The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanaporn Mangsang, 2022-05-09 22:03:53

คู่มือการปฏิบัติ มกษ.7436-2563 (สัตว์น้ำเพื่อการบริโภค)

คู่มือการปฏิบัติ ตาม มกษ.7436-2563

Keywords: มกษ.7436-2563

คู‹ มื อ

การปฏบิ ัติ

ตามมาตรฐานจีเอพี
มกษ. 7436–2563

สาํ หรับฟารมเล้ยี งสตั วน้าํ
เพอ่ื การบริโภค

กองพัฒนาระบบการรบั รองมาตรฐานสนิ คŒาประมงและหลกั ฐานเพ่อื การสบื คนŒ ¡Á».
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ
อาคารเชิดชาย อมาตยกลุ ชนั้ 5 กรมประมง เกษตรกลาง แขวงลาดยาว FCSTD

¡Í§¾Ñ²¹ÒÃкº¡ÒÃÃºÑ ÃͧÁÒμÃ°Ò¹Ê¹Ô ¤ÒŒ »ÃÐÁ§
áÅÐËÅÑ¡°Ò¹à¾×Íè ¡ÒÃÊº× ¤¹Œ

เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900
โทรศัพท: 0 2579 7738 อเี มล: [email protected]
facebook: fisheriesthacert LINE line: 227ffebt

ทาํ ไม?ตŒองเปลย่ี นจาก จีเอพี (GAP)
กรมประมง มาเปšน จีเอพี (GAP) มกษ.
เดมิ กรมประมงมมี าตรฐานการปฏบิ ตั ทิ างการเพาะเลยี้ งสตั วน าํ้ ทด่ี ี หรอื

มาตรฐาน จเี อพี (GAP) กรมประมง เปนมาตรฐานขน้ั พ้ืนฐานเนนเรอ่ื งอาหาร
ปลอดภัย (Food Safety)

แตเ นอ่ื งจากพระราชกาํ หนดการประมง พ.ศ. 2558 กาํ หนดใหก รมประมง
มีหนาท่ีสงเสริม พัฒนา และแนะนํา ตลอดจนใหการรับรองมาตรฐาน
สนิ คา เกษตรแกเกษตรกรผูเพาะเลีย้ งสัตวน้าํ จึงไดม ี มาตรฐาน จเี อพี (GAP)
มกษ. 7436–2563 (สาํ หรบั ฟารม เลย้ี งสตั วน า้ํ เพอ่ื การบรโิ ภค) ซง่ึ เปน มาตรฐาน
สินคาเกษตรท่ีจัดทําขึ้นตามกฎหมายและหลักการสากล มุงเนนเร่ืองการ
ควบคุมการผลิตที่มีคุณภาพ ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยตอผูบริโภค
ซ่ึงไมแตกตางจากมาตรฐาน จีเอพี (GAP) กรมประมง ดังน้ันเพ่ือเปนการ
ลดความซํ้าซอน กรมประมงจึงมุงเนนสงเสริมใหเกษตรกรใชมาตรฐาน
จีเอพี (GAP) มกษ. 7436–2563 และจัดทําคูมือฉบับน้ีเพื่อเปนแนวทาง
ในการปรบั เปลยี่ นจากมาตรฐาน จเี อพี (GAP) กรมประมง มาเปนมาตรฐาน
จีเอพี (GAP) มกษ. 7436–2563

2 คม‹ู ือการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานจเี อพี มกษ. 7436–2563 สาํ หรับฟารม เล้ยี งสตั วน ํา้ เพื่อการบรโิ ภค

มาตรฐาน มกษ. 7436–2563 การปฏบิ ตั ทิ างการเพาะเลย้ี งสตั วน าํ้
ทด่ี ีสาํ หรับฟารม เลี้ยงสัตวนํา้ เพือ่ การบริโภค

เปนมาตรฐาน จีเอพี มกษ. ที่มีขอ กําหนดครอบคลุมการผลติ เพื่อใหได
สตั วน าํ้ ทม่ี คี ณุ ภาพและปลอดภยั ตอ ผบู รโิ ภค อกี ทง้ั เปน มาตรฐานทม่ี คี วามใกลเ คยี ง
กบั มาตรฐาน จีเอพี กรมประมง

