ปี สถานที่
นางสาวพรนภา ไชยทิพย์
ประวตั ิการศึกษา 16 เมษายน 2548
เกิดท่ี ตาบลตลาดใหญ่ อาเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต
ประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2559
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2562
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กาลงั ศึกษาอยชู่ ้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี

21

ชื่อ - นามสกุล ประวตั ผิ ู้ศึกษา
วนั เดือน ปี สถานท่ี
นางสาวภคพร พิลาโสภา
ประวตั ิการศึกษา 10 พฤษภาคม 2547
เกิดที่ ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี
ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นโพธ์ิเหล่าวชิ า ตาบลนาชุมแสง อาเภอทุ่งฝน
จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2559
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2562
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กาลงั ศึกษาอยชู่ ้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5/4
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี

22

ประวตั ผิ ้ศู ึกษา

ช่ือ - นามสกลุ นางสาวศุภกานต์ โรมเมือง
วนั เดือน ปี สถานท่ี 5 พฤศจิกายน 2547
เกิดที่ ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี
ประวตั ิการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนบา้ นหมากแขง้ ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2559
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2562
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กาลงั ศึกษาอยชู่ ้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5/4
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี

23

ชื่อ - นามสกุล ประวตั ผิ ้ศู ึกษา
วนั เดือน ปี สถานที่
นางสาวสุดารัตน์ มูลสาร
ประวตั ิการศึกษา 3 กรกฎาคม 2547
เกิดท่ี ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี
ประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2559
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2562
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กาลงั ศึกษาอยชู่ ้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ อาเภอเมือง จงั หวดั อุดรธานี


Click to View FlipBook Version