The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นิติพัฒน์ ทิพย์ชัย, 2023-01-30 01:21:42

โครงงานสารเร่งการเจริญเติบโตของรากพืชโดยใช้สารจากฮอร์โมนออกซินจากยอดพืชในท้องถิ่น

รูปเล่มการประกอบการนำเสนอวิชา IS

โครงงานเรื่อง สารเรงการเจริญเติบโตของรากพืช โดยใชสารจากฮอรโมนออกซินจากยอดพืชในทองถิ่น โดย 1. นางสาว อณิชา จันทรอารักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 2. นางสาว กวินสิน สงสังข ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 3. นาสาว มนัสนันท ปราศจากศัตรูชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 ครูที่ปรึกษา วาที่รอยตรีหญิงพัชรียา รสฟุง รายงานฉบับนี้เปนสวนประกอบของโครงงาน เรื่อง สารเรงการเจริญเติบโตของรากพืช โดยใชสารจากฮอรโมนออกซินจากยอดพืชในทองถิ่น ในรายวิชาการศึกษาคนควาอิสระ I30202 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานสวน(จั่นอนุสรณ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง


ก ชื่อเรื่อง สารเรงเจริญเติบโตของรากพืชโดยใชสารจากฮอรโมนออกซินจากยอดพืชในทองถิ่น ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/4 ชื่อผูจัดทำ 1. นางสาว อณิชา จันทรอารักษ 2. นางสาว กวินสิน สงสังข 3. นางสาว มนัสนันทปราศจากศัตรู ครูที่ปรึกษา วาที่รอยตรีหญิงพัชรียา รสฟุง โรงเรียน โรงเรียนบานสวน(จั่นอนุสรณ) บทคัดยอ ในการศึกษาการเจริญเติบโตของรากผูจัดทำไดมีการศึกษาประสิทธิภาพของสารเรงการเจริญเของรากพืช ใชสารจากฮอรโมนออกซินจากยอดพืชในทองถิ่น ไดแก ผักบุง ตำลึง และผักโขม และ เพื่อ เปรียบเทียบประสิทธิ ภายของฮอรโมนออกชินจากยอดพืชแตละชนิดที่เรงการเจริญเติบโตของรากพืชที่ ขยายพันธุโดยวิธีการเพาะเมล็ด และการปกชำ โดยการนำน้ำหมักแตละสูตรแชเมล็ดและกิ่งปกชำ 60 นาที กอนนำไปปลูก ผลการทดลองฮอรโมน ออกชินจากยอดผักบุง ตำลึง และผักโขมสามารถนำมาทำเปน สารเรงการเจริญเติบโตของรากพืชได โดยวิธีการ เพาะเมล็ดวัดความยาวรากของโหระพา โดยใชเวลา 7 วัน ซึ่ง เมล็ดที่ปลูกโดยใชน้ำหมักฮอรโมนออกซินจากยอด ผักโขม ความยาว 1.1 เชนติเมตร ปลูกโดยใชสารเรงรากที่ ขายตามทองตลาด ความยาว 1 เซนติเมตร และปลูก โดยใชน้ำหมักฮอรโมนออกซินจากยอดผักบุง ความยาว 0.81เชนติเมตร ปลูกโดยใชน้ำหมักฮอรโมนออก ชินจาก ยอดผักตำลึง 0.66 และปลูกโดยไมใชสารเรง 0.48 เชนติเมตร ตามลำดับ การทดลองโดยวัดการ เจริญเติบโตของ รากโหระพาจากการปกชำ โดยใชเวลา 7 วัน ซึ่งเมล็ดที่ปลูกโดยใชน้ำหมักฮอรโมนออกซินนจากยอดผักโขมความ ยาว 0.85เซนติเมตร ปลูกโดยใชสารเรงรากที่ ขายตามทองตลาด ความยาว 0.81 เซนติเมตร และปลูกโดยใชน้ำ หมักฮอรโมนออกซินจากยอดผักบุง ความ ยาว 0.63เซนติเมตร ปลูกโดยใชน้ำหมักฮอรโมนออกชินจากยอดผัก ตำลึง 0.53 และปลูกโดยไมใชสารเรง 0.28 เชนติเมตร ตามลำดับ โดยฮอรโมนออกชิน จากยอดผักบุง ตำลึง และ ยอดผักโขมมีประสิทธิภาพใน เจริญเติบโตของรากพืชที่ขยายพันธุโดยวิธีการเพาะเมล็ดและการปกขำไดดีที่สุด เนื่องจากมีปริมาณฮอรโมน ออกซินที่เหมาะสมตอการเจริญของรากเมื่อทำกรทดลองปลูกในระยะเวลาเทากันราก ที่งอกมีจำนวนมากและ มีความยาวมากที่สุด


ข กิตติกรรมประกาศ คณะผูจัดทำโครงงานขอขอบคุณนางนภาพร มูลเมือง ผูอำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนบานสวน (จั่นอนุสรณ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ที่ใหการสนับสนุนการจัดทำโครงงานครั้งนี้ ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษาในการทำโครงงานวิทยาศาสตร ประเภททดดลองครั้งนี้ที่ใหการสนับสนุน ให คำแนะนำปรึกษา ในการจัดทำโครงงานนี้ ขอบพระคุณเพื่อนนักเรียนทุกคน ที่ใหคำแนะนำและกำลังใจ ตลอดจนใหความชวยเหลืออุปกรณการ ทดลองตางๆ คณะผูจัดทำ


ค สารบัญ เรื่อง หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญ (ตอ) ง สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงคของการทดลอง 1 สมมติฐานของการทดลอง 1 ขอบเขตของการทดลอง 2 ตัวแปรของการทดลอง 2 ประโยชนของโครงงาน 2 นิยามศัพทเฉพาะ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 1. ฮอรโมนออกชิน 3 2. สารเรงรากพืช 4 3. ผักบุง 7 4. ตำลึง 7 5. ผักโขม 8 6. โหระพา 9 7. การเพาะเมล็ด 9 8. การปกชำกิ่ง 10 9. รากพืช 10 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณและการดำเนินการ วัสดุอุปกรณ 1 3 วิธีการดำเนินการ 1 3 บทที 4 ผลการดำเนินการ 1 5 บทที่ 5 สรุปผล สรุปผลการดำเนินงาน 17 อภิปรายผล 17 ปญหาและอุปสรรค 17 แนวทางแกไขปญหา 17


ง สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา ขอเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 19


จ สารบัญตาราง เรื่อง หนา ตารางที่ 1 แสดงการเจริญเติบโตของรากโหระพาจากการเพราะเมล็ด 13 ตารางที่ 2 แสดงการเจริญเติโตของรากโหระพสจสกกสรปกชำ 14


1 บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญ พืช เปนสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆโดยพืชที่พบเห็นโดยทั่วไปมีอยูหลาย ประเภท ทั้งไมลมลุก ไมพุม ไมยืนตัน แตละประเกทนั้นมีประโยชนมากมายขึ้นอยูกับการนำไปใชประโยชน จากการศึกษาเรื่องการดำรงชีวิตของพืช ตามหลักสูตรการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เพื่อ เปน การศึกษาใหเขาใจถึงการเจริญเติบโตของพืชโดยการงอกจากเมล็ดจนเจริญเดิบโตเปนดันที่สมบูรณมี องคประกอบ ครบ,การใหธาตุอาหารแกพืช ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต การขยายพันธุ และรวมไปถึงการ เรงการเจริญเติบโต เพื่อวัตถุประสงคตงๆ เชน เพื่อเรงอัตราการงอกของราก การเพิ่มขนาดของผล การแตกกิ่ง ของพืช โดยสารเรง เหลานี้เราเรียกอีกอยางวา ฮอรโมนพืช ซึ่งเราไดมีการศึกษาเพิ่มเติมวา ฮอรโมนพืชสามารถ พบไดพืชโดยทั่วไปมี หลายชนิด เชน ออกชิน ไซโตคนิน จิบเบอเรลลิน และมีการสังเคราะหสารเรงการ เจริญเติบโตขึ้นมาขายตาม ทองตลาดเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ดังนั้นจึงมีการนิยมใชสารเคมีในการเรง การเจริญเติบโตของพืชเพิ่มมาก ขึ้น ดังนั้นคณะผูทำโครงงานจึงไดมีแนวคิดที่จะทำน้ำหมักฮอรโมนออกชิน สารเรงการเจริญเติบโตของ รากพืช เพื่อที่จะใหพืชมีอัตราการงอกของรากที่เร็วขึ้นเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตไดเร็วและสามารถใชในการเรงการ เจริญเติบโต ของรากพืชที่เปนที่ตองการในทองตลาด เชนพืชที่ขายจำนวนมาก พืชที่เพาะพันธุยาก เปนตน เรา สามารถใชน้ำ หมักฮอรโมนออกซินไดทั้งวิธีการเพาะเมล็ด และการปกชำ จากการศึกษาคนควาขอมูลพบวา สารเรงรากหรือน้ำยา เรงรากที่ขายตามทองตลาดมีราคาแพง 165 บาท ซึ่งคณะผูทำโครงงานเห็นวามีไมเอา จึงทำการทดลองทำน้ำหมัก ฮอรโมนออกชิน โดยใชยอดของพืชที่มี ฮอรโมนอกซินสูง คือผักโขม ผักบุง และตำลึง เปนสวนผสมในการทำ ซึ่งจะ ทำใหไดน้ำหมักฮอรโมนออกซิน ที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยไรสารเคมีตกคางและราคาถูก เหมาะกับการทำไวใชใน ครัวเรือนหรือจำหนายไดใน ราคาที่เหมาะสม วัตถุประสงคของการทดลอง 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารเรงการเจริญเติบโตของรากพืชโดยใชสาร จากฮอรโมนออกซินจาก ยอดพืชในทองถิ่น ไดแก ผักบุง ตำลึง และผักโขม 2.เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ ฮอรโมนออกชินจากยอดพืชแตละชนิดที่เรงการเจริญเติบโต ของรากพืชที่ขยายพันธุโดยวิธีการเพาะเมล็ดและการ ปกชำ สมมติฐานของการทดลองคนควา 1. ฮอรโมนออกชินจากยอดผักบุง ตำลึง และผักโขมสามารถนำมาทำ เปนสารเรงการเจริญเติบโต ของรากพืชได 2. ฮอรโมนออกชินจากยอดผักโขมมีประสิทธิภาพในการเรงการ เจริญเติบโตของรากพืขุที่ขยายพันธุ โดยวิธีการเพาะเมล็ดและการปกขำไดดีที่สุด


