ค่มู ือศึกษา
พรรณไม้ป่ าชายเลน
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ภเู กต็
รวบรวมและเรยี บเรียงโดย นายอรรถชยั มีสขุ
ฉบบั ปรบั ปรงุ ธนั วาคม 2563
โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ภเู กต็
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 14
ค่มู อื ศึกษาพรรณไม้ป่ าชายเลนของนักเรียน
โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ภเู กต็ เท่านัน้
ก
คาทกั ทาย
“คูม่ อื ศกึ ษาพรรณไมป้ า่ ชายเลนโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรี
นครนิ ทร์ ภูเกต็ ” มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ใหค้ วามรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั พรรณไมป้ า่ ชายเลน
โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็ และยงั มสี าระเกย่ี วกบั
วธิ กี ารจาแนกชนิดพชื รู้จกั พชื ศกึ ษาเหงอื กปลาหมอดอกม่วง และมุมมองของ
ปา่ ชายเลนท่ีสาคญั ขอขอบคุณ ผอู้ านวยการโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็
พระศรนี ครนิ ทรภ์ ูเกต็ ในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรม
ราชกมุ ารี ทไ่ี ดส้ นบั สนุนงบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ์ การอานวยความสะดวก และ
ข้อเสนอแนะต่าง ๆท่ีเป็นประโยชน์ ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรรมการ
สถานศกึ ษา คณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครอง คณะครูและบุคลากรสนบั สนุน
ของโรงเรยี น ผปู้ กครอง ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทกุ ทา่ นทป่ี ระสานความร่วมมอื และ
ทส่ี าคญั คอื นกั เรยี นทุกคน ท่เี ป็นกาลงั สาคญั ในการดาเนินงานจนทาใหผ้ ลการ
ดาเนนิ งาน จดั ทาคู่มอื เลม่ น่ีสาเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี
ผจู้ ดั ทา
ข
สารบญั
คาทกั ทาย หน้า
รูจ้ กั ปา่ ชายเลนโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็
นิเวศปา่ ชายเลน สว.ภก ก
พรรณไมป้ า่ ชายเลนใน สว.ภก 1
การวเิ คราะห์ หรอื จาแนกชนิดพนั ธุไ์ ม้ 3
รจู้ กั พชื ศกึ ษาเหงอื กปลาหมอดอกมว่ ง 4
การเจรญิ เตบิ โตของเหงอื กปลาหมอดอกม่วง 13
วทิ ยาศาสตร์ 60 วนิ าท:ี นนั่ ไมใ่ ชเ่ มลด็ พนั ธุ์ 15
อกี มมุ ของปา่ ชายเลน 18
ผลงานนกั เรยี น 25
เอกสารอา้ งองิ 26
32
34
1
ร้จู กั ป่ าชายเลน
โรงเรียนเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ภเู กต็
โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็ ตงั้ อยู่เป็นท่ดี นิ
ปา่ เลนเกาะคลองผี หรอื ปา่ เลนคลองเกาะผี ประกาศเป็นปา่ คุม้ ครองและสงวน
ป่า พุทธศกั ราช 2481 ตามความในพระราชบญั ญัติคุ้มครองและสงวนป่า
พุทธศกั ราช 2481 (แตป่ ระกาศเม่อื วนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2505) ต่อมาไดถ้ ูก
กาหนดเป็นปา่ ไมข้ องชาตติ ามมตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ท่ี 14 พฤศจกิ ายน พ.ศ.
2504 ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาตติ ามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 140 (พ.ศ.2505)
ชอ่ื “ปา่ เลนเกาะผ”ี เน้อื ท่ี 2,687.50 ไร่ ดงั ภาพ (1) โรงเรยี นไดร้ บั อนุญาตตาม
ประกาศกรมปา่ ไม้ ใหส้ ่วนราชการหรอื องคก์ ารรฐั เขา้ ไปใชป้ ระโยชน์ภายในเขต
ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 287/2537 จานวน 71 ไร่ 3 งาน ดนิ ปา่ ชายเลนมคี วาม
ลกึ ประมาณ 40 เซนตเิ มตร สว่ นมากเป็นดนิ เหนียวปนทรายดนิ เหนียว และดนิ
ทราย เน้ือดนิ บางส่วนเป็นดนิ ท่มี เี น้ือละเอยี ดมาก ส่วนมากมกี ลน่ิ ของซากพชื
ซากสตั ว์ บางส่วนมีกลนิ่ คล้ายกามะถนั สีของดนิ พบว่าส่วนมากอยู่ในกลุ่มสี
น้าตาลแดง , เทาอมเขยี ว, น้าตาล และน้าตาลอมเหลอื ง ทค่ี วามลกึ 5-40
เซนติเมตร อุณหภูมดิ นิ อยู่ระหว่าง 25.4-29.5 องศาเซลเซียส มคี ่า pH อยู่
ในชว่ ง 3.8-7.2 พน้ื ทห่ี น้าตดั กวา่ รอ้ ยละ 70 พบรากไม้และจุดประในชนั้ หน้าตดั
ดนิ ระหวา่ งรอ้ ยละ 2-20 และส่วนมากจะไม่พบหนิ ในชนั้ หน้าตดั ดนิ มอี าณาเขต
ตดิ ตอ่ ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ตดิ สะพานเทพศรสี นิ ธุ์
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ บา้ นพกั ทหารเรอื
ทศิ ใต้ ตดิ หม่บู า้ นสะพานหนิ
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ปา่ เลนคลองเกาะผี
2
(1) แผนทแ่ี สดงเขตทา้ ยกฎกระทรวงปา่ สงวนแห่งชาติ ปา่ เลนเกาะผี ตาม
ประกาศกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 140 (พ.ศ.2505)
3
นิเวศป่ าชายเลน
ป่าชายเลน (Mangrove forest) คอื การแพร่กระจายของพนั ธุไ์ มม้ ลี กั ษณะ
แบ่งออกเป็นแนวเขต (zonation) โดยขน้ึ อยู่กบั ลกั ษณะทางกายภาพและเคมี
ภาพของดนิ ความเคม็ ของน้า การท่วมถงึ ของน้าทะเล กระแสน้า การระบายน้า
และความเปียกชน้ื ของดนิ พืชพรรณธรรมชาติ เม่อื ได้รบั แสงจากดวงอาทติ ย์
เพ่อื ใชใ้ นการสงั เคราะห์ด้วยแสงเกดิ อนิ ทรยี วตั ถุเป็นผผู้ ลติ (producers) ร่วง
หล่นทับถมกลายเป็นแร่ธาตุจุลชีวัน เช่น แบคทีเรีย เช้ือรา แพลงก์ตอน
ตลอดจนสตั วเ์ ลก็ ๆหน้าดนิ ท่ี เป็นผบู้ รโิ ภคของระบบ (detritus consumers) จุล
ชวี ันเจริญเติบโตเป็นอาหารของสัตว์น้าเล็ก ๆ เป็นอาหารกุ้ง ปู และปลา
ตามลาดบั (tropic levels) ใบไม้ทต่ี กหล่นโคนเป็น อาหารโดยตรงของสตั วน์ ้า
(litter feeding) ดงั ภาพ (2)
(2)http://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/images/resources/krabaen/cont
ent_pic/Food-Web.jpg
4
พรรณไมป้ ่ าชายเลน ในสว.ภก
พนั ธุไ์ มป้ า่ ชายเลนในประเทศไทยมที งั้ สน้ิ 81 ชนิด เป็นไม้ป่าชายเลนท่ี
แทจ้ รงิ (true mangrove) จานวน 34 ชนดิ ขน้ึ เฉพาะบรเิ วณทเ่ี ป็นน้าเคม็ หรอื น้า
กร่อย ส่วนอกี 47 ชนิด เป็นไม้ป่าชายเลนท่ปี รบั ตวั เขา้ กบั สภาพความเคม็ ได้
(mangrove associated species) เพ่อื ใหข้ น้ึ อยู่ไดใ้ นทซ่ี ่งึ มนี ้าทะเลทว่ มถงึ พนั ธุ์
ไม้ป่าชายเลนในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต
โครงสรา้ งป่าชายเลน มกี ารเปลย่ี นแปลงค่อนขา้ งน้อย ส่วนใหญ่ประกอบดว้ ย
พนั ธุไ์ ม้สกุลโกงกาง (Rhizophora sp.) พบพนั ธุ์ไม้ปา่ ชายเลนในโรงเรยี น14
ชนดิ ดงั น้ี
วงศ์โกงกาง 7 ชนิด ได้แก่ ถวั่ ขาว พงั กาหัวสุมดอกแดง โปรงขาว
โปรงแดง ตาตมุ่ ทะเล โกงกางใบเลก็ และโกงกางใบใหญ่
วงศเ์ หงอื กปลาหมอ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ เหงอื กปลาหมอดอกมว่ ง แสมทะเล
วงคเ์ ลย่ี น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ ตะบูนดา และตะบูนขาว
วงศช์ บา 1 ชนดิ คอื หงอนไกท่ ะเล
วงศเ์ ขม็ 1 ชนิด คอื ซงี ้า
วงศป์ รง 1 ชนดิ คอื ปรงทะเล
5
วงศโ์ กงกาง ; RHIZOPHORACEAE
ชื่อพนื้ เมอื ง ; โกงกาง (ภูเกต็ ,ระนอง), พงั กาทราย(กระบ)่ี พงั กาใบเลก็
(พงั งา) โกงกางใบเลก็ (ภาคกลาง)
ช่ือวิทยาศาสตร์ ; Rhizophora apiculata Blume.