มกษ. 7436–2563 เหมาะกบั สัตวน้าํ เพื่อการบรโิ ภค

สตั วน าํ้ ทกุ ชนดิ ทง้ั สตั วน าํ้ จดื และสตั วน าํ้ ชายฝง เชน กงุ ทะเล
ปลานลิ ปลากะพง หอยทะเล ยกเวน จระเข สาหรา ยทะเล
1 กงุ เครยพ ชิ เนอ่ื งจากมมี าตรฐาน จเี อพี มกษ. เฉพาะสาํ หรบั

สตั วนาํ้ ท้งั 3 ชนดิ

ครอบคลุมกิจกรรมการเลี้ยง ต้ังแต การเล้ียง การจับ 2
จนถึงหลังการจับกอนการขนสงออกจากฟารม ซ่งึ ไมรวม
การเพาะพันธแุ ละอนุบาล

สามารถเลี้ยงไดท้ังในบอและในแหลงนํ้าสาธารณะ เชน

3 การเล้ียงกุงกามกรามในบอดิน หรือการเล้ียงปลานิล

ในกระชงั บริเวณรมิ แมนาํ้

ค‹มู อื การปฏบิ ัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สาํ หรบั ฟารมเลย้ี งสัตวน้าํ เพอ่ื การบริโภค 3

“จีเอพี กรมประมง เหมอื น/แตกต‹าง

อมกยษ. ‹า74ง36ไ–ร2?56”3

1. สถานที่

เหมอื นกับ จีเอพี กรมประมง คือ ฟารมต้ังอยใู นบริเวณท่มี ีแหลง นาํ้
คุณภาพดี หางไกลจากแหลงกําเนิดมลพิษ เชน โรงงานอุตสาหกรรม พ้ืนท่ี
เกษตรกรที่ใชสารเคมี หากตั้งอยูในบริเวณแหลงกําเนิดมลพิษ ฟารมควรมี
มาตรการปองกนั มีคมนาคมสะดวก และมีสาธารณูปโภคเพยี งพอ

มกษ. 7436–2563 มีขอกําหนดเพิ่ม โดยฟารมตองไมตั้งอยูในเขต
หา มเลย้ี งตามกฎหมาย เชน ไมต ง้ั อยใู นเขตปา สงวน เขตอนรุ กั ษข องปา ชายเลน
สําหรับกรณกี ุงทะเล ตอ งเล้ยี งอยใู นพ้นื ทีท่ ป่ี ระกาศเปน เขตเพาะเลยี้ งสัตวน ํ้า
ควบคมุ มเี อกสารอนญุ าตประกอบกจิ การการเพาะเลย้ี งสตั วน าํ้ ควบคมุ (จสค.)
และอยูในพื้นท่ีท่ีประกาศเปนเขตเพาะเล้ียงสัตวน้ําควบคุมโดยคณะกรรมการ
ประมงประจาํ จงั หวัด

4 คมู‹ อื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สาํ หรับฟารม เล้ียงสตั วน า้ํ เพือ่ การบริโภค

2. การจดั การการเลีย้ ง

เหมอื นกบั จเี อพี กรมประมง คอื ฟารม มกี ารเตรยี มบอ ตามหลกั วชิ าการ
กรองนาํ้ กอ นนาํ นาํ้ เขา ฟารม เพอ่ื ปอ งกนั พาหะและศตั รู มรี ะบบใหอ ากาศทเ่ี หมาะสม
ดูแลความสะอาดบริเวณเลี้ยงและอุปกรณอยางสม่ําเสมอ ใชอาหารสัตวนํ้า
ทม่ี กี ารขน้ึ ทะเบยี นและไมห มดอายุ อาหารสตั วน าํ้ และวตั ถดุ บิ ไมป นเปอ นยาสตั ว
และสารหามใช กรณีผลิตอาหารสัตวนํ้าใชเองตองผลิตอยางถูกสุขลักษณะ
ปลอดภยั ตอสัตวน ้ําและผบู รโิ ภค และมกี ารจดั เก็บอยา งถูกสุขลกั ษณะ