2 ขอบเขตของการทดลอง 1. ในการศึกษาคันควาครั้งนี้ มุงศึกษาในการนำฮอรโมนออกชินจากยอดพืช 3 ชนิด ไดแก ผักบุง ตำลึงและผักโข/ มาใชในการศึกษาโดยการหมักรวมกับกากน้ำตาล และหัวเชื้อจุลินทรีย พด. 2 เพื่อนำไปใชในการทดลอง 2. การทดสอบประสิทธิภาพในการเรงการเจริญเติบโตของราก จะทำการทตสอบกับพืชที่ขยายพันธุ โดยการเพาะเมล็ดและการปกชำ ไดแก โหระพา ตัวแปรของการทดลอง ตัวแปรตน ไดแก ชนิดของพืชที่ผลิตฮอรโมนออกซิน ตัวแปรตาม ไดแก การเจริญเติบโตของรากพืช ตัวแปรควบคุม ไดแก 1. ปริมาณยอดพืชที่ใชในการหมักรวมกับกากน้ำตาล 2.ปริมาณกากน้ำตาล 3.ปริมาณหัวเชื้อจุลินทรียพด. 2 4. ความสมบูรณของเมล็ดโหระพาที่ใชในการทดลอง 5. ขนาดของกิ่งโหระพาที่ใชในการทดลอง 6. ระยะเวลาในการทดลอง 7. สถานที่ในการทดลอง ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ไดน้ำหมักฮอรโมนออกชิน สารเรงการเจริญเติบโตของรากพืชโดยเปนสารจากฮอรโมนพืชใน ธรรมชาติที่หาไดงายในทองถิ่น ประหยัด ปลอดภัยสามารถผลิตไดเองโดยไมเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตแลสิ่งแวดลอม นิยามศัพทเฉพาะ การเจริญเติบโตของรากพืช ในการทดลองครั้งนี้จะศึกษาการเจริญเติบโตของพืชโดยการนับจำนวน รากและการวัดจากความยาวของรากของเสนที่ยาวที่สุดจากพืชแตละตัน การเพาะเมล็ด คือ การนำเมล็ดพืชที่ใชในการทดลองไปเพาะปลูกเพื่อใหไดตนใหมุโดยใชวิธีการที่ เหมาะสมกับการทดลองในครั้งนี้ การปกชำกิ่ง คือ การนำกิ่งพืชที่ใชในการหดลองไปปกซำเพื่อใหไดตนใหมโดยใชวิธีการที่เหมาะสม กับการทดลองในครั้งนี้


3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ในการทำโครงงาน ผูทดลองไดศึกษาคันควาขอมูล ในเรื่องตอไปนี้ 1. ฮอรโมนออกซิน 2. สารเรงรากของพืช 3.ผักบุง 4.ตำลึง 5.ผักโขม 6.โหระพา 7.การเพาะเมล็ด 8.การปกชำ 9. รากพืช 1. ฮอรโมนออกซิน(Auxins) เปนสารเรงการเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและนุษยเราสามารถสังเคราะหขึ้นไดเองดวย กรรมวิธีทางเคมี บทบาทของออกซินที่พืชผลิตขึ้นั้นหลักๆ เปนไปเพื่อการยืดขยายเซลลหรือเพิ่มจำนวนเซลล พบมากในสวนที่เปนเนื้อเยื่อเจริญ เชน ตายอด,ปลายราก,ยอดออน,ตา,ผลออน หรือ ในสวนตงๆ ของพืชที่ กำลังเจริญเติบโต และมีอิทธิพลตอการขมตาขางไมใหเจริญ ตามธรรมชาติแลวพืชจะเคลื่อนยายออกชินจาก สวนยอดลงโคนตน ผานทอน้ำ-ทออาหารของพืช สวนออกซินที่มนุษยผลิตขึ้นมานั้น เปนไปเพื่อการนำคุณสมบัติดานตางๆ ของออกซินที่มนุษยคันพบ มาใชกับพืชปลูกในแงตางๆ ไดงายขึ้น ณ สำหรับประโยชนของออกซิน(Auxins) ที่นิยมนำมาใชทางการเกษตร หลักๆ แลว มี 10 แนวทาง ดังนี้ 1. กระตุนการเกิดราก โดยสารออกซินนี้จะไปการตุนใหเกิดรากแขนงไดดี และเกิดการเติบโตทาง สวนของตนและรากที่สมดุลยกัน การใชจึงควรเลือกใชในปริมาณที่เหมาะสม หากใชในความเขมขันมากรากที่ เกิดมาจะผิดปกติ อาจมีลักษณะสั้นกุด เปนกระจุก หรือไมเกิดรากเลย สวนการใช IBA จะกระตุนการเกิดราก ไดดี แตอาจกระทบตอการเติบโตทางใบของพืขได จึงไมควรนำไปใชกับสวนอื่นๆ ของพืช 2.เรงการเติบโตของพืช ออกชินสามารถนำมาใชเรงการเติบโตของพืชไดทุกสวน ในสวน บตนจะมีความเขมขนมากกวาสวนที่ใชกับรากและดอก และการนำมาใชเรงการเดิบโตของพืชแตละชนิด มีความเขมขนแตกตางกันออกไป แตไมควรใชมากเกินไป เพราะอาจทำใหพืซไมโต เนื่องจากออกชินนี้มี อิทธิพลตอการแตกออกของตาขาง 3. ควบคุมทรงพุม อีกหนึ่งคุณสมบัติของออกซินคือ ขมการแตกออกของตาขาง ทำใหตาขางไม เจริญ ไมมีการแตกออกของกึ่งกานสาขาหรือทรงพุม ตนพืชจึงเกิดอาการโตในทางสูงอยางเดียวไมแตกพุม ออกซินจึงมีผลใหสวนตางๆ ของพืชยืดยาวขึ้นโดยกระตุนใหเกิดการสรางผนังเซลลมากขึ้น


4 4. เปลี่ยนเพศตอก นิยมนำมาใชเปลี่ยนเพศดอกของพืชที่มีดอกไมสมบูรณพศ เชน มีดอกตัวผูและ ดอกตัวเมียอยูคนละตันกัน หรือ มีดอกตัวผู-ตัวเมียอยูในตันหรือชอเดียวกัน การใชเปลี่ยนเพศดอกของฟชแต ละชนิดจะใชในความเขมขนที่แตกตางกันไป ที่นิยมใชกันอยางแพรหลายและใหผลตีคือ การเปลี่ยนดอกเงาะ ตัวเมียเปนดอกเงาะตัวผู โดยฉีดพนชอดอกเงาะตนตัวเมีย ซึ่งเงาะเปนพืชที่มีดอกแยกตัน ซึ่งชาวสวนไทยจะไม นิยมปลูกตันตัวผูไวในแปลงเพราะไมใหผลผลิต จึงโคนทิ้ง เมื่อมีแตตนเงาะตัวเมียก็จะไมเกิดการผสมพันธุ จำตองนำออกซินเขามาชวยในการนี้ การใชออกซินเปลี่ยนเพศเงาะจะใชในอัตรา 100 มิลลิกรัมตอลิตร ฉีตพน ในระยะที่ตอกยังตูมอยู 5. กระตุนการแบงเซลลของเยื่อเจริญ : ออกชินจะไปกระตุนการแบงเชลลของพืช จึงทำใหมีเนื้อไม มากขึ้น และสงเสริมใหเกิดการเติบโตดานขางมากขึ้น 6. ควบคุมการออกดอก/กระตุนการออกดอกของพี่ชบางชนิด : การนำออกชินมาใชกับพืช เชน สับปะรด ลิ้นจี่ มะมวง จะสามารถกระตุนใหฟซเกิดตอกเร็วขึ้นหรือออกดอกพรอมกันไดทั้งรุน 7. ทำใหเมล็ดลีบหรือไมเกิดเมล็ดในผลไม: ในการผลิตพืชไรเมล็ด เชน ฝรั่ง องุน แตงโม สามารถใช ออกชินมาชวยในการจัดการได โดยฉีดพนออกชินขณะที่ดอกบาน เพื่อกระตุนใหเกิดการเจริญของผลโดยไมมี การผสมเกสร ทำใหไดผลที่มีจำนวนเมล็ดนอยลงหรือไมมีเลย 8. เพิ่มการติดผลของพืช : การใชออกซินชนิตตางๆ ในปริมาณที่เหมาะสมจะชวยเพิ่มการติตผลของ พืชได ซึ่งการจะใชออกซินเพิ่มการติดผลไดดีในพืชที่มีเมล็ดมากเทานั้น 9. ลดการหลุดรวงของใบ ดอก และ ผล : เมื่อ ใบดอก ผล แกตัวลงจะมีการสรางออกซิเจนในเซลล ตางๆ นอยลงทำใหเกิดการหลุดรวงไป หากมีการพนออกชินในปริมาณที่เหมาะสมจะชวยลดการหลุดรวงของ ใบ ดอก และ ผลได นิยมนำมาใชกับ องุนมะมวง,ลองกอง-ลางสาดและสม 10. เปนสารกำจัดวัชพืช : เปนคุณสมบัติที่เดนของออกซิน เพราะออกซินทุกชนิดสามารถนำมาใช กำจัดวัชพืชได ถาใชออกซินที่มีความเขมขนสูง ก็จะสามารถฆาพืชได โดยเฉพาะพืชใบกวางทุกชนิด ออกซิ นจะออกฤทธิ์ไดดี ชนิดที่นิยมนำมาใชกำจัตวัชพืซคือ 2,4-D และ 4-CPA ซึ่งออกชินชนิดนี้จะเขาไปรบกวนการ สราง DNA และ RNA ทำใหวัชพืชเกิดการเติบโตผิดปกติและตายไป การใชงานออกชินกำจัดวัชพืชใหไดผลดี สุดคือ ชวงเขามืดของวันที่ไมมีแดด 2. สารเรงรากของพืช รากพืชทำหนาที่สำคัญในการดูดน้ำและธาตุอาหาร เพื่อเลี้ยงตนพืชทั้งตัน การเจริญของรากตามปกติ ตองอาศัยฮอรโมนที่สงมาจากสำตันหรือจากที่สรางขึ้นเองที่ปลายรากเพื่อใชในการเติบโตยืดยาวออกไปเรื่อยๆ ฮอรโมนที่สำคัญที่เกี่ยวของกับการเติบโตของรากคือ ออกชิน รากตองการออกซินปริมาณต่ำมาก เพื่อการ ติบโต ในกรณีที่มีออกชินมากเกินไป จะทำใหรากหยุดชะงักการเติบโตได แตในการเกิดจุดกำเนิดรากนั้น ตองการออกชินความเขมสูงมากระตุน จากหลักการอันนี้ เราจึงไดนำออกชินมาใชประโยชนในการเรงรากของ กิ่งปกชำและกึ่งตอน การเกิดรากของกิ่งปกชำและกิ่งตอนของพืชโดยทั่วๆ ไปเกิดได 2 กรณีคือ เกิดมาจากจุด กำเนิดรากที่มีอยูแลวในกิ่ง และอีกกรณีหนึ่งเกิดจากเนื้อเยื่อเจริญซึ่งเกิดขึ้นเมื่อกิ่งพืซมีรอยแผล การใชสาร ออกซินแกกึ่งพืชในทั้ง 2 กรณีนี้จะชวยใหเกิดรากไดเร็วขึ้นและมากขึ้น โดยที่ถาเปนกรณีแรกออกซินจะกระตุน ใหจุดกำเนิดรากนั้นพัฒนาออกมาเปนราก และถาเปนกรณีหลัง ออกชินจะกระตุนใหเนื้อเยื่อเจริญในบริเวณ รอยแผลเกิดการแบงตัวอยางรวดเร็ว และถามีสภาพแวดลอมเหมาะสมคือ ความชื้นสูง ออกซิเจนเพียงพอและ


5 อุณหภูมิพอเหมาะ จะทำใหเนื้อเยื่อเจริญนั้นเปลี่ยนรูปไปเปนจุดกำเนิดราก และพัฒนาออกมาเปนรากไดใน ภายหลัง ซึ่งขั้นตอนเหลานี้ตองการออกซินเปนตัวกระตุนเชนกัน ในการเกิดรากของกิ่งปกชำและกิ่งตอนนั้นมีปจจัยตางๆ นอกเหนือจากออกชิน เขามาเกี่ยวของดวย หลายประการ ไดแก ชนิดของกิ่ง ฤดูกาล อุณหภูมิ ความชื้น องคประกอบของวัสดุที่ใชปกซำหรือตอน ความ อุดมสมบูรณของกิ่งซึ่งรวมถึงอาหารสะสมภายในกิ่ง และวิตามินตางๆ ออกชินที่นิยมใชในการเรงรากของกิ่งปกชำและกิ่งตอนคือ BA และ NAA โดยเฉพาะอยางยิ่ง IBA สลายตัวไดเร็วพอประมาณซึ่งเปนคุณสมบัติที่เหมาะสมในการเรงราก เพราะในชวงที่มีการเปลี่ยนจากเนื้อเยื่อ เจริญมาเปนจุดกำเนิดรากนั้นตองอาศัยเวลาพอสมควร ซึ่งในระหวางขวงนี้ BA สามารถสลายตัวจนเหลือ ความเขมขันต่ำซึ่งเหมาะสมในการเปลี่ยนจุดกำนิดรากไปเปนราก การผสมสาร BA รวมกับ NAA เพื่อเรงราก จะมีประสิทธิภาพดีกวาการใชสารใดสารหนึ่งเพียงอยางเดียว วิธีการใชสารเรงรากกิ่งปกขำ การใชสารออกชินเรงรากกิ่งปกชำ ทำไดหลายวิธี เชน การจุมกิ่งในสาร การพนสารไปที่ตันหรือกิ่ง กอนตัดมาปกชำ การฉีดสารเขาไปในกิ่ง หรือการผสมสารในรูปครีมทาที่โคนกิ่ง แตวิธีการที่นิยมใชทั่วไปมีอยู 3 วิธีคือ 1. การจุมอยางรวดเร็ว (quick dip method) วิธีนี้เปนวิธีที่รวดเร็ว ใช อุปกรณนอย สารที่ใชในวิธีนี้ เปนออกซินความเขมขนสูง (ประมาณ 500 ถึง 1.0,000 มก/ล) ซึ่งใชแอลกอฮอล 50% เปนตัวทำละลาย แอลกอฮอลที่ใชนี้จะชวยใหสารละลายไมตกตะกอน และยังชวยใหกิ่งพืชดุดซึมสารไดดีขึ้น แตถาใช แอลกอฮอลความเขมขนสูงกวานี้จะเปนอันตรายตอกิ่งพืช วิธีการใหสารทำโดยจุมปลายกิ่งทางดานฐานลงใน สารละลายดังกลาวเปนเวลาประมาณไมเกิน 5 วินาที โดยใหปลายกิ่งจุมอยูในสารประมาณ 2.5 ชม (1 นิ้ว) แลวจึงนำไปปกชำ สารออกชินสามารถซึมผานเขาทางเนื้อเยื่อที่จุมอยูในสารเขาทางรอยแผล รอยตัด และรอย แผลเปนบนกิ่งไดดี และถาใชมีดกรีดโคนกิ่งใหเปนรอยกอนจุมสาร ก็จะชวยใหกิ่งพืชไดรับสารมากขึ้น การให สารโดยวิธีนี้เหมาะสำหรับการปกชำกิ่งแกและกึ่งพืชทั่วๆ ไป 2. การแชกิ่งในสาร (prolonged soaking method) วิธีนี้ใชสารออกซินความเขมขนต่ำ (ประมาณ 20 ถึง 200 มก/ ล) และใชแอลกอฮอลความเขมขนต่ำมากๆ หรือใชน้ำเปนตัวทำละลาย วิธีการใหสารแบบนี้ ทำคลายกับวิธีแรก แตจะแชกิ่งทิ้งไวในสารละลายประมาณ 1 ถึง 24 ชั่วโมง โดยวางไวในที่รม หลังจากนั้นจึง นำกิ่งไปปกชำ การใหสารโดยวิธีนี้ตองคำนึงถึงสภาพแวดลอมในขณะใหสารและชนิดของพืชดวยเพราะจะมีผล ตอการดูดซึมสาร ในสภาพแหงและอากาศรอนจะทำใหการดูดซึมและการเคลื่อนยายของสารในกิ่งเกิดมาก เกินไปซึ่งอาจกอใหเกิดผลเสีย วิธีการแชกิ่งในสารอาจดัดแปลงไดอีกเพื่อความสะดวกในการปกขำกิ่งพืชครั้งละ มากๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกิ่งออนที่มีใบติดอยูดวย เชนผกากรองหนู เข็มญี่ปุน วิธีการทำคือ ตัดกิ่งพืชใหอยู ลักษณะพรอมที่จะปกชำ (เชนริดใบลางออกเรียบรอยแลว) แลวใสลงในถัง เมื่อไดกิ่งปริมาณมากพอสมควร จึง เทสารละลายออกซินความเขมขนต่ำที่ผสมเรียบรอยแลวลงไปในถัง ใหทวมกิ่งพืชทั้งหมด ทิ้งไวประมาณครึ่งถึง หนึ่งชั่วโมง จึงนำไปปกขำพรอมกัน ขอดีของการใหสารโดยการแชกึ่งคือไมเปลืองสาร เนื่องจากใชความเขมขนต่ำมาก และนำกลับมา ใชตี้ก 2-3 ครั้ง แตขอเสียคือ ใชเวลามากกวาวิธีการจุมอยางรดเร็ว และอาจกอใหเกิดการแพรกระจายของ จุลินทรียจากกิ่งหนึ่งไปยังกิ่งอื่นๆ ได โดยผานทางสารละลายที่แชอยู 3. การใหสารแบบผง (powder method) วิธีนี้เปนการใหสารออกซินในรูปผง โดยเฉพาะอยางยิ่ง IB4 ซึ่งนิยมผลิตออกมาในรูปนี้ ถาเปนกิ่งออนหรือกิ่งที่อยูในระยะเจริญเติบโต จะใชสารความเขมขนประมาณ 200 ถึง 1,000 มก/ แตถาเปนกิ่งแกหรือกิ่งพักตัวจะใชความเขมขนสูงกวานี้ประมาณ 5 เทา วิธีการใหสารคือ


