The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารรายงานก่อนเปิดภาคเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุพรรณษา สิงห์ซอม, 2021-10-29 04:05:15

เอกสารรายงานก่อนเปิดภาคเรียน

เอกสารรายงานก่อนเปิดภาคเรียน

เอกสารรายงานความพร้อมก่อน
เปิดภาคเรยี นท่ี 2/2564

โรงเรยี นภู่วิทยา อำเภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสีมา

โรงเรียนภูว่ ทิ ยา
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษานครราชสีมา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ
เพอื่ เปน การเตรยี มความพรอ ม โรงเรียนภวู ทิ ยา อำเภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสมี า ปฏิบตั กิ ารขนั้ ตอน และ
รายละเอยี ดท่เี ก่ียวของ มีแสดงในเอกสารฉบับนี้อยางยอ อันประกอบไปดว ย 1)รปู แบบการเรยี นการสอนใน
สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
โรงเรยี นภวู ทิ ยา 2) แผนเผชญิ เหตุฯ 3)แนวปฏิบัตสิ ำหรบั บุคลากร ผปู ฏิบัติงานสถานศึกษา รถรับสง 4)บรบิ ทของ
โรงเรยี นฯ 5)สถติ ิการฉีดวัคซีน 6)เกยี รตบิ ตั รจากโปรแกรม TSC+

ทั้งนกี้ ารดำเนนิ งานไดร ับความรวมมอื เปนอยางดจี าก ผอู ำนวยการโรงเรียนนางอังคณา คำสิงหน อก
นางสาวสุรียพ ร ซื่อรัมย รองผูอำนวยการโรงเรยี นภวู ิทยา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรียนภวู ิทยา
คณะครู นักเรียน ตลอดจนผปู กครอง และชมุ ชน จึง ใครขอขอบคุณ ทุกทานท่มี ีสว นในการดำเนนิ งาน มา ณ
โอกาสน้ี

โรงเรียนภวู ทิ ยา

75

สารบัญ หน้า

เรื่อง 1

รูปแบบการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 4
2019 (COVID-19) 4
แผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา 4
บทท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 4
1.1 ขอ้ มูลท่ัวไป 5
1.2 เขตพนื้ ที่บริการ 7
1.3 รายช่อื คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 7
บทท่ี 2 บทนำ 7
2.1 ไวรสั โคโรนา หรอื โควดิ -19 คอื อะไร 8
2.2 สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 8
2.3 อาการเม่อื ติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 10
2.4 วิธปี อ้ งกนั การตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 10
บทท่ี 3 แผนเผชญิ เหตุรองรบั สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาฯ 10
3.1 วตั ถปุ ระสงค์
3.2 แนวปฏบิ ัติแผนเผชิญเหตรุ องรับการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 11
ในสถานศึกษา 12
3.3 แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 14
3.4 แนวปฏิบัตสิ ำหรับบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 16
3.5 ด้านอนามยั ส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรยี น
บทท่ี 4 แนวปฏิบตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษา กรณสี งสยั วา่ นักเรยี นหรอื บคุ ลากร 16
ท่มี ีภาวะเสี่ยงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
4.1 แผนรับรองการจัดการเรยี นการสอนสำหรับนักเรียนปว่ ย 17
กักตัว หรือกรณปี ิดโรงเรยี น
4.2 มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 กรณีเกดิ 17
การระบาด เมื่อพบผูป้ ่วยยืนยนั อยา่ งน้อย 1 ราย 17
4.3 การกำกับ ติดตาม และรายงานผล สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ 18
4.4 แนวทางปฏิบตั ิเม่อื ต้องกกั ตวั 14 วนั
4.5 แนวทางปฏิบัตเิ มือ่ พบผู้ป่วยยืนยนั โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน 19
สถานศกึ ษา
4.6 แนวปฏบิ ตั ิในการควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
กรณีเมื่อพบผูป้ ว่ ยยนื ยนั ของโรงเรียนภู่วิทยา

76 หนา้

สารบัญ (ต่อ) 20
21
เรื่อง 39
53
บทท่ี 5 การสรา้ งความรว่ มมือจากทุกภาคสว่ น การสนับสนนุ หนว่ ยรับผดิ ชอบ 54
ภาคผนวก
บริบทของชุมชนรอบโรงเรียนในสถานการณ์โควดิ
การฉดี วคั ซนี
เกียรติบัตรจากโปรแกรม TSC+

รูปแบบการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนภู่วิทยา

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 กระทรวงศกึ ษาธิการ
ได้กำหนดให้เปิดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 นั้น โรงเรียนภู่วิทยาจึงได้
จดั ทำแนวทางการจัดการเรียนการสอน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
COVID-19 โดยพจิ ารณาสาระสำคัญจากคู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกนั การแพร่ระบาดของ
COVID-19 ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์
การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 32) ลงวันที่ 20 กันยายน 2564 โรงเรียนจึง
กำหนดวนั เปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ในวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564 โดยมรี ปู แบบการจดั การเรียน
การสอนที่เปน็ ไปได้จากการประเมนิ สถานการณ์และความเหมาะสมตามบริบทโรงเรยี น ดังนี้

1. รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online)

เนื่องจากนกั เรียนยงั ไมไ่ ดร้ บั วคั ซีนเขม็ ท่ี 2 และมสี ถานการณน์ ำ้ ทว่ มในพ้นื ทห่ี มูบ่ ้านของนกั เรียน
จำนวน 21 หมู่บ้าน ทำให้นักเรียนไม่สามารถเดินทางมาโรงเรียนได้ จากเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนจึงมีการ
ประชุม ปรึกษาหารือ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนภู่วิทยาลงมติเห็นชอบ และผ่านความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานให้จดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ตั้งแต่วนั ที่ 1 - 30
พฤศจิกายน 2564

โดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์นั้น ไดจ้ ดั การเรยี นการสอนผ่าน Google Classroom ตาม
ตารางสอนที่โรงเรียนจัดไว้ โดยมีการสอนแบบถ่ายทอดสดด้วยแอพพลิเคชัน Google Meet และอื่น ๆ
นอกจากนี้โรงเรียนได้มีแนวทางในการจดั การเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น จดั การเรียนการสอนในรูปแบบ
On Demand และ On Air ตามความเหมาะสม

2. รปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบช้ันเรียน (Onsite)

โรงเรียนมีผลการประเมินตนเอง “ผ่าน” ตามแบบประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษาในระบบ Thai
Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน และปฏิบัติตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ ารเรอ่ื ง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนหรอื สถาบนั การศึกษาตามข้อกำหนดตามความในมาตรา
9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 32) ลงวันที่ 20
กันยายน 2564 ซึ่งกำหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School โรงเรียนนำเสนอรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอน การปรับปรุงห้องเรียนให้มีขนาดใหญ่ สามารถจัดการเรียนรู้อย่างปลอดภัยเป็นตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ตามข้อกำหนดออกตาม
ความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 34)
โดยผ่านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
(กศจ.) และศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัด (ศปก.จ.) เมื่อได้รับอนุญาตแล้วโรงเรียนจึงจะสามารถเปิดการ
เรยี นการสอนได้

2

เม่ือโรงเรยี นเปิดให้มกี ารเรียนการสอนตามปกติ ทเ่ี น้นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในโรงเรยี นหรอื
ในชั้นเรียนเป็นหลัก ครูผู้สอนสามารถนำรูปแบบการเรียนการสอนอื่น ๆ มาผสมผสาน (Hybrid) ใช้กับการ
เรียนการสอนเพิ่มเติมในชั้นเรียนได้ เช่น การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตผ่าน
แอปพลิเคชัน (Online) หรือรูปแบบอื่น ๆ ตามความพร้อม และความต้องการของสถานศึกษา หรือครูผู้สอน
ดังนี้
2.1 การจดั การเรยี นการสอนในแบบชัน้ เรียน (Onsite)

โรงเรียนประเมินตนเอง หากสามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติในวันที่ 1 ธันวาคม 2564
เป็นต้นไป นักเรียนทุกคนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 มาเรียนและทำกิจกรรมที่โรงเรียน โดยเรียน
วันละ 8 คาบ คาบละ 50 นาที เริ่มเรียนคาบที่ 1 ในเวลา 08.20 น. และพักรับประทานอาหารกลางวันใน
เวลา 10.50 น. สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และเวลา 11.40 น. สำหรับนักเรียนใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เลิกเรียนพร้อมกันในเวลา 16.00 น. ตามตารางเรียนที่กลุ่มบริหารงาน
วิชาการได้จัดให้ โดยปฏิบัติตามข้อปฏิบัติด้านสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมและสังคม ตามคู่มือการปฏิบัติสำหรับ
สถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รวมท้ัง
ดำเนนิ การตาม แนวปฏิบตั ดิ า้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกันโรคโควดิ 19 ในสถานศกึ ษา แนวปฏิบัติด้าน
สาธารณสุข แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้จัดกิจกรรม แนวทางปฏิบัติติสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้ง
ประชาสัมพนั ธ์ เน้นย้ำมาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก DMHT-RC และ 6
มาตรการเสรมิ ดังปรากฎในค่มู อื มาตรการเพือ่ เฝา้ ระวงั และปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
ก่อนเปิดภาคเรยี น โรงเรยี นภู่วทิ ยา
1.2 การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ในแบบชัน้ เรยี น (Onsite)

หากยังมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 อยู่ และโรงเรียนอยู่ในพื้นที่ปลอดภัย ภายใต้
พรก.ฉุกเฉิน โรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) โดยแนวทางการ
จดั การเรยี นการสอนของโรงเรียนภู่วิทยาได้ยึดหลกั การจดั การเรียนการสอน ตามแนวทางการจัดการเรียนการ
สอนของโรงเรยี นสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนภู่วิทยาได้เลอื กใช้การจดั การเรยี นการสอน
แบบผสมผสาน (Blended Learning) การจัดการเรยี นรู้ท่ีใชร้ ูปแบบการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย เป็นการเรียนรู้ที่
เกดิ ขึ้นในหอ้ งเรียนผสมผสานกบั การเรียนร้นู อกห้องเรียนที่ครูและนกั เรยี นไม่ได้เผชิญหน้ากันหรือการใช้แหล่ง
เรยี นรทู้ ี่มอี ยูอ่ ย่างหลากหลาย ซึ่งมีเป้าหมายอยู่ที่การเรียนรูข้ องนักเรียนเป็นสำคัญ ดงั นัน้ การจัดการเรียนการ
สอนของโรงเรยี นภู่วิทยาจะมีท้งั การสอนแบบ On-site และ Online รวมไปถึงการสบื ค้นขอ้ มูลด้วยตนเองจาก
หนงั สือเรยี นและแหล่งเรียนรู้

3

โรงเรยี นภูว่ ิทยาปฏิบัตติ ามแผนเผชญิ เหตุฯ ในสว่ นของการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี
1. จดั การเรียนการสอนไดต้ ามปกติ เลขทค่ี ี่มาเรยี น 1 สัปดาห์ และเลขคู่มาเรยี นในสปั ดาห์ถัดไป
สลับกัน ดังนี้

ตารางการเรียนการสอนแบบ Hybrid เลขที่ค่/ู ค่ี สลบั สัปดาห์

ธนั วาคม 2564

อาทิตย์ จนั ทร์ องั คาร พธุ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์

5 1 (เลขที่คี)่ 2 (เลขทค่ี ่)ี 3 (เลขที่ค่ี) 4
12
19 6 (เลขท่ีค)ู่ 7(เลขทค่ี ู่) 8 (เลขทคี่ )ู่ 9 (เลขทคี่ )ู่ 10 (เลขท่คี )ู่ 11
26
13 (เลขทค่ี )่ี 14 (เลขทคี่ ่)ี 15 (เลขท่ีค)่ี 16(เลขทค่ี ี)่ 17 (เลขท่ีค)่ี 18

20(เลขทค่ี ู)่ 21(เลขทีค่ )ู่ 22(เลขทค่ี ู)่ 23(เลขทค่ี ู)่ 24(เลขทค่ี ่)ู 25

27 (เลขที่ค)่ี 28 (เลขทีค่ ่)ี 29 (เลขทค่ี )่ี 30(เลขทค่ี )่ี 31(เลขท่ีค)่ี

มกราคม 2564

อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พธุ พฤหัสบดี ศกุ ร์ เสาร์

2 1
9
16 3 (เลขท่ีคู่) 4 (เลขทีค่ ู่) 5 (เลขทีค่ ู)่ 6 (เลขที่คู่) 7(เลขท่ีคู่) 8
23
30 10 (เลขท่ีค่ี) 11 (เลขท่ีคี)่ 12(เลขทีค่ ่ี) 13(เลขทค่ี ่ี) 14(เลขที่คี่) 15

17(เลขทีค่ ู)่ 18 (เลขทค่ี )ู่ 19 (เลขทค่ี ่)ู 20 (เลขที่คู่) 21 (เลขที่คู่) 22

24(เลขทค่ี )ี่ 25(เลขทค่ี ่)ี 26(เลขที่ค่ี) 27(เลขที่คี่) 28(เลขท่ีค่ี) 29

31

*หยุดเรยี นตามวนั หยุดของราชการ เวน้ แต่จะมีประกาศเป็นอยา่ งอื่น
2. นักเรียนมธั ยมศึกษาปที่ 1 – 6 มาเรยี นและทำกจิ กรรมทโ่ี รงเรียน โดยเรยี นวันละ 8 คาบ คาบละ

50 นาที เร่ิมเรียน คาบที่ 1 ในเวลา 08.20 น. และพักรับประทานอาหารกลางวนั ในเวลา 11.20 น.
สำหรบั นักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน และเวลา 12.20 น. สำหรบั นกั เรยี นในระดบั ชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย เลิกเรียนพรอมกนั ในเวลา16.20 น. ตามตารางเรียนทก่ี ลุมงานบริหารวชิ าการไดจดั ให โดยปฏิบัติ
ตามข้อปฏบิ ตั ดิ านสขุ อนามัย สิง่ แวดลอมและสังคม ตามคูมือการปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การ
แพรระบาดของโรคโคโรนา 2019 ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและอ่นื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

4

แผนเผชิญเหตุรองรบั การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศกึ ษา
บทที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา

1.1 ขอ้ มูลท่ัวไป
ท่ตี ั้ง เลขที่ 126 หมู่ท่ี 4 บา้ นหวั โคก ตำบลโนนแดง อำเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีมา รหัสไปรษณีย์

30360 สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาการมัธยมศึกษานครราชสมี า
การติดตอ่ โทรศัพท์ 0-4447-5070 โทรสาร 0-4447-5070
website: http://www.phoowittaya.ac.th.

Facebook : https://www.facebook.com/phoowittaya
บนทด่ี นิ สาธารณประโยชน์ มีพน้ื ที่ 43 ไร่ 99 ตารางวา โดยการริเร่มิ ของพระครูมนูญธรรมเวที (ภู่ ถริ วริ ิโย)
เจ้าอาวาสวัดโนนแดง โดยได้รับความรว่ มมือเป็นอยา่ งดีจากพ่อค้า คหบดใี นเขตอำเภอโนนแดง และไดร้ ับอนุมตั ิ

ให้จัดต้ังข้นึ เม่ือวนั ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2519 เปดิ ทำการสอนในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ แบบสหศึกษา มี
ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนคนแรกคือ นายสกล ปญั จการญุ ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ และไดร้ บั อนมุ ัติให้เปิดสอนในระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาตอนปลายในปกี ารศึกษา 2534 โรงเรียนภ่วู ิทยาเติบโตข้นึ อย่างรวดเร็ว โดยได้รับการสนบั สนนุ

จากประชาชน องคก์ ร และหนว่ ยงานทั้งภาครฐั ภาคเอกชนในท้องถ่ินเปน็ อย่างดี ชุมชนใหค้ วามเชอ่ื ถือในการ
จดั การศกึ ษาที่มคี ุณภาพของโรงเรียน ได้ส่งบุตรหลานเข้าเรียนเปน็ จำนวนมาก
1.2 เขตพื้นที่บริการ

ลำดับที่ ชอื่ ชือ่ หม่บู า้ น ตำบล อำเภอ จงั หวดั

1 บ้านโกรกสำโรง โกรกสำโรง โนนตาเถร โนนแดง นครราชสมี า

2 บ้านนาดี นาดี โนนตาเถร โนนแดง นครราชสีมา

3 บา้ นปา่ ตะแบง ป่าตะแบง โนนตาเถร โนนแดง นครราชสีมา

4 บา้ นดอนยาว ดอนยาว ดอนยาว โนนแดง นครราชสีมา

5 บา้ นดอนตดั เรือ ดอนตดั เรือ ดอนยาว โนนแดง นครราชสีมา

6 บา้ นตะคร้อ ตะคร้อ เทพาลยั คง นครราชสมี า

7 บ้านกระถนิ กระถนิ เทพาลยั คง นครราชสมี า

8 บา้ นคอนเมือง คอนเมือง เทพาลยั คง นครราชสีมา

9 บ้านหินต้ัง หินตั้ง วังหิน โนนแดง นครราชสีมา

10 บ้านหนองหญ้าขาว หนองหญ้าขาว สำพะเนียง โนนแดง นครราชสมี า

11 บา้ นฝาง บ้านฝาง สำพะเนยี ง โนนแดง นครราชสีมา

12 บ้านสำพะเนยี ง สำพะเนียง สำพะเนยี ง โนนแดง นครราชสีมา

13 คูเตยราษฎร์สามคั คี คเู ตย สำพะเนยี ง โนนแดง นครราชสมี า

5

ลำดบั ท่ี ชือ่ ชือ่ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จงั หวดั
14 บา้ นหญ้าคา หญา้ คา นางรำ ประทาย นครราชสีมา
15 บ้านนางรำ นางรำ นางรำ ประทาย นครราชสมี า
16 บา้ นโนนสูง โนนสูง นางรำ ประทาย นครราชสมี า
17 บา้ นจาบ โนนแดง โนนแดง โนนแดง นครราชสีมา
18 ชุมชนโนนแดง โนนแดง โนนแดง โนนแดง นครราชสมี า
19 บ้านหนองบง หนองบง โนนแดง โนนแดง นครราชสมี า
20 วดั บา้ นตะเภาหนนุ ตะเภาหนุน โนนแดง โนนแดง นครราชสีมา
21 ราษฎรส์ โมสร ดงนอ้ ย กระชอน พิมาย นครราชสีมา
22 บา้ นดงประชานกุ ลู ดงนอ้ ย กระชอน พิมาย นครราชสีมา
23 บ้านโนนตะแบก โนนตะแบก กระชอน พิมาย นครราชสมี า
24 บา้ นตลาดประดู่ ตลาดประดู่ กระชอน พมิ าย นครราชสมี า
25 บ้านทับควาย ทบั ควาย กระชอน พิมาย นครราชสีมา
26 บา้ นโนนพทุ รา โนนพทุ รา ชีวาน พมิ าย นครราชสีมา
27 บา้ นชวี าน ชีวาน ชีวาน พมิ าย นครราชสีมา
28 บ้านดอนเขว้า ดอนเขวา้ ชวี าน พมิ าย นครราชสมี า

1.3 รายชอ่ื คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ลำดับท่ี ชอื่ – สกลุ ตำแหน่ง
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
1 นายธรี พงษ์ จนิ ตนามณีรัตน์ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
2 นายวรากร พุฒพิ งศ์พยอม ผูท้ รงคณุ วุฒิ
ผ้ทู รงคณุ วุฒิ
3 นายณรงค์ ดุลสนั เทียะ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
4 นายประกาศิต ประภาภวู มาส ผู้แทนครู
ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
5 นายสมโภชน์ จินตนามณรตั น์ ผู้แทนองค์กรชมุ ชน

6 นายสขุ เพ็ชรสาแสน

7 นายสมนึก วรรณวกิ รม์

8 นายบุญช่วย ดวงแก้ว

9 นายกอ้ งเกยี รติ ชนากลาง

10 นางพทิ ธยิ า พฒั นเดชากุล

6

ลำดบั ที่ ช่ือ – สกลุ ตำแหนง่
11 นายบญุ เหลอื บญุ งอก ผู้แทนผูป้ กครอง
12 นายบุญยงั นาคแท้ ผู้แทนศษิ ยเ์ ก่า
13 พระปลดั นุกลู ธรรมธโี ป ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์
14 พระมหาชูชาติ โสภณจติ โต ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆ์
15 นางอังคนา คำสงิ หน์ อก กรรมการและเลขานุการ

ปัจจุบนั มบี คุ ลากรทางการศกึ ษา 50 คน นักเรียน 700 คน ในปีการศึกษา 2564 จัดการเรียนการ
สอนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เปน็ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ช้ัน
มัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 โครงการโรงเรยี นคุณภาพ SMT ตามมาตรฐาน สสวท.โครงการห้องเรียนพเิ ศษ
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพวิ เตอร์เปน็ ภาษาองั กฤษ (EIS) ในช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 มีโครงการ
หอ้ งเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพวิ เตอร์เป็นภาษาอังกฤษ (EIS) โครงการหอ้ งเรยี นเตรยี ม
พยาบาล และสอนรายวิชาเพิ่มเติมหลักสูตรมาตรฐานสากล ในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 และช้นั มธั ยมศกึ ษา
ปที ่ี 4 รายวิชา IS (Independent Study) และกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์

