The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความวิจัย ธีรวัฒน์ ประเสริฐสังข์ 63040107101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teerawat1410701119581, 2024-01-31 10:10:03

บทความวิจัย ธีรวัฒน์ ประเสริฐสังข์ 63040107101

บทความวิจัย ธีรวัฒน์ ประเสริฐสังข์ 63040107101

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม เรื่อง สิทธิมนุษยชน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยใช กิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TEAM GAMES TOUNAMENTS : TGT) Academic Achievement StudiesCivic Duties culture and social life on human rights of 4th grade students using cooperative learning activities, competitive game group techniques. (Team Games Tounaments : TGT) ธีรวัฒน ประเสริฐสังข0 1 ,และธัชวรรธน หนูแกว)1 2 , Teerawat Prasertsang, and Thachawat Nukaew, สาขาพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, Department of Buddhism, Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University, กลุมหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี กลุมหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี Curriculum and Instruction Group, Faculty of Education, Udon Thani Rajabhat University บทคัดยอ บทคัดยอ การรวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยทางการศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ระหวางกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชวิธีการวิจัยเชิง สำรวจสุมแบบเจาะจง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้วนี้ คือ ประชากรที่ใชในการทำวิจัยในครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบานดุงวิทยา อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีปการศึกษา 2566 จำนวน 10 หองเรียน รวม ทั้งหมด 493 คน ผลการวิจัยพบวา 1. แผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


2 วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกม แขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดไว2. แสดงวา นักเรียนที่ไดรับจัดกิจกรรมการเรียนรูสาระวิชา หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวย กิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอน เรียน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 ซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว3.พบวา ความพึง พอใจในการเรียนรูของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4โดยใชการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน โดยรวมมี ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( X = 4.12) คำสำคัญ: การจัดกิจกรรมการเรียนีรูแบบความรวมมือเทคนิคTGT,ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ABSTRACT This research is an educational research. The objective is to study academic achievement in civic duties. Culture and Social LifestyleGrade 4 students learn with learning activities using cooperative learning, Team Games Tounaments (TGT) techniques, on human rights. During pre-class and post-study using a randomised exploratory research methodology. The sample used in this research is the population used in this research, namely students in grade 4 of Ban Dung Wittaya School. Ban Dung District, Udon Thani Udon Thani Secondary Education Area Office Academic Year 20226 Number of 1 0 classrooms Total 4 93 students The results showed that: 1. Civic Learning Management Plan Using cooperative learning activities, Team Games Tounaments (TGT) on Human Rights to be effective


3 according to the 80/80 criteria , which is higher than the specified threshold 2. This indicates that the students who have been given the activity to learn about civics subjects. Grade 4 students learn with learning activities using cooperative learning, team games tounaments (TGT) techniques. Human Rights There was a statistically significant higher post-study achievement score than before at a level of 05, which is in line with the hypothesis set. 3. It was found that students' satisfaction with learning activities on civics subjects Culture and social life of Grade 4 students using cooperative learning using Team Games Tounaments (TGT) techniques on human rights. Overall, there is a high level of satisfaction. ( X = 4.12) KEYWORDS: Organizing learning activities in cooperation with TGTtechniques, academic achievement Learning Activity Plan ความเปนมาและความสำคัญของปญหา สภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในปจจุบัน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยีสงผลตอการการพัฒนาประชากรในชาติตามไป ดวย การที่คนใน ยุคปจจุบันจะดำเนินชีวิตไดอยางมีความสุข ตองไดรับการพัฒนาไปในทุก ๆ ดาน และสิ่งสำคัญ คือ การพัฒนาคนใหมีคุณภาพ รูสิทธิ หนาที่ เปนพลเมืองที่ดีของสังคม ซึ่งสิ่งที่ สามารถพัฒนาคนไดนั้น คือ การศึกษา เพราะการศึกษาเปนเครื่องมือที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาคน และพัฒนาประเทศ การจัดการศึกษาตองเนนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในทฤษฎี ควบคูไปกับ การลงมือปฏิบัติดวย ตนเอง พรอมทั้งเนนการเรียนรูที่จะดำรงชีวิต เกิดความเขาใจตนเอง เขาใจ ผูอื่น และยอมรับความ แตกตางของสังคมในยุคนี้ไดอยางมั่นคง จึงเปนเรื่องที่มีความจำเปนอยาง ยิ่งโดยจะตองเปนการศึกษาที่มีคุณภาพสามารถพัฒนาใหเด็กเปนคนที่รูจักคิดวิเคราะหรูจักการ แกปญหามีความคิดริเริ่มสรางสรรครูจักการเรียนรูดวยตนเองสามารถทำงานรวมกับผูอื่นได ดังนั้น เปาหมายของการจัดการศึกษาจะตองมุงสรางสรรคสังคมใหมีลักษณะที่เอื้ออำนวยตอการพัฒนา ประเทศชาติ โดยมุงสรางคนหรือผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่มีศักยภาพและความสามารถที่จะ


4 พัฒนาตนเองและสังคมไปสูความสำเร็จได นอกจากนั้นแนวทางการพัฒนาคนดังกลาวมุงเตรียม เด็กและเยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจที่ดีงามมีจิตสาธารณะพรอมทั้งมีสมรรถนะทักษะและความรู พื้นฐานที่จำเปนในการดำรงชีวิตอันจะสงผลตอการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ซึ่งสอดคลองกับ นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขาสูโลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมรักความเป็นไทยมีทักษะการคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์มีทักษะ ด้านเทคโนโลยีสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่าง สันติ(กระทรวงศึกษาธิการ. (2560) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2551 กําหนดให้การศึกษาเป็นกระบวน การเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดการสภาพแวดล้อมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทําได้คิดเป็นแก้ปัญหาเป็นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่นอกจากนี้จุดมุ่งหมายหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ระบุว่าการศึกษา ขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีความเป็นไทย และมีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ให้ ความสําคัญในการพัฒนาพลเมือง ให้รู้จักหน้าที่การเป็นพลเมืองดี มีเหตุผลด้วยกุศลจิต คิด สร้างสรรค์ยึดมั่นคุณธรรม ดําเนินชีวิตอย่างสันติสุข เป้าหมายสําคัญต้องการพัฒนาผู้เรียนให้เป็น พลเมืองดีมีความรู้บูรณาการให้เกิดทักษะกระบวนการทางวิชาการ ทักษะทางสังคม ก่อให้เกิดเจตคติ และค่านิยมที่ดีเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความเป็นมนุษย์ แตสภาพการเรียนการสอนในหองเรียนยังเนนการสงเสริมใหนักเรียนบรรลุจุดมุงหมาย เฉพาะตัว ทำใหเกิดการแขงขันกันเปนรายบุคคลสงผลใหนักเรียนขาดความเอื้อเฟอเผื่อแผขาด คุณลักษณะในการรูจักการทำงานรวมกันไมรูจักบทบาทหนาที่รับผิดชอบตอตนเองและสังคมเปน ผลเสียตอประเทศชาติในอนาคต(กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับแกไข 2560) ซึ่งสอดคลองกับ ชาชิวัฒน ศรีแกว (2559: 21) ไดใหความเห็นวาการมุงเนนแตการแขงขันขาดความรวมมือกันทำ ใหเกิดปญหาดานพฤติกรรมของคนไทยคือไมมีการชวยเหลือเกื้อกูลกันทำใหนักเรียนมี ความสัมพันธในทางสังคมต่ำและยังมีผลเสียตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยลดลงดังเชน ประพันธศิริ สุเสารัจ (2560 : 28) กลาววากระบวนการจัดการเรียนการสอนไมประสบผลสำเร็จ อันเปนผลมาจากคนไมมีประสิทธิภาพ ในการทำงานเปนกลุม ขาดทักษะในการวางแผน การ อภิปราย การคิด และตัดสินใจอยางมีเหตุผลดังนั้นการจัดการเรียนการสอนจึงมุงเนนประโยชน


5 ของผูเรียนเปนสำคัญผูเรียนไดเรียนจากประสบการณจริงฝกปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รูจัก บทบาทหนาที่ มีนิสัยรักการเรียนรูและเกิดการใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่องไปตลอดชีวิตสำหรับ ครูผูสอน ตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและพัฒนาตนเองตลอดเวลาดังที่ สกนธ ชุมทัพ (2562 : 239) กลาววาการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตมุงพัฒนาคนใหมีความรู คูคุณธรรมคิดเปนทำเปน พึ่งตนเองไดรวมทั้งสามารถทำงานรวมกับผูอื่นไดสรรคสรางสังคม ที่สงบสุขมีความรักความเอื้อ อาทรตอเพื่อนมนุษยธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความรอบรูความสามารถที่เปนสากลดำรงไวซึ่ง ความเปนไทยคนที่ไดรับการศึกษาอยางเหมาะสมก็คือ คนที่จะสามารถใชชีวิตไดอยางถูกตองตาม ครรลองคลองธรรมและการไดรับสิ่งดี ๆ ที่เหมาะสม การมีเปาหมายสูงสุดที่จะนำความรูนั้นมาใช ใหเกิดคุณประโยชนตอตนเองและสังคมหรือความสามารถในการเขาใจตนเองและความสามารถ อยูรวมกับผูอื่น กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เปนกลุมสาระการเรียนรูที่มี จุดมุงหมายในการสรางคนใหเปนพลเมืองดีและเปนสมาชิกที่มีคุณคากับสังคมเพื่อใหสามามารถ ดำรงชีวิตอยูรวมกันบนโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วตลอดเวลาการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ซึ่งแตกตางกันอยางหลากหลายการปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดลอมทำใหเปนพลเมืองที่มี ความรับผิดชอบมีความสามารถทางสังคมมีความรูทักษะคุณธรรมและคานิยมที่ดีงามพัฒนา ตนเอง อยูเสมอรวมทั้งบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนแกสังคมสวนรวม ซึ่งมีจุดมุงหมายใหผูเรียนมี ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของมนุษย การมีปฏิสัมพันธระหวางผูคนและระหวางคน กับสิ่งแวดลอม รวมไปถึงการรูจักอดทน อดกลั้น ยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล อันจะสงผล ใหผูเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข เปนพลเมืองที่ดีของประเทศและโลกตอไป (กรมวิชาการ, 2559) ดังเชน อิทธิเดช นอยไม (2560 : 13) ใหความหมายของสังคมศึกษาวา สังคมศึกษา เปนศาสตรความรูที่เกิดขึ้นจากแขนงวิชาทางสังคมศาสตร ที่คัดเลือกมาเพื่อให เหมาะสมกับผูเรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาผูเรียน ใหเปนพลเมืองดีพรอมเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และสามารถอยูรวมกับ ผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุขสาระหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เปน สาระที่วาดวยระบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข สิทธิ หนาที่ เสรีภาพ การดำเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก จะเห็นไดวา เนื้อหาของสาระหนาที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เปนเนื้อหาที่ตองมีการใช


6 ทักษะการคิด โดยเฉพาะทักษะดานการคิดวิเคราะห เชนวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตาม กาลเวลา วิเคราะหบทบาทความสำคัญและความสัมพันธทางสังคม วิเคราะหปจจัยที่กอใหเกิด ความขัดแยงในประเทศ วิเคราะหขอมูลขาวสารทางการเมือง เปนตน นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีความแตกตางระหวางบุคคลเนื่องจากเปนชวง ชั้นที่มี นักเรียนตางโรงเรียนเขามาศึกษาตอจึงทำใหขาดความรวมมือในการทำงาน ซึ่งโรงเรียน บานดุงวิทยาก็เปนโรงเรียนที่ประสบปญหานักเรียนขาดความรวมมือในการทำงานและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในวิชาสังคมศึกษาต่ำ ทั้งนี้การจัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู และมีประสบการณตามจุดมุงหมายที่ตั้งไวนั้นตองอาศัยตัวกลางในการถายทอดความรูชวย กระตุนความตองการของผูเรียน และเปนตัวการสำคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใน กระบวนการเรียนการสอนโดยนำเอาเทคนิค วัสดุ อุปกรณ และวิธีการใชในการถายทอดความรู ทักษะ และเจตคติที่ดีตอการเรียนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเรียนแบบรวมมือเปน เทคนิคที่ชวยใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะการทำงานรวมกัน และชวยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนใหสูงขึ้นได การจัดการเรียนรูโดยการแบงกลุมผูเรียนออกเปนยอยขนาดเล็กที่ประกอบดวยผูเรียนที่ มีระดับความสามารถตางกันจำนวน 4-5 คน โดยเปดโอกาสใหผูเรียนในแตละกลุมรวมแรงรวมใจ กันทำกิจกรรมหรือภาระงานที่ไดรับ มอบหมายรวมกัน ซึ่งจะมีกิจกรรมการแขงขันทางวิชาการ ระหวางกลุมเกิดขึ้นในระหวางการจัดกิจกรรม การเรียนรู โดยความสำเร็จของผูเรียนละคนในกลุม ถือเปนความสำเร็จของกลุมและกลุมที่มีคะแนนสะสม มากที่สุดจะเปนผูชนะ การจัดกิจกรรมการ เรียนรูแบบรวมมือเทคนิคเกมกลุมแขงขัน (TGT) มีองคประกอบ ที่สำคัญจำนวน 4 องคประกอบ ไดแก 1) การนำเสนอเนื้อหาหรือบทเรียนเพื่อเตรียมผูเรียนใหพรอม สำหรับการแขงขันในชั้น เรียน 2) การจัดทีมที่ประกอบดวยผูเรียนที่มีระดับความสามารถแตกตางกัน 3) การแขงขันที่อาจ จัดขึ้นทุก ๆ ปลายสัปดาหหรือทายบทเรียน และ 4) การประกาศยกยองและชมเชย ความสำเร็จ ของผูเรียนแตละกลุม (ธนพร ดวงพรกชกร, 2559 )


7 ดังนั้น จากหลักการและเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เรื่อง สิทธิมนุษยชน โดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบานดุงวิทยา อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี เพื่อเปนแนว ทางการพัฒนาวิธีการสอนและเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู สำหรับการพัฒนาผูเรียน พัฒนา กระบวนการการจัดการเรียนการสอนอันจะทำใหการสอนนั้นมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นและ ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคมโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคมโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 สมมุติฐานของการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบ รวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ขอบเขตของการวิจัย กลุมเปาหมาย 1.1 ประชากรที่ใชในการทำวิจัยในครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบานดุงวิทยา อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อุดรธานีปการศึกษา 2566 จำนวน 10 หองเรียน รวมทั้งหมด 493 คน


8 ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรตน คือ กิจกรรมการเรียนรูโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก 2.3 ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดำเนินชีวิตในสังคมโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน 2.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบ รวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน(Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการทำวิจัยในครั้งนี้เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 หอง 3จำนวน 43 คน โรงเรียนบานดุงวิทยา อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีปการศึกษา 2566 โดยไดมาจากวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน จำนวน 5 แผน 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการ ดำเนินชีวิตในสังคม เรื่อง สิทธิมนุษยชน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ขอ การเก็บรวบรวมขอมูล การดำเนินการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยดำเนินการทดลองและเก็บขอมูลกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบานดุงวิทยา อำเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี การดำเนินการทดลองและเก็บขอมูลในแต ละขั้น มีดังนี้


9 1) เตรียมนักเรียนกอนดำเนินการสอน โดยแนะนำวิธีการเรียนโดยใชกิจกรรมการเรียนรู โดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TGT) ใหนักเรียนมีความรูการสรางขอตกลง เบื้องตนเกี่ยวกับการเรียน ขั้นตอนการเรียนและบทบาทวิธีการปฏิบัติตนในการเรียนสาระวิชา หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ใชเวลา 1 ชั่วโมงในสัปดาหแรกกอนทำการ ทดลอง 2) ทำการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ใชเวลา 1 ชั่วโมงในสัปดาหแรก กอนทำการทดลอง 3) ดำเนินการทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน กับนักเรียนตามแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัย สรางขึ้น จำนวน 5 แผน ใชเวลา 5 ชั่วโมง 4) ทำการทดสอบหลังเรียน (Post-test) หลังจากการทดลองสอนสิ้นสุดลง โดยใช แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตใน สังคม ฉบับเดียวกันกับที่ใชทดสอบกอนการทดลอง โดยใชเวลา 1 ชั่วโมง 5) นำคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการเรียนรูดวยแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชา หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรู แบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TGT) ทำการวิเคราะหดวยวิธีทางสถิติตอไป 6) นำคะแนนที่ไดมาวิเคราะหคาสถิติรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อหาคะแนนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเปรียบเทียบอัตราการสอบ และผลตาง ระหวางผลสัมฤทธิ์กอนการใชการเรียนรูแบบแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TGT) และหลัง การใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (TGT) ในการจัดการเรียนการสอน การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนำคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติพื้นฐาน ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชในการหาคารอยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระวิชาหนาที่พลเมือง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการ เรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT)


10 เรื่อง สิทธิมนุษยชน และประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมสแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร สำเร็จรูปทางสถิติสำหรับวิเคราะหขอมูลทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร ทดสอบสมมติฐาน นำคะแนนที่ไดจากการทำแบบทดสอบมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม เรื่อง สังคมมนุษย ระหวางกอนเรียนและหลังเรียน หลังจากที่ไดรับกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา โดยใช กิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) โดยใชการทดสอบที่แบบไมอิสระ (T-test dependent) ดวยโปรแกรม คอมพิวเตอรสำเร็จรูปทางสถิติสำหรับวิเคราะหขอมูลทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร (PSPP for window) ตารางที่ 1 1 ผลรวมคะแนนระหวางเรียนและคะแนนหลังเรียนจากการจัดการเรียนรูดวย แผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม โดยใช กิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน จากตารางที่ 1 พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวย สิทธิมนุษยชน การเรียนรู โดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ไดคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบยอยจากเกมตาง ