เด็ก ด็ หญิงญิศิราพัชพั ร สังข์ชัข์ ย ชั ม.1\12 เลขที่ 37 รายงาน เรื่อ รื่ ง เทเบิลบิเทนนิสนิ จัด จั ทำ โดย นำ เสนอ คุณ คุ ครู สุรชาติ กลิ่นลิ่ โสภน โรงเรีย รี นนวมินมิทราชินูชิทิ นู ศทิเตรีย รี มอุด อุ มศึกษาพัฒ พั นาการ
llคำ นำ รายงานเล่มนี้จัดทำ ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิช วิ า พลศึกษา ชั้น ม. 1 / 12 เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อ รื่ งเทเบิลเทนนิสและได้ศึกษาอย่างเข้าใจ เพื่อเป็นประโยชน์กับการเรีย รี น หากมีข้อแนะนำ หรือ รื ข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำ ขอน้อมรับไว้แ ว้ ละขออภัยมาณที่นี้ด้วย ศิราพัชร สังข์ชัย วันที่ 5 ก.พ. 67 ก
สารบับับับั ญ เรื่อ รื่ ง หน้า คำ นำ ก สารบัญ ข ประวัติความเป็นมาต่าง ประเทศ วิธีการเล่น กฎกติกา บรรณานุกรม ประวัติความเป็นมาใน ประเทศ 1 2 3-4 5 ข 6
ต่อมาได้มีการพัฒนาเทคนิคในการเปลี่ยนหน้าไม้ในขณะเล่นลูก ปรับปรุงหน้าไม้ด้วยยางปิงปอง โดยใช้ยางท่ีเปล่ียนวิถีการหมุนได้ด้วย ความยาว ของเม็ดยางท่ีมากกว่าปกติ และทิศทางบอลเข้าได้. ด้วย วิวัฒนาการของอุปกรณ์ และวิธีการเล่นใหม่ๆ เกิดขึ้นเสมอ แม้แต่ เทเบิลเทนนิสก็ถูกบรรจุ เป็นกีฬาชนิดหนึ่งในกีฬาโอลิมปิกปี 1988 (พ.ศ. 2531) ท่ี่กรุงโซล เกาหลีใต้ กีฬาเทเบิลเทนนิสได้เรม่ิข้นึท่ปีระเทศอังกฤษในปีค.ศ. 1890ในครั้งรั้นั้นนั้ อุปกรณ์ท่ีใช้เล่นประกอบด้วยไม้หนังสัตว์ลักษณะคล้ายกับไม้เทนนิสในปัจจุบัน นี้หากแต่ว่าแทนที่จะขึงด้วยเส้นเอ็นก็ใช้แผ่น หนังสัตว์หุ้มไว้แทน ลูกที่ใช้ตีเป็น ลูกเซลลูลอยด์ เวลาตีกระทบถูกพื้นโต๊ะและไม้ก็เกิดเสียง “ปิก-ป๊อก” ดังนน้ั กีฬานี้จึงถูกเรียกอีกชื่อหน่ึงตาม เสียงทีได้ยินว่า “ปิงปอง” (PINGPONG) ต่อ มาก็ได้มีการวิวัฒนาการขึ้นโดยไม้หนังสัตว์ได้ถูกเปล่ยี นเป็นแผ่นไม้แทน ซ่ึงได้ เล่นแพร่หลายในกลุ่ม ประเทศยุโรปก่อน ในปี ค.ศ. 1900 เรม่ิ ปรากฏว่า มีไม้ปิงปองท่ีติดยางเม็ดเข้ามาใช้เล่น ดังนั้นนั้วิธีการเล่นแบบรุกหรือแบบบุกโจมตี (ATTRACKหรือ OFFENSIVE) เริ่ม มีบทบาทมากยขึ้น และยุคนี้จึง เป็นยุคของนายวิตเตอร์ บาร์น่า(VICTOR BARNA) อย่างแท้จริง เป็นชาวฮังการีได้ตําแหน่งแชมเปี้ยนโลก ประเภททีมรวม7ครั้งรั้ และประเภทชายเดี่ยว5ครั้งรั้ ในปีค.ศ.1929-1935 ในระยะนั้นนั้ถือว่ายุโรปเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองอย่างแท้จริง ยุโรปก้าวหน้าอย่างแม่นยําในศิลปะการเเรียกได้ว่าเป็นยุคมืดของยุโรป อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ในท่ีสุดสิง่ต่างๆก็เปล่ียนไปเมื่ออสาธารณรัฐประชาชนจีนสามารถเอาชนะ ญ่ีปุ่นได้อย่างรวดเร็วผสมอารักขาที่จีนศึกษาการเล่นของญ่ปีุ่นก่อนนํา มา ปรับใช้ให้เข้ากับรูปแบบการเล่นท่ีจีนถนัดจนกลายเป็นการเล่นของจีนใน ปัจจุบัน หลังจากนั้นนั้ยุโรปก็เริ่มฟื้นตัวอีกครั้งรั้ทศวรรษที่ 1970 (พ.ศ. 2513) เป็น ปีที่มีความขัดแย้งระหว่างผู้เล่นชาวยุโรปเนื่องจากการปรับปรุงวิธีการเล่น ของอินเดียและนักกีฬาเอเชียอย่างไรก็ตามนักกีฬาญี่ปุ่นมีอายุมากขึ้น นักกีฬายุโรปรุ่นใหม่เก่งขึ้นเร่ื่อยๆช่วยให้ยุโรปคว้าแชมป์โลกชายเด่ียวได้ 1
การแข่งขันเทเบิลเทนนิส ครองถ้วยพระราชทานพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถโดยจัดขึ้นครั้งรั้ แรกใน ปี พ.ศ. 2502เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์กีฬาเทเบิลเทนนิสให้เผยแพร่ ไปสู่ประชาชนทัว่ไปอย่างกว้างขวางเพ่ือเปิดโอกาสให้นักกีฬาเทเบิลเทนนิสจาก ทุกสโมสรเพ่ื อสรรหาและคัดเลือกตัวนักกีฬาเข้าเป็นนักกีฬาเทเบิลเทนนิสทีม ชาติไทยการจัดการแข่งขันขันชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย สมาคมเทเบิล เทนนิสแห่งประเทศไทยได้จัดให้มีการแข่งขันเทเบิลเทนนิสชิงชนะเลิศแห่ง ประเทศไทยต่อเน่ืองกันมาเป็นประจําทุกปี เพ่ือดํารงความมุ่งหมายท่ีจะ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมกีฬาเทเบิลเทนนิสให้พ่ีน้องประชาชนทั่วทั่ ไปได้ มีความเข้าใจและให้ความสนใจต่อ กีฬาเทเบิลเทนนิสมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ในระยะเวลาที่ผ่านมามีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนและสถาบันการ ศึกษาต่างๆ ได้สนับสนุนให้เยาวชนหันมาฝึกซ้อมเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสเพิ่ม มากขึ้นทำ ให้วงการกีฬาเทเบิลเทนนิสภายในประเทศสามารถพัฒนาไปได้ อย่างต่อเนื่อง และ มีนักกีฬาเทเบิลเทนนิส ทีมชาติไทยรุ่นใหม่เพิ่มมาก ขึ้นตามลําดับ สมาคมเทเบิลเทนนิสแห่งประเทศไทย ได้ก่อตั้งตั้ขึ้นเม่ื่อ พ.ศ. 2500 มีวัตถุ ประสงค์เพ่ือส่งเสริมและ พัฒนากีฬาเทเบิลเทนนิสของประเทศไทยให้เจริญ ก้าวหน้าไปสู่ระดับสากล โดยส่งเสริมให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยเข้าร่วมดํา เนินกิจกรรมกีฬาเทเบิล เทนนิสทุกประเภทด้วยการออกกําลังกายการ แข่งขันรวมทั้งทั้ดําเนินการประสานงานกับหน่วยงานท่เีก่ียวข้องกับการกีฬา ตั้งตั้แต่ระดับหมู่บ้าน ตําบล อำ เภอ จังหวัด จนถึงระดับชาติ และดําเนินการ เก่ียวกับการจัดสถานที่เพ่ือการฝึกซ้อม การแข่งขัน การตัดสิน ให้ได้ มาตรฐานสากลตลอดจนพิจารณาสรรหานักกีฬาเทเบิลเทนนิสเพ่ื่อร่วมการ แข่งขันระดับนานาชาติในนามของประเทศไทย ประเทศที่มีส่วนในการพัฒนากีฬาเทเบิลเทนนิส •อังกฤษ •ฮังการี •เยอรมัน •ญี่ปุ่นและจีน 2
