The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายละเอียด กิจกรรมที่ 5 การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำเนินชีวิตตามวิถีไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ssr.hospital2562, 2021-05-06 09:35:43

รายละเอียด กิจกรรมที่ 5การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำเนินชีวิตตามวิถีไทย

รายละเอียด กิจกรรมที่ 5 การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำเนินชีวิตตามวิถีไทย

กิ จกรรมที 5

การจัดสิ่งแวดลอม
เพื่อการดําเนินชีวิต

ห ลั ก สู ต ร อ อ น ไ ล น์
THAI-CULTURE MSG

1

กิจกรรมที่ 5
การจัดส่ิงแวดลอ้ มเพือ่ การดาเนินชวี ิตตามแบบวถิ ีไทย

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้สมาชกิ กลุม่ มคี วามรู้ความเข้าใจรวมทงั้ ตระหนกั ถึงความสาคญั ในการจดั ส่ิงแวดลอ้ มเพื่อ

การดาเนินชีวิตทมี่ ีความสุข และความปลอดภยั สอดดคลอ้ งกบั วถิ ไี ทย
2. เพอ่ื ให้สมาชกิ กล่มุ มคี วามรแู้ ละทกั ษะการบรหิ ารจดั การค่าใช้จา่ ยในการดาเนินชวี ติ ท่มี ี

ประสิทธภิ าพ
3. เพอ่ื ส่งเสริมให้สมาชกิ กลมุ่ สามารถหาแหล่งสนับสนนุ ทางสงั คมได้

สาระสาคญั
สิ่งแวดล้อมเป็นปจั จยั หน่งึ ทีม่ คี วามสาคญั ในการดารงชีวติ ของผสู้ งู อายสุ มองเสอื่ มฯและผดู้ ูแล การ

จัดสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพทีส่ ่งเสริมใหเ้ กิด ความม่ันคงและความปลอดภัยตอ่ ผสู้ ูงอายสุ มองเสือ่ ม
การส่ งเสรมิ ใหเ้ กิดความม่ันคงทางการเงิน และการเข้าถงึ แหลง่ ประโยชน์ทางสงั คมรูปแบบต่าง ๆ
โดยมแี นวทางการจดั สิ่งแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมตามแบบวิถีไทยส่งผลดตี ่อการดาเนนิ ชวี ติ ของผสู้ ูงอายสุ มอง
เส่ือมฯ เปน็ ปัจจยั ส่งผลให้ผูส้ ูงอายุสมองเส่อื มฯ เกิดความปลอดภยั และมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี

กลุ่มเป้าหมาย ผสู้ ูงอายุสมองเสือ่ มท่ีมีปัญหาพฤตกิ รรมและจิตใจและผ้ดู แู ล กลมุ่ ละ 3 – 6 ครอบครัว

สถานท่ี ห้องทากจิ กรรมกลุ่ม

ระยะเวลา 45 – 60 นาที

สอ่ื /อุปกรณ์

1. สื่อเพลง ดัง่ ดอกไม้บาน ของเสถียรธรรมสถาน จาก youtube:
https://www.youtube.com/watch?v=dhFt7eURm78

2. วีดีทศั น์ เรอื่ ง “สมองเส่ือมไดแ้ ตใ่ จสุข”
3. ใบงานที่ 5/1 การทบทวนส่ิงแวดลอ้ มในการดาเนินชวี ติ ของผสู้ ูงอายไุ ทยท่มี ภี าวะ

สมองเสื่อม
4. ใบความรทู้ ี่ 5/1 การปรับส่ิงแวดลอ้ มเพื่อสง่ เสริมคุณภาพทด่ี ีของผูส้ ูงอายไุ ทยทีม่ ี

ภาวะสมองเสื่อม
5. ใบงานที่ 5/2 แนวทางการปรบั ปรงุ สงิ่ แวดลอ้ ม
6. คมู่ ือส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตผูส้ งู อายสุ มองเสือ่ มทม่ี ีปัญหาพฤติกรรมและจติ ใจ

การประเมินผล
ประเมินผลจากการสังเกตพฤตกิ รรม ความสนใจ และการรว่ มแสดงความคดิ เห็น ตลอดจนการ

ซกั ถามปัญหาต่างๆ

2

ขั้นตอนการดาเนนิ กจิ กรรม สอ่ื /อุปกรณ์ เวลาที่ใช้
กิจกรรม

1. ผ้นู ากลมุ่ แนะนาตัวและกล่าวทักทายสมาชกิ ในกลุ่ม เปิด สือ่ เพลง 5 นาที
โอกาสใหส้ มาชิกแนะนาตวั ทบทวนวัน เวลา สถานท่ี และ “ด่ังดอกไมบ้ าน” 10 นาที
กระตนุ้ ใหส้ มาชิกกลุ่มรว่ มทากิจกรรม “การเคลือ่ นไหวดว้ ย 15 นาที
สติ ด่งั ดอกไม้บาน” เพือ่ เตรียมความพรอ้ มเขา้ สรู่ ่วมทา ใบงาน 5/1 “การ
กจิ กรรม ทบทวนส่ิงแวดล้อมใน 5 นาที
2. ผ้นู ากล่มุ ทบทวนและ จากน้นั ใหส้ มาชกิ กลมุ่ ร่วม การดาเนนิ ชีวิตของ 5 นาที
อภิปรายในประเดน็ ปัญหา/ความเสยี่ งเกยี่ วกบั สิง่ แวดลอ้ ม ผูส้ งู อายไุ ทยทีม่ ีภาวะ
ในการดาเนินชีวติ ของผูส้ งู อายทุ ่มี ภี าวะสมองเส่ือมฯ/การ สมองเส่อื ม” 5 นาที
แกไ้ ขปญั หา/ผลลพั ธ์ ตามใบงานท่ี 5/1 ใบความรทู้ ี่ 5/1
“การปรบั สิ่งแวดลอ้ ม
3. ผู้นากลมุ่ เสนอข้อมลู ด้านการจดั สง่ิ แวดลอ้ มท่ีเปน็ เพอื่ ส่งเสรมิ คุณภาพ
มิตรกับ ผ้สู งู อายสุ มองเส่อื มฯ เพ่ิมเตมิ และสอดคล้องกบั ชีวิตท่ีดีของผสู้ ูงอายุ
ประเด็นทีส่ มาชกิ กลมุ่ รว่ มอภิปราย ซ่ึงครอบคลุมถงึ การ สมองเสื่อมที่มปี ญั หา
ส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยทางกายภาพ ความมน่ั คง พฤตกิ รรมและจิตใจ
ทางการเงิน และการเขา้ ถึงแหล่งประโยชน์ทางสงั คม ตามแบบวิถีไทย”
ตามใบความรทู้ ่ี 5/1 วดี ีทศั น์ เรือ่ ง “สมอง
เสื่อมได้แตใ่ จสขุ ”
4. ผู้นากลมุ่ ใหส้ มาชิกกลมุ่ ร่วมทบทวนแนวทางการจัด
ส่ิงแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมต่อผู้สงู อายุ โดยใชส้ ่ือวีดที ศั นเ์ รื่อง ใบความร้ทู ี่ 5/1
“สมองเสอ่ื มไดแ้ ตใ่ จสขุ ” “การปรบั ส่งิ แวดลอ้ ม
5. ผนู้ าและสมาชกิ กลมุ่ ร่วมกนั สรุปสงิ่ ทไี่ ด้จากการ เพ่ือสง่ เสริมคณุ ภาพ
แลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละสรปุ ถึงประเดน็ ความสาคัญของปจั จยั ชีวติ ทดี่ ีของผสู้ ูงอายุ
ตา่ งๆ ที่สง่ ผลต่อการจัดสิง่ แวดล้อมทเี่ ออ้ื ตอ่ การดาเนนิ ชีวิต สมองเสื่อมทมี่ ปี ัญหา
ท่ีดแี ละปลอดภัยของผสู้ งู อายสุ มองเสอื่ มฯ ตามแบบวถิ ไี ทย พฤตกิ รรมและจิตใจ
ตามแบบวิถีไทย”
6. ผนู้ ากลุ่มใหส้ มาชิกกลมุ่ เสนอแนวทางการนาความรูไ้ ป 1. ใบงานที่ 5/2 “แนว
ปรับปรุงสง่ิ แวดลอ้ มทีบ่ ้านใหเ้ หมาะสมและปลอดภยั ในการ ทางการปรบั
ดูแลผู้สงู อายทุ ม่ี ภี าวะสมองเสือ่ มฯ ตามใบงานที่ 5/2 สง่ิ แวดลอ้ มท่ีบ้านหลัง
การเรียนรู้”

2. คมู่ อื สง่ เสริมคุณภาพ
ชีวติ ผสู้ ูงอายุสมองเสือ่ ม
ทม่ี ีปัญหาพฤติกรรม
และจิตใจ

3

ใบงาน 5/1
การทบทวนสิ่งแวดล้อมในการดาเนินชีวิตของผสู้ งู อายุไทย

ทมี่ ีภาวะสมองเสอื่ มตามแบบวิถีไทย
คาช้ีแจง ใหส้ มาชิกกลมุ่ อภปิ รายในประเดน็ ความเสย่ี งเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการดาเนนิ ชวี ติ ของ

ผสู้ งู อายุทม่ี ีภาวะสมองเสอ่ื ม

ปญั หา/ความเสย่ี งดา้ น แนวทางการจดั การ ผลลพั ธ์
ส่งิ แวดลอ้ ม

ดา้ นความปลอดภยั ทางกายภาพ
ภายนอกบา้ น

ภายในบา้ น

ดา้ นการจัดการทางการเงนิ
การจัดการภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการ
ดแู ลผสู้ งู อายุ

การจดั การการเงนิ และทรพั ย์สิน
ของผู้สงู อายุ

ดา้ นการเขา้ ถึงแหล่งประโยชน์ทางสังคม
การเข้าถึงแหล่งบริการต่าง ๆ
ดา้ นสุขภาพ หรือหนว่ ยบริการที่
รฐั หรอื เอกชนจดั ให้

การรบั รู้ขา่ วสารต่าง ๆ

4

ใบงานที่ 5/2
“แนวทางการปรับสิ่งแวดลอ้ มท่ีบา้ นหลงั การเรียนรู้”
คาชแี้ จง ให้สมาชกิ กลุ่มอภปิ รายในประเดน็ แนวทางการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในการดาเนินชีวติ ของ
ผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะสมองเสือ่ มหลงั การเรียนรู้

ปัญหา/ความเส่ยี งดา้ น แนวทางการปรับปรุง
สิ่งแวดล้อม

ดา้ นความปลอดภัยทางกายภาพ
ภายนอกบ้าน

ภายในบ้าน

ด้านการจดั การทางการเงิน
การจดั การภาระคา่ ใช้จา่ ยในการ
ดแู ลผ้สู ูงอายุ

การจดั การการเงินและทรัพย์สิน
ของผสู้ ูงอายุ

ด้านการเขา้ ถงึ แหลง่ ประโยชน์ทางสังคม
การเขา้ ถึงแหลง่ บริการตา่ ง ๆ
ด้านสุขภาพ หรอื หน่วยบรกิ ารที่
รัฐหรอื เอกชนจัดให้

การรับรูข้ า่ วสารต่าง ๆ

5

ใบความรู้ 5/1
การปรบั ส่ิงแวดล้อมเพอื่ ส่งเสริมคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี
ของผูส้ งู อายสุ มองเสือ่ มท่ีมปี ัญหาพฤตกิ รรมและจติ ใจตามแบบวิถีไทย

ผสู้ งู อายุสมองเสอ่ื มฯ สว่ นใหญ่พกั อาศัยอยูก่ ับผู้ดูแล ดังน้ันผดู้ ูแลจึงควรคานึงถงึ แนวทางการจดั
ส่งิ แวดลอ้ มทเี่ หมาะสมส่งผลดีตอ่ ผ้สู ูงอายสุ มองเสอื่ มฯ ในการดาเนินชวี ิตประจาวนั ได้อย่างเป็นอสิ ระและ
ปลอดภยั เพือ่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ้สู งู อายุสมองเส่อื มมีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี 3 ด้าน คือ ด้านความมัน่ คงและความ
ปลอดภยั ทางกายภาพ ด้านความม่ันคงทางการเงิน และดา้ นการเข้าถงึ แหล่งประโยชน์ทางสังคม
รายละเอียดดังนี้

1. ดา้ นความมนั่ คงและความปลอดภยั ทางกายภาพ
ดา้ นความมั่นคงและความปลอดภัยทางกายภาพ แบ่งเปน็ สภาพแวดลอ้ มภายในบา้ น

และสภาพแวดล้อมภายนอกบ้าน
1.1 สิง่ แวดลอ้ มภายในบา้ น
1.1.1 พ้ืนบ้านควรใช้วัสดผุ วิ ไมล่ ่ืนหรือขรุขระ หลกี เลีย่ งพนื้ ผิวทเี่ ปน็ ประกายหรือสะท้อน

แสงเพราะอาจมองเห็นเปน็ พน้ื เปียก ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ พน้ื ผวิ ของทางเดนิ นน้ั เรยี บเพ่อื ป้องกันการล่ืน
หรอื ลม้ พ้นื ห้องไมค่ วรขัดจนเป็นมนั เพราะอาจเกิดแสงสะทอ้ นขดั ขวางการเดินของผู้สูงอายุ ไมล่ งน้ามันจน
พ้ืนลืน่ เลอื กสีพรมที่มีสเี ดียวกนั ตลอดทงั้ บ้าน หลีกเลีย่ งการวางพรมเช็ดเท้าหรือวางเสอ่ื บนพ้ืนเนือ่ งจาก
ผู้สงู อายสุ มองเสอื่ มบางคนอาจรูส้ ึกสับสน และคดิ ว่าสง่ิ เหล่านนั้ เปน็ สง่ิ ท่ตี ้องเ ดินเหยยี บอยเู่ สมอซึ่งอาจ
นาไปสกู่ ารลื่นหรอื ล้มได้ จดั ทาราวจบั เดินสาหรับผสู้ ูงอายทุ ่ตี ้องเฝ้าระวังดา้ นการทรงตัว รวมทั้งผงั ของ
ทางเดินในบา้ นง่ายตอ่ การมองเห็นเขา้ ใจและใช้งานง่าย รูปแบบทางเดนิ ตอ่ เน่ือง ไมม่ ีทางแยกหรอื
ปลายทางตนั การจดั ชอ่ งทางการเข้าออกอาคารทางเดี ยวและเห็นได้อยา่ งเดน่ ชัด การจัดชอ่ งทางให้
ผสู้ งู อายสุ ามารถเขา้ ถงึ ง่ายโดยเฉพาะผู้สงู อายุท่ใี ชร้ ถเข็นสองลอ้ เป็นอปุ กรณ์ในการเคลื่อนที่

1.1.2 ควรเกบ็ สายไฟให้เรียบร้อยป้องกนั การสะดุดล้ม จัดใหม้ ีแสงสวา่ งทเี่ พยี งพอโดย
ติดต้งั ดวงไฟท่ีมกี ารสอ่ งสวา่ ง โดยเฉพาะบรเิ วณบนั ไดและในหอ้ งนา้ รวมทง้ั เพมิ่ แสงธรรมชาตใิ นหอ้ งให้มาก
ขึ้นโดยการเปดิ ผา้ ม่าน เตียงนอนควรจัดให้วางในตาแหนง่ ทไ่ี ปถงึ ได้งา่ ยและควรจัดใหห้ ัวเตยี งอยู่ทางดา้ น
หนา้ ต่างกรณหี อ้ งนั้นมแี สงสว่างเข้าทางหัวเตียงเพอ่ื การมองเหน็ ทช่ี ดั เจนย่งิ ข้นึ ควรตัดต้นไม้หรอื พมุ่ ไม้หาก
บังหนา้ ตา่ งปิดก้นั แสงแดดเพอ่ื ลดอบุ ัตเิ หตุ ปลก๊ั ไฟไมค่ วรอยูต่ ่าเพอื่ ปอ้ งกันการเดนิ ชน สวิทช์ไฟควรจัดให้
ผู้สูงอายเุ ขา้ ถึงและใชง้ านได้ง่ายไมซ่ บั ซอ้ น และตดิ ตงั้ ใกล้เคียงกับบริเวณทต่ี ้องการใชง้ านไฟฟา้

1.1.3 เฟอร์นเิ จอร์ท่ใี ชใ้ นบ้าน เช่น เตียง ตู้ โตะ๊ เกา้ อ้ี เ ปน็ ตน้ ควรเลอื กแบบไมม่ ีเหล่ยี ม
มุม เลอื กใช้แบบขอบกลมมน เพอ่ื ปอ้ งกนั อันตรายจากการเกดิ อบุ ัติเหตจุ ากการกระทบกระแทกหรือเดนิ ชน
เม่อื ผู้สงู อายุปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ โตะ๊ เก้าอ้ตี ้องต้ังอยอู่ ย่างม่ันคง โตะ๊ ควรมคี วามสงู อย่ใู นระดบั ที่เหมาะสม
เพอื่ ให้สามารถมองเหน็ อาหารแ ละเครอ่ื งดื่มได้ชดั เก้าอนี้ ่ังต้องมี พนักพิง มที ว่ี างแขน ความสูงพอเหมาะ
เม่อื นง่ั แล้วสามารถวางเทา้ ถงึ พ้ืนหวั เขา่ ตงั้ ฉากกบั พนื้ เตยี งนอนควรมีความสงู ในระดบั ที่เหมาะสมให้
สามารถนงั่ ห้อยเท้าวางบนพื้นได้อยา่ งสบายเพอ่ื สง่ เสรมิ การเคล่ือนไหวร่างกายในการลุก นั่งอยา่ งคลอ่ งตัว
ลดความเสย่ี งจากการปวดหลัง

1.1.4 การตดิ ป้ายช่อื ตามลน้ิ ชัก ตู้ และประตเู พือ่ แสดงถึงสง่ิ ท่อี ยขู่ ้างใน หรือนาภาพ
สญั ลักษณห์ อ้ งน้า หรือตัวอกั ษร “หอ้ งน้า” ติดไว้ทีห่ นา้ ประตหู ้องน้า หรือตดิ รูปภาพของถว้ ยบนตทู้ ม่ี ถี ว้ ย
และเครอ่ื งครัวอื่น ๆ อยภู่ ายใน หรือใช้ประตตู ทู้ ่โี ปร่งใส ซง่ึ สามารถช่วยผู้สูงอายุสมองเสอื่ มให้หาสง่ิ ของตา่ ง

6

ๆ ได้ดขี ึน้ เน่ืองจากสามารถมองเหน็ สงิ่ ท่ีอยูภ่ ายในไดช้ ดั เจน และรับรู้สถานทจี่ ดั เกบ็ สิง่ ของทใ่ี ช้ปฏิบัติกจิ วัตร
ประจาวันได้งา่ ยข้นึ สง่ ผลใหแ้ ละสามารถปฏิบัติกจิ วตั รตา่ งๆ ได้ด้วยตน เอง ฝาผนังอาจตดิ รูปภาพทม่ี ี
ความหมายสาหรบั ผู้สูงอายุ เพ่อื การระลึกถงึ ความหลังปอ้ งกนั ภาวะซมึ เศรา้

1.1.5 การตดิ กระจกสามารถตดิ ไว้ในบริเวณการแต่งตวั เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายุไดส้ ่องดกู าร
เปลี่ยนแปลงของรูปร่าง การใส่เสื้อผ้า และการแต่งตัว แต่หากผสู้ ูงอายสุ มองเสื่อมมีอ าการรุนแรงขึ้นจนไม่
สามารถเข้าใจถึงภาพสะทอ้ นของตัวเอง ผ้สู งู อายุอาจคดิ วา่ ใบหน้าท่เี หน็ ในกระจกหรือคนทสี่ ะท้อนอยูใ่ น
กระจกเป็นคนแปลกหน้า จงึ ควรบงั กระจกด้วยมา่ นบังแสง หรือผา้ มา่ นโปรง่ ในชว่ งเวลาเยน็ ๆ เพือ่ ปอ้ งกัน
การเหน็ ภาพสะทอ้ นของตนเองจากกระจก

1.1.6 สิง่ ของเครื่องใช้ควรคานงึ ถงึ สี เนือ่ งจากสายตาของผู้สงู อายมุ ักจะมองเห็นสีสวา่ งได้
ดีกวา่ สที บึ ดงั นนั้ ผสู้ งู อายุจะมองเห็นสีเหลอื ง สสี ้ม และสีแดง ได้ดกี วา่ สเี ขยี ว สมี ว่ ง สีนา้ เงิน แกว้ นม
หรอื แกว้ น้าดื่มไม่ควรจะเปน็ สีใสเพราะมองยาก แก้วนมท่ดี คี วรใช้สีตดั กับสีของนม เช่น นมสีขาวควรใสใ่ น
แกว้ สเี ขม้ จะทาให้ทราบวา่ นมอยใู่ นระดบั ใดของแกว้ ผ้าปูโตะ๊ มสี แี ตกต่างตัดกับจานจะช่วยใหเ้ หน็ อาหารได้
ชัดเจน สขี องผนังและพ้ืนสามารถทาใหผ้ ้สู งู อายสุ มองเสอ่ื มรับรู้ถึงความลกึ และมองระยะในหอ้ งไดช้ ดั เจน
ยงิ่ ข้นึ การเลือกเฟอร์นิเจอร์ท่ีมสี ีตัดกนั ชั ดเจนทาให้สามารถมองหาและใชส้ ิ่งเหล่านน้ั ไดง้ า่ ยข้ึน ประตูและ
ราวจับทีท่ าสีท่แี ตกตา่ งกบั ผนังจะทาให้มคี วามโดดเดน่ สังเกตเหน็ ไดง้ ่าย สิ่งของควรมนี า้ หนกั เบาเพอ่ื ความ
สะดวกและปลอดภยั ในการหยิบจับ แกว้ นา้ ถ้วยชาม ควรเปน็ ชนดิ ทมี่ ีหูจับ ใชน้ าฬิกาที่มตี วั เลขขนาดใหญ่
โทรศพั ท์ท่ีมปี ุ่มขนาดใหญ่ ควรหลีกเลยี่ งเฟอร์นิเจอร์ท่ีมีลายเนอื่ งจากอาจรบกวนผสู้ งู อายสุ มองเส่อื มท่อี าจ
มองเหน็ เปน็ ใบหน้าคนหรอื รปู ร่างต่าง ๆ ในลายเหล่านน้ั อาจทาใหเ้ กิดความสับสน

1.1.7 ควรทาความสะอาดบา้ นหรอื บริเวณท่ผี ูส้ ูงอายใุ ชง้ านเพ่ือลดการหมักหมมของขยะ
และลดกล่นิ ท่ไี ม่พงึ ประสงคเ์ น่ืองจากผู้สูงอายุบางรายถ่ายไมเ่ ปน็ ทีห่ รือไม่เป็นเวลา และท้งิ ขยะที่ไมเ่ ปน็ ท่ี
เป็นทาง

1.1.8 ควรมกี ารใชก้ ลิ่นบาบัด เชน่ กลิน่ ไม้หอม สมนุ ไพรตา่ ง ๆ เชน่ ดอกมะลิ ใบเตย เพ่อื
ส่งผลใหผ้ ้สู ูงอายผุ ่อนคลายความเครยี ด

1.1.9 ควรใช้ฝักบัวอ าบน้าเพ่อื แทนการตกั อาบดว้ ยขัน เพอ่ื ลดการใชแ้ รงในผู้สงู อายุที่
เหน่อื ยง่าย แต่ถา้ ไม่มีควรใช้ขนั ที่มีน้าหนักเบา ขนาดเลก็ หอ้ งนา้ ไม่ควรหา่ งจากหอ้ งนอนมากจนเกินไป
ประตูห้องนา้ ควรกว้างพอทรี่ ถเข็นจะเข้าได้ โถส้วมควรเปน็ โถน่งั จะดีกวา่ น่ังยอง เพราะมักจะปวดข้อ หรือ
ขอ้ แขง็ นง่ั ยองลาบาก ฝานั่งชักโครกท่มี สี แี ตกต่างตดั กับส่วนที่เหลือในหอ้ งนา้ จะช่วยใหผ้ สู้ ูงอายุสมองเสือ่ ม
เหน็ ได้ชดั ข้ึน จดั ใหม้ ีกระดง่ิ หรือโทรศพั ทภ์ ายในห้องนา้ เพื่อขอความช่วยเหลอื เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน และไม่
ควรใส่กลอนประตู กรณีผูส้ ูงอายใุ ช้รถเขน็ ควรทาทาง ลาดจากหอ้ งนอนเขา้ สูห่ อ้ งนา้ เพอื่ ใหร้ ถเขน็ ข้ึนลง
สะดวก รถเขน็ ควรใช้แบบท่ีสามารถทาความสะอาดชว่ งลา่ งของผสู้ งู อายุได้

1.1.10 ควรออกแบบสภาพแวดลอ้ มภายในบา้ นให้สะดวกสบาย อากาศถ่ายเทสะดวก
เครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ รวมถงึ เฟอร์นิเจอรค์ วรเลอื กใช้วสั ดทุ ีส่ ามารถดแู ลรักษาไ ดง้ า่ ย ทนทาน และทาความ
สะอาดงา่ ย เพื่อใหส้ ามารถใช้งานไดท้ นทานมากขึน้ เชน่ การใชเ้ ฟอรน์ ิเจอร์แบบหนังจะทาความสะอาด
สะดวก และง่าย หากผูส้ งู อายุถ่ายเปรอะเปือ้ น เปน็ ต้น

1.2.11 ควรจดั หาสตั ว์เล้ยี งการใชส้ ัตวเ์ ลีย้ งชว่ ยบาบดั โรค (Pet หรอื Animal Assist
Therapy) มาใชใ้ นการชว่ ยรักษาแบบพยงุ หรือประทังอาการของผ้สู ูงอายุสมองเสอ่ื มฯ มานานพอควรใน
ตา่ งประเทศ จนเปน็ ทีย่ อมรับว่าเปน็ ทางเลือกหน่ึงทใ่ี หผ้ ลดีอย่างกวา้ งขวาง จากรายงานพบวา่ สตั วเ์ ล้ียงที่
ถูกนามาใชช้ ว่ ยบาบดั เช่น สนุ ัข แมว นก และปลาตู้ ยงั สง่ ผลตอ่ ผปู้ ว่ ยในดา้ นบวก เ ชน่ ลดความก้าวร้าว

7

กระตุ้นการมีกจิ กรรมรว่ มในสังคม จติ ใจสงบลง มอี ารมณ์ดีขน้ึ หรอื แมแ้ ตม่ คี วามเจริญอาหาร นา้ หนักตัว
เพมิ่ ข้ึน ฯลฯ ปจั จุบันยงั ไมม่ สี ัตวช์ นดิ ใดทนี่ าจะมาใชร้ ักษาโรคอลั ไซเมอร์ใหห้ ายขาดได้ แตอ่ าจสามารถช่วย
ในการบาบัดได้ ซง่ึ การเลือกสัตวเ์ ล้ียงควรต้อ งดภู ูมิหลงั ของผปู้ ่วยดว้ ยวา่ ชอบ หรือไมช่ อบสัตวช์ นิดใดมา
ก่อน นอกจากนี้ จะตอ้ งคานึงถึงอายขุ ัยของสตั วท์ จี่ ะนามาเลี้ยงดว้ ย เพอ่ื จะได้ไม่ตกเป็นภาระกบั ผูด้ แู ลใน
อนาคตตอ่ ไป

1.2 ส่ิงแวดล้อมภายนอกบ้าน
1.2.1 กระถางต้นไม้ที่ยกระดบั สงู ขนึ้ เล็กน้อย ช่วยให้ผู้สูงอา ยสุ ามารถดูแลสวนไดง้ า่ ย

โดยการรดน้า ปลกู พืชหรอื กาจดั วชั พืชในกระถาง ควรหลกี เลี่ยงการปลกู พนั ธไ์ มม้ ีพษิ หรอื มหี นามแหลมคม
ท่กี ่ออันตราย ควรปลกู พนั ธ์ไม้ท่ีผ้สู ูงอายชุ น่ื ชอบ โดยจัดให้มคี วามหลากหลายและมหี ลายระดบั

1.2.2 ออกแบบจดั สวนใหม้ พี ืน้ ทสี่ เี ขียวเพอื่ ใหร้ ู้สึ กผ่อนคลาย เพอื่ ให้ผสู้ งู อายไุ ด้รบั การ
กระตุ้นและการบาบัดอย่างเหมาะสม ซ่ึงผสู้ งู อายุจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการเดนิ เพ่อื รับอากาศบรสิ ุทธิแ์ ละการ
ออกกาลังกาย ไมค่ วรใชว้ ัสดุทม่ี ีสีดาหรอื มันวาวสะท้อนแสงเพราะจะทาใหผ้ ู้สูงอายมุ องเหน็ ไม่ชัดและ
ระคายเคืองตา ควรจัดหาบริเวณพื้ นทน่ี ่งั ท่ีแขง็ แรงและมีท่กี าบังแดดจะช่วยใหผ้ ้สู งู อายุอยู่นอกบา้ นได้นาน
ข้นึ

1.2.3 พน้ื ทก่ี ลางแจ้งควรมีรั้วรอบขอบชิดเพอื่ ป้องกันไม่ให้ผสู้ งู อายุเดนิ พลัดหลงไปที่อื่น มี
พื้นท่ีรองรบั การทากิจกรรมการออกกาลงั กายหรือเล่นเกมส์ของผสู้ งู อายุท้งั ในชว่ งเชา้ และช่วงเย็น

2. ดา้ นความม่ันคงทางการเงิน
ความมนั่ คงทางการเงนิ พิจารณาประเดน็ ทีส่ าคัญคือ การบรหิ ารจดั การเรอื่ งการเงินโดย

ทบทวนแนวทางการจดั การบรหิ ารคา่ ใช้จ่ายของผูส้ งู อายุทง้ั ค่าอาหาร คา่ ยา คา่ รักษา และค่าใชจ้ ่ายอนื่ ๆ
รวมทั้งผดู้ แู ลควรเฝ้าระวังผสู้ งู อายสุ มองเส่ือมฯ หลงเช่อื โฆษณาชวนเช่ือจนเสยี เงนิ ซ้ือของต่าง ๆ เพราะคดิ
ว่าส่งิ เหล่านั้นจะบารุงร่างกายให้แขง็ แรง

การประเมินฐานะทางการเงิน และสิทธกิ ารเบกิ รกั ษาพยาบาลของผู้สูงอายุสมองเส่ือม เปน็ สิ่ง
ทส่ี าคัญ เนอ่ื งจากการดแู ลผู้สงู อายุสมองเสื่อมเปน็ การดูแลท่ตี ่อเน่ือง ระยะเวลาโดยเฉล่ียนานประมาณ 8 –
10 ปี ผูส้ ูงอายบุ างรายมีอายุยืนไดถ้ ึง 20 ปี (Alzheimer's disease facts and figures, 2012) ยาทีร่ กั ษา
ในปจั จุบนั บางรายการยังมรี าคาแพงมาก ยาบางตัวยังไมค่ รอบคลุมสิทธิประกนั สงั คมและประกันสขุ ภาพ
แห่งชาติ การวางแผนการดแู ลนอกจากเร่ืองค่ายา ยังมคี า่ ใช้จ่ายอ่นื ท่จี าเป็นในการดูในอนาคต เช่น การจา้ ง
ผู้ดูแล อาหารทางการแพทย์ในผู้สงู อายทุ ไี่ ด้รับอาหารทางสายยาง จากการมปี ญั หาการกลนื หรอื ผสู้ ูงอายุที่
ลมื วิธีการกลนื อาหาร รายที่กล้ันปสั สาวะ อุจาระไม่ได้ ต้องใสผ่ ้าหรือกางเกงซับนา้ หรอื สายสวนปสั สาวะ
คา่ ใช้จ่ ายในการเดนิ ทางมาพบแพทย์ โดยเฉพาะในรายที่ตดิ เตยี ง อาจตอ้ งเรยี กใชร้ ถพยาบาล หรอื ซื้อ
อปุ กรณ์ทางการแพทยม์ าใช้ทบ่ี ้าน เม่ือเขา้ สู่ระยะท้าย เช่นเตียง ทนี่ อนลม เครอ่ื งดูดเสมหะ รถเข็น หรือ
การอยู่ในสถานดูแล

การจดั การเร่อื งทรัพย์สินอยา่ งเหมาะสมขณะผ้สู งู อายยุ ังคงมี ความจาและความสามารถรบั รู้
และจัดการเร่อื งราวตา่ ง ๆ โดยผู้สงู อายคุ วรมอบอานาจหรอื แต่งตั้งผู้อภบิ าลตนเองไวก้ ่อนท่ีจะเกดิ ภาวะ
สมองเสอื่ มทร่ี นุ แรงมากข้นึ

3. ดา้ นการเขา้ ถงึ แหลง่ ประโยชน์ทางสงั คม

8

3. ด้านการเข้าถึงแหล่งประโยชนท์ างสังคม
การจัดหาแหล่งสนับสนนุ ทางสังคมที่เหมาะสมเพื่อเปน็ แหล่งขอความชว่ ยเหลือและสอดสอ่ ง

ดแู ลอยา่ งตอ่ เนื่องในชุมชนทผ่ี ้สู งู อายุพกั อาศยั เช่น การมีสมั พนั ธภาพทดี่ ีกับญาตพิ นี่ อ้ ง เพ่ือนบา้ นในชุมชน
ท่ีอยูอ่ าศัย เพื่อสร้างให้เกดิ เครือข่ายของผดู้ แู ล

นอกจากนก้ี ารเข้าถึงบริการดา้ นสุขภาพของผู้สูงอายุทีค่ วรมรี ะบบการให้บรกิ ารช่องทางพเิ ศษ
สาหรับผู้สูงอายุ เพื่อใหผ้ สู้ ูงอายุสมองเส่อื มได้รบั การบริการท่รี วดเร็ว และมปี ระสิทธภิ าพ รวมทง้ั แนวทาง
การสอื่ สารขอ้ มลู ข่าวสารดา้ นสิทธิประโยชน์ ตา่ ง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกับ พระราชบญั ญัตผิ ู้สูงอายุ (ฉบับที่ 3) ปี
2560 และ สทิ ธพิ งึ มีพึงไดอ้ ่นื ๆ ตามนโยบายของรฐั บาล และควรเขียนหมายเลขโทรศัพทส์ าหรบั การขอ
ความช่วยเหลือเมื่อเกดิ เหตุฉกุ เฉนิ ไวใ้ ห้ผูส้ ูงอายุติดต่อขอความชว่ ยเหลอื ศูนย์ใหบ้ รกิ ารฉกุ เฉินต่าง ๆ ได้งา่ ย
เชน่ เหตกุ ารณอ์ ัคคภี ัย หรือประสบอบุ ตั เิ หตุตา่ ง ๆ โดย ใช้ตัวหนงั สอื ขนาดใหญ่ ชัดเจน ใช้สีตดั กับสีพืน้
กระดาษ วางในตาแหนง่ ท่อี ่านได้ง่ายสะดวกในการนามาส่ือสาร


Click to View FlipBook Version