7

บทท่ี 2
บทนำ

2.1 ไวรสั โคโรนา 2019 หรือโควิด-19 คอื อะไร
ไวรสั โคโรนา (Coronavirus) เปน็ ไวรสั ทถี่ ูกพบคร้งั แรกในปี 1960 แตย่ ังไมท่ ราบแหล่งทมี่ าอย่าง

ชดั เจนวา่ มาจากที่ใด แต่เปน็ ไวรัสท่ีสามารถตดิ เชอื้ ไดท้ ง้ั ในมนษุ ย์และสัตว์ ปจั จุบนั มีการคน้ พบไวรสั สายพันธุ์น้ี
แลว้ ท้ังหมด 6 สายพันธุ์ สว่ นสายพนั ธุ์ทก่ี ำลังแพรร่ ะบาดหนักท่ัวโลกตอนนเ้ี ปน็ สายพนั ธุ์ท่ยี ังไมเ่ คยพบมาก่อน
คอื สายพันธ์ทุ ี่ 7 จงึ ถูกเรยี กวา่ เป็น “ไวรัสโคโรนา 2019 ” และในภายหลงั ถกู ตัง้ ชอื่ อย่างเป็นทางการวา่
“โควิด-19” (COVID-19)
2.2 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

จากการรายงาน สถานการณ์ ของทีมตระหนักร้สู ถานการณ์ในภาวะฉุกเฉินโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
2019 กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสขุ ประเด็นท่ีน่าสนใจในต่างประเทศ ณ วันท่ี 7 กรกฎาคม 2564

- สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี รฐั บาลวางแผนสำรองการผลิตออกซเิ จน ร้อยละ 90 เพ่ือรองรบั ความ
ตอ้ งการทางการแพทย์ ท่ามกลางจำนวนผู้ป่วยโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทเ่ี พ่ิมสูงขน้ึ โดย
ออกซิเจนทงั้ หมดจะถูกนำไปใช้ใน 7 จังหวดั บนเกาะชวา และบาหลี ไดแ้ ก่ บนั เตนิ จาการต์ า้ ชวาตะวนั ตก ชวา
กลาง ยอกยาการต์ า ชวาตะวันออกและบาหลี

- ราชอาณาจักรกัมพชู า รัฐบาลสงั่ ให้เจ้าหน้าทท่ี ้องถ่นิ เพ่มิ ความเข้มงวดในการตรวจสอบทุกคนท่เี ดิน
ทางเขา้ ประเทศและมีการปิดดา่ นทางบก ท่ตี ดิ กับประเทศเวียดนามชัว่ คราวเพื่อสกัดไม่ใหโ้ รคติดเชอ้ื ไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) แพร่เขา้ มาสกู่ ัมพูชาและใชม้ าตรการหลากหลายเพื่อชะลอการแพร่ระบาดในประเทศ

– สาธารณรฐั เกาหลรี ัฐบาลวางแผนขยายการจำกัดจำนวนคนในการรวมตัวทางสงั คมจาก 4 คนเปน็ 6
คน ขยายเวลารับประทานอาหารในรม่ ที่ร้านอาหารจนถงึ เท่ียงคืน และอนุญาตให้ผทู้ ี่ไดร้ ับวคั ซีนปอ้ งกันโรค ตดิ
เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แลว้ ออกไปนอกบา้ นโดยไมส่ วมหนา้ กากอนามัยต้ังแตเ่ ดือนนย้ี กเว้น ใน
กรงุ โซลและพนื้ ที่ใกล้เคยี ง เนื่องจากยังมผี ู้ตดิ เชอ้ื เพิ่มขน้ึ

- มาตรการในประเทศไทย ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร ตรวจความพร้อม “ศูนย์พักคอยเพ่อื ส่งต่อ วัด
อนิ ทรวหิ าร” เพ่ือเตรยี ม รองรบั ผปู้ ่วยทีต่ ดิ โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพน้ื ท่กี ่อนน าส่ง
โรงพยาบาล ซง่ึ รองรับผูป้ ่วยได้250 เตียง โดยคาดวา่ จะเปิด ใหบ้ รกิ ารวนั ที่ 9 กรกฎาคม 2564 ต้งั เป้าขยาย
20 ศูนย์เพื่อใหส้ ามารถรองรับผู้ป่วยได้ 3,000 ราย

กรมอนามยั จัดทำแผนเผชิญเหตุ เม่อื พบการติดเชือ้ ในชมุ ชน โรงเรียน ครูและนกั เรียน สถานศกึ ษา
จะต้องปฏิบตั ิอยา่ งไร สำหรับมาตรการในการเปิดเรยี นทตี่ ้องเนน้ ยำ้ คือ โรงเรียนต้องประเมิน Thai Stop 9
แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 COVID Plus สว่ นนกั เรียน ครู
บคุ ลากรทางการศึกษาและครอบครัว ประเมนิ ความเสี่ยง Thai Save Thai หากมีความเสยี่ งสูงต้องปฏิบัติตาม
DMHTT อย่างเครง่ ครดั สวมหนา้ กากอนามยั 100% โดยเฉพาะครูจะต้อง มีการสวมหน้ากากอนามยั ใสเ่ ฟส
ชลิ ปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตเุ ม่อื มีการติดเช้ือในโรงเรยี นหรือชุมชน และมี ทีมกำกับตดิ ตามเฝา้ ระวงั การ
ระบาดในโรงเรยี นหรือชุมชน

กรมควบคุมโรค เสนอปรับมาตรการควบคมุ โรคใหเ้ หมาะสมใน 4 มาตรการ คือ
1. การค้นหาผตู้ ิดเชือ้ ดูแลรักษา แยกกักตัวและควบคมุ โรค เน้นผสู้ ูงอายุและผู้ทีเ่ สย่ี งต่อการปว่ ย
รุนแรง

8

2. การจัดการเตียง มีการกักตวั ดแู ลรักษาทบ่ี ้าน หากมอี าการมากข้ึนจะสง่ ตอ่ เขา้ รกั ษาใน
สถานพยาบาล

3. มาตรการวัคซีน โดยจดั วัคซีนบสู เตอร์โดสให้บคุ ลากรทางการแพทย์ด่านหน้า เพอื่ ใหภ้ มู ิคุ้มกัน
สูงขนึ้ ปอ้ งกนั โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ชนิดกลายพนั ธ์ุไดร้ วมถึงเน้นฉีดวัคซนี ในผสู้ งู อายุ
และโรคเรือ้ รงั 7 กลุ่มโรค เพ่ือลดอัตราการป่วยรนุ แรงและเสียชีวิต

4. มาตรการทางสงั คมและองคก์ รก่อนเขา้ ส่ชู วี ติ วิถใี หม่
ในรอบสปั ดาห์ท่ผี า่ นมาสาหรับสถานการณ์ผู้ตดิ เชอ้ื ในประเทศไทยมีผยู้ ืนยนั ตดิ เชอ้ื จำนวนกวา่
10,000 คน และผเู้ สยี ชีวิตกว่า 80 ราย ดงั นนั้ ความเข้มแขง็ ของระบบเฝา้ ระวงั ผูป้ ่วยโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ในผู้ป่วยกลมุ่ อาการคล้ายไข้หวดั ใหญ่ และผ้ปู ว่ ยปอดอักเสบในสถานพยาบาล ตลอดจน
ความรว่ มมือของภาค ประชาชนในการสอดส่องผูท้ ่เี ดินทางแปลกหนา้ ท่ีเขา้ มาภายในชุมชน และปฏบิ ัติตาม
มาตรการทาง สาธารณสุขต่าง ๆ นอกจากนี้ควรเรง่ ดาเนินการจดั สรร กระจายและฉดี วัคซนี ใหก้ บั ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
และบุคลากร ทางการแพทยด์ ่านหน้า
2.3 อาการเม่ือติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
มอี าการทีส่ ังเกตได้งา่ ย ๆ ดว้ ยตวั เอง ดงั น้ี
1. มีไข้
2. เจ็บคอ
3. ไอแห้ง ๆ
4. น้ำมกู ไหล
5. หายใจเหน่ือยหอบ หากมีอาการของโรคที่เกิดข้นึ ตาม 5 ข้อดังกล่าว ควรพบแพทย์เพ่ือทำการตรวจ
อยา่ งละเอียด และ เมื่อแพทย์ซกั ถามควรตอบตามความเป็นจริง ไมป่ ิดบัง ไมบ่ ิดเบอื นขอ้ มลู ใด ๆ เพราะจะเป็น
ประโยชน์ต่อการ วนิ ิจฉยั โรคอย่างถูกต้องมากท่ีสดุ
- หากเพงิ่ เดนิ ทางกลบั จากพื้นทเี่ สี่ยง ควรกกั ตัวเองอยู่แตใ่ นบ้าน ไม่ออกไปขา้ งนอกเปน็ เวลา
14 – 27 วัน เพือ่ ใหผ้ ่านช่วงเช้ือฟักตัว และใหแ้ น่ใจ วา่ ไม่ติดเชอ้ื
2.4 วิธปี อ้ งกนั การตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
1. หลกี เล่ียงการใกลช้ ดิ กับผู้ป่วยทีม่ อี าการไอ จาม นำ้ มูกไหล เหนอ่ื ยหอบ เจบ็ คอ
2. หลกี เลยี่ งการเดนิ ทางไปในพืน้ ทีเ่ ส่ยี ง
3. สวมหนา้ กากอนามยั ทุกครง้ั เมอ่ื อยใู่ นทีส่ าธารณะ
4. ระมดั ระวงั การสมั ผัสพ้นื ผวิ ท่ีไมส่ ะอาด และอาจมีเช้อื โรคเกาะอยู่ รวมถึงส่งิ ทม่ี ีคนจับบ่อยคร้ัง เชน่
ทเ่ี ปิด-ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้ำ ราวบันได ฯลฯ เม่ือ จับแล้วอยา่ เอามือสัมผสั หน้า และขา้ ว
ของเครือ่ งใชส้ ่วนตัวต่าง ๆ เชน่ โทรศัพท์มือถือ กระเปา๋ ฯลฯ
5. ล้างมือใหส้ ม่ำเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจล อยา่ งน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของ
แอลกอฮอล์ไมต่ ำ่ กวา่ 70% (ไมผ่ สมน้ำ)
6. งดจับตา จมูก ปากขณะท่ีไม่ได้ล้างมือ
7. หลกี เลย่ี งการใกลช้ ิด สัมผัสสัตวต์ ่าง ๆ โดยท่ีไมม่ ีการปอ้ งกัน
8. รบั ประทานอาหารสุก สะอาด ไม่ทานอาหารทที่ ำจากสัตวห์ ายาก
9. สำหรับบคุ ลากรทางการแพทยห์ รือผู้ทตี่ ้องดูแลผู้ปว่ ยที่ติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โดยตรง ควรใสห่ นา้ กากอนามัย หรือใสแ่ ว่นตานิรภัย เพอ่ื ป้องกนั เช้ือในละอองฝอยจากเสมหะ
หรอื สารคัดหล่งั เข้าตา