6 จุมปลายกึ่งทางตานฐานลงในน้ำเพื่อใหเปยก กอนนำไปจุมในผงของสารแลวเคาะผงของสารสวนเกินออกให หมด จากนั้นจึงนำกิ่งไปปกขำ โดยตองระมัดระวังไมใหผงของสารที่เกาะติดอยูบนกึ่งหลุดออกในระหวางปกลง ในวัสดุปกชำ วิธีการที่ดีคือตองเจาะชองลงไปในวัสดุปกชำกอน แลวจึงปกชำกึ่งลงในชองนั้น การใชสารในรูป ผง มีขอเสียคือ กิ่งปกซำไดรับสารไมสม่ำเสมอกันเพราะวาแตละกิ่งมีผงของสารเกาะติดอยูมากหรือนอยตางกัน และผงของสารอาจหลุดออกในขณะที่ปกชำ วิธีการใชคอนขางยุงยาก แตมีขอดี คือ การในรูปผงเก็บไวไดนาน กวาในรูปสารละลาย ตังนั้นถามีกึ่งปกชำไมมาก และใชไมบอยครั้ง จึงควรใชวิธีนี้ เทคนิคการใชสารเรงราก การใชสารออกชินเรงการเกิดรากพืชไมวาจะเปนกึ่งปกชำหรือกึ่งตอนก็ตาม จะพบวาพืชแตละชนิด ตอบสนองตอการใชออกชินไดไมเหมือนกัน บางชนิดตองการออกชินความเขมขนสูง บางชนิดตองการต่ำ ถา จะแบงพืชออกเปนพวกๆ โดยอาศัยความสามารถในการออกรากเปนหลักจะแบงไดเปน 3 พวกดังนี้ 1. พวกที่ออกรากงาย สวนใหญเปนพืชที่ไมมีเนื้อไมเชน ฤชีผสม ดาวเรือง พวกที่มีจุดกำเนิดรากอยู แลว เชน ไทร และพวกกิ่งออนของพืชทั้งหลาย การใชออกชินความเขมขันต่ำก็เพียงพอตอการกระตุนการเกิด รากได โดยทั่วไปใชออกซิน NAA หรือ IBA ความเขมขนประมาณ 500 ถึง 2,000 มก/ล 2. พวกที่ออกรากยากปานกลาง ไดแกพวกกิ่งกึ่งออนกึ่งแก มีเนื้อไมอาจมีหรือไมมีจุดกำเนิดรากอยู กอน การใชออกซินเรงรากตองใชความเขมขันสูงขึ้น โดยปกติใชประมาณ 4,000 ถึง 10,000 มก/ล 3. พวกที่ออกรากยากมาก ไดแกกิ่งที่พักตัว กิ่งแก ไมผลที่เดิบโตชา และพืชที่มียางหลายชนิด เชน มะมวง มังคุด ขนุน บวย สนชนิดตางๆ การใชออกชินความเขมขันต่ำมักจะ ไมไดผล ตองใชความเขมชันสูง มากๆ เชน 1-2 เปอรเซ็นต (10,000-20,000 มก/ล) ซึ่งบางครั้ง ก็ยังไมไดผลดีเทาที่ควร ในทางปฏิบัติจริงๆ มักจะเปนไปไมไดที่จะตองหาซื้อออกชินความเขมชันตางๆ กัน สำหรับพืชแตละชนิดมาใช ประโยชน ในกรณีที่มีสารออกซินความเขมขันสูงอยูแลวก็สามารถนำมาใชกับพวกที่ออกรากงายไดเชนกันโดย การนำสารมาผสมน้ำใหจางลงจนไดระดับที่ตองการ แตถามีสารออกชินความเขมขันต่ำอยูแลวก็อาจใชกับพืซ พวกที่ออกรากยากไดโดยการจุมกิ่งในสารใหนานขึ้นกวาปกติ การใชสารออกชินกับกิ่งพืชที่เกิดรากไดยากบางครั้งอาจไมไดผลตามที่คาดไว เนื่องจากมีปจจัยอื่นเขา มาเกี่ยวของ อาจเปนไปไดวาภายในกิ่งพืชเหลานี้มีสารยับยั้งการเจริญเติบโตอยูเปนจำนวนมากจนกระทั่งมีผล ยับยั้งการเกิดราก และอาจเปนไปไดวากิ่งพืชขาดสารจำเปนบางชนิดที่จะทำงานรวมกับออกชินในการสงเสริม ใหพืชเกิดราก แตสาเหตุดังกลาวยังไมมีการพิสูจนใหเห็นไดเดนชัด เคยมีการทดลองปกชำและตอนกิ่งมะมวง ในประเทศอินเดีย โดยการใชสาร BA กระตุนการเกิดราก ปรากฏวาการใหสาร BA เพียงอยางเดียวไม สามารถเพิ่ม เปอรเซ็นตการเกิดรากไมมากนัก แตถามีการพนสาร chlormequat ไปที่กิ่งมะมวงกอนตอนหรือ ปกขำ แลวใช B4 รวมดวย จะมีผลกระตุนใหเกิดรากไดดีขึ้นทั้งในกึ่งตอนและกึ่งปกชำ และยังพบวากึ่งที่ไดรับ สาร chlorme quat จะมีการสะสมคารโบไอเดรตภายในกิ่งมากขึ้น และยังมี สารกระตุนการเกิด สามารถจำแนกไดวาเปนสารอะไรเพิ่มมากขึ้นดวย เกษตรกรบางรายมีวิธีการเฉพาะของตนเองในการตอนกิ่ง พืชที่เกิดรากไดยาก เชนการควั่นกึ่งทิ้งไวระยะหนึ่งกอนหุมดวยวัสดุขึ้น วิธีนี้อาจไดผลตี โดยชวยใหมีการสะสม อาหารบริเวณรอยควั่นมากขึ้น เมื่อมีการใหออกซินเพิ่มเขาไปในภายหลังก็จะกระตุนใหเกิดจุดกำเนิดรากไดเร็ว ขึ้น นอกจากนี้การใชออกชินทาที่แผล 2 ครั้ง โดยทิ้งชวงหางกันประมาณ 15 วัน อาจไดผลดีกวาการใชเพียง ครั้งเดียว สารชนิดอื่นนอกเหนือจากออกชินก็มีผลเรงการเกิดรากของพืขบางชนิดไดเชนกัน เชน สารในกลุม เอทิลิน สารชะลอการเจริญเติบโต แตในทางปฏิบัติจริงๆ เราไมนิยมใชสารเหลานี้ในการเรงราก เนื่องจากการ ใชออกซินสามารถแสดงผลไดเดนชัดกวาในพืชหลายชนิด


7 3. ผักบุง ผักบุง : Morning Glory,water convolvulu,water spinash,kangkong ชื่อวิทยาศาสตร : Ipomoea aquatica Forssk อยูในวงศ : Convolvulaceae ผักบุง หรือมีชื่อเรียกอีกอยางวา ผักทอดยอด เปนพืชผักสมุนไพร ตนมีลักษณะกลมๆ ลำตนที่อยูบน บกจะตั้งตรง ถามีความสูงมากๆ ลำตันจะโนมลงเลื้อยบนพื้น เปนเถายาวเลื้อยลอยน้ำ ใบมีสีเขียว ดอกจะ ออกเปนชอ จะมีสีมวงออนหรือสีขาว ใชลำตน ใบและยอดออนรับประทาน ผักบุงมีในประเทศไทยจะแบงออกเปน 2 พันธุ คือผักบุงไทยและผักบุงจีน ตนผักบุง มีลักษณะกลวงกลมๆ ลำตนที่อยูบนบกจะตั้งตรง หากสูงมากลำตนจะโนมลงพรอมเลื้อย พรอมเลื้อยหากตันยาวมาก แตหากอยูในแหลงน้ำ จะเปนเถาเลื้อยสอยน้ำ สามารถแตกรากตามขอไดดี แตก กิ่งไดมาก ลำตนมีลักษณะกลวงอวบใหญ ลำตนกลวงมีสีเขียวอมขาว หรือแดงมวง ใบผักบุง มีลักษณะเปนใบเดี่ยว อกใบแบบสลับตรงขามกัน กานใบใหญยาว ฐานใบใหญ ฐานใบมี ลักษณะมนเปนรูปหัวใจ ใบแหลมยาว กานใบมีสีเขียวอมขาว ใบมีสีเขียวสด รากผักบุง มีลักษณะเปนฝอยๆ มีรากแกว จะมีสีน้ำตาล สามารถแตกรากฝอยออกตามขอไดดี รากผักบุงมี รสชาติรสจืดเฝอน ดอกผักบุง ออกเปนชอ ดอกจะมีลักษณะคลายรูประฆัง ดอกจะมีสีมวงออนหรือสีขาว บริเวณโคน ดอกสีจะเขมกวาดานบน กานชอดอกยาว กานชอดอกเปนกานโดด ดอกจะเริ่มบานชวงเชา และหุบชอดอกใน ยามเย็น ผล มีลักษณะคลายแคปซูล ภายในมีเมล็ด มีสีดำ เมล็ดผักบุง มีลักษณะรูปรางคลายสามเหลี่ยม สวนฐานเมล็ดมนใหญ มีสีดำ ยอดผักบุง ชวยแกโรคประสาท ชวยแกอาการเสื่อมสมรรถภาพ ชวยทำความสะอาดของเสีย ที่ตกคาง ในลำไสชวยแกอาการเหงื่อออกมาก ใชแกอาการไอเรื้อรัง ใชแกโรคหืด ราก ชวยแกปวดฟน ชวยฟนเปนรู ชวยแกอาการตกขาวมากของสตรี ชวยถอนพิษสำแดง ผักบุงจีน ชวยในการขับปสสาวะ แกปสสาวะเหลือง ชวยใหเจริญอาหาร ผักบุงไทยตนขาว ใชถอนพิษจากแมลงสัตวกัดตอย ชวยแกอาการฟกช้ำ ดอกของผักบุงไทยตันขาว เปนยาแกกลากเกลื้อน ตนสดของผักบุงไทยตนขาว ใชรักษาแผลไฟไหม น้ำรอนลวก ชวยลดการอักเสบ อาการ ปวดบวม นำมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ ใชเปนอาหารสัตวได ชวยบำรุงกระดูกและฟน 4. ตำลึง ชื่อวิทยาศาสตร : Coccinia grandis (L.) Voigt ในวงศ : Cucurbitaceae ตำลึง เปนพืชผักสมุนไพร เปนไมเลื้อยที่มีมือเกาะจับ ใชเลื้อยเกาะไมหลักหรือตนไมใหญ ตระกูล เดียวกับบวบ น้ำเตา และแตงราน มีสีเขียวจัด ตำลึงเปนไมเถายื่นตน มีลำตนเดี่ยว ลำตันมีลักษณะกลมๆ เจริญเดิบโตไดงายและไดดี ไมตองดูแลรักษามาก ใชใบและยอดออนรับประทาน ตำลึงมี 2 ชนิด ตำลึงตัวผู และตำลึงตัวเมีย ตำลึงตัวผู ใบมีลักษณะเปนใบเดี่ยว รูปหัวใจ ใบเวาลึก มีสีเขียว กานใบยาว เปนดอกเดี่ยว แยกเพศ อยูตางตัน ดอกตำลึงเปนสีขาว มีแอก 5 แฉก ตำลึงตัวผูออกดอก แตไมมีลูกเหมือนตัวเมีย ตำลีงตัวผูถาคนที่


8 ธาตุออนกินเขาไป อาจจะทำใหทองเสียได ไมนิยมรับประทาน ตำลึงตัวเมีย ใบมีลักษณะเปนใบเดี่ยวรูปหัวใจ ใบจะใหญสมบูรณ ไมเวาลึก มีสีเขียว กานใบยาว มี ดอกสีขาว มีลูกออนสีเขียวลายขาวคลายแตงกวา ปลูกงายไมตองดูแลรักษามาก จะนิยมรับประทาน ลำตน เปนเถาเลื้อย ลำตนมีลักษณะกลม ตนออนจะมีสีเขียว เมื่อแกจะมีสีน้ำตาลอมเทา หรือสีเทาอม เขียว บริเวณขอของตนจะมีมือยึดเกาะ แตกออกขางลำตน ใบตำลึง ใบเปนใบเดี่ยว มีลักษณะเปน 3 แฉก หรือ 5 แฉก มีรูปราง 5 เหลี่ยม โคนใบมีลักษณะเปน รูปหัวใจ มีมือเกาะยื่นออกมาจากที่ขอ ออกเรียงสลับกันคนละขางตามกิ่ง มีกานใบสั้น ผิวใบมันเรียบ แผนใบ หยักเปนแฉก ปลายใบเปนติ่งแหลม ใบออนมีสีเขียวออน ใบแกมีสีเขียวเขม ไมมีขน ใบตำลึงตัวเมียจะไมมีแฉก ลึกใชใบแกและใบออนนำมารับประทานได ใหรสกรอบ และนุมกวา จะนิยมรับประทานมากกวาตำลึงตัวผู สวนใบตำลึงตัวผูจะมีแฉกเวาลึกกวา รากตำลึง เปนระบบรากแกว รากมีลักษณะกลมเล็กๆ มีแตกรากแขนง และรากฝอย รากเจริญ และ สามารถแทงลงดินในระดับดินตื้น สามารถแตกรากไดตามเถา และกิ่งยอย โดยเฉพาะเถาที่ติดกับดิน จะมีราก แกวมีสีน้ำตาล มีกลิ่นเฉพาะตัว มือเกาะ มีลักษณะเปนเสนเล็กๆ คลายหนวด ขนาดเล็กๆ แตกออกบริเวณขอของลำตน มีลักษณะ เปนเสนคลายหนวด สีเขียวออน จำนวนมือเกาะ เสนตอขอ สวนปลายมีขนาดเล็กสุดมวนงอ จะมวนงอเขา ยึดเกาะรอบขาง ยืดลำตันเพื่อเสื้อยแผขึ้นที่สูง ใชมือเกาะใชปลายหนวดมวนใชยึดของ เปนเกสียวพันรอบ คลายสปริง จะใชเวลาไวมาก ดอกตำลึง ดอกเปนดอกเดี่ยวหรือดอกตู เปนดอกชอออกตามซอกใบ กลีบดอกจะมีสีขาวถึงขาวนวล กานชอดอกจะสั้น แตกกิ่งซอดอกตรงปลาย แบงเปนดังนี้ ดอกเพศผู โดยแยกกันอยูคนละตัน กลีบดอกของดอกมีสีขา มีโคนกลีบติดกันทำให มีลักษณะเปน กรวยปากแตร ดอกเพศผูมีเกสร 3 อัน ดอกเพศผูออกเปนดอกเดี่ยว กานดอกยาว ดอกเพศเมีย โดยแยกกันอยูคนละตน กลีบดอกของดอกมีสีขาว มีโคนกลีบติดกันทำให มีลักษณะเปน รูประฆัง ดอกเพศเมียมีเกสร 1 อัน ดอกเพศเมียออกเปนดอกเดี่ยว กานดอกยาว ผลตำลึง มีลักษณะผล เปนทรงยาวรี คลายแตงกวา แตมีขนาดเล็กกวา เมื่อผลออนจะมีสีเชียวออน เมื่อผลแก จัดจะสีแดง ภายในจะมีหลายเมล็ดผล มีรสชาติขมๆ นกชอบกินผลสุกมาก ชวยแกผีแดง เมล็ดตำลึง จะอยูภายในผล จะมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะยาวรี แบนรี ผิวเรียบ เมื่อเมล็ดดิบ จะมีสีเขียวออน เมื่อเมล็ดสุกจะเปลี่ยนเปนสีขาวนวล 5. ผักโขม ชื่อวิทยาศาสตร : Amaranthus viridls อยูในวงศ : Amaranthaceae ผักโขม (Pak-Kom) เปนพืผักสมุนไพร เปนพืชสัมลุกขนาดเล็ก มีอายุปเดียว เปนพืชที่ขึ้นเอง ลำตน เดี่ยวมีทรงพุม แตกกึ่งกานสาขา มีลักษณะกลมๆ โคนมีสีแดงอมน้ำตาล มีกานใบยาว ออกเรียงสลับโดยรอบๆ มีสีเขียว ลำตนมีหนามหรือไมมีหนาม ตามสายพันธุ ใบเปนใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ มีลักษณะคลายสามเหลี่ยม ทรงรียาว โคนใบกวางใหญ ปลายใบเรียวรี ผิวใบบางเรียบหรือมีขน มีกานใบยาว ใบมีสีเขียวหรือสีแดง ตาม สายพันธุ มีกลิ่นเหม็นเขียว ดอกออกเปนชอ ดอกมีลักษณะเล็กๆ ดอกมีสีมวงปนเขียว สีเขียว สีน้ำเงินอมมวง ตามสายพันธุ นำมาประกอบอาหารเมนูตางๆ ไดหลายเมนู ผักโขมมีปลูกหลายสายพันธุ ที่นิยมรับประทาน ไดแก ผักโขมจีน ใบสีแดง ใบสีเขียว ผักโขมสี ผักโขมสวน ผักโขมหนาม ผักโขมหัด ผักโขมฝรั่ง ผักโขมยักษ


9 ลำตน เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก มีอายุปเดียว เปนพืชที่ขึ้นเอง ลำตันเดี่ยวมีทรงพุม แตกกิ่งกานสาขา มีลักษณะ กลม ๆ โคนมีสีแดงอมน้ำตาล มีกานใบยาว ออกเรียงสลับโดยรอบ มีสีเขียว สำตนมีหนามหรือไมมีหนาม ตาม สายพันธุ ใบ เปนใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ มีลักษณะคลายสามเหลี่ยม ทรงรียาว โคนใบกวางใหญ ปลายใบเรียวรี ผิวใบบางเรียบหรือมีขน มีกานใบยาว ใบมีสีเขียวหรือสีแดง ตามสายพันธุ มีกลิ่นเหม็นเขียว ราก เปนระบบรากแกว มีลักษณะกลมๆ แทงลงในดิน มีรากฝอยและรากแขนงเล็กๆ ออกตาม แนวราบ มีสีน้ำตาล ดอก ออกเปนชอ กานชอดอกยาว ออกตามซอกใบและที่ปลายยอด มีแขนงกานยอยมาก มีดอกยอย ดอกมีลักษณะเล็กๆ ดอกมีสีมวงปนเขียว สีเขียว สีน้ำเงินอมมวง ตามสายพันธุ ผล มีลักษณะทรงกลม ผลดิบมีสีเขียว ผลแกมีสีน้ำตาล ขางในมีเมล็ดอยู เมล็ด อยูในผล มีลักษณะ ทรงกลม มีขนาดเล็กๆ มีสีน้ำตาลเขมหรือสีดำ 6. โหระพา โหระพา : Thai Sweet Basil ชื่อวิทยาศาสตร : Ocimum basilicum Linn. อยูในวงค : Lamiaceae โหระพา (Ho-Ra-Pa) เปนพืชผักสมุนไพร ที่เจริญเติบโตไดงายๆ เปนพืชลัมลุก มีความสูงประมาณ 60 ซม. ลำตนมีลักษณะเปนสี่เหลี่ยม ลำตนเดี่ยวโคนตนสูง มีสีมวงแดง มีกิ่งออนสีมวงแตง ใบมีลักษณะเล็กยาวรี มีสีเขียว ดอกออกเปนชอยาว มีสีชมพูออน เมล็ดโหระพา มีลักษณะเล็กๆยาวรีๆ แกแลวจะมีสีดำ ลำตน มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยม ลำตนเดี่ยวโคนตนสูง มีสีมวงแดง มีกิ่งออนสีมวงแดง ใบ ใบมีลักษณะเล็กยาวรี โคนมนปลายแหลม มีสีเขียว ใบเปนใบเดี่ยวออกตรงขาม ขอบเปนฟนเลื่อย หางๆ มีกานใบรองรับ ใบมีน้ำมันหอมระเหย methyl chavicol และ linalool ราก มีระบบรากแกว รากมีลักษณะกลมเล็กๆ มีรากฝอยๆ จะมีสีน้ำตาล มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ดอก ออกดอกเปนชอ กานชอดอกจะยาว ดอกจะมีสีชมพูออน จะแตกกิ่งชอดอกตรงปลาย ใบประดับ มีสีเขียวอมมวง และยังคงมีอยูเมื่อเปนผลแลว เมล็ด เปนสวนของผล มีลักษณะเล็กๆยาวรีๆ แกจะมีสีดำ 7. การเพาะเมล็ด ขั้นตอนในการเพาะเมล็ด มีดังนี้ 1. เลือกเมล็ดที่แกจัด สะอาด และไมมีแมลงเขาทำลาย 2. ผสมดินสำหรับเพราะเมล็ด โดยใชขุยมะพราวผสมทรายลงในภาขนะสำหรับเพาะเมล็ด แตหาม ลืมแขขุยมะพราวในน้ำกอนใชสัก 2-3 คืน เพื่อฆาแมลงจำพวกเพลี้ยออนซึ่งติดมาดวย 3. โรยเมสีดลงในวัสดุเพาะใหทั่ว กลบดินใหพอมิด ถายเมล็ดมีขนาดใหญอาจโรยเมล็ดแลวกดใหจม วัสดุเพาะเมล็ดเล็กนอย 4. รดน้ำใหชุมและหมั่นฉีดสารปองกันกำจัดเชื้อราทุกสัปดาหเพื่อปองกันตนกลาเนา 5. เมื่อเมล็ดงอกและแตกใบจริง 34 ใบจึงยายเมล็ดลงปลูกในกระถางขนาดเล็ก รอจนบริเวณตนมี ขนาดใหญและแข็งแรงจึงยายมาปลูกในดินหรือกระถางใบใหญขึ้น


10 8. การปกขำกิ่ง 1. เตรียมภาชนะสำหรับปกชำกิ่ง เชนกระถางดินเผา กระถางพลาสติก หรือกระบะพลาสติกกรุ กระดาษหนังสือพิมพ แลวใสขี้เถาแกลบลงในภาชนะ หรือใชขี้เถาแกลบผสมกับขุยมะพราวในอัตราสวน 1:1 รดน้ำ ใหพอขึ้น 2. เลือกกึ่งที่ไมแกหรือออนเกินไป ตัดใหยาวประมาณ 10 เซนติเมตร สิดใบใหเหลือ 2-3 ใบแลวใชมีด คมๆปาดปลายกิ่งใหเฉียงเปนปากฉลาม 3. ใชไมเล็กๆ จิ้มวัสดุปกชำกิ่งใหเปนชองแลวปกกิ่งลงไป จะชวยใหบาตแผลไมซ้ำ ควรปกเรียงเปนแถวให มีระยะหางเทาๆกัน 4. รดน้ำใหชุม วางในที่รมรำไร ประมาณ2 สัปดาหจะเริ่มแตกปุมรากตามรอยบาดแผล จากนั้นจะเริ่มผลิ ใบใหม เมื่อกิ่งแข็งแรงแตกรากและใบมากขึ้น จึงยายปลูกลงในกระถาง 9. รากพืช ราก คือ สวนหนึ่งที่งอกตอจากตนลงไปในดิน ไมแบงขอและไมแบงปลอง ไมมีใบ ตา และดอก หนาที่ของ ราก คือ สะสมและดูดซึมอาหารมาบำรุงเลี้ยงตันพืช นอกจากนี้ยังยึดและค้ำจุนตนพืช รากของพืชแบงออกเปน 2 ระบบ คือ 1. ระบบรากแกว ตนพืชหลายชนิดเปนแบบรากแกว คือมีรากสำคัญงอกออกจากลำตนสวนปลายรูปราง ยาว ใหญ เปนรูปกรวยดานขางของราแกว จะแตกแขนงออกได 2-3 ครั้ง ไปเรื่อย ๆ รากเล็กสวนปลายจะมีราก ฝอยเล็ก ๆ ออกมาเปนจำนวนมาก เพื่อเพิ่มเนื้อที่ในการดูดซึมอาหารใหกับตนพืช มักจะพบวาพืชใบเลี้ยงคูจะมี รากแบบรากแกว ตัวอยางพืชที่มีลักษณะนี้คือ ขี้เหล็ก คูน มะกา มะหาด เปนตน 2. ระบบรากฝอย เปนรากที่งอกออกจากลำตันสวนปลายพรอมกันหลายๆ ราก ลักษณะ เปนราก กลมยาวขนาดเทา " กันพบวาพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีรากแบบรากฝอย ตัวอยางพืชที่มีรากแบบนี้คือ ตะไคร หญาคา เปนตน บางทีรากจะเปลี่ยนลักษณะไป เนื่องจากไดรับอิทธิพล จากสิ่งแวดลอมภายนอก รากที่ เปลี่ยนลักษณะไปนี้มีหลายชนิด เชน รากสะสมอาหาร รากค้ำจุน รากเกี่ยวพัน รากอากาศ เปนตันบางชนิดนี้ บางครั้งก็อยูบนดินจะตองใชการสังเกต แตอยางไรก็ตาม มันยังคงลักษณะทั่วไปของรากใหเราสังเกตเห็นได โครงสรางของราก เนื้อเยื่อของรากทั้งพืชใบเลี้ยงคูและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่ตัดตามขวาง ตรงบริเวณที่เซลลเจริ เต็มที่ จะพบวาเนื้อเยื่อของรากแบงออกเปนชั้นๆเรียงจากภายนอกเขาไปตามลำดับตัง นี้ 1. epidermis เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดมีเซลลที่เรียงตัวกันเพียงชั้นเดียวและผนังเซลลบาง ไมมคลอ โรพลาสต บางเซลลจะเปลี่ยนแปลงไปเปนขนราก 2. cortex เปนอาณาเขตระหวางชั้น epidermls และ stele ประกอบดวยเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่ทำ หนาที่สะสมน้ำและอาหารเปนสวนใหญ ชั้นในสุดของ cortex จะเปนเซลลแถวเดียวเรียก endoderis ใน รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะเห็นชัดเจนเซลลในชั้นนี้เมื่อมีอายุมากขึ้นจะมี ผนังหนาเพราะมีสารซูเบอริน หรือลิกนิน สะสมอยู แตจะมีชวงที่มีเซลลผนังบางแทรกอยูในชั้นนี้และอยูตรงกับแนวของไซเลม 3. stele เปนบริเวณที่อยูถัดจากชั้น endodermisเขาไป พบวาstele ในรากจะแคบกวาชั้น cortex ประกอบดวยชั้นตางๆดังนี้ 3.1 pericycle เปนเซลสผนังบางขนาดเล็กมี 1-2 แถว พบเฉพาะในรากเทานั้น เปนแหลงกำเนิด ของรากแขนง ( secondary root )


11 3.2 vascular bundle ประกอบดวย x/(em อยูตรงใจกลางเรียงเปนแฉกโดยมี phloem อยู ระหวางแฉก สำหรับพืชใบเลี้ยงคูตอมาจะเกิดเนื้อเยื่อเจริญ vascular cambium คั่นระหวาง yylem กับ phloem ในรากของพืชใบเลี้ยงคูมีจำนวนแฉกนอยประมาณ 1 - 6 แฉก โดยมากมักมี 4 แฉก สวน รากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมักมีจำนวนแฉกมากกวา 3.3 pith เปนบริเวณตรงกลางรากหรือไสในของรากเห็นไดชัดเจนในรากพืชใบเลี้ยงเดียว สวน ใหญเปนเนื้อเยื่อพาเรงคิมาสวนรากพืชใบเลี้ยงคูตรงกลางมักเปน xylem หนาที่ของราก รากมีหนาที่หลักที่สำคัญ คือ 1. ดูด ( absorption ) น้ำและแรธาตุที่ละลายน้ำจากดินเขาไปในลำตน 2.ลำเลียง ( conduction ) น้ำและแรธาตุรวมทั้งอาหารซึ่งพืชสะสมไวในรากขึ้นสูสวนตาง ๆ ของตน 3. ยึด ( anchorage ) ลำตนใหติดกับพื้นดิน 4. แหลงสรางฮอรโมน ( producing hormones ) รากเปนแหลงสำคัญในการผลิตฮอรโมนพืชหลาย ชนิด เชน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน ซึ่งจะถูกลำเลียงไปใชเพื่อการเจริญพัฒนาของสวนลำตน สวนยอด และ สวนอื่นๆของพืช นอกจากนี้ยังมีรากของพืชอีกหลายชนิดที่ทำหนาที่พิเศษอื่นๆ เชน สะสมอาหาร สังเคราะหแสง ค้ำ จุน ยึดเกาะ หายใจ เปนตน เนื้อเยื่อไขเลม ในรากโดยทั่วไปประกอบดวยเซลลหลายชนิด ทำหนาที่ลำเลียงน้ำและอาหาร ไดแก วสเซลลเทรคิด พาเรงคิมา และอาจมีไฟเบอร เวสเซลเรียงตอกันตามความยาวทำใหมีลักษณะคลายทอ ใ ลลที่เจริญเต็มที่ผนังเชลลตานขางมีลวตลายซึ่งเกิดจากการพอกสารลิกนินเปนแบบตางๆ ผนัง ทะลุ เวสเซลจึงมีลักษณะเปนทอกลวงที่มีผนังดานขางหนา และแข็งแรงมากนำและอาหารจึงสามารถผานเขา ไดและยังใหความแข็งแงแโครงสรางของพืชอีกดวยสำหรับเทรคีดซึ่งมีหนาที่เหมือนกับเวสเซ ทั่วไปคลายเวสเซล แตตางกันที่รูปราง เซลลมักผอมและยาวกวาปลายทั้งสองของเซลลคอนขางแหลม และ ผนังเซลลหัวทายไมมีรูทะลุ แตน้ำสามารถผานเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลห เนื้อเยื่อโฟลเอ็ม ในรากมักประกอบดวยซลลหลายชนิด ไดแก ชีฟทิวบ เซลลืคอมพาเนียน พาเรงคิมา และอาจมีไฟเบอร ซีฟทิวบเปนซลลที่มีชีวติผนังบางและมีรูเล็กๆ อยูเปนกลุมๆ รูทะลุนี้มีทั้งดานขางและ หัวทายของเซลล อาหารหรือไซโทพลาสซึมสามารถผานรูทะลุเล็กๆนี้ได ซีฟทิวบเมื่อเจริเติบโตเต็มที่จะไมมี นิวเคลียส เชลลเรียงตอกันเปนทอยาว มีหนาที่ลำเลียง หรือเปนทางผานของอาหาร เซลลคอมพานียนเปน เชลลชนิดเดียวกับเซลลพาเรงคิมา เชื่อกันวาทำหนาที่ชวยสงเสริมการทำหนาที่ของชีฟทิวบ ชนิดของราก เมื่อจำแนกตามกำเนิด จะจำแนกออกไดเปน 3 ชนิด คือ 1. primary root เปนรากที่มีกำเนิดและเจริญเติบโตมาจาก radicle รากชนิดนี้ตอนโคนจะโตแลว คอยๆเรียวเล็กลงเรื่อยๆจนถึงปลายซึ่งก็คือ รากแกว ( tap root )นั่นเอง 2. secondary root เปนรากที่มีกำเนิดและเจริญเติบโตออกมาจาก primay root อีกทีหนึ่ง เปน รากที่เรียกกันทั่วๆไปวา รากแขนง ( lateral root ) และแขนงตงๆที่แยกออกไปเปนทอดๆนั้นตางมีกำเนิดมา จากเนื้อเยื่อ pericycleในรากเดิมทั้งสิ้น 3. adventitious root รากพิเศษ หรือ รากวิสามัญ เปนรากที่ไมไดมีกำเนิดมาจาก radicle และก็ไม เปนแขนงของprimary root จำแนกเปนชนิดยอยๆลงไปอีกตามรูปรางและหนาที่ของมัน คือ


12 3.1 รากฝอย ( fbrous root) เปนรากเสนเล็กๆมากมายขนาดสม่ำสมอตลอดความยาวของราก งอกออกจากรอบๆโคนตันแทนรากแกวที่ฝอไป พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเปนสใหญ เชน รขาว ขาวโพด หญา หมาก มะพราว ตาล กระชายพบในพืชใบเสื้งคูบางชนิด เชน รากตอยติ่ง มันเทศ มันแกว 3.2 รากค้ำจุน ( prop root ) เปนรากที่แตกออกจากขอของลำตนที่อยูใตดินและเหนือดินเล็กนอย แลวพุงทะแยงลงไปในดินเพื่อชวยพยุงและค้ำจุนลำตัน ไดแก รากเตย สำเจียก ขาวโพด ยางอินเดีย โกงกาง และไทรยอย เปนตัน 3.3 รากสังเคราะหแสง ( photosynthetic root) เปนรากที่แตกออกจากขอของลำตันหรือกึ่งแลว หอยลงมาในอากาศ มีสีเขียวของคลอโรฟลลจึงสังเคราะหแสงได ไดแก รากกลวยไม ไทร โกงกาง ซึ่งจะมีสี เชียวเฉพาะตรงที่หอยอยูในอากาศเทานั้น รากกลัวยไมนอกจากจะมีสีเขียวและชวยในการสังเคราะหแสงแลว พบวามีเยื่อพิเศษสักษณะนุมคลายฟองน้ำ เปนซสสพวกพาเรงดีมาเรียงตัวกันอยางหลวมๆ โดยมีชองวาง ระหวางเซลลมากเรียก นวม ( velamen ) หุมอยูตามขอบนอกของรากชวยดูตน้ำ รักษาความชื้นใหแกราก ตลอดทั้งชวยในการหายใจดวย ทีก็ลอยตามผิวน้ำ เพื่อชวยในการหายใจไดมากเปนพิเศษกวารากปกติทั่วๆไป ทั้งนี้เพราะโครงสรางของราก 3.4 รากหายใจ ( respiratory root or aerating root) เปนรากที่ธูปลายรากขึ้นมาเหนือพื้นดินบาง ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมาซึ่งเรียงตัวอยาง หลวมๆ มีชองวางระหวางเชลลมาก ทำใหอากาศผานเขาสูเซลล ชั้นในของรากไดงย รากเหลานี้อาจเรียกวา รากทุนลอย ( pneumatophore ) ไดแก ลำพู แสม โกงกาง แพงพวยน้ำ และผักกระเฉต เปนตน 3.5 รากเกาะ ( climbing root ) เปนรากที่แตกออกมาจากสวนขอของลำตน แลวเกาะติดกับสิ่งยึด เกาะ เชนเสาหรือหลักเพื่อพยุงลำตนใหติดแนนและซูสวนของลำตนใหสูงขึ้นไป และใหสวนตางๆของพืซไดรับ แสงมากขึ้น ไดแก พลูพลูตาง พริกไทย และกลวยไม เปนตน 3.6 รากกาฝาก ( parasitic root ) เปนรากของพืซที่ไปเกาะตนพืชชนิดอื่น แลวมีรากเล็กๆแตก ออกมาเปนกระจุกแทงลงไปในลำตนจนถึงทอลำเลียงเพื่อแยง อาหาร ไดแก รากฝอยทอง กาฝาก เปนตน 3.7 รากสะสมอาหาร ( storage root ทำหนาที่สะสมอาหารพวกแปง ไขมัน และโปรตีน เชน ราก กระชายมันเทศ มันแกว มันสำปะหลัง เปนตน 3.8 รากหนาม ( root thorn ) เปนรากที่มีลักษณะเปนหนามงอกมาจากบริเวณโคนตน ตอนงอก ใหมๆเปนรากปกติแตตอมาเกิดเปลือกแข็งทำใหมีลักษณะคลายหนามแข็ง ชวยปองกันโคนตนได เชน ปาลม


13 บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน วัสดุอุปกรณและสารเคมี 1. กากน้ำตาล จำนวน 5 กรัม 2. สารเรง พด.2 จำนวน 5 กรัม 3. ยอดผักบุง จำนวน 100 กรัม 4. ยอดผักตำลึง จำนวน 100 กรัม 5. ยอดผักโขม จำนวน 100 กรัม 6. ถังหมักขนาด 2 ลิตร จำนวน 3 ใบ 7. ตราชั่ง จำนวน 1 ตัว 8. น้ำ จำนวน 1 ลิตร 9. เมล็ดโหระพา จำนวน 15 เมล็ด 10. กิ่งปกชำโหระพา จำนวน 15 กิ่ง 11. ดินเพาะปลูก วิธีการดำเนินงาน การทำน้ำหมักฮอรโมนออกชิน สารเรงการเจริญเติบโตของรากพืชนั้นจะแบงออกเปน 2 ชั้นตอน ชั้นตอนแรกคือการนำยอดผักที่ตองการทดสอบมาหมักทิ้งไวเพื่อทำน้ำหมีกฮอรโมนออกชิน ที่จะนำไปใชใน การเรงการเจริญของราก ขั้นตอนที่สองคือการทดลองประสิทธิภาพของน้ำหมักฮอรโมนออกชิน โดยการ ทดสอบกับการงอกของรากโหระพาโดยการเพาะเมล็ด และการงอกของรากโหระพาโดยการปกขำกิ่ง ซึ่งวิธีใน การทำมีดังนี้ 1. การทำน้ำหมักฮอรโมนออกชิน 1. เตรียมถังขนาด 2 สิตร จำนวน 3 ใบสำหรับหมักยอดพืชแตละชนิด 2.. เก็บยอดผักบุง ตำลึง และผักโขม อยางละ 100 กรัม โดยเก็บในเวลาเชากอนพระอาทิตยขึ้น เพื่อประสิทธิภาพของฮอรโมนออกซิน 3. นำยอดพืชแตละชนิดมาลางทำความสะอาด 4. ใสน้ำ 1 ลิตร ผสมกากน้ำตาล 5 กรัม เติมสารเรงพด.2 จำนวน 5 กรัม หัวเชื้อจุลินทรีย 5 กรัม ผสมใหเขากัน ใสลงในถังหมัก 5.ชั่งยอดผัก 100 กรัม ใสลงในถังหมัก ปดฝาใหสนิท เก็บไว 4 สัปดาหขึ้นไป สามารถนำมาใชได


14 2. วิธีการทดลอง 1. การทดสอบประสิทธิภาพน้ำหมักฮอรโมนออกชิน สารเรงการเจริญติบโตของรากโดยการเพาะเมล็ด 1) เตรียมน้ำหมักฮอรโมนออกชินจากยอดพีชแตละชนิด ชนิดละ 100 มิสลิลิตร ลงในภาซนะ ที่จะแชเมล็ดโหระพา 2) แชเมล็ดโหระพาลงในภาชนะเปนเวลา 1 ชั่วโมง กอนนำไปเพาะเมล็ต โดยแบงเปน 5 ชุด ชุดละ 3 เมล็ด ดังนี้ - ชุดที่ 1 แชเมล็ดดวย น้ำเปลา - ชุดที่ 2 แชเมล็ตดวย สารเรงรากที่ขายตามทองตลาด - ชุดที่ 3 แชมล็ดตัวย น้ำหมักฮอรโมนออกชินจากยอดผักบุง - ซุดที่ 4 แชเมล็ดดวย น้ำหมักฮอโมนออกชินจากยอดผักต่ำลึง - ชุดที่ 5 แซเมล็ดดวย น้ำหมักฮอรโมนออกชินจากยอดผักโชม 3) เตรียมดินสำหรับปลูกเมล็ดโหระพาลงในถาดเพา: นำเมล็ตโหระพาลงปลูกในตินโดยนำ เมล็ดที่แชน้ำหมักอยางเดียวกันปลูกลงในแถวเดียวกันเพื่องยตอการสังเกต 4) เมื่อปลูกแลว รดน้ำทุกวันทั้งเชาและเย็น เปนเวลา 7 วัน เมื่อครบกำหนดแลวจึงรดน้ำใน ใหชุมกอนแลวคอย ๆ ถอนตันโหระพาโดยระมัดระวังอยาใหรากขาด 5) นับจำนวนรากของโหระพาแตละตนและวัดความยาวรากโหระพาเสนที่ยาวที่สุด แลวหา คาเฉลี่ย แลวบันทึกผลลงในตาราง 2. การทดสอบประสิทธิภาพน้ำหมักอรโมนออกซินสารเรงการเจริญเติบโตของรากโดยการปกขำ 1) ตัดกิ่งโหระพาจำนวน 15 กิ่ง โดยเลือกกึ่งที่ไมแกจัด ตัดใหมีความยาวเทากันประมาณ 10 เซนติเมตร เด็ดใบออกและเหลือไวเพียงกิ่งละ 2 ใบ 1) นำกิ่งโหระพาแตละกึ่งจัดเปน 5 ชุด ชุดละ 3 กิ่ง ไปแชลงในน้ำหมักเปนเวลา 1 ชั่วโมง กอนนำไปปกขำ ดังนี้ ชุดที่ 1 แชดวย น้ำเปลา - ชุดที่ 2 แซดวย สารเรงรากที่ขายตามทองตลาด - ชุดที่ 3 แชดวย น้ำหมักฮอรโมนออกซินจากยอดผักบัง - ชุดที่ 4 แชดวย น้ำหมักฮอรโมนออกซินจากยอดผักต่ำลึง - ชุดที่ 5 แชดวย น้ำหมักฮอรโมนออกชินจากยอดผักโขม 2) เตรียมดินสำหรับปกชำในถุงตำ จำนวน 5 ถุง นำกึ่งปกชำโหระพาแตละกึ่งแยกปลูกลงในดิน ทั้ง 5 ถุง แลวนำไปวางไวในที่มีแสงแดดร่ำไร รดน้ำทุกวันเปนเวลา 7 วัน 3) เมื่อครบกำหนด 7 วัน รดน้ำใหชุมอีกครั้งหนึ่งแลวคอย ๆ ถอนตันโหระพาโดยระวังไมให รากขาด แลวนับจำนวนและวัดความยาวรากแตละตน 4) หาคาเฉลี่ย แลวบันทึกผลลงในตาราง


15 บทที่ 4 ผลการทดลอง จากการทดลองทำน้ำหมักฮอรโมนออกซิน สารเรงการเจริญเติบโตของราก มีผลการทดลองดังตาราง ตอไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงการเจริญเติบโตของรากโหระพาจากการเพาะเมล็ด โดยใชเวลา 7 วัน การเจริญเติบโต ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 เฉลี่ย การทดสอบโดยการ เพาะเมล็ดโหระพาที่แช ในน้ำแตละชนิด จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก ความยาว ของราก น้ำเปลา 2 0.4 3 0.6 2 0.45 2.3 0.48 สารเรงรากที่ขายตาม ทองตลาด 4 1.1 4 0.9 4 1 4 1 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักบุง 4 0.9 3 0.75 3 0.8 3.3 0.81 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักตำลึง 3 0.6 3 0.7 3 0.7 3 0.66 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักโขม 4 1.2 4 1 4 1.1 4 1.1


16 การเจริญเติบโต ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 เฉลี่ย การทดสอบโดยการ เพาะเมล็ดโหระพาที่แช ในน้ำแตละชนิด จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก ความยาว ของราก จำนวน ราก จำนวน ราก น้ำเปลา 1 0.3 1 0.3 1 0.25 1 0.28 สารเรงรากที่ขายตาม ทองตลาด 3 0.7 3 0.9 3 0.83 3 0.81 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักบุง 2 0.5 3 0.8 2 0.6 2.3 0.63 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักตำลึง 1 0.4 2 0.6 2 0.6 1.6 0.53 น้ำหมักฮอรโมนออกชิน จากยอดผักโขม 3 0.7 3 1 3 0.85 3 0.85


17 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง 1.ฮอรโมนออกชินจากยอดผักบุง ต่ำลึง และผักโขมสามารถนำมาทำเปนสารเรงการเจริญเติบโต ของรากพืชได 2.ฮอรโมนออกซินจากยอดผักโขมมีประสิทธิภาพในการเรงการเจริญเติบโตของรากพืชที่ขยายพันธุ โดยวิธีการเพาะเมล็ดและการปกชำไดดีที่สุด อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองเมื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของรากโหระพาจากเมล็ดที่ใชน้ำหมักฮอรโมน ออกชิน จากผักบุง ตำลึง และผักโขม จะมีรากจำนวนมากกวาและมีความยาวมากกวารากโหระพาจากเมล็ด ไมไดใชน้ำหมักฮอรโมนออกชินจากผักบุง ดำลึง และผักโชม และเมื่อเปรียบเทียบการเจริญติบโตของรากจาก มล็ดที่ใชน้ำหมักฮอรโมนออกซิน จากผักบุง ตำลึง และผักโขม กับรากจากมล็ดที่ใชสารเรงรากจาก ทองตลาดจะมีจำนวนรากและความยาวของรากใกลเคียงกัน ที่เปนเชนนั้น เนื่องจาก ยอดผักบุง ตำลึง และผักโขมจะมีฮอรโมนออกชิน ซึ่งเปนฮอรโมนที่ แพรกระจายทั่วไปในพี่ช ตำแหนงที่มีกรสังเคราะหออกซิน ไดแกบริเวณปลายยอดและปลายราก ดังนั้นเมื่อ นำปลายยอดของพืชดังกลาวไปทำแชในน้ำ จึงทำใหน้ำหมักที่ไดมีฮอรโมนออกซิน ซึ่งทำใหสามารถกระตุนให พืชเกิดรากใหมขึ้นไดมากกวาเดิม โดยน้ำหมักฮอรโมนออกซินที่ไดจากยอดผักโขมจะมีประสิทธิภาพในการเรงการเจริญเติบโดของราก ไดมากที่สุด เนื่องจากมีปริมาณฮอรโมนออกซินที่เหมาะสมตอการเจริญของรากเมื่อทำการทดลองปลูกใน ระยะเวลาเทากันรากที่งอกมีจำนวนมากและมีความยาวมากที่สุด ปญหาและอุปสรรค การถอนตนโหระพาออกจากถาดเพาะหรือถุงดำอาจทำใหรากขาดไดโดยงาย ซึ่งมีผลตอการผลการ ทดลอง วิธีการแกไขปญหา กอนถอนตันโหระพาควรรดน้ำใหชุมมาก ๆ เพื่อใหดินหลุดออกจากราก แตตองทำดวยความ ระมัดระวัง คอย ๆ รดน้ำทีละนอยและใชเวลานาน ๆ เพื่อไมใหรากขาด ขอเสนอแนะ 1. พืชที่จะนำมาน้ำหมักฮอรโมนออกชินสารเรงการเจริญเติบโตของรากพืช สามารถนำพืชหลาย ชนิดรวมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหมากขึ้น 2. ควรมีการทดลองในพืชประเภทอื่น ๆ เพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง


18 บรรณานุกรม การเพาะเมล็ดและการปกชำ สืบคนเมื่อวันที19 พ.ค. 2565 จาก http://www.the-than.com การใชสารเรงราก สืบคนเมื่อวันที19 พ.ค . 2565 จาก http://www.thaikasrt.com ขอมูลผักบุง ตำลึง ผักโขม สืบคนเมื่อวันที19 พ.ค. 2565 จาก http://www.thai-thaifood.com ฮอรโมนออกซิน สืบคนเมื่อวันที19 พ.ค. 2565 จาก http://www.rakbaker.com


19 ภาคผนวก


20 สํารวจและศึกษายอดพืชที่ต้องการนํามาใช้ในการทดลอง ผักบ้งุ ตําลึง ผักโขม โหระพา


21 เตรียมอุปกรณ์สําหรับทําการทดลอง เก็บยอดผักตอนเช้าก่อนพระอาทิตย์ขึ้น นํามาชั่ง 100กรัม


22 ใส่ส่วนผสมต่าง ๆ หมักเก็บไว้3-4 สัปดาห์แล้วนํามาใช้ เมื่อนํ้าหมักใช้ได้ นํามาแช่เมล็ดที่ต้องการเร่งการเจริญของราก


23 ต้นอ่อนของโหระพาที่ได้จากการเพาะเมล็ดที่แช่ในนํ้าหมักฮอร์โมนจากพืช การเตรียมกิ่งโหระพา


Click to View FlipBook Version