มกษ. 7436–2563 มีขอŒ กาํ หนดเพิ่ม

ควรมกี ารสงั เกตคณุ ภาพนาํ้ หรอื
ตรวจคณุ ภาพนาํ้ ทง้ั กอ นนาํ มาใช
1 ในการเลยี้ งและระหวา งการเลย้ี ง

อยางสม่ําเสมอ 6.07

ใชลูกพันธุท่ีมาจากฟารมที่ไดรับ
การรบั รองมาตรฐาน จเี อพี หรอื
2 แหลง ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได มเี อกสารกาํ กบั AAFAFFFMFMFMPPPDDDDDD
การซอื้ –ขายลกู พนั ธสุ ตั วน าํ้ หรอื
เอกสารแสดงแหลง ทมี่ า

มีวิธีการจัดการใหอาหาร
อ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
3 ใหอาหารในปริมาณที่
เหมาะสมกับขนาดและ
ชนิดของสตั วนาํ้ ที่เลี้ยง

คู‹มอื การปฏบิ ัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สาํ หรับฟารมเลย้ี งสตั วนํ้าเพอ่ื การบรโิ ภค 5

3. การจัดการสขุ ภาพสัตวน้าํ

เหมือนกบั จีเอพี กรมประมง คือ ฟารม ควรมีการเฝาระวังและดูแล
สขุ ภาพสตั วน าํ้ ทเ่ี ลย้ี งอยา งสมาํ่ เสมอ เชน มกี ารสงั เกต สมุ ตรวจโรค เมอ่ื สตั วน าํ้
มอี าการผดิ ปกติ ควรหาสาเหตแุ ละปรบั วธิ กี ารจดั การเลย้ี งและสภาพแวดลอ ม
ใหเหมาะสม กอนจะใชยาและสารเคมี หากมีสัตวน้ําปวยตายมากผิดปกติ
หรือมีการระบาดของโรค เกษตรกรตองแจงเจาหนาที่ทราบเพื่อหาสาเหตุ
ซ่ึงเกษตรกรตองมีการจัดการซากสัตวน้ําและนํ้าทิ้งอยางถูกวิธี จดบันทึก
อาการผดิ ปกตทิ ่ีพบพรอมวธิ ีแกไข รวมถึงการใชยาและสารเคมี

(VïeĆîteìrÖċinÖaćrøyĔßd÷š rćuÿgĆêsüaĒŤ núdąÖTćhøeørÖĆ aþpćeÿuêĆ tüaîŤnćĚĞts)

ÿ×č õćóÿêĆ üŤîĚĞć ÝćĞ îüî êøüÝüđĉ ÙøćąĀŤ Ĕßš÷ćÿêĆ üŤ Ĕßÿš ćøđÙöĊ
(úĆÖþèąĂćÖćø ÿêĆ üŤîćĚĞ ĀćÿćđĀêč (÷ęĊĀšĂ, ÿćøÿĞćÙĆâ, (÷ĀęĊ Ăš , ÿćøĂĂÖùìí,ĝĉ
üĆîìęĊ ìðĊę üś ÷, êć÷ đú×ìąđïĊ÷î, ĂĆêøć đú×ìąđïĊ÷î Ēúą
ìęñĊ ĉéðÖêĉ) (ÿŠÜĀĂš ÜĒúðĘ øąïč)
ÖćøĔßĒš úąĔïÿĆęÜ÷ć) ĂêĆ øćÖćøĔß)š

Āöć÷đĀêč : ïĆîìċÖĔîÖøèĊìĊęóïüŠćÿĆêüŤîĞĚćêć÷öćÖñĉéðÖêĉ ĀøČĂðśü÷ ĒúąöĊÙüćöÝĞćđðŨîĔîÖćøĔßš÷ćÿĆêüŤ/ÿćøđÙöĊ
ĔîÖćøøÖĆ þćĔîøąĀüŠćÜÖćøđú÷ĚĊ ÜÿêĆ üŤîĞĚćïŠĂîĊĚ ìÜĆĚ îĚĊ ĔĀïš îĆ ìÖċ ßüŠ ÜđüúćìęĊöÖĊ ćøĔßĔš ĀšúąđĂĊ÷é