•กฏกติกา กติกาปิงปิ ปองมีทั้มี ทั้งทั้หมด 28 ข้อข้ ซึ่งซึ่มีข้มีอข้กำ หนดเกี่ยวกับรายละเอียดการเล่น ดังดันี้ 1. โต๊ะเทเบิลเทนนิส (The Table) 2. ส่วนประกอบของตาข่าย (The net assembly) 3. ลูกเทเบิลเทนนิส (The Ball) 4. ไม้เทเบิลเทนนิส (The Racket) 5. คำ จำ กัดความ (Definitions) 6. การส่งลูก (The Service) 7. การรับลูก (The Return) 8. ลำ ดับการเล่น (The order of play) 9. การส่งใหม่ (A Let) 10. การได้คะแนน (A Point) 11. เกมการแข่งขัน (A Game) ลำ ดับการส่ง การรับ และแดน (The order of serving, receiving and ends) 14. การผิดลำ ดับในการส่ง การรับ และแดน (Out of order of serving, receiving and ends) 15. ระบบการแข่งขันเร่งเวลา (The expedite system) 12. แมตช์การแข่งขัน (A Match) 13. 16. อุปกรณ์ที่ได้รับอนุญาตและรับรอง (Approved and authorised equipment) 17. ชุดแข่งขัน (Playing Clothing) 18. สภาพของสนามแข่งขัน (Playing condition) 19. การโฆษณาและเครื่องหมาย (Advertisements and markings) 20. เจ้าหน้าที่ที่จัดการแข่งขัน (Match officials) 21. การประท้วง (Appeals) 22. การดำ เนินการแข่งขัน (Math Conduct) 3
•กฏกติกา 23. การแนะนำ ผู้เล่นหรือการสอนผู้เล่น (Advice) 24. ความประพฤติที่ไม่ดี (Misbehaviour) 25. การแสดงออกที่ดีในการแข่งขันกีฬา (Good presentation) 27. การแข่งขันแบบกลุ่ม (Group competitions) 28. กำ หนดการแข่งขัน (Scheduling) 26. การแข่งขันเป็นแพ้คัดออก (Knock-out competitions) • กติกติาปิงปอง 28 ข้อในข้างต้นต้เป็นป็ข้อกำ หนดที่จ ที่ ะต้อต้งยึดยึ ปฏิบัฏิติบัตติาม • (ต่อ) 4
สายตาจะต้องจ้องมองลูกอยู่ตลอดเวลา แต่การจ้องลูกอย่างเดียวก็ยังไม่เพียงพอ เพราะจะ ต้องจ้องมองและสังเกตหน้าไม้ของคู่ต่อสู้อีกด้วยว่า ตีลูกความหมุนลักษณะใดมาหาเรา ปิงปอง เป็นกีฬาที่ต้องใช้สมองในการคิดเป็นอย่างมาก เพราะจะต้องคิดอยู่ตลอดเวลา รวมถึงต้องวางแผนการเล่นอีกด้วย มือที่ใช้จับไม้ปิงปอง จะต้องคล่องแคล่วและว่องไว รวมถึงต้องรู้สึกได้เมื่อลูกปิงปองสัมผัส ถูกหน้าไม้ ในการตีบางลักษณะ จำ เป็นต้องใช้ข้อมือเข้าช่วย ลูกจึงจะมีความหมุนมากยิ่งขึ้น ต้องมีพลกำ ลังและมีความอดทนในการฝึกซ้อมที่ต้องซ้อมแบบซ้ำ และซ้ำ อีก แน่นอนว่าเมื่อกีฬาปิงปองเป็นกีฬาที่มีความเร็วสูง ต้นขาจึงต้องแข็งแรง และเตรียมพร้อม ในการเคลื่อนที่ตลอดเวลา การตีลูกปิงปองในบางจังหวะ ต้องใช้ลำ ตัวเข้าช่วย ต้องย่อเข่า เพื่อเตรียมพร้อมในการเคลื่อนที่ ต้องเคลื่อนที่เข้าหาลูกปิงปองตลอดเวลา หากเท้าไม่เคลื่อนที่เข้าหาลูก ปิงปอง ก็จะทำ ให้ไม่มีฟุตเวิร์ด และตามตีลูกปิงปองไม่ทัน •วิธี วิ ก ธี ารเล่น 1.สายตา 2.สมอง 3.มือ 4.ข้อมือ 5.เเขน 6.ลำ ตัว 7.ต้นขา 8.หัวเข่า 9.เท้า 7
•บรรณานุก นุ รม http://postinfinity.smf4u.com/index.php?topic=4714.0 https://iloilocitycouncil.org/ประวัติ-กีฬา-ปิงปอง/ https://iloilocitycouncil.org/ประวัติ-ปิงปอง-ใน-ต่าง-ปร/ https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2698236 ที่มา: ประวัติปิงปองในต่างประเทศ ประวัติปิงปองในประเทศ กติกา เทเบิลเทนนิส วิธีการเล่น 6