9

โรงเรยี นภูว่ ิทยา มีความตระหนกั และมีความห่วงใยในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชือ้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในระยะเปิดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นได้ ดำเนนิ การ
เตรียมความพรอ้ มในการจดั การเรยี นการสอน การจดั เตรียมสถานที่ เพื่อรองรบั การเปดิ เรียนแบบ On site ทง้ั
รปู แบบการจดั การเรียนการสอน การเวน้ ระยะหา่ ง การจัดสถานทนี่ ัง่ เรยี น รับประทานอาหาร การเวน้
ระยะห่างในการซ้ืออาหาร อีกทง้ั เตรยี มความพร้อมดา้ น ความรคู้ วามเข้าใจในการปฏิบัติตนของ นักเรียนเมื่อ
โรงเรยี นสามารถเปดิ เรยี นแบบ On site ได้ โดยผา่ นครทู ่ีปรึกษา และใหน้ ักเรยี น บคุ ลากรใน สถานศึกษาได้
บนั ทกึ ไทม์ไลน์แต่ละวนั ของตนเองโดยผ่าน Google form ( แบบฟอร์มกรอกข้อมลู รายวนั ป้องกนั ความเส่ยี ง
และบคุ ลากรโรงเรยี นภวู่ ทิ ยา) และ ดำเนนิ การตามข้อกำหนดตามความในมาตรา9แห่งพระราชกำหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับท่ี32 ) และฉบบั ท่ี 35 ของกระทรวงสาธารณสุข
โดยการประเมินตนเองสำหรับสถานศึกษา ในการ เตรียมความพรอ้ มก่อนเปดิ เรียนผ่านระบบ TSC+ Thai
Stop Covid Plus จำนวน 44 ข้อ 6 มติ ิ

โรงเรียนภวู่ ิทยา ใชแ้ อพพลิเคช่นั ไทยชนะ เม่ือประเมนิ ความแออดั ทุกคร้ังท่ีเข้าและออกจากโรงเรียน
นักเรยี นและบุคลากรทางการศึกษาทำแบบสำรวจ Thai Save Thai เปน็ ประจำเพ่ือประเมนิ ความ
เส่ยี ง
รูปแบบ การเรยี น การสอน – พจิ ารณาใชร้ ูปแบบ Onsite โดยปฏิบตั ติ ามมาตรการที่เกีย่ วขอ้ งอย่าง
เครง่ ครดั

10

บทที่ 3
แผนเผชิญเหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มคี วามรนุ แรงมาก
ขึน้ การใกล้ตัวและการแพร่ระบาดของโรคยังสามารถแพร่ระบาดไดง้ ่ายข้ึน มีการกลายพันธข์ุ องโรคทำใหเ้ กดิ
อาการทแ่ี ตกตา่ งกัน ของแต่ละคน โรงเรยี นภวู่ ิทยา ได้จัดทำแผนเผชญิ เหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติด เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ข้นึ
3.1 วัตถปุ ระสงค์
3.1.1. เพือ่ กำหนดมาตรการการเตรียมความพร้อมการป้องกนั การควบคมุ โรค และตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉนิ กรณีการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3.1.2. เพอ่ื กำหนดบทบาทหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบของบุคลากรในการเตรียมความพรอ้ ม การป้องกนั
ควบคมุ โรค และตอบโต้ ภาวะฉกุ เฉนิ กรณสี ถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
3.1.3. เพอ่ื ให้การประสานงานระหวา่ งบคุ ลากรภายในและภายนอกในการเตรียมความพรอ้ มการ
ปอ้ งกนั ควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินกรณี สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)
3.1.4. เพอื่ สรา้ งความมัน่ ใจในการเตรียมความพร้อมการป้องกนั การควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉินกรณีสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใหก้ บั บุคลากรและ
นกั เรยี นของโรงเรียนภู่วทิ ยา
3.2 แนวปฏิบตั ิแผนเผชิญเหตุรองรบั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
ภาคเรียนท่ี 2/2564
3.2.1 ประกาศโรงเรยี นภ่วู ิทยา เรื่องการจดั การเรยี นการสอนเนือ่ งจากเหตุพเิ ศษ ในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรน่า2019( COVID-19)
3.2.2 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
3.2.3 เปดิ ศนู ย์รบั ฟงั ความคิดเหน็ เก่ยี วกับการจดั การศึกษาทางไกล้ด้วยรูปแบบแบบสอบถาม
google form รายงานผลเพ่ือปรบั ปรงุ กบั ผ้เู กีย่ วข้องต่อไป
3.2.4 จดั ทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค

1. โรงเรยี น
1. ส่งเสริม สนับสนุน จดั อบรมทบทวนความรู้การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่

จัดขึน้ ในวนั ท่ี 21-22 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
2. จัดทำคำสงั่ โรงเรยี นภูว่ ิทยาท่ี 062/2564 เร่ืองแตง่ ตง้ั คณะกรรมการการ

ดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ลงวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2564 จดั ตารางเรียนตารางสอน
กำหนดผูร้ บั ผดิ ชอบ ประชาสัมพนั ธ์ห้องเรียนออนไลน์ ผา่ นแอพพลิเคชันgoogle meet สนบั สนนุ ส่อื วัสดุ
ใบงาน คา่ เดินทาง การบรหิ ารจัดการการรบั -ส่งใบงาน

3. นิเทศ กำกบั ติดตาม การจัดเรียนการสอน ตามตวั ชีว้ ัดควรรู้ ตอ้ งรู้ การวัดผลให้
เปน็ ไปตามหลักการที่เก่ียวข้อง

2. ครู
1. จดั การเรยี นการสอน ตามตารางเรยี นทโ่ี รงเรียนกำหนด

2. วดั ผล ประเมนิ ผล เป็นไปตามหลักการท่เี กยี่ วข้อง

3. รายงานผลการสอนรายวันตามรูปแบบทโี่ รงเรยี นกำหนด

11

4. ประสานงาน กบั ครทู ปี่ รึกษาและคณะทำงาน เพื่อให้การจัดการเรยี นการสอน

เป็นไปอย่างราบรื่น

3. นักเรียน
1. เข้าเรียน สง่ งาน ตามตารางเรียนที่โรงเรยี นกำหนด

2. หากมปี ัญหาปรึกษาครูท่ปี รกึ ษา และผ้เู กี่ยวข้องตามลำดบั

4. ผู้ปกครอง
1. ร่วมประชมุ ผ้ปู กครอง

2. กำกบั การเรียนของนกั เรยี น

3. ร่วมมอื แกไ้ ขปญั หาเพื่อให้การจัดการเรยี นการสอนเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย

5. คดั เลือกแพลตฟอร์มการเรยี นรู้ ชดุ โปรแกรม และแพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ครบวงจร
6. แผนเผชิญเหตรุ องรบั สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
3.3 แผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน
สถานศกึ ษา
3.3.1 การเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค

- คัดกรองนกั เรยี น ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผเู้ กี่ยวข้องมีการสวมหน้ากาก การล้างมือ การ
เวน้ ระยะห่าง การทำความสะอาด และลดความแออัด

- มีแนวปฏิบัตสิ ำหรับผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษาในการดำเนนิ การเก่ยี วกับโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

- การปดิ สถานศกึ ษาท่เี กดิ การระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศึกษา
3.3.2 รายงานการประเมนิ สถานการณผ์ ลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะแก่
หนว่ ยงาน ตน้ สงั กดั และคณะกรรมการโรคตดิ ต่อระดับจังหวัดเพ่ือการตดั สินใจ

- การสรา้ งความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน
- มเี จ้าหน้าท่ปี ระสานงานและติดตามข้อมูลระหวา่ งสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานต่างๆ
- มเี ครือข่าย อสม. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลในความร่วมมือปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
3.3.3 สถานศึกษาแตง่ ตัง้ คณะกรรมการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ประกอบด้วย เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข เจา้ หนา้ ท่ีองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ฝ่ายปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษา
1) แนวปฏิบัตกิ ารคัดกรอง
วันแรกของการเปิดโรงเรียนภู่วทิ ยา
ครูเวรประจำจุดที่ 1 และ 2 ปฏิบัตหิ น้าท่ี เวลา 07.00 – 08.00 น.

1.1) ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่คดั กรองนักเรียนทีม่ าสาย ตรวจวัดอุณหภูมริ ่างกายโดยใช้เครื่องวัด

อณุ หภูมติ รวจวัดอณุ หภมู ริ ่างกายแต่ละแถว โดยเนน้ ระยะห่าง ระหวา่ งคน 1 เมตร - 1.5 เมตร

1.2) ตรวจคดั กรองเบื้องตน้ ด้วยชดุ ATK (Antigen Test Kit) แตล่ ะแถว โดยเนน้ ระยะห่าง

ระหวา่ งคน 1 เมตร - 1.5 เมตร และบนั ทกึ ผลการคัดกรองเป็นลายลักษณ์อกั ษร

1.3) จดั เตรียม หนา้ กากอนามัยสำรองสำหรบั นักเรียนที่ไมม่ อี ปุ กรณป์ ้องกันตัวเอง

หรอื แทน หน้ากากอนามัยท่ีชำรุด

12

1.4) นักเรยี นมีอุณหภูมริ ่างกายปกตอิ ยู่ระหวา่ ง 36.1 - 37.2 องศาเซลเซียส หาก

ตรวจวดั อณุ หภมู ิรา่ งกายคร้ังแรก มอี ุณหภูมริ า่ งกายมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ใหน้ ักเรียนพักคอยหรอื อยู่

ใน บรเิ วณจุดตรวจวดั อย่างน้อย 5 – 10 นาทกี อ่ นการวดั อกี คร้ัง และวัดซ้ำด้วยปรอทวัดไข้

1.5) กรณีวัดอุณหภูมิร่างกาย ตัง้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้นึ ไป หรอื มไี ข้ รว่ มกับ

อาการ ทางเดินหายใจ ให้แยกนักเรียนในห้องทจี่ ดั เตรยี มไว้ บันทกึ อาการป่วยและให้การดแู ลเบื้องต้น ซัก

ประวัติ และสังเกตอาการเส่ียง แจ้งผปู้ กครองรับเด็กกลับบ้านหากมีอาการไมด่ ีข้ึน ใหผ้ ปู้ กครองพาเดก็ ไปพบ

แพทย์

1.6) กรณีพบว่าเด็กมีประวัติเส่ียงต่อการสัมผัสผปู้ ่วยยืนยันโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา

2019 (COVID-19) ให้แจ้งเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ ภายใน 3 ชวั่ โมง

3.3.4 กิจกรรม เครอื ข่ายรักษส์ ขุ ภาพ เป็นคณะกรรมการหอ้ งเรียนสขี าว ฝา่ ยการงาน จำนวน
ห้องเรยี นละ 2 คน ตดิ ตามการบันทึกข้อมูลของเพอื่ ในช้นั เรียนผา่ น Thai Save Thai เก็บข้อมลู
รายวัน เพือ่ ปอ้ งกนั ความเสย่ี ง สำหรับนกั เรยี น ผ้ปู กครอง 2) ประสานงานครูทป่ี รึกษา/หวั หนา้
ห้องเรยี น ตรวจสอบข้อมูลรายวนั เพ่ือตรวจสอบความเสยี่ ง ทกุ 2 สัปดาห์
3.3.5 งานประชาสัมพนั ธ์ เจ้าหนา้ ท่ี คดั เลือก สือ่ เพ่ือ ให้คำปรึกษา แนะนำ (Health Coach ) ดแู ล
สุขภาพตามมาตรฐาน การป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน
สถานศึกษา และเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆของห้องเรียนและของโรงเรยี น
3.3.6 งานอนามัยร่วมกับคณะทำงาน เฝ้าระวังประเมนิ ความเสย่ี ง ชเ้ี ป้าผา่ น Thai Stop Covid Plus
3.3.7 การประเมนิ สถานการณ์ การ เปิด / ปดิ โรงเรยี น (ระดับโรงเรยี น) รวบรวมข้อมลู พ้นื ฐาน
ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ปรกึ ษาหารอื เพ่ือประเมิน สถานการณ์ในโรงเรยี นและชมุ ชน ร่วมกับ ศูนย์
บรหิ ารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
3.4 แนวปฏบิ ตั สิ ำหรบั บคุ ลากรในสถานศกึ ษา
3.4.1 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

1) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติ พร้อมท้ังจัดตง้ั คณะทำงานดำเนินการปอ้ งกนั การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2) ทบทวน ปรบั ปรุง ซอ้ มปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุฯของสถานศึกษา
3) ให้มีการสอื่ สารประชาสมั พนั ธ์การป้องกันโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
เกีย่ วกับ นโยบาย มาตรการ การปฏิบัตติ นการจดั การเรียนการสอนให้กบั ผเู้ กีย่ วข้อง และลดการตตี ราทาง
สงั คม (Social stigma)
4) มมี าตรการคัดกรองสุขภาพทกุ คน บรเิ วณจุดแรกเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry)
5) ควรพิจารณาการจัดใหน้ กั เรียนสามารถเขา้ ถึงการเรยี นการสอนท่ีมีคณุ ภาพเหมาะสมตาม
บริบท
6) ได้อย่างต่อเน่ือง รวมถงึ การติดตามกรณนี ักเรียนขาดเรียน ลาปว่ ย
7) กรณีพบนักเรยี น ครู บุคลากร หรือผูป้ กครองอย่ใู นกลุ่มเส่ียงหรอื ผูป้ ่วยยนื ยันเข้ามาใน
สถานศกึ ษา ใหร้ บี แจ้งเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ในพื้นที่
8) มมี าตรการใหน้ ักเรยี นได้รบั อาหารกลางวันและอาหารเสริมนมตามสิทธิที่ควรได้รบั กรณีพบ
อยู่ ในกลุ่มเส่ียงหรือกักตวั

13

9) ควบคุม กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการดำเนนิ งานตามมาตรการอยา่ งเคร่งครดั และ
ต่อเนื่อง

3.4.2 ครูทีป่ รึกษา
1) ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ช่ือถอื ได้
2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหน่งึ ใหห้ ยดุ

ปฏิบตั งิ านและรบี ไปพบแพทย์ทนั ที
3) ปฏิบตั ติ ามมาตรการการปอ้ งกันโรคอย่างเคร่งครดั ไดแ้ ก่ ลา้ งมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผา้

หรอื หนา้ กากอนามยั และเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล หลีกเลีย่ งการไปในสถานที่ท่แี ออดั หรอื แหลง่ ชมุ ชน
4) แจง้ ผ้ปู กครองและนักเรียน ให้นำของใชส้ ว่ นตวั และอปุ กรณป์ ้องกนั มาใชเ้ ปน็ ของตนเอง
5) ส่อื สารความร้คู ำแนะนำหรอื จัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสีย่ งจาก

การแพร่กระจายโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
6) ทำความสะอาดสอื่ การเรยี นการสอนหรืออุปกรณ์ของใช้ร่วมทีเ่ ปน็ จดุ สัมผัสเสีย่ ง ทุกครง้ั

หลังใช้งาน
7) ควบคมุ ดูแลการจดั ทนี่ ง่ั ภายในสถานท่ีในโรงเรยี น ตามหลกั การเวน้ ระยะห่างระหว่าง บคุ คล

อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
8) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรยี นของนักเรยี น
9) ตรวจคัดกรองสุขภาพทกุ คนทเี่ ขา้ มาในสถานศึกษาตามข้ันตอน
10) สังเกตกลุม่ นกั เรียนทมี่ ีปัญหาพฤติกรรม หรือนักเรียนท่ีไมร่ ว่ มมือปฏิบตั ิตามมาตรการท่คี รู

กำหนดเพื่อให้ได้รบั การช่วยเหลือ
11) สือ่ สารความรู้เกย่ี วกับความเครยี ด

กระบวนการการจดั การความเครยี ดให้แก่นักเรียน และบคุ ลากรในสถานศึกษา
3.4.3 นกั เรียน

1) ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากแหล่งข้อมูลทเ่ี ช่ือถือได้
2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหนึ่ง รีบแจ้งครหู รือ
ผู้ปกครอง
3) มีและใชข้ องใชส้ ่วนตวั ไมใ่ ชร้ ่วมกบั ผ้อู ื่น
4) ปฏิบตั ิตามมาตรการการปอ้ งกันโรคอย่างเคร่งครดั ไดแ้ ก่ ล้างมือบ่อยๆ สวมหน้ากากผ้า
หรือ หน้ากากอนามยั และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ท่ีแออัดหรือแหลง่ ชมุ ชน
5) ดแู ลสขุ ภาพใหแ้ ข็งแรง ด้วยการกนิ อาหารปรุงสกุ รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผกั
ผลไมอ้ อกก าลงั กาย และนอนหลับให้เพยี งพอ
6) กรณีนักเรียนขาดเรียนหรอื ถูกกกั ตวั ควรติดตามความคบื หน้าการเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ
7) หลีกเล่ยี งการล้อเลียนความผดิ ปกติหรืออาการไม่สบายของเพ่อื น
3.3.4 ผ้ปู กครอง
1) ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคจากแหลง่ ข้อมลู ที่เชื่อถือได้
2) สงั เกตอาการปว่ ยของบตุ รหลาน หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ใหร้ ีบพาไป
พบแพทย์
3) จัดหาของใชส้ ว่ นตวั ใหบ้ ตุ รหลาน

14

4) จดั หาอุปกรณป์ ้องกันโรคและการล้างมอื กำกบั ใหบ้ ตุ รหลานปฏบิ ตั ิตามมาตรการการ
ป้องกนั โรคอย่างเครง่ ครัด ได้แก่ ล้างมือบอ่ ยๆ สวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย และเวน้ ระยะห่าง
ระหว่างบคุ คล หลีกเลยี่ งการไปในสถานทที่ ่ีแออดั หรอื แหล่งชุมชน

5) ดแู ลสุขภาพบุตรหลาน จดั เตรยี มอาหารปรงุ สุก ใหม่
6) กรณีมกี ารจดั การเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผ้ปู กครองควรใหค้ วามรว่ มมือกบั ครูใน
การดแู ลจดั การเรยี นการสอนแกน่ กั เรียน
3.4.5 แม่ครวั ผจู้ ำหนา่ ยอาหาร ผ้ปู ฏิบตั งิ านทำความสะอาด
1) ตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค จากแหล่งข้อมูลทเ่ี ช่ือถือได้
2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการทางเดินหายใจอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ให้หยุด
ปฏิบัตงิ าน และรบี ไปพบแพทย์ทันที
3) ลา้ งมอื บ่อยๆ ก่อน – หลงั ปรงุ และประกอบอาหาร ขณะจำหนา่ ยอาหาร หลังสัมผัสสิง่
สกปรก
4) ขณะปฏิบตั ิงานของผสู้ มั ผัสอาหาร ตอ้ งสวมหมวกคลุมผม ผ้ากนั เป้ือน ถงุ มือ สวมหน้ากาก
ผา้ หรือหน้ากากอนามัย และปฏบิ ัตติ นตามสุขอนามยั สว่ นบุคคลท่ถี ูกต้อง
5) ปกปิดอาหาร ใส่ถุงมือและใช้ท่คี ีบหยิบจบั อาหาร
6) จดั เตรียมอาหารปรงุ สุกใหม่ ใหน้ ักเรยี นกิน ภายในเวลา 2 ชวั่ โมง
7) ผปู้ ฏิบตั ิงานทำความสะอาด ผปู้ ฏบิ ตั ิงานเกบ็ ขนขยะ ตอ้ งใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกันตนเองและ
ปฏิบัตติ ามข้ันตอนการทำความสะอาดใหถ้ ูกต้อง
3.4.6 คนขับรถรบั ส่ง (เอกชน)
ปฏิบัตติ ามมาตรการของโรงเรยี นสถานศึกษาปลอดภัย ทเี่ ขา้ ร่วมประชุมในปีการศึกษาท่ีผา่ นมา
3.5 ด้านอนามัยสิง่ แวดล้อมภายในโรงเรยี น
3.5.1 ห้องเรยี น สถานทส่ี ำหรบั การจดั การเรยี นสอน หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ ภายในสถานศกึ ษา ห้อง
ประชุม ห้องพกั ครู โรงอาหาร หอ้ งสมุด หอ้ งสว้ ม เปน็ ตน้ ใหด้ ำเนนิ การตามหลักปฏบิ ตั กิ ารป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยา่ งเคร่งครัด ได้แก่
1) จัดโต๊ะ เกา้ อี้ หรอื ที่นงั่ ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
2) มีการเหล่ือมเวลาเรียน การเรยี นกลมุ่ ย่อย
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท และทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ อ้ี อุปกรณก์ าร
เรยี นทุกครง้ั และจดุ สมั ผสั เส่ียง ก่อน-หลังใชง้ าน
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมือ และหัวหนา้ หอ้ งดแู ลการเติมแอลกอฮอลท่ี
หอ้ งพยบาล เปน็ ประจำทุก 3 วนั
5) จำกดั จำนวนผู้ใช้งานหรือลดระยะเวลาทำกจิ กรรมหรือเหล่อื มเวลา
3.5.2 โรงอาหาร
1) จัดบริการอาหาร เน้นป้องกนั การปนเป้ือนของเชอื้ โรค เชน่ อาหารปรงุ สำเรจ็ สุกใหม่ทุกครงั้
2) พิจารณาทางเลือกให้ผู้ปกครองสามารถเตรียมอาหารกลางวนั (Lunch box) ใหน้ กั เรียน
3.๕.3 หอ้ งพยาบาล
1) จัดหาครูหรือเจ้าหน้าท่ี เพ่ือดูแลนกั เรียน ในกรณีที่มีนักเรียนป่วยมานอนพกั รอผปู้ กครอง
มารบั และมีการบนั ทึกรายชือ่ และอาการของนักเรยี นทป่ี ่วย