ชื่อวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; โคนตน้ มรี ากค้าจุนตงั้ ฉาก
กบั ลาตน้ อยา่ งน้อยหน่งึ ราก ผวิ เปลอื กเรยี บ
แตกเป็นรอ่ งลกึ ตามยาวของลาตน้ เดน่ ชดั
กวา่ รอ่ งตามขวาง เม่อื ทบุ เปลอื กทง้ิ ไวส้ กั ครู่
จะพบวา่ ดา้ นในของเปลอื กเป็นสแี สดอมแดง
ดอกชอ่ ดอกย่อย 2 ดอก
ประโยชน์ ; เปลอื กใหน้ ้าฝาดสนี ้าตาลใช้ ยอ้ มผา้ อวน ลาตน้ ใชท้ าเสาเขม็ ในท่ี
น้าทะเลขน้ึ ถงึ เผาถา่ นเน่อื งจากเปลอื กมสี ารแทนนิน และฟีนอลสารทใ่ี ชท้ าสี
6
ชื่อพนื้ เมอื ง ; พงั กาใบใหญ่ (ใต)้ โกงกางใบใหญ่ (ทวั่ ไป) กงกอน (ชมุ พร)
กงกางนอก (เพชรบุร)ี กงเกง (นครปฐม)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Rhizophora mucronata Poir. Share
ช่ือวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; เปลือกหยาบสีเทาถึงดา
แตกเป็นร่องทงั้ ตามยาวและตามขวาง หรือ
ตารางสเ่ี หลย่ี ม ทบุ เปลอื กทง้ิ ไวส้ กั ครู่ ดา้ นใน
ของเปลือกจะเป็นสีเหลืองถึงส้ม ดอกช่อ
ดอกย่อยมากกวา่ 2 ดอก
ประโยชน์ ; เปลอื กให้น้าฝาดประเภท
catechol ใหส้ นี ้าตาล ใชย้ อ้ มผา้ แห อวน หนงั น้าจากเปลอื กใชช้ ะลา้ งแผล หา้ ม
เลอื ด กนิ แกท้ ้องร่วงแก้บดิ ลาต้น ใชท้ าเสาหลกั ในท่นี ้าทะเลข้ึนถงึ ใชท้ ากลอน
ทาถา่ น
ชื่อพนื้ เมือง ; ถวั่ ขาว ถวั่ ทะเล (ภูเกต็ ) ถวั่ แดง , ประสกั ขาว (จนั ทบรุ )ี ,โปรง
,ปราย (มลาย-ู ใต)้ , ลุย่ เพชรบรุ ี
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Bruguiera cylindrical L.
ชื่อวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; โคนตน้ พองขยายออก
เปลอื กสเี ทา หรอื น้าตาล เรยี บ ตามลาตน้ มี
ชอ่ งอากาศ มรี ากหายใจรปู คลา้ ยเขา่
ประโยชน์ ; ไมน้ ามาเผาถ่าน และทาทอ่ี ยู่
อาศยั
7
ช่ือพนื้ เมือง ; พงั กาหวั สุมดอกแดง (ภูเกต็ ), ประสกั , ประสกั แดง, โกงกาง
หวั สมุ , พงั กาหวั สมุ (กลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Bruguiera gymnorrhiza. (L.) Savigny
ช่ือวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ทรงพมุ่ เป็นชนั้
เหมอื นฉตั ร ดอกสแี ดง สมั ผสั ผวิ
ราบเรยี บไม่สะดดุ มอื ฝกั หรอื ผลคลา้ ย
รปู บหุ รซ่ี กิ าร์ ใบคลา้ ยโกงกางใบเลก็ แต่
ไม่มจี ุดดาทท่ี อ้ งใบ
ประโยชน์ ; ลาต้นเน้ือไม้ค่อนขา้ งแขง็
นาไปใชเ้ ป็นเสา เสาเรอื น ทากาวเปลอื ก
ใหน้ ้าฝาด ใหส้ ี ยอ้ มผา้ ยอ้ มอวนชนิดหนา และยอ้ มหนงั ได้ ฝกั เชอ่ื มรบั ประทาน
เป็น ของหวาน คลา้ ย สาเกเชอ่ื ม
ช่ือพนื้ เมอื ง ; โปลง, แหม (ภูเกต็ ) โปรงขาว, โปรงหนู, ปะโลง, โหลง
(กลาง)
ช่ือวิทยาศาสตร์ ; Ceriops decandra Griff.
ช่ือวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ตน้ ออ่ น (propagules) สี
เขยี ว เปลย่ี นเป็นสนี ้าตาลเม่อื แก่ ปลายฝกั
แหลม ผวิ ขรขุ ระ เลก็ น้อย
ประโยชน์ ; เปลอื กแก้ทอ้ งร่วง อาเจยี น แก้
บดิ หรอื ใชช้ ะล้างแผลและห้ามเลอื ด ใชย้ อ้ มผา้
และหนงั ใหส้ นี ้าตาล
ประโยชน์ 8
ชื่อพนื้ เมอื ง ; โปรง, แหม (ภูเกต็ ), โปรง
แดง (กลาง) โปรงใหญ่ (จนั ทบุร)ี
ชื่อวิทยาศาสตร;์ Ceriops tagal (Perr.) C.B.Rob.
ช่ือวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ตน้ อ่อน (propagules) เป็น
เหลย่ี มสนั นูน
; เปลอื ก ใชต้ ม้ กบั น้าไวช้ ะลา้ งบาดแผล
ช่ือพนื้ เมอื ง ; มูตา (กระบ,่ี พงั งา,ภูเกต็ )
บูตอ (ปตั ตาน)ี ตาต่มุ ทะเล (ทวั่ ไป)
ชื่อวิทยาศาสตร;์ Excoecaria agallocha L.
ช่ือวงศ์ ; RHIZOPHORACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; มยี างสขี าวมาก เปลอื ก
เรยี บถงึ แตกเป็นรอ่ งสนี ้าตาลออ่ น หรอื น้าตาล
เทา กง่ิ อ่อนมชี อ่ งอากาศเลก็ ๆ เดน่ ชดั รากหายใจแผก่ ระจายไปตามผวิ ดนิ
ประโยชน์ ; รากใชพ้ อกหรอื ทาแกอ้ าการบวมตามมอื และเทา้ ยางใชท้ า
แก้ โรคเรอ้ื น ใบใช้ รบั ประทานแกล้ มบา้ หมู ยางของไม้ ตาตุ่มทะเลมพี ษิ
9
วงศเ์ หงือกปลาหมอ ; ACANTHACEAE
ช่ือพนื้ เมอื ง ; เหงอื กปลาหมอ,เหงอื ก
ปลาหมอดอกมว่ ง (ภูเกต็ ,ทวั่ ไป); แกม้ หมอ
(สตูล,กระบ)่ี
ช่ือวิทยาศาสตร์ ; Acanthus ilicifolius L.