6 คม‹ู ือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารม เลีย้ งสตั วนา้ํ เพอ่ื การบริโภค

4. การใชยŒ าสัตว สารเคมี และผลติ ภณั ฑจลุ ชพี

เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ หามใชยาและสารเคมีท่ีหามใช
ตามกฎหมายกาํ หนด กรณจี าํ เปนตองใชเมอื่ สัตวนา้ํ ปวย ใหใ ชย าและสารเคมี
ที่อนญุ าตใหใช ขน้ึ ทะเบยี นถกู ตองและปฏบิ ตั ิตามฉลากอยา งเครงครดั

มกษ. 7436 มขี อ กาํ หนดเพิ่ม
1. การใชยาและสารเคมี ใหใชตามวิธีการใชท่ีระบุในฉลาก หรือตาม
คาํ แนะนําของสัตวแพทยห รอื เจา หนาท่ีของกรมประมง
2. กรณีมีการใชผลิตภัณฑจุลชีพ ใหใชท่ีมีการข้ึนทะเบียน และปฏิบัติ
ตามคาํ แนะนาํ การใชท่รี ะบุในฉลาก

ตวั อยา‹ งฉลากและเอกสารกาํ กบั ยาสัตว

Scan QR Code ดาวนโหลด
เอกสารเผยแพรก‹ ารใชยŒ าและสารเคมี

คมู‹ อื การปฏิบตั ติ ามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สาํ หรับฟารม เลย้ี งสตั วน ้ําเพ่อื การบริโภค 7

5. สุขลักษณะภายในฟารม

เหมือนกบั จเี อพี กรมประมง คอื หองน้าํ และหองสุขาถกู สุขลักษณะ
มรี ะบบนาํ้ ทง้ิ แยกจากระบบการเลย้ี งเพอ่ื ปอ งกนั การปนเปอ น มกี ารจดั การขยะ
และของเสยี อยา งเหมาะสม และเกบ็ รักษาปจจยั การผลติ วสั ดุ อุปกรณต า ง ๆ
อยางเหมาะสม เปน ระเบียบและสะอาด

6. นํ้าทงิ้

เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ
นํ้าท้ิงตองมีคุณภาพตามเกณฑท่ีกฎหมาย
กาํ หนด กอ นมกี ารระบายออกนอกฟารม

มาตรฐานควบคมุ การระบายน้ําท้งิ มาตรฐานควบคุมการระบายนํา้ ท้ิง
จากการเพาะเล้ยี งสตั วน้ําจืด จากการเพาะเลย้ี งสตั วน ้ํากรอ‹ ยและชายฝ›ง˜

ดัชนี หน‹วย บ‹อเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ดชั นี หน‹วย บ‹อเพาะเลี้ยงสตั วน า้ํ
พนื้ ท่ีบอ‹ ตัง้ แต‹ 10 ไรข‹ ้ึนไป พ้นื ท่บี อ‹ ต้ังแต‹ 10 ไร‹ขน้ึ ไป
ความเปšนกรดและด‹าง (pH) – ความเปนš กรดและด‹าง (pH) –
6.5 ถงึ 8.5 ความเค็ม (Salinity) – 6.5 ถึง 9.0
บโี อดี (Biochemical Oxygen mg/l ไม‹เกิน 20 บีโอดี (Biochemical mg/l –
Demand : BOD) Oxygen Demand : BOD)
ไม‹เกนิ 80 สารแขวนลอย (Suspended mg/l ไมเ‹ กนิ 20
สารแขวนลอย (Suspended mg/l ไมเ‹ กนิ 1.1 Solids : SS) mg-N/l
Solids : SS) ไมเ‹ กนิ 0.5 แอมโมเนีย (NH3+N) mg-P/l ไม‹เกนิ 70
ฟอสฟอรสั รวม mg/l ไม‹เกิน 1.1
แอมโมเนยี (NH3+N) mg-N/l ไม‹เกิน 4.0 (Total Phosphorus) mg-N/l ไมเ‹ กิน 0.4
ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ไม‹เกิน 0.01
ฟอสฟอรัสรวม mg-P/l ไม‹เกนิ 0.75 ไนโตรเจนรวม ไมเ‹ กิน 4.0
(Total Phosphorus) (Total Nitrogen)

ไนโตรเจนรวม mg-N/l
(Total Nitrogen)

สภาพการนาํ ไฟฟ‡า 1 dS/m
ท่ี 25 องศาเซสเซยี ล

8 ค‹ูมือการปฏิบตั ิตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรบั ฟารมเล้ยี งสัตวนา้ํ เพ่อื การบรโิ ภค

7. การจบั และการปฏบิ ตั หิ ลงั การจบั กอ‹ นการขนสง‹ ออกจากฟารม

เหมอื นกบั จเี อพี กรมประมง คอื มวี ธิ กี ารจบั และการปฏบิ ตั หิ ลงั การจบั
ทีเ่ หมาะสม เชน ใชน้ําแข็งควบคมุ อุณหภูมิ รักษาคุณภาพของสัตวนา้ํ ผลผลิต
สตั วน า้ํ ตอ งไมพ บสารตกคา งเกนิ เกณฑท ก่ี รมประมงกาํ หนด ในการซอื้ ขาย
สัตวนํ้าทุกคร้ังตองมีการออกหนังสือการจําหนายสัตวน้ํา (MD) และลูกพันธุ
สตั วน า้ํ (FMD) หรอื เอกสารแสดงแหลง ทม่ี า ซงึ่ มรี ายละเอยี ดตามทกี่ รมประมง
กําหนด ในกรณกี งุ ทะเลตอ งมีหนังสือกาํ กบั การซื้อขายสตั วน า้ํ และผลิตภณั ฑ
ที่ไดจากการเพาะเลี้ยง (APPD) และหนังสือกํากับการซ้ือขายลูกพันธุสัตวน้ํา
ที่ไดจากการเพาะเล้ียง (AFPD) ทุกคร้ังท่ีซื้อ–ขาย ภาชนะและอุปกรณที่ใช
ควรสะอาด ถกู สขุ ลกั ษณะ อยูใ นสภาพพรอ มใชงาน

8. ผูปŒ ฏบิ ัติงาน

มกษ. 7436–2563 มขี อ กาํ หนดเพม่ิ
ผปู ฏบิ ตั งิ านควรมคี วามรใู นงานทรี่ บั ผดิ ชอบ
ไดร บั การฝก อบรม/สมั มนา หรอื แลกเปลย่ี น
ขาวสารในกลุมเกษตรกรเกี่ยวกับการเพาะ
เลี้ยงสัตวนํา้ ยาสัตว สารเคมี สุขลักษณะ
ภายในฟารม รวมถงึ กฎระเบยี บที่เกี่ยวของ

ค‹ูมอื การปฏิบตั ิตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเล้ียงสัตวนํา้ เพ่อื การบรโิ ภค 9

9. การเกบ็ หลักฐานและการบนั ทึกขŒอมูล

เหมือนกับ จเี อพี กรมประมง คือ

(1) ฟารม ตอ งมกี ารเกบ็ เอกสารหลกั ฐานทส่ี ามารถตรวจสอบได
ไดแ ก ทบ.1 จสค. MD FMD APPD AFPD บนั ทกึ การใชย า/
สารเคมี

(2) ฟารม ควรมกี ารบนั ทกึ ขอ มลู ตา ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั การเลยี้ ง
อยางสม่ําเสมอและเปน ปจจบุ นั เชน คุณภาพนาํ้ สุขภาพ
สัตวนา้ํ บนั ทึกการตาย การใหอ าหาร หรือหลกั ฐานอ่นื ๆ
ท่เี กย่ี วขอ งกับการเล้ยี ง และหลักฐาน/บันทึกฝกอบรม
มกษ. 7436–2563 มขี อ กาํ หนดเพมิ่
ใหมีการเก็บรักษาบันทึกขอมูลเปนเวลา
ไมน อ ยกวา 3 ป

Scan QR Code ดาวนโหลด
สมดุ บันทึกการเพาะเลยี้ งสตั วน า้ํ

10 คู‹มอื การปฏิบตั ิตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสตั วนาํ้ เพือ่ การบริโภค

สินคาŒ เกษตรทม่ี าและความสําคัญของมาตรฐาน

เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน คือ เครื่องหมายท่ีใชแสดงกับสินคา
เกษตรเพ่ือเปนการรับรองเก่ียวกับแหลงกําเนิด สวนประกอบ วิธีการผลิต
คณุ ภาพ หรอื คณุ ลกั ษณะอนื่ ใดของสนิ คา เกษตร ซง่ึ มคี วามสาํ คญั ในการสอื่ สาร
ขอมูลไปยังผูบริโภคหรือผูซ้ือ เพ่ือใหเกิดการยอมรับ เชื่อมั่น และเช่ือถือตอ
สินคาเกษตรวามมี าตรฐาน คุณภาพ และความปลอดภยั

กษ XX XXXX XX XXX XXXXXX GAP 1 หมายถึง ช่อื ผปู ระกอบการตรวจสอบมาตรฐาน
2 หมายถึง รหัสมาตรฐานสินคา เกษตร
12 3
ที่ใหการรับรอง
เคร่อื งหมายมาตรฐานท่ัวไป 3 หมายถึง รหสั จงั หวดั รหสั ชนดิ สนิ คา รหสั แปลง
มีลกั ษณะเปนรูปตวั อกั ษร Q สเี ขียวทรงกลม
ทีไ่ ดร ับการรบั รอง

วิธีการใชŒและแสดงเครื่องหมายรับรอง
มาตรฐานสินคŒาเกษตร

เกษตรกรท่ีไดรับการรับรองสามารถแสดง
ใบรับรองไดที่สถานประกอบการใหเห็นไดงาย
และชัดเจน โดยวางไวท่ีสินคาเกษตรหรือแสดง
ไวท ส่ี งิ่ บรรจุ หบี หอ สงิ่ หอ หมุ สงิ่ ผกู มดั ปา ยสนิ คา
หรือเอกสารโฆษณาประชาสมั พนั ธ

ตวั อย‹างใบรบั รองมาตรฐาน

ค‹ูมอื การปฏิบัตติ ามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารม เลยี้ งสตั วน ํา้ เพือ่ การบรโิ ภค 11

มข้ันาตตรอฐนากนารGรAบั Pรอมงกษ. 7436 ระยะเวลา 85 วันทาํ การ

เกษตรกรยื่นคาํ ขอ
การรับรองมาตรฐานไดŒ
ณ สาํ นกั งานประมงจังหวดั 1

หรือศูนยฯ ในพ้นื ท่ี

ผูŒตรวจประเมนิ เขŒาตรวจประเมนิ ฟารม 2
พรอŒ มเกบ็ ตัวอย‹างสัตวนา้ํ เพอื่ ตรวจ
วิเคราะหสารตกคŒาง เจŒาหนŒาท่รี บั คําขอสง‹ คําขอ
ผา‹ นโปรแกรมมายัง กมป.
3

กมป. ออกใบรบั รอง
ท่มี เี ครอื่ งหมาย Q
ใหŒเกษตรกรและเผยแพร‹ 5 4

ขŒอมลู ผŒูไดŒรบั การรับรอง คณะทํางานตัดสนิ การรับรอง
ผา‹ นเว็บไซต พิจารณาตดั สนิ การรับรอง

เอกสารประกอบการยื่นคําขอรับการรับรอง
• สําเนาทะเบยี นฟารม • บัตรประจําตวั ประชาชน
• หนังสอื มอบอํานาจ • สําเนาทะเบียนบŒาน

(หากไม‹ใชเ‹ จŒาของฟารม) • แผนทแี่ ละแผนผงั ฟารม


Click to View FlipBook Version