15

2) จดั ใหม้ พี ้นื ทีห่ รือห้องแยกอยา่ งชดั เจน ระหว่างนกั เรยี นปว่ ยจากอาการไขห้ วัดกับนกั เรยี น
ปว่ ยจากสาเหตุอืน่ ๆ หมายเหตกุ ารณจ์ ดั ทำบันทกึ ประจำวนั การเดินทางของนักเรยี นนักศึกษา กำหนดให้
นักเรียนบันทึก การเดินทางไปในสถานทต่ี ่างๆ ประจำวนั ส่งใหค้ รูประจำช้ันทุกเชา้ หากมีบุคคลในครอบครวั มี
ความเสยี่ งให้ โทรแจ้งโรงเรียนทันที โดยโรงเรยี นมีความพรอ้ มทง้ั การเรียน การสอนท่โี รงเรียนและระบบ
ออนไลน์ ขอ้ มูลบันทึกการ เดินทางของนักเรยี นนักศึกษา โดยครูประจาช้นั /อาจารยท์ ่ปี รึกษาทุกคน สรปุ
รวบรวมขอ้ มลู บนั ทึกการ เดินทางของนกั เรยี น

16

บทท่ี 4
แนวปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศึกษาแนวปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษา กรณีสงสัยวา่ นักเรยี นหรอื บคุ ลากร

ท่ีมภี าวะเส่ียงต่อการติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019

กรณสี งสยั ว่านกั เรยี นหรอื บุคลากรท่มี ภี าวะเสยี่ งต่อ การติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)
โรงเรยี นเตรยี มมาตรการรองรับหากมนี กั เรียนหรือเจา้ หนา้ ท่ีเจบ็ ป่วย มีการวาง แผนการคัดกรองเฝ้าระวงั และ
จดั เตรียมหอ้ งพยาบาลสำหรับแยก นักเรียน ที่มีอาการป่วยเกย่ี วกบั ระบบทางเดนิ หายใจออกจาก นกั เรยี นท่ีมี
อาการป่วยอ่นื ๆ หากพบวา่ มี นกั เรยี น และเจา้ หน้าท่ีท่ีมีไข้(อุณหภมู ิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซยี ส) หรือมี
ประวตั ิสงสัยป่วยด้วยโรคตดิ เช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ควรแยกนกั เรียนหรือบคุ ลากรออกจาก
บคุ คลอืน่ โดยระวงั ไม่ใหเ้ กดิ การ แพร่กระจายของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รวมทัง้ มี
กระบวนการในการแจ้งครทู ี่ปรึกษา ให้ ผ้ปู กครอง/ผู้ดแู ลเด็กทราบ
4.1 แผนรบั รองการจดั การเรียนการสอนสำหรบั นักเรียนปว่ ย กกั ตวั หรือกรณปี ดิ โรงเรยี น

4.1.1 กรณนี ักเรียนป่วย เม่ือตรวจพบผูม้ ไี ข้สงู เกินกว่า 37.5 องศาเซลเซยี ส ใหส้ ง่ ต่อไปยงั ห้อง
พยาบาลของ โรงเรียน เพื่อดำเนนิ การ

1) ตรวจวัดอณุ ภมู ดิ ว้ ยเครื่องวดั อณุ ภมู แิ บบแท่งแกว้ หรือแบบดิจิตอล โดยวดั ทางรกั แร้
2) ซักประวตั ิเจ็บป่วย สงั เกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ
จาม มนี ำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไม่รรู้ ส
3) หากพบนักเรยี นมอี ุณภูมริ ่างกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป หรือมีอาการระบบ
ทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหนง่ึ จะจดั ใหอ้ ยู่ในพ้ืนทีแ่ ยกสว่ นเพ่ือแจ้งผปู้ กครองมารับและพาไปพบแพทย์
4) จดั ห้องนอนพกั สำหรับนกั เรยี นระหว่างรอผ้ปู กครองมารับ โดยจัดหอ้ งนอนแยกจาก
นักเรยี นปว่ ยท่วั ไป จำนวน 4 เตียง ระยะหา่ งระหวา่ งเตียง 1.5 เมตร ติดตงั้ ฉากพลาสตกิ ใสกัน้ ระหวา่ ง เตียง
นอน ภายในหอ้ งมอี ากาศถา่ ยเทสะดวก มีเจลแอลกอฮอล์ ประจำทกุ เตยี ง มถี ังขยะทมี่ ฝี าปิด มิดชิด
5) บันทกึ รายชือ่ และอาการป่วย
4.1.2 กรณีนกั เรยี นกักตัว เม่ือพบว่านักเรียนตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดำเนนิ การ
ดงั น้ี
1) งานพยาบาลบนั ทึกรายงานข้อมลู นกั เรียนที่เข้าข่าย หรือเปน็ กลุ่มเสีย่ งในการติด เช้ือไวรสั โค
โรนา 2019 (COVID-19) เสนอต่อผู้อำนวยการพจิ ารณาอนุมัติ เพื่อกักตัว 14 วัน
2) โรงเรยี นดำเนินการ

2.1) แจง้ ผปู้ กครองทราบ เพื่อใหน้ ักเรยี นหยดุ เรียน กกั ตวั อยู่ที่บา้ น 14 วัน โดยไม่ถือว่า
เป็นการขาดเรียน

2.2) ครทู ีป่ รึกษารับทราบและประสานผปู้ กครองหรือนกั เรียนเพอื่ สอบถามอาการ ป่วยของ
นักเรยี นเปน็ ระยะ หรอื ช่วยเหลือกรณีมเี หตจุ ำเป็น

2.3) ครผู ้สู อนทุกรายวชิ าทน่ี ักเรยี นเรยี น ดำเนนิ จดั เตรยี มแผนรองรบั การเรียน เชน่ การ
สอนออนไลน์ การสอนซ่อมเสริม และมอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทำ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นได้เรียนตาม หลกั สตู ร
จนกว่านักเรยี นจะกลับมาเรียนตามปกติได้

3) นกั เรียนนำหลกั ฐานใบรับรองแพทย์มายืนยันกับโรงเรียนเพือ่ กลบั เขา้ เรียน ตามปกติ

17

4.1.3 กรณปี ดิ โรงเรียน
1) โรงเรียนขออนุมัติหนว่ ยงานตน้ สังกัดเพื่อปิดโรงเรียน จำนวน 14 วัน
2) โรงเรียนแจง้ นักเรยี น ครู ผู้ปกครอง และบคุ ลากรทางการศึกษา เกี่ยวกับสถานการณ์ ทท่ี ำ

ใหป้ ดิ โรงเรยี นกรณีเกิดโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 14 วัน โดยไมถ่ ือเปน็ วนั ลา หรือ
วันหยุดเรยี น

3) โรงเรียนเตรียมการสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Meet, Google Classroom, Line,
Facebook ตาม ความถนดั ของครู ตามตารางที่จัดไว้

4) ฉดี นำ้ ยาฆ่าเชอื้ เพือ่ ทำความสะอาดท่ัวท้ังโรงเรยี น
4.2 มาตรการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณเี กดิ การ
ระบาด เม่ือพบผู้ป่วยยนื ยันอยา่ งนอ้ ย 1 ราย ท่ีคิดว่าอาจมีการแพรก่ ระจายเชอ้ื ในสถานศึกษา

4.2.1 ปิดสถานศึกษา/ช้ันป/ี ชน้ั เรยี น เพ่ือทำความสะอาด เปน็ ระยะเวลา 3 วนั
4.2.2 ประสานเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข สำรวจคัดกรองนกั เรียนและบคุ ลากรทุกคน บรเิ วณทางเข้า
สถานศกึ ษา และดำเนินการข้ันตอนท่ีกำหนด หากพบผเู้ ขา้ เกณฑส์ อบสวน (PUI) ใหเ้ กบ็ ตัวอยา่ ง NP swab สง่
ตรวจหาเชอื้
4.2.3 ผูส้ ัมผัสกลุ่ม High risk ใหด้ ำเนินการเก็บตัวอยา่ ง NP swab สง่ ตรวจเชอื้ และกักตัวเป็นเวลา
14 วนั ประเมิน TST ทุกวัน
4.2.4 ผู้สัมผัสกลุ่ม Low risk ไม่ตอ้ งเกบ็ ตัวอย่าง รายงานอาการ (Selfreport) ประเมิน TST ทุกวนั
หากพบว่า มีอาการเข้าเกณฑ์ PUI ใหด้ ำเนนิ การแบบผปู้ ว่ ย PUI
4.2.5 เมื่อเปิดเรียน และจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ให้มกี ารคัดกรองไข้ทกุ วัน และ
ประเมนิ TST ทุกวนั หากพบมีอาการเข้าไดก้ บั PUI ให้เกบ็ ตัวอยา่ ง และ พิจารณาความเสยี่ งเพ่ือตัดสินใจว่าจะ
ให้ผู้ป่วยดอู าการทีบ่ า้ น หรอื ต้องแยกตัวในโรงพยาบาล
4.2.6 ทีมสอบสวนโรคทำการติดตามผสู้ มั ผัสทกุ วัน จนครบกำหนด (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข เม่อื วันที่ 14 กรกฏาคม 2564 )
4.3 การกำกับ ตดิ ตาม และรายงานผล สถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา และหน่วยงาน
สาธารณสุขท่ีดูแลสถานศึกษา ควรมกี ารกำกับ ตดิ ตาม ทบทวนการดำเนนิ งานให้สอดคลอ้ งตามแนวปฏิบัติ
สถานการณ์ และบรบิ ทพื้นท่ี อย่างต่อเนือ่ ง กรณีพบ ผู้มอี าการเสยี่ งหรอื ปว่ ย ตอ้ งรบี แจ้งเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข
ทันที และรายงานต่อผู้บรหิ าร ผ้เู กีย่ วข้อง
4.4 แนวทางปฏบิ ัตเิ มื่อต้องกักตัว 14 วนั
4.4.1 วดั อณุ หภูมิทกุ วัน ต้องไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซยี ส
4.4.2 ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่อยา่ งน้อยนาน 20 วนิ าที หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์
4.4.3 หลกี เล่ยี งการอยูใ่ กลช้ ดิ สมาชิกในบ้าน โดยเฉพาะผู้สูงอายุ หรอื ผูท้ ่ีมีโรคประจำตัว
4.4.4 แยกห้องนอน ของใช้สว่ นตัว รวมทงั้ แยกทำความสะอาด หากแยกหอ้ งนอนไม่ได้ ใหใ้ ช้แผน่
พลาสตกิ กั้นห้อง และเปิดหน้าตา่ งใหอ้ ากาศถา่ ยเทได้สะดวก
4.4.5 แยกรบั ประทานอาหารคนเดียว และลา้ งทำความสะอาดภาชนะให้เรียบรอ้ ย
4.4.6 แยกหอ้ งน้ำ หากแยกไมไ่ ด้ให้ใช้เป็นคนสดุ ท้าย เมื่อใชเ้ สร็จแล้วใหท้ ำความสะอาดทนั ที กรณี
ใช้ชักโครกให้ปดิ ฝา เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชอื้ โรค

18

4.4.7 แยกขยะเปน็ 2 สว่ น คือ ขยะท่วั ไป และขยะตดิ เชื้อ เช่น หนา้ กากอนามัย กระดาษทชิ ชู ใน
แตล่ ะวนั ใหร้ วบรวม และล้างถงั ดว้ ยน้ำยาฟอกขาว เพื่อทำลายเชือ้ ใสข่ ยะท่แี ยกไว้ในถงุ ขยะ 2 ชั้น มัดปากถงุ
ใหแ้ นน่ ก่อนนำไปทิ้งรวมกับขยะทวั่ ไป

4.4.8 หากจำเป็นต้องพบปะผ้อู ่นื ใหส้ วมหน้ากากอนามยั และเม่ือเสรจ็ ธรุ ะ ใหน้ ำหนา้ กากอนามยั ท่ี
ใชแ้ ล้วทง้ิ ลงถังขยะท่ีมีฝาปิดมิดชดิ และลา้ งมือทันที

การรับมอื กบั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทดี่ ีที่สุด เรมิ่ จากตัว
เราเองที่จะต้องดูแล และปฏบิ ัตติ นอย่างเคร่งครดั เพอื่ ความปลอดภัยและสุขภาพของเรา อีกท้ังยังชว่ ยลด
ภาระของบคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ ด้วย
4.5 แนวทางปฏิบัติเมื่อพบผ้ปู ว่ ยยืนยนั โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศกึ ษา
ใหป้ ดิ หอ้ งเรยี น/ชน้ั เรียน/สถานศกึ ษา กรณีพบผู้ป่วยยืนยนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

4.5.1 เม่อื พบผ้ปู ่วยยืนยนั โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 1 รายขนึ้ ไป ให้ปิด
ห้องเรียน เปน็ เวลา 3 วนั เพอื่ ทำความสะอาด

4.5.2 เมือ่ พบผ้ปู ว่ ยยนื ยนั โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มากกวา่ 1 หอ้ งเรยี น ให้ปิด
ช้ันเรียน เปน็ เวลา 3 วนั เพ่อื ทำความสะอาด

4.5.3 หากมหี ลกั ฐานและความจำเป็นต้องปิดสถานศึกษา ให้ขอความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการ
โรคตดิ ต่อจังหวดั ไมต่ ้องปดิ ห้องเรยี น/ช้นั เรียน/สถานศึกษากรณีทไ่ี มพ่ บผูป้ ่วยยนื ยนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ในสถานศกึ ษา โดยมีแนวทางดำเนินการ ดงั น้ี

1) ผสู้ ัมผสั ทม่ี ีความเสีย่ งต่อการตดิ เชอ้ื สูง (High risk contact) ในสถานศึกษา ดงั นี้
ผสู้ ัมผสั ท่ีความเสย่ี งตอ่ การติดเชอ้ื สูงคือ กรมควบคุมโรค ระบวุ า่ ผ้สู ัมผัสความเส่ียงสูง คือ ผู้สัมผัสใกล้ชดิ ใน
สถานท่แี ละเวลาเดียวกนั กบั ผ้ปู ่วย โดยไม่มีการป้องกัน ได้แก่ ผ้ทู ่อี ยบู่ า้ นเดยี วกันกับผูป้ ่วย

2) ผทู้ ่พี ดู คุยกบั ผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานเกิน 5 นาที
3) ถกู ผ้ปู ่วยไอจามรด
4) อย่ใู นสถานท่แี ออัดรว่ มกับผปู้ ่วยในระยะ 1 เมตร เกนิ 15 นาที
ท้งั นี้ผู้สัมผสั ท่ีมคี วามเสี่ยงต่อการตดิ เชอ้ื สูง (High risk contact) ให้สังเกตอาการทีบ่ ้าน เป็นเวลาอยา่ ง
น้อย 14 วนั ประเมนิ TSTทุกวัน หากพบอาการผิดปกติให้ไปพบแพทยเ์ พือ่ ตรวจวนิ ิจฉัย ระหวา่ งรอผล ให้กัก
ตวั ทบี่ า้ น สถานศกึ ษาดำเนินกจิ กรรมไดต้ ามปกติและสอ่ื สารให้ผูท้ ่เี กีย่ วข้องเข้าใจความเสี่ยง และ แนวทาง
การดำเนนิ การในระยะต่อไป
1) ผู้สัมผสั ท่ีมคี วามเสีย่ งต่อการติดเชื้อตำ่ (Low risk contact) ใหส้ งั เกตอาการ เป็น เวลา 14
วนั ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งหยุดเรียน ประเมนิ TSTทุกวัน และไมจ่ ำเป็นตอ้ งปดิ สถานศึกษา (รักษาตามอาการ หายป่วย
แล้วเรียน ต่อได้)
2) ใกล้ชดิ
- ผ้ใู กลช้ ิดกับผู้สัมผสั เส่ยี งสงู จดั ว่า มีความเสยี่ งต่ำ ไม่จำเปน็ ต้องหยุดเรยี น แต่ให้ สงั เกตอาการ
เปน็ เวลา 14 วนั
– ผ้ใู กล้ชิดกบั ผู้สัมผัสเส่ยี งต่ำ จัดว่า ไม่มีความเส่ียง ไม่จำเป็นต้องหยดุ เรียน แต่ให้ สงั เกตอาการ
เป็นเวลา 14 วนั หมายเหตุ ประเมนิ TSTทุกวนั ทง้ั น้ีในทุกกรณีขอให้ดำเนินการบนพ้นื ฐานของขอ้ มลู การ
สอบสวน ทางระบาดวิทยา และสถานการณโ์ รคในพ้ืนที่

19

4.6 แนวปฏบิ ตั ิในการควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
กรณเี มื่อพบผ้ปู ว่ ยยืนยัน ของโรงเรียนภู่วิทยา เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ประกาศตามประกาศสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เรื่อง มาตรการป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19) ของสถานศกึ ษา ในสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ลงวนั ที่
24 เมษายน 2564 ดงั นี้

4.6.1 แจ้งหน่วยงานสาธารณสุขในพ้นื ท่ีภายใน 3 ชวั่ โมง นบั ตั้งแตพ่ บผปู้ ว่ ย เพ่ือใหด้ ำเนนิ การ
สอบสวนปอ้ งกนั และควบคุมโรค

4.6.2. ดำเนินการสำรวจบุคคลท่อี ยูใ่ นขา่ ยสัมผัสโรค เพ่ือประเมนิ ความเสีย่ งต่อการติดเชอ้ื โดยให้
ปฏิบัติตนดังนี้

1) บคุ คลทมี่ ีอาการเข้าข่ายกับนิยามผู้สงสยั ตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ี
เขา้ เกณฑ์สอบสวนโรค (Patient Under Investigation : PU) ต้องติดต่อพบแพทย์ทันที

2) บคุ คลผ้มู คี วามเสย่ี งสงู โดยเป็นผู้สมั ผสั ใกล้ชิดกบั ผปู้ ่วยโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
(covid-19) ให้เขา้ รับการตรวจหาเชอื้ และใหป้ ฏิบตั ิงาน ณ ท่ีพักอาศยั เปน็ ระยะเวลา 14 วัน นับจากวันท่ี
สมั ผัสผูป้ ว่ ยยนื ยนั วันสดุ ทา้ ย

3) สำหรับบุคคลอืน่ ๆนอกเหนือจากข้อ 1) และข้อ 2) หากไมม่ ีอาการปว่ ยและไม่มี ปัจจัยเสยี่ ง
อืน่ ๆให้สังเกตอาการตนเอง (Self–Monitoring) เป็นระยะเวลา 14 วัน หากมอี าการ ต้องไปพบ แพทย์ทันที
ในกรณที ี่มีอาการป่วยใหห้ ยดุ พกั ณ ที่พักอาศยั และหากอาการไม่ดขี ้ึนภายใน 2 วนั ใหร้ ีบพบ แพทย์

4) กรณีทีม่ ีครบู ุคลากรทางการศึกษาและนักเรยี นโรงเรยี นภู่วทิ ยาป่วยด้วยโรค ติดเชือ้ ไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID-19) ทางโรงเรียนขออนุญาตปิดสถานศกึ ษาเปน็ ระยะเวลา 1 - 3 วนั เพ่ือทำความสะอาด
พืน้ ที่

5) การกำกับติดตามและรายงานผลกรณีพบผู้ป่วยยืนยัน ใหห้ วั หน้างานอนามยั ของโรงเรียน
รายงานข้อมูลตอ่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาเพื่อรายงาน ผูบ้ ังคบั บญั ชาตามลำดบั ข้ัน ตามมาตรการควบคุมและ
ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดใหม่ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

6) ให้ศกึ ษาคู่มือดูแลตนเองสำาหรับประชาชนของสำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้าง เสรมิ
สุขภาพ (สสส.) เพ่ือเป็นการเฝา้ ระวังและดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ทง้ั นี้เพ่ือความปลอดภัยของคณะครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา นักเรียน ผู้ปกครองรวมทั้ง
ผู้เก่ยี วขอ้ ง โรงเรียนภูว่ ทิ ยาจงึ ขอให้ปฏบิ ัติอย่างเคร่งครดั และการดำเนนิ การให้อยูบ่ นพนื้ ฐานของข้อมูลการ
สอบสวนทางระบาดวิทยาและสถานการณโ์ รคในพืน้ ท่ี 27 แผนเผชิญเหตุรองรบั สถานการณ์แพรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019

20

บทท่ี 5
การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

การสนบั สนุน หน่วยรบั ผดิ ชอบ การสรา้ งความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน การสนบั สนุน หนว่ ยรับผิดชอบ

ของโรงเรียนภู่วิทยา ไดแ้ ก่ การประสานงานและตดิ ตามข้อมูลขา่ วสาร ประกาศนโยบาย แนวปฏิบตั ิ การ

ติดตามข้อมลู ระหว่าง สถานศกึ ษาจากทุกภาคส่วน เช่น จังหวดั นครราชสมี า สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด

นครราชสีมา สำนักงานสาธารณสุข จังหวดั นครราชสีมา โรงพยาบาลโนนแดง ผปู้ กครองและชุมชน ทงั้ นี้

โรงเรียนภวู่ ิทยาสอบถามความพร้อม และสภาวะความเสีย่ ง ต่อการระบาดของเช้อื ไว้รัสโคโรนา 2019 กอ่ น

เปิดภาคเรียน2/2564 โรงเรยี นภวู่ ิทยา ดว้ ย google form ผลสรปุ เปน็ ดงั ตาราง

ระดบั ความพร้อม

ดา้ น/ระดับความพร้อม มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ

ด้านตัวนกั เรยี น 43.7 31.7 19.2 3.5 1.9

ด้านผปู้ กครอง 40.6 31.9 21.8 4 1.6

ดา้ นโรงเรยี น 33.6 43.4 19.7 2.8 0.5

ด้านชุมชน 28.6 44.4 23.7 2.6 0.7

*ข้อมูล ณ วันท่ี 20 ตลุ าคม 2564

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มกี ารกำหนด

ขนั้ ตอนหากนกั เรียน หรือบุคลากรไม่สบาย วางแผนลว่ งหนา้ กับเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข ในพนื้ ท่เี จา้ หน้าทส่ี ขุ ภาพ

ในโรงเรียน โดยมีรายช่ือและ หมายเลขตดิ ต่อกรณีฉกุ เฉินที่เป็นปจั จบุ ัน สรา้ งความ มั่นใจในขั้นตอนการแยก

นักเรียนที่ป่วยและเจา้ หน้าท่ี ออกจากผู้ที่มสี ขุ ภาพดแี ละกระบวนการแจง้ ผู้ปกครอง การให้คำแนะนำในการ

ดแู ลสขุ ภาพนกั เรยี นหรือเจา้ หนา้ ท่ี อาจต้องส่งต่อโดยตรงไปทส่ี ถานบริการสุขภาพ หรือ สง่ กลับบา้ นขน้ึ อย่กู ับ

สถานการณ์ โดยมกี ารแจ้งขนั้ ตอน กับผูป้ กครองและนักเรียนล่วงหน้า สนบั สนุน การคดั กรองผทู้ ่ีมคี วามเสี่ยง

และผทู้ ีต่ ้องการดูแลพเิ ศษ ท างานรว่ มกับระบบบรกิ ารสงั คมและสาธารณสุข เพื่อใหม้ นั่ ใจถงึ ความต่อเน่อื งของ

บรกิ าร เช่น โปรแกรม คดั กรองสขุ ภาพ พิจารณาความต้องการเฉพาะของ เดก็ ท่ีมคี วามพิการและครอบครัว

นักเรยี นชายขอบท่ีอาจมีความ รนุ แรงมากขึน้ จากการได้รับผลกระทบจาก การเจบ็ ป่วย ตรวจสอบเด็กนกั เรียน

ทอี่ าจเพ่ิมความเสี่ยง เช่น ความรับผดิ ชอบในการดแู ลคนป่วยทบ่ี า้ น หรอื หาประโยชนเ์ มื่อออกจากโรงเรยี น

การสง่ เสรมิ การแบ่งปนั ข้อมูล ประสานงานและปฏิบัตติ ามแนวทางจากหน่วยงาน ด้านสาธารณสขุ

และการศึกษา แบง่ ปัน ขอ้ มูลกบั ครผู ้ดู แู ล และนกั เรยี น ให้ขอ้ มลู ลา่ สดุ เก่ียวกับสถานการณโ์ รค รวมทั้งความ

พยายามในการป้องกนั และควบคมุ ท่ีโรงเรยี น แจง้ ให้ครูผดู้ แู ลแต่ละชนั้ เรียน ควรแจ้งเตือนผู้บริหารโรงเรยี น

และหน่วยงานด้าน สาธารณสุขทราบ เม่ือมีนักเรียนหรอื คนในบา้ นของครแู ละนกั เรยี นไดร้ ับการวนิ จิ ฉัยวา่ เปน็

โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใหค้ ณะกรรมการผ้ปู กครองหรอื ครชู ่วยกนั สง่ เสริมข้อมูลเพื่อ

ให้ความรู้แก่เด็กและคนในครอบครวั ถึงข้อปฏบิ ัติของคน ในครอบครัวกรณีที่มผี ปู้ ว่ ยโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา

2019 (COVID-19) ซง่ึ อาจใชส้ ื่อต่างๆ ที่เด็ก คุน้ เคยและเขา้ ใจไดง้ ่าย การส่งเสรมิ การสร้างกลุ่มหรอื ชมรม

ส่งเสรมิ การสร้างกลมุ่ หรือชมรมนกั เรยี นเพื่อเผยแพรข่ ้อมูลดา้ นสาธารณสุข เชน่ สนับสนุนให้ นกั เรียนจัดทำ

โปสเตอร์ ใบประกาศเพื่อสอ่ื สารความรใู้ นโรงเรยี นและในชุมชน รวมถึงให้นักเรียนแกนนำเปน็ สื่อบุคคลในการ

สอื่ สารสขุ ภาวะแกน่ ักเรยี นในโรงเรยี นและชุมชน

21
ภาคผนวก

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

สอบถามความพร้อม และสภาวะความเส่ยี ง ต่อการระบาดของเช้ือไวร้ สั โคโรนา่ 2019
ภาคเรียน 2/2564 โรงเรยี นภวู่ ิทยา ดว้ ย google form

32

33
ห้องเรียนออนไลน์ภาคเรียนท่ี 2/2564 (Google Meet)

34

คำส่งั โรงเรียนภ่วู ิทยาท0ี่ 62/2564 เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการการดำเนนิ งานการจดั การเรียนการสอน
ออนไลน์ ลงวันท่ี 28 พฤษภาคม 2564

35

36

37

38
โครงการสถานศึกษาปลอดภัย ปกี ารศกึ ษา2564

39

บรบิ ทของชุมชนรอบโรงเรยี นในสถานการณโ์ ควดิ
โรงเรยี นภวู่ ิทยา ตัง้ อย่อู ำเภอโนนแดง จงั หวดั นครราชสมี า ซงึ่ มจี ำนวนครวั เรือน 4,139 ครวั เรือน
ประชากร 20,860 คน โดยโรงเรียนภวู่ ิทยาอยใู่ นเขตเทศบาลตำบลโนนแดง มีหมบู่ า้ นท่ีอยโู่ ดยรอบ ได้แก่
บ้านโนนแดง บา้ นเต็งสูง บ้านหวั โคก บ้านบตุ าคง บา้ นใหม่ศรปี ระทาน บ้านโนนเขวา้ บ้านหนองโจด และ
บ้านตลาดโนนแดง จากสถานการณ์ COVID -19 ในเขตอำเภอโนนแดง พบวา่ มีผปู้ ว่ ยสะสมนอ้ ย และไม่พบผู้
ติดเชื้อในเขตอำเภอโนนแดง แสดงข้อมลู ดงั ตารางต่อไปนี้

รายงานสถานการณ์ COVID – 19
ศูนย์โควดิ 19 โคราช สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั นครราชสมี า

ของอำเภอโนนแดง จงั หวัดนครราชสมี า

วนั เดอื น ปี อำเภอ รายใหม่ ผปู้ ่วย ผปู้ ่วยรกั ษาอยู่ HI รวม
สะสม รพ. เตียงว่างใน รพ. รพ.สนาม CI

30 ก.ย. 64 โนนแดง 295 3 37 0 6 2 11

2 ต.ค. 64 โนนแดง 1 299 6 34 0 6 2 14

5 ต.ค. 64 โนนแดง 299 5 35 0 6 2 13

6 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 2 14

7 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 2 14

8 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 2 14

9 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 2 14

10 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 2 14

12 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 3 15

14 ต.ค. 64 โนนแดง 299 6 34 0 6 3 15

15 ต.ค. 64 โนนแดง 299 5 35 0 03 8

16 ต.ค. 64 โนนแดง 299 5 35 0 03 8

อ้างอิงข้อมลู จาก : https://www.facebook.com/nondaenghospital

40

การฉดี วคั ซีนของนกั เรียนโรงเรยี นภู่วทิ ยา

รายการ จำนวนคน ฉีดวัคซนี Pfizer

เขม็ 1 เข็ม 2

รอบแรก 537 วันที่ 7 ต.ค. 2564 วนั ท่ี 28 ต.ค. 2564

(เล่อื นฉีดไปสปั ดาห์หนา้ )

รอบสอง 79 วนั ที่ 18 ต.ค. 2564 วนั ท่ี 8 พ.ย.2564
รอบสาม 16
632 วนั ที่ 25 ต.ค. 2564 วนั ท่ี 15 พ.ย. 2564
รวม

การฉดี วคั ซนี ของนกั เรยี นโรงเรียนภู่วิทยา อายุ 18 ปี ขี้นไป

รายการ จำนวนคน ฉดี วัคซีน ซิโนฟารม์ /ซโิ นแวค+แอสตร้า
ฉดี ครบ 2 เข็ม
นักเรยี น ช้ัน ม.6/1 4 /
นักเรียน ชั้น ม.6/2 2 /
นักเรียน ชน้ั ม.6/3 5 /
นกั เรียน ชนั้ ม.6/4 3 /
14
รวม

สรุปการฉีดวัคซีนของนักเรียนสำรวจจากนกั เรยี นจำนวน 700 คน

ณ วันที่ 7 ตุลาคม 2564

รายการ จ านวนคน คดิ เปน็ ร้อยละ

ฉีดวคั ซนี Pfizer 632 90.28%

ฉดี วคั ซีน ซิโนฟาร์ม /ซโิ นแวค+แอสตร้า 14 2%

รวม 646 92.29%

สรปุ การฉีดวัคซนี ของนักเรียนโรงเรียนภ่วู ิทยา สำรวจจากนักเรยี นจ านวน 700 คน

ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2564

รายการ นกั เรียนทีร่ ับวัคซนี นกั เรียนท่ียงั ไมไ่ ดร้ บั วคั ซนี

นกั เรียนโรงเรยี นภ่วู ทิ ยา 646 54

คิดเปน็ รอ้ ยละ 92.29% 7.71

ขอ้ มูลจากงานอนามัยโรงเรียน

41

รายงานสถานการณ์ COVID – 19
ขอ้ มูล ระหว่างวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564 – 15 ตลุ าคม 2564

42

43

44

45

46

รายงานสถานการณ์ COVID – 19
ขอ้ มูล ณ วันท่ี 16 ต.ค. 2564


Click to View FlipBook Version