ช่ือวงศ์ ; ACANTHACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ปลายใบกลม หรอื
เป็นตง่ิ หนาม หรอื ขอบใบเวา้ เป็นลกู คล่นื มหี นามทป่ี ลายหยกั หนามน้มี กั เกดิ ท่ี
ปลายเสน้ ใบหลกั ดอกสมบูรณ์เพศ กลบี ในดา้ นบนสนั้ มากกลบี ล่างใหญ่มี 3
แฉก สนี ้าเงนิ ออ่ น หรอื มว่ งออ่ น
ประโยชน์ ; ทงั้ ต้น สดและแห้ง แก้แผลพุพองประคบแก้ไขขอ้ อกั เสบ แกป้ วด
ต่าง ๆ รกั ษาโรค
ช่ือพนื้ เมอื ง ; ปีปีดา (ภูเกต็ ) แสมทะเล
(ภาคกลาง และทวั่ ไป)
ช่ือวิทยาศาสตร์ ; Avicennia marina Forsk.
ช่ือวงศ์ ; ACANTHACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; เปลอื กเรยี บเป็นมนั สขี าว
อมเทา หรอื ขาวอมชมพู ตน้ ทอ่ี ายุมากเปลอื ก
จะหลดุ ออก เป็นเกลด็ บางๆ คลา้ ยแผน่ กระดาษ และผวิ เปลอื กใหม่จะมสี เี ขยี ว
ประโยชน์ ; ลาตน้ ใชท้ าฟืนและถ่าน เน้ือเมลด็ นามา แกะเอาคพั ภะออก
แลว้ นามาตม้ จนไดร้ สจดื ใชท้ าขนมหวาน
10
วงคเ์ ล่ียน ; MELIACEAE
ชื่อพนื้ เมอื ง ; ตะบูนขาว (ภูเกต็ ) ;กระบนู , กระบนู ขาว, ตะบนู (กลาง,ใต)้
ช่ือวิทยาศาสตร์ ; Xylocarpus granatum J. Koenig.
ชื่อวงศ์ ; MELIACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; โคนตน้ มพี พู อนแผอ่ อกคดเคย้ี ว
ต่อเน่อื งกบั รากหายใจทแ่ี บนคลา้ ยแผน่ กระดาษ
เปลอื กหลดุ ออกเป็นแผน่
ประโยชน์ ; เปลอื กใหน้ ้าฝาด ใชส้ าหรบั ยอ้ ม
ผา้ เน้ือไม้มสี ขี าว สามารถนามาใช้ทาเฟอร์นิเจอร์
สาหรบั ตกแต่งได้
ชื่อพนื้ เมอื ง ; ตะบูนดา, ตะบนั (ภูเกต็ ) ตะบนู ; (ภาคกลาง และทวั่ ไป)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Xylocarpus moluccensis (Lamk) M.Roem.
ช่ือวงศ์ ; MELIACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ผลดั ใบ มรี ากหายใจ รูปคลา้ ยกรวยคว่า กลม หรอื แบน
ปลาย
ประโยชน์ ; เปลือกให้น้าฝาด ใช้
ย้อมผ้า เปลือกและผล รับประทานแก้
อหวิ าตกโรค ผล และ เมลด็ แกท้ อ้ งร่วง
เป็นยาบารุง แก้ไอ เปลือกผลใชพ้ อกแก้
บวม ขเ้ี ถา้ จาก เมลด็ แกโ้ รคหดิ
11
วงศเ์ ขม็ ; RUBIACEAE
ช่ือพนื้ เมอื ง ; ซฮี า (ภูเกต็ ) ซงี ้า (ภาคกลาง และทวั่ ไป)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Scyphiphora hydrophyllacea C. F. Gaertn.
ช่ือวงศ์ ; RUBIACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ดอกชอ่ กระจุก
แน่น สขี าวออก กา้ นดอกยอ่ ยสนั้ หลอด
กลบี เลย้ี ง ปลายแยกเป็นแฉก
ประโยชน์ ; เน้ือไม้มคี วามเหนียว
แข็งแรง ทาด้ามจอบ และมีดพร้า ใบ
นามาสกดั ลด อาการปวดทอ้ ง
วงศช์ บา; MALVACEAE
ช่ือพนื้ เมือง ; หงอนไก่ (ภูเกต็ ,ภาคกลาง) ไข่
ควาย (กระบด่ี หุ ุน (ตรงั ) หงอนไก่ทะเล (ทวั่ ไป)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ; Heritiera littoralis Dryand.
ชื่อวงศ์ ; MALVACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ผลแก่สนี ้าตาล ดา้ นบนทาง
ปลายผลมสี นั คลา้ ยครบี เหน็ เด่นชดั
ประโยชน์ ; เน้ือไม้ใช้ทาเสา ทาช้นิ ส่วนต่อเรือ
และอุปกรณ์ในการก่อสรา้ ง เปลอื ก ตม้ น้าบว้ นปาก
แกร้ ามะนาด ปากอกั เสบ เมลด็ มแี ทนนิน เป็นยาแกบ้ ดิ
12
วงศ์ ; PTERIDACEAE
ชื่อพนื้ เมอื ง ; ปรง (ภูเกต็ ,กระบ)่ี ปรงแดง (สมุทรสาคร) ปรงทะเล ,ปรง
ทอง,ปรงไข,่ ปรงทะเล (ภาคกลาง)
ช่ือวิทยาศาสตร์ ;Acrostichum aureum L.
ช่ือวงศ์ ; PTERIDACEAE
ลกั ษณะสาคญั ; ลาตน้ เป็นเหงา้ อยใู่ ตด้ นิ ชู
สว่ นของใบ ดา้ นลา่ งใบตอนปลายมสี นี ้าตาล
ประโยชน์ ; หวั ฝนกบั น้าปนู ใส หรอื แชน่ ้า
หอยโข่ง ทาแก้ไฟลามทุ่ง ลาลาบเพลงิ เริม
งูสวดั
13
การวิเคราะห์ หรือ จาแนกชนิดพนั ธไ์ุ ม้
วิธีวิเคราะห์ / จาแนกชนิ ดพนั ธ์ุพืช โดยใชห้ ลกั วชิ าพฤกษศาสตร์
สาขาอนุกรมวธิ านพชื (Plant taxonomy) เป็นหลกั ใหญ่ มพี น้ื ฐานสาคญั ดงั น้ี
1) การวิเคราะห์ การระบุชนิดพชื (Plant Identification)
สามารถทาได้โดยการเปรียบเทียบ
(comparison) และการใช้รูปวธิ าน (key) การ
เปรยี บเทยี บตวั อย่างพชื (comparison) ทาได้
โดยวธิ กี ารตา่ งๆ คอื เปรยี บเทยี บกบั ตวั อย่างพชื
ท่ีมีอยู่แล้วในหอพรรณไม้ เปรียบเทียบกับ
ตัว อ ย่ า ง ส ด ท่ี มี ช่ือ ถู ก ต้ อ ง แ ล้ ว ใ น ส ว น
พฤกษศาสตร์ เปรียบเทียบกับภาพท่ีมีช่ือ
ถูกต้องแล้ว หรือเปรียบเทียบรายละเอียดของ
พืชชนิดนั้นๆ ในหนังสือพรรณพฤกษชาติ
ตลอดจนสอ่ื ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ งๆ
2) การจาแนก (Classification)
คอื การจาแนกพรรณพชื ขน้ึ เป็นหมวดหม่ตู ่างๆ การจาแนกอย่างง่ายๆก็
ได้แก่การจดั พชื เป็นพวกไม้ต้น ไม้พุ่ม ไมเ้ ถา และไมล้ ้มลุก หรือจดั เป็นพชื ใบ
เลย้ี งคกู่ บั ใบเลย้ี งเดย่ี ว กล่าวคอื จะจดั หมวดหมู่พชื ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั เขา้
ไวด้ ว้ ยกนั สว่ นการจาแนกพชื ในขนั้ สูงกจ็ ะจาแนกออกตามลาดบั ชนั้
3) การใช้รปู วิธานหรอื Key
รปู วธิ าน เป็นวธิ กี ารหน่งึ ในการพสิ จู น์พนั ธไุ์ ม้ โดยการคดั ลกั ษณะต่างๆ
ทไ่ี มป่ รากฏในพนั ธุไ์ มท้ ต่ี อ้ งการจะพสิ จู น์ออก คงเหลอื ลกั ษณะทป่ี รากฏอยู่ แล้ว
พจิ ารณาในขนั้ ต่อไปซ่งึ จะมขี อบเขตทแ่ี คบลงทาอย่างน้ีไปเร่อื ยๆจนกวา่ จะพบ
14
คาตอบ รูปวธิ านท่ใี ชก้ นั มากในปจั จุบนั น้ีเรียกว่า Dichotomous key คือการ
นาเอาลักษณะท่ีแตกต่างกันหรือตรงกันข้ามมาเข้าคู่กัน แล้วพิจารณา
เปรยี บเทยี บในคู่นัน้ ๆวา่ จะเข้าลกั ษณะไหน ตดั ลกั ษณะท่ไี ม่ใชอ่ อกไปแล้วไป
พจิ ารณาในส่วนท่แี คบลงไปซ่งึ จะมใี ห้เปรยี บเทยี บเป็นคู่ๆอกี ทาเชน่ น้ีไปเร่อื ย
จ น เ ห ลือ แ ต่ ลัก ษ ณ ะ ท่ีป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น
พรรณไม้ท่เี รากาลงั ตรวจสอบ ก็จะได้
ผลลพั ธ์ในขนั้ สุดท้ายคือชนิดพนั ธุ์ไม้
นนั้ ๆ
สาหรบั ส่วนตา่ งๆของพรรณไม้
ทน่ี ามาใชเ้ ปรยี บเทยี บและจบั คู่กนั กจ็ ะ
ใชท้ ุกๆส่วนประกอบตงั้ แต่ใบ ดอก ผล
เปลอื กลาตน้ หรอื แมก้ ระทงั่ ราก แต่ส่วนของต้นไม้ท่นี ิยมใชใ้ นการเปรยี บเทยี บ
และจาแนกชนิดพนั ธุ์ไม้มากทส่ี ุดในปจั จุบนั กค็ ือดอก โดยเฉพาะจาพวกพืชมี
เมลด็ เพราะเป็นท่ปี ระจกั ษ์แล้วว่าพนั ธุ์ไม้ทม่ี โี ครงสรา้ งของดอกคล้ายคลงึ กนั
โดยมากมกั มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ทางดา้ นพฤกษศาสตรด์ า้ นอน่ื ๆดว้ ย ซง่ึ เป็นการ
แสดงออกวา่ พนั ธุไ์ มเ้ หลา่ น้มี เี ชอ้ื สายเดยี วกนั
15
รจู้ กั พชื ศึกษาเหงือกปลาหมอดอกม่วง
“เหงือกปลาหมอ” มกี ารบนั ทกึ ใน“นิราศเมอื งแกลง” ท่สี ุนทรภู่ได้
แต่งไว้ นับแต่ปี พุทธศกั ราช 2350 จนถงึ ปจั จุบนั เป็นเวลานานถงึ 199 ปี บท
กลอนบนั ทกึ ไวว้ า่ “…จนตกดกึ ล่วงทาง ถงึ บางโฉลง เป็นทงุ่ โลง่ ลานตา ลว้ น
ปา่ แขม เหงือกปลาหมอ กอกก กบั ก่มุ แซม คงคาแจม่ เคม็ จดั ดงั กดั เกลอื ...”
แสดงใหเ้ หน็ วา่ ต้นเหงอื กปลาหมอ นนั้ คนรู้จกั กนั มานานแล้ว แต่ไม่
พบในพจนานุกรม จนกระทงั่ ปีพุทธศกั ราช 2542 ได้บนั ทกึ ไวใ้ น พจนานุกรม
ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ให้ความหมายไว้ว่า เหงอื กปลาหมอ ช่อื ไม้ล้มลุก 2
ชนิดในสกุล Acanthus วงศ์ ACANTHACEAE ชนิด A. ebracteatus Vahl ขน้ึ
ตามรมิ น้าบรเิ วณน้ากร่อย ดอกสขี าว ขอบใบเป็นหนาม ชนิด A. ilicifolius L.
ดอกสมี ว่ งอ่อน บางทขี อบใบเรยี บ, จะเกรง็ หรอื อเี กรง็ กเ็ รยี ก จากการคน้ ควา้
ในเอกสารตารา สกุลเหงือกปลาหมอมสี มาชิกประมาณ 30 ชนิด มีเขตการ
กระจายพนั ธุท์ วั่ ไปในเขตรอ้ นชน้ื ในทวปี อฟั รกิ า เอเซยี และเขตทะเลเมดเิ ตอร์เร
เน่ยี น ในไทยพบ 3-4 ชนิดคอื เหงอื กปลาหมอดอกม่วง Acanthus ilicifolius L.
เหงอื กปลาหมอดอกขาว Acanthus ebracteatus Vahl, หางจระเข้ Acanthus
leucostachyus Wall. และเหงอื กปลาหมอเครอื Acanthus volubilis Wall. ช่อื
สกุล Acanthus มาจากภาษากรกี akanthos แปลว่า thorn plant หรอื พชื มี
หนาม เหงอื กปลาหมอทท่ี าการศกึ ษามชี อ่ื เรียกทวั่ ไปวา่ เหงอื กปลาหมอดอก
ม่วง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Acanthus ilicifolius L. ชอ่ื สามญั Sea holly วงศ์
ACANTHACEAE ชอ่ื อน่ื เหงอื กปลาหมอน้าเงนิ เหงอื กปลาหมอ จะเกรง็ นาง
เกรง็ (ทวั่ ไป) แกม้ หมอ (สตูล) แกม้ หมอเล(กระบ)่ี อเี กรง็ (ภาคกลาง)
ลกั ษณะวสิ ยั ไมพ้ ุ่ม มหี นามตามขอ้ สงู 1-2 เมตร ลาต้นกลมเกล้ยี ง สี
เขียวถึงคล้า ไม่มีเน้ือไม้ภายในเป็นโพรง เส้นผ่า นศูนย์กลางประมาณ 1
16
เซนตเิ มตร ตน้ ตงั้ ตรง แต่เมอ่ื อายุมากมกั ทอดเอน และแตกกง่ิ มรี ากค้ายนั ตาม
โคนตน้ บางครงั้ มรี ากอากาศออกตามผวิ ลา่ งของลาตน้ ทท่ี อดเอน
ใบเดย่ี ว เรียงตรงขา้ มสลบั ฉาก แผ่นใบ
รูปใบหอกแคบ รูปใบหอกกลบั รูปขอบ
ขนานถึงรูปรี ขนาด 3-6 x 7-20
เซนตเิ มตร โคนใบรูปลม่ิ ขอบใบเรยี บถงึ
เวา้ เป็นหยกั รูปคลน่ื 3-4 คู่ คู่สุดท้ายเป็น
หยกั เดน่ มหี นามแหลมทป่ี ลายหยกั (มกั
เกดิ ทป่ี ลายเสน้ แขนง) และมหี นามขนาด
เลก็ กวา่ อยู่กลางหยกั ปลายใบมน แหลมหรอื เป็นรูปสามเหล่ยี มกวา้ ง มหี นามท่ี
ปลาย เสน้ ใบแบบร่างแหขนนก เสน้ กลางใบยกตวั เสน้ แขนง 3-4 คู่ เสน้ ใบย่อย
มองเหน็ ไมช่ ดั เจน เน้อื ใบอวบน้าบางๆ (ใบแก่ทโ่ี ล่งแจ้งมกั แขง็ คล้ายแผ่นหนงั )
ผวิ ใบเกล้ียงทงั้ สองด้าน ด้านบนสีเขยี วเข้มเป็นมนั วาว ด้านล่างสเี ชยี วอ่อน
กา้ นใบยาว 0.5-2 เซนตเิ มตร มกั มหี นามแหลม 1 คู่ ทโ่ี คนกา้ น
ดอกช่อเชิงลดไร้ก้าน ออก
ตามปลายยอด และซอกใบ ยาว 10-20
เซนตเิ มตร ดอกย่อยสมบูรณ์เพศ ไม่มี
กา้ นดอก ออกเรยี งตรงขา้ มสลบั ตงั้ ฉาก
รอบแกนกลางประมาณ 1-20 คู่ แต่ละ
ดอกรองรับด้วยใบประดับ 3 ใบ ใบ
ประดบั ล่างสุดรูปไข่ ยาวประมาณ 0.5
เซนติเมตร หลุดร่วงเรว็ ใบประดบั ย่อยด้านข้างมี 1 คู่ รูปไข่เย้อื ง ยาวถึง 1
เซนตเิ มตร เด่นชดั และตดิ คงทน กลบี เลย้ี ง 4 กลบี แยกจากกนั สเี ขยี วอ่อนถงึ
น้าตาลแกมเขยี วกลบี เลย้ี งบนขนาดใหญ่กวา่ กลบี เลย้ี งล่างและลอ้ มรอบกลบี อ่นื
ไว้ แผน่ กลบี รปู ไข่ ยาว 1-2 เซนตเิ มตร กลบี เลย้ี งคดู่ า้ นในรปู เรยี วเลก็ หรอื ลดรูป
17
หายไป กลบี ดอกโคนเชอ่ื มตดิ กนั เป็นหลอดสนั้ ๆอยู่ภายในกลบี เล้ียง คอหลอด
มขี นเป็นวงแหวน สว่ นบนผายเป็นรปู ปากเปิด มี 2 กลบี กลบี บนสนั้ กลบี ล่างสี
มว่ งหรอื ม่วงอมฟ้า มแี ถบสเี หลอื งอ่อนตรงกลาง แผ่นกลบี แผก่ วา้ งและโค้งลง
คลา้ ยลน้ิ ยาว 3-4 เซนตเิ มตร ขอบกลบี เรยี บถงึ หยกั ต้นื ๆเป็น 3 พู เกสรตวั ผู้ 4
อนั แยกจากกนั และลอ้ มรอบเกสรตวั เมยี ก้านเกสรเพศผอู้ วบ แขง็ ยาว ไล่เล่ยี
กนั อบั เรณูรูปขอบขนาน มขี นสขี าวปกคลุมหนาแน่น ยอดเกสรเพศเมยี เป็นตง่ิ
เลก็ ๆ โผลพ่ น้ อบั เรณู
ผ ล แ บ บ ผ ล แ ห้ง แ ต ก ก ล า ง พู เ ป็ น
สองซกี รปู ทรงไขก่ วา้ งถงึ ทรงรี ขนาด 1-1.5
x 2.5-3 เซนตเิ มตร สนี ้าตาลอ่อน ผวิ เกลย้ี ง
เป็นมนั ภายในมี 2-4 เมลด็ รูปร่างแบน เป็น
เหล่ยี ม ยาวประมาณ 1 เซนตเิ มตร เปลอื ก
เมลด็ บาง มรี อยย่นสเี ขยี วอมขาว
การนาเหงือกปลาหมอไปใช้ประโยชน์ตามตาราการแพทย์แผนไทย
สามารถอธบิ ายรสยาและสรรพคณุ ของแตล่ ะส่วนของเหงอื กปลาหมอไดด้ งั น้ี
เหงือกปลาหมอในการรักษาแพ้ หรือโรคผิวหนังท่ีเกิดข้ึนจาก
น้าเหลืองเสยี สูตรและวธิ กี ารทาผลติ ภณั ฑ์สปา "สบู่สมุนไพรเหงอื กปลาหมอ
จากชาววงั " มรดกทางภูมปิ ญั ญาของไทย: สูตรน้ีเป็นการนาเอาสมุนไพรเหงอื ก
ปลาหมอมาเป็นส่วนผสมท่สี าคญั ของสบู่สมุนไพรหรอื สบู่ยาธรรมชาตไิ ด้อย่าง
เหมาะสม สรรพคุณทโ่ี ดดเด่นมากของเหงอื กปลาหมอ เป็นยาอายุวฒั นะ ชว่ ย
รกั ษาอาการอกั เสบของผวิ หนงั ทาความสะอาดผวิ พรรณ รกั ษาอาการผดผ่นื คนั
ท่ผี วิ หนัง ลดความหมองคล้าของผวิ พรรณ บาบดั น้าเหลอื งเสยี สระผมชว่ ยให้
หนงั ศรี ษะสะอาด
18
การเจริญเติบโตของเหงือกปลาหมอดอกมว่ ง
อรรถชยั มีสุข (2559)ได้ดัดแปลงเกณฑ์ของการแบ่งระยะ การ
เจรญิ เตบิ โต (phenophase) ของ Fehr, W.R., C.E. Caviness, D.T. Burmood,
and J.S.Pennington. 1971. เป็น 4 ระยะ ดังน้ี 1) ระยะงอก 2) ระยะ
เจรญิ เตบิ โต 3) ระยะเจรญิ พนั ธุ์ และ4) ระยะสุกแก่ ผลการศกึ ษาชพี จกั รของ
เหงอื กปลาหมอดอกม่วง ( Acanthus ilicifolius Linn.) ดงั น้ี
1) ระยะงอก
ระยะเรมิ่ งอก : พชื มใี บเลย้ี งงอกโผล่เหนอื ผวิ ดนิ ลกั ษณะกลม ชขู น้ึ มา
เหนอื ดนิ
ระยะใบเลย้ี ง : ใบเลย้ี งแยกออกจากกนั ใบจรงิ คู่แรกทเ่ี ป็นใบเดย่ี ว บน
ขอ้ ท่ี 1
ระยะเรมิ่ งอก ระยะใบเลย้ี ง ระยะขอ้ ท่ี 1
2) ระยะเจริญเติบโต
ระยะขอ้ ท่ี 1 : ใบจรงิ คู่แรกทเ่ี ป็นใบเดย่ี วบนขอ้ ท่ี 1 แผ่ขยายเตม็ ทใ่ี บ
จรงิ ทเ่ี ป็นใบเรมิ่ กางออกมลี กั ษณะปลายใบแหลมโคนใบมน ขอบใบเรยี บ
ระยะขอ้ ท่ี 2 : ใบจรงิ บนขอ้ ท่ี 2 แผข่ ยายเตม็ ท่ี ใบจรงิ บนขอ้ ถดั ไปเรม่ิ
คลก่ี างและขอบใบไม่ตดิ กนั
19
ระยะขอ้ ท่ี 3 : ใบจรงิ แบบใบเดยี วบนขอ้ ท่ี 3 แผ่ขยายเตม็ ท่ใี บจรงิ บน
ขอ้ ถดั ไป
ระยะขอ้ ท่ี n : ใบเท่ากบั จานวนขอ้ บนลาตน้ หลกั ทม่ี ใี บจรงิ แบบเด่ยี ว
แผข่ ยายเตม็ ท่ี โดยเรมิ่ นบั จากขอ้ ท่ี 1 ซ่งึ มใี บจรงิ คู่แรกทเ่ี ป็นใบเดย่ี วตดิ อยู่
การเจรญิ เตบิ โตของราก
รากมากกว่าร้อยละ 70 ของรากเหงอื กปลาหมอดอกม่วงเติบโตใน
ระดบั ความลกึ ไม่เกนิ 50 เซนตเิ มตร ปรบั ตวั ไดด้ ใี นสภาพแวดล้อมทม่ี คี ่า pH ต่า
ในดนิ และโคลนกรอ่ ยทม่ี คี วามเคม็
สณั ฐานวทิ ยาของรากเหงอื กปลาหมอดอกม่วง
3)ระยะเจริญพนั ธ์
การบาน ระยะเรม่ิ ออกดอก และ ระยะบานเตม็ ท่ี
ระยะเรมิ่ ออกดอก : มกี ารสรา้ งชอ่ ดอกออกเรยี งตรงขา้ มสลบั ตงั้ ฉาก
รอบแกนกลางประมาณ 1-20 คู่ แรกบนยอดหรอื ซอกใบใดซอกใบหน่งึ ของลา
ตน้ หลกั มลี กั ษณะรปู รา่ งปลายแหลมคลา้ ยหยดน้า
ระยะดอกบานเตม็ ท่ี : กลบี ดอกบานปลายกลบี ดอกมสี มี ่วง จะทยอย
บานจากค่แู รกลา่ งสุด บนยอดหรอื ซอกใบใดซอกใบหน่งึ ของลาตน้ หลกั ซ่งึ มใี บ
แผข่ ยายเตม็ ท่ี
20
ระยะเรม่ิ ออกดอก ระยะดอกบานเตม็ ท่ี
44 วนั 42 วนั
ระยะเรม่ิ ออกดอก ถงึ ระยะดอกบานเตม็ ท่ี
การพฒั นาการของผล
ระยะเรมิ่ ตดิ ผล : ผลยงั ไมโ่ ผลพ่ น้ กลบี เลย้ี ง มขี นาดความยาวเฉลย่ี
0.5 เซนตเิ มตร รูปทรงคลา้ ยแคปซลู หรอื ทรงกระบอก สเี ขยี วออ่ น หลอดละออง
เรณูทแ่ี หง้ ตดิ อยู่ดา้ นบน ผวิ เรยี บ มนั วาว เนอ้ื ละเอยี ด.
ระยะตดิ ผลเตม็ ท่ี : มผี ลขนาดความยาวเฉลย่ี 2 เซนตเิ มตร รปู ร่าง
คลา้ ยพานพมุ่ สเี ขยี ว หลอดละอองเรณูอนั เลก็ แหง้ ตดิ อยดู่ า้ นบนรูปร่างแหลม
ผวิ เรยี บ มนั วาว เน้อื ละเอยี ดซ่งึ มใี บแผข่ ยายเตม็ ท่ี
21
ระยะเรม่ิ ตดิ ผล ระยะตดิ ผลเตม็ ท่ี
การพฒั นาของเมลด็ ระยะเรม่ิ ตดิ เมลด็ : และระยะเมลด็ โตเตม็ ท่ี
ระยะเรม่ิ ตดิ เมลด็ : ภายในผลมเี มลด็ ความยาวเฉลย่ี 0.3 เซนตเิ มตร
รูปทรงคอ่ นขา้ งกลม สขี าวขนุ่ ดา้ นบนมสี เี หลอื งออ่ น ผวิ เรยี บ มนั วาว เนอ้ื
ละเอยี ด ซง่ึ มใี บแผข่ ยายเตม็ ท่ี
ระยะเมลด็ โตเตม็ ท่ี : เมลด็ เป็นสเี ขยี วเขม้ ขนาดความยาวเฉลย่ี 1.8
เซนตเิ มตร รูปทรงคลา้ ยใบบวั มเี ย่อื หมุ้ เมลด็ สขี าวเทาห่อหมุ้ บางๆ ผวิ เรยี บ
มนั วาว เน้อื ละเอยี ด
เมลด็ ออ่ น(ตดิ เมลด็ ) เมลด็ โตเตม็ ท่ี
4) ระยะสกุ แก่
ระยะเรมิ่ สกุ แก่ : ผลคู่แรกบนชอ่ ดอกทอ่ี อดจากซอกใบหรอื ปลายยอด
บนลาตน้ หลกั สเี รมิ่ มสี นี ้าตาลหรอื เรม่ิ สกุ แก่ หลอดละอองเรณูอนั เลก็ แหง้ ตดิ อยู่
ดา้ นบนรูปร่างแหลม ผวิ เรยี บ มนั วาว เน้อื ละเอยี ด
ระยะสุกแก่เต็มท่ี : ผลคู่แรกแห้งติดอยู่ สนี ้าตาลแห้งแตกออก
22
แบง่ เป็นสองส่วนพบผนงั กนั้ ภายในเมลด็ ความยาวเฉลย่ี 2.5 เซนตเิ มตร รปู ร่าง
คล้ายถัว่ ปากอ้า ผิวเรียว มัน วาว เน้ือละเอียดสุกแก่เต็มท่ีประมาณ 95
เปอรเ์ ซน็ ต์
ชพี จกั รเหงอื กปลาหมอดอกม่วง อรรถชยั มสี ขุ (2559).
23
สรปุ การเจริญ (Growth Dynamics) ของเหงือกปลาหมอ
ลกั ษณะการเจรญิ (Growth Dynamics) ของเหงอื กปลาหมอจะเป็น
แบบ Sigmoid curve เชน่ เดยี วกบั สง่ิ มชี วี ติ อ่นื ๆ เน่ืองมาจากพชื (และสงิ่ ท่มี ี
ชวี ติ อน่ื ๆ) มอี ตั ราการเจรญิ ทร่ี ะยะการเจรญิ ตา่ งๆ ในระหวา่ งวงจรชวี ติ ไมเ่ ทา่ กนั
นนั่ เอง แบ่งระยะการเจรญิ ออกไดเ้ ป็น 4 ระยะด้วยกนั โดยจะมกี ารเจรญิ เตบิ โต
เริ่มต้นจากการงอกของเมล็ด การเจรญิ เติบโตทางลาต้น ไปจนถึงการแพร่
ขยายพนั ธุ์ ดงั น้ี
ระยะท่ี 1 : Exponential phase : เป็นระยะทม่ี อี ตั ราการเจรญิ ชา้ มาก
แต่ในพชื โดยเฉพาะพืชอายุสนั้ จะกนิ เวลาไม่นาน (1 –3 สปั ดาห)์ โดยเรม่ิ จาก
การงอกของเมลด็ ไปจนถงึ ระยะตน้ กลา้
ระยะท่ี 2 : Linear phase : เป็นระยะทพ่ี ชื มอี ตั ราการเจรญิ สงู คอ่ นขา้ ง
คงท่ี และกนิ เวลานาน ในชว่ งระยะน้ีจะชบ้ี ่งถงึ อตั ราการเจรญิ (CGR) ของพชื
อย่างแทจ้ รงิ โดยเรม่ิ จากระยะตน้ กลา้ ไปจนถงึ การออกดอก
ระยะท่ี 3 : Declining phase : เป็นระยะท่พี ชื มอี ตั ราการเจรญิ ลดลง
โดยเรมิ่ จากระยะหลงั ดอกมกี ารผสมจนตดิ ฝกั อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางลาตน้
และใบจะลดลง จะมกี ารส่งอาหารไปสะสมบรเิ วณเมลด็
ระยะท่ี 4 : Steady state : เป็นระยะทพ่ี ชื มอี ตั ราการเจรญิ ทค่ี งท่ี ถอื
วา่ เป็นระยะท่พี ชื มคี วามแก่ในทางสรรี วทิ ยา และเป็นระยะทพ่ี ชื มกี ารสร้างหรอื
สะสมน้าหนกั ไดส้ มดุลกบั ท่สี ูญเสยี ไปจนถงึ การเกบ็ เก่ยี วผลผลติ ในพชื ล้มลุก
หลายฤดูเม่อื ผ่านระยะ Steady state แลว้ จะมกี ารพกั ตวั หรอื พกั ตน้ โดยจะมี
การเจรญิ ทางกง่ิ ใบ และการแพร่ขยายพนั ธไุ์ ปจนกวา่ พชื ตน้ นนั้ แก่จนไมส่ ามารถ
ขยายพนั ธุไ์ ดก้ ารเจรญิ เตบิ โตของตน้ เหงอื กปลาหมอ แบ่งไดเ้ ป็น 4 ชว่ ง คอื
1.เมลด็ และการงอก : เมลด็ จะงอกกต็ ่อเม่อื สภาพแวดล้อมเหมาะสม
ตอ่ การงอกของเมลด็ โดยจะเกดิ ใบเลย้ี ง 2 ใบ กอ่ นเกดิ ใบจรงิ
24
2.การเจรญิ ทางลาต้น และใบ : จุดเจรญิ (apical meristem) พฒั นา
เป็นลาตน้ สว่ นของ leaf primordia เป็นใบ มกี ารเพม่ิ จานวนขอ้ และใบ ในช่วงท่ี
มกี ารเจรญิ พนั ธตุ์ าจะพฒั นาเป็นดอกตอ่ ไป
3.การเจรญิ ทางการแพร่ขยายพนั ธุ์ : เม่อื ต้นเหงือกปลาหมอมกี าร
เจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ี กจ็ ะมกี ารออกดอก ผสมเกสร และเกดิ ผลผลติ เพ่อื สามารถ
ขยายพนั ธุต์ ่อไป
4.ระยะสุกแก่ : ดอกเมอ่ื ไดร้ บั การผสมเกสรแล้วกจ็ ะมกี ารตดิ ฝกั และ
เมลด็ เม่อื มกี ารสุกแกก่ จ็ ะสามารถนาไปขยายพนั ธุ์ เพ่อื อนุรกั ษพ์ นั ธุไ์ ดต้ อ่ ไป
โดยเหงอื กปลาหมอเป็นไม้พุม เม่อื เกดิ ฝกั (เมลด็ ) แล้ว ต้นก็ยงั สามารถท่ีจะ
เจรญิ เตบิ โตในปีต่อ ๆ ไปได้ ลาตน้ จะล้มเอนลง แตกกิ่งใหม่ และตน้ ใหม่ จาก
รากค้ายนั มกี ารแพร่ขยายพนั ธุ์ เกดิ ฝกั เกดิ เมลด็ เป็นวฎั จกั รเชน่ น้ีไปเร่อื ย ๆ
จนกวา่ ตน้ จะตาย
25
วิทยาศาสตร์ 60 วินาที: นัน่ ไมใ่ ช่เมลด็ พนั ธ์ุ
ปา่ โกงกาง หรอื ปา่ พงั กา พบไดใ้ นป่าชายเลนโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต ปา่ โกงกางเป็นไม้ต้นท่ีมีการปรบั ตวั เป็นพิเศษ
สาหรบั การเจรญิ เติบโตในน้าเคม็ หน่ึงในการปรบั ตวั คือ วธิ ีการขยายพนั ธ์:
โกงกางไมไ่ ดส้ รา้ งเมลด็ แต่สรา้ งตน้ อ่อนออ่ นลอยน้าทเ่ี รยี กวา่ “propagules” ตน้
ออ่ นทแ่ี ตกหน่อ เมอ่ื มนั ตกลงมาจากตน้ ในเวลาน้าลดมนั สามารถเจาะลกึ ลงไปใน
พน้ื ดนิ โคลนไดจ้ ะเรมิ่ งอกรากทนั ที อาจจะลอยน้าพรอ้ มทจ่ี ะหยงั่ ราก หากอยใู่ น
พน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสมหรบั การเจรญิ เตบิ โตการขยายพนั ธทุ์ ม่ี รี ากอยู่แล้วจะส่งใบเล้ยี ง
ทห่ี ่อหุ้มด้วยหูใบสีแดง ลาตน้ ใต้ใบเล้ยี งรูปทรงกระบอก เรยี วโค้งเล็กน้อย มี
ขนาดโตขน้ึ ทส่ี ว่ นปลาย ผวิ เป็นมนั สเี ขยี วหรอื เขยี วอมม่วง คอ่ นขา้ งเรยี บหรอื มี
ต่มุ ขรขุ ระ ภาพแสดงสว่ นขยายพนั ธ์ “propagules”
โกงกางใบเลก็ (Rhizophora apiculata ) ลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั โกงกาง
ใบใหญ่มาก แต่แตกต่างกนั ท่ี ชนดิ น้มี ใี บขนาดเลก็ กวา่ ดอกชอ่ ดอกยอ่ ย 2 ดอก
กลบี ดอกไม่มีขน มรี ากตงั้ ฉากกบั ลาต้น ช่วยค้าต้นไม่ให้ล้ม เติบโตในดิน
โคลนทม่ี คี วามเคม็ เปียก ปรบั ตวั ใหท้ นต่อน้าเคม็ กระแสน้าแรงดนิ ทม่ี อี อกซิเจน
ต่าในสภาพน้าขงั
26
อีกมมุ ของป่ าชายเลน
การปรบั ตวั ของไม้ป่ าชายเลน (Adaptations of Mangrove Trees)
การปรบั ตวั เพ่อื อยู่ในบรเิ วณชายทะเลตน้ ไม้ในป่าชายเลนตอ้ งปรบั ตวั
เพ่อื การอย่รู อด เตบิ โตและสบื พนั ธุ์ โดยมวี ธิ กี ารปรบั ตวั โดยสงั เขป ดงั น้ี
1) ระบบราก ต้นไม้ป่าชายเลนท่ขี น้ึ ไดใ้ นพ้นื ท่ดี นิ เลนน้าท่วมความไม่
มนั่ คงของดนิ และการกดั เซาะของกระแสน้าคลน่ื ลม สภาวะขาดแคลนอากาศใน
ดนิ รากของตน้ ไมใ้ นปา่ ชายเลนจงึ ถกู ออกแบบมาเพ่อื ค้าจุนพยุงลาตน้ และช่วย
หายใจในสภาพดนิ ท่ขี าดแคลนอากาศ ซ่งึ ภาพทเ่ี ราคุ้นกนั มากทส่ี ุดน่าจะเป็น
รากของต้นโกงกาง ทจ่ี ะมรี ากค้าจุน (Prop root) และรากอากาศ (Aerial root)
รากช่วยหายใจท่เี รยี กวา่ Pneumatophore นัน้ มหี ลากหลายรูปแบบ ขน้ึ อยู่กบั
สภาวะ
2) ใบของตน้ ไมใ้ นป่าชายเลนนนั้ มกั ถูกออกแบบมาเพ่อื ลดการสูญเสยี
น้าจดื ทห่ี าไดย้ ากในทะเล โดย มกั มใี บอวบน้า เพ่อื เกบ็ ความชน้ื ไวใ้ นใบให้มาก
ทส่ี ุดมผี วิ ใบทม่ี คี วามมนั เคลอื บไวเ้ พ่อื ลดการสูญเสยี น้าจากการระเหยหรอื คาย
น้า สว่ นใหญ่จะมปี ากใบอยู่บรเิ วณดา้ นใตข้ องใบ เพ่อื ใหค้ ายน้าไดน้ ้อยทส่ี ดุ จาก
การทอ่ี ยใู่ นทะเลทาใหเ้ มอ่ื ดดู น้าทะเลมาแลว้ ตอ้ งมกี ารขบั เกลอื สว่ นเกนิ ออกเพ่อื
แยกเอาแต่น้าจดื ไปใช้ บรเิ วณปากใบของตน้ ไม้ปา่ ชายเลนมกั มตี ่อมขบั เกลอื
ออกจากตน้ และอาจมตี อ่ มขบั เกลอื ในส่วนอ่นื ๆ ของลาตน้ ดว้ ย
3) ผล เน่ืองจากปจั จยั สาคญั ทช่ี ว่ ยในการแพร่กระจายของเมลด็ พชื ในปา่
ชายเลนมกั ไดแ้ ก่กระแสน้า เมลด็ พชื ในปา่ ชายเลนจงึ ถูกออกแบบมาให้ มกี าร
งอกของตน้ อ่อนตงั้ แต่ยงั อยูบ่ นตน้ แม่ ท่เี รยี กว่าแบบ viviparous เช่น ตน้ อ่อนท่ี
แตกหน่อ (Propagules) ของตน้ โกงกาง ซง่ึ เมอ่ื ตกลงจากตน้ แมก่ ป็ กั ดนิ พรอ้ มจะ
งอกได้
27
4)เมล็ดของต้นไม้ป่าชายเลนจึงต้องมีความสามารถล่องลอยไปกับ
กระแสน้าไดไ้ กลๆ เพอ่ื จะไปงอกไดใ้ นพน้ื ทๆ่ี เหมาะสม มกี ารสะสมสารแทนนิน
ในฝกั ของตน้ ไมป้ า่ ชายเลนบางชนดิ ซง่ึ สารแทนนิน ออกฤทธติ ์ า้ นแบคทเี รยี บาง
ชนิดไดด้ ว้ ย *การรดน้าตน้ โกงกางด้วยน้าจดื กไ็ ม่ทาใหต้ ้นตาย แถมยงั โตดดี ้วย
เพราะตน้ ไมเ้ หลา่ น้เี พยี งแต่ปรบั ตวั เพอ่ื ใหอ้ ยู่ในน้าเคม็ ได้ แต่กย็ งั คงใชน้ ้าจดื ใน
การดารงชพี อยู่
***สงิ่ ทจ่ี ะทาใหต้ น้ ไมป้ า่ ชายเลนตาย คอื การทท่ี าให้น้าท่วมขงั รากเป็น
เวลานานๆ โดยไมม่ กี ารระบายเหมอื นการขน้ึ ลงของกระแสน้าในธรรมชาตจิ นทา
ใหร้ ากหายใจไมส่ ามารถทางานได้
28
รปู ู (a crab hole)
รปู ู จะประกอบไปดว้ ยพน้ื ท่ี 2 บรเิ วณ ดว้ ยกนั คอื บรเิ วณทม่ี อี อกซิเจน
(Oxic) และบรเิ วณท่ไี ม่มอี อกซิเจน (Anoxic) มีกลุ่มไนติไฟองิ แบคทเี รีย ใช้
ออกซเิ จนทม่ี ากบั น้าเปล่ยี นแอมโมเนียให้เป็นสารประกอบไนโตรเจนในรูปของ
ไนเตรทไหลออกจากรูปหู รอื ซมึ กลบั เขา้ ชนั้ ดนิ เป็นอาหารของพชื และกลุ่มดไี น
ตริไฟองิ แบคทเี รีย ท่สี ามารถเปล่ยี นไนเตรทให้กลบั ไปเป็นก๊าซไนโตรเจนใน
สภาวะทไ่ี มม่ อี อกซเิ จน ทาใหร้ ูปเู ป็นพน้ื ทช่ี ว่ ยลดความเป็นพษิ ของแอมโมเนียใน
ชนั้ ดนิ เลนได้ และมสี ่วนชว่ ยสรา้ งอาหารใหก้ บั พชื ในป่าชายเลนซ่ึงเป็นผผู้ ลติ ใน
ระบบนิเวศ ดงั ภาพ (3)
(3) Kay Vopel and Nicole Hancock. More than just a crab hole.
จาก www.niwa.co.nz/…/…/files/import/attachments/crab.pdf
29
ลกั ษณะปากรขู องปแู สม ทพ่ี บในปา่ ชายเลนโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็
พระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็
กขค
ก: ปากรแู บบรปู ถว้ ยหรอื กรวย; ข: ปากรแู บบจอมเดย่ี ว; ค: ปากรแู บบจอมกลุ่ม
ปกู ้ามดาบ(Fiddler crabs, Ghost crabs)
เป็นปทู ะเลขนาดเลก็ สกลุ หน่งึ อยใู่ นสกุล Uca
ในวงศ์ Ocypodidae มลี กั ษณะโดยรวมคอื กระดอง
รูปส่ีเหล่ียมคางหมู มีก้านตายาว กระดองมีสีสัน
สวยงามต่างๆ ตวั ผู้มีลกั ษณะเด่นอนั เป็นทม่ี าของ
ช่อื เรียก คอื มกี ้ามขา้ งใดข้างหน่ึง ขน้ึ อยู่กบั ชนิด
ใหญ่กวา่ อกี ขา้ งอยา่ งเหน็ ได้ชดั ปูกา้ มดาบคอื หน่ึง
ในดชั นีชวี ดั ความอุดมสมบูรณ์ของผนื ปา่ ชายเลนท่ี
สาคญั ปกู า้ มดาบหน่งึ ตวั จะสรา้ งขเ้ี ทยี มไดม้ ากถงึ 300 กอง โดยพฤตกิ รรมการ
กนิ อาหารทาใหเ้ กดิ อตั ราการหมนุ เวยี นของดนิ สูงถงึ 500 กรมั /ตารางเมตร/เกดิ
การเปลย่ี นแปลงของ เน้ือดนิ และ องค์ประกอบทางเคมี ปรบั สมดุลนิเวศระบบ
นเิ วศ
30
บา้ นชุดอภิบาลสตั วน์ ้า (Pastoral care aquatic animal)
เป็นอุปกรณท์ ท่ี าขน้ึ เพ่อื ให้ กุ้ง หอย ปู ปลา ใชอ้ าศยั หรอื หลบซ่อนตวั
จากภยั ตา่ งๆ และเป็นแหล่งฟกั ตวั ขยายพนั ธุข์ องสตั วน์ ้าวยั อ่อนบรเิ วณปา่ ชาย
เลน อกี ทงั้ ชว่ ยดกั ตะกอนดนิ รกั ษาสมดุลธรรมชาติ ลดผลกระทบจากตะกอนดนิ
ทจ่ี ะออกไปสหู่ ญ้าทะเลและปะการงั “การสรา้ งบา้ นชุดอภิบาลสตั วน์ ้า” ใชไ้ ม้ไผ่
ประกอบเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มยดึ ดว้ ยสกรูไมไ้ ผ่ นาไปวางบรเิ วณพน้ื ทท่ี ส่ี ารวจไวใ้ สก่ ง่ิ
ไม้ ใบไมแ้ หง้ ลงไปดา้ นใน บา้ นชุดอภบิ าลสตั วน์ ้ามอี ายุการใชง้ านสนั้ การปลูก
โกงกางใบเลก็ จะชว่ ยทาแนวชะลอคล่นื ถาวร ประโยชน์ไดร้ บั 1)เพมิ่ ทางเลอื กใน
การสร้างแนวชะลอคล่นื รูปแบบใหม่โดยการปลูกต้นโกงกางใบเล็ก 2) เพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพในการปลูกตน้ โกงกาง
31
สีสนั ดอกของพนั ธไ์ุ ม้ป่ าชายเลน
ความหลากหลายของสสี นั ดอกของพนั ธุไ์ ม้
ปา่ ชายเลนเกดิ จาก “รงควตั ถุ” (pigment) ทแ่ี ตกต่าง
กนั รงควตั ถุแตล่ ะชนดิ จะมสี ที ต่ี า่ งกนั เชน่ สชี มพูอ่อน
จนถึงชมพูเข้ม แดง น้าเงิน ม่วง เกิดจากรงควตั ถุ
ชนิดทเ่ี รยี กวา่ “แอนโทไซยานิน” (anthocyanin) รงค
วตั ถชุ นดิ ทเ่ี รยี กวา่ “แคโรทนี อยด์” (carotenoid) ทาให้
ดอกไมม้ สี เี หลอื งมะนาว ไปจนถงึ แดงมะเขอื เทศ เป็น
ตน้ ปา่ ชายเลนในโรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระ
ศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็ มสี สี นั ทส่ี วยงามจากดอกของพนั ธไุ์ มป้ า่ ชายเลน เชน่ สเี หลอื ง
ของดอกแสมทะเล
ความหลากหลายทางชนิ ดของไลเคน
ไลเคน (lichen) คือ เกิดจากการมาอยู่
ร่วมกัน (symbiosis) ของรา (fungi) เรียกว่า
mycobiont กบั สาหร่าย (algae) และ/หรือ ไซยาโน
แบคทีเรีย (cyanobacteria) เรียกว่า photobiont
(เรียก phycobiont สาหรับสาหร่าย และเรียก
cyanobiont สาหรับ cyanobacteria/blue green
algae) ทงั้ สองต่างเออ้ื ประโยชน์ซ่งึ กนั และกนั อย่างลงตวั ปา่ ชายเลนโรงเรยี น
เฉลมิ พระเกียรตสิ มเด็จพระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็ มีความหลากหลายทางชนิด
ของไลเคนทส่ี ารวจพบไดแ้ ก่ วงศ์ Bacidiaceae ,Roccellaceae, Graphidaceae
ซ่งึ สามารถใชช้ ว้ี ดั คณุ ภาพอากาศได้
32
ผลงานนักเรียน
33
34
เอกสารอ้างอิง
กาญจนา ครธุ เวโช. (2548). การสารวจและเกบ็ รวบรวมพรรณพชื ใน
ท้องถ่ิน = Survey anb collection local plant. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2.
ราชบรุ ี สถาบนั ราชภฎั หมูบ่ า้ นจอมบงึ .
ก่องกานดา ชยามฤต. (2545). ค่มู ือจาแนกพรรณไม้. กรงุ เทพฯ: สว่ น
พฤกษศาสตรป์ า่ ไม้ สานกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม.้
ดอกรกั มารอด; และ อุทศิ กฎุ อนิ ทร.์ (2552). นิเวศวิทยาป่ าไม้. กรงุ เทพฯ:
คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
สุรางค์ เธยี รหริ ญั ; และคนอน่ื ๆ. (2553). ค่มู อื การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
ของชมุ ชนด้านความหลากหลายทางชีวภาพ “ด้านพชื ”. กรงุ เทพฯ:
สรายทุ ธ บุณยะเวชชวี นิ และ ร่งุ สุรยิ า บวั สาล.ี (2554). ป่ าชายเลน:
นิเวศวิทยาและพรรณไม้. กรุงเทพฯ: กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่
และพนั ธพุ์ ชื .สานกั งานความหลากหลายทางชวี ภาพดา้ นปา่ ไม้
กรมปา่ ไม.้
อรรถชยั มสี ขุ . 2559. ชีพจกั รของเหงอื กปลาหมอดอกม่วง. เอกสาร
ประกอบการนาเสนอบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เร่อื งพชื
ศกึ ษา, ภูเกต็ โรงเรยี นเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภูเกต็ .
(10).pdf
Smitinand, T. (2001). Thai Plant Names. BKK: The Forest
Herbarium Royal Forest Department.
35
เอกสารอ้างอิง(ต่อ)
http://oknation.nationtv.tv/blog/iamasian/2008/01/23/entry-1
https://thematter.co/science-tech/the-golden-age-of-biomimicry/43888
http://www.ittrain.nrru.ac.th/scijournal/index.php
https://sites.google.com/site/pumpkin2555/khwampdca
http://guidance.obec.go.th/?p=1033
http://wpp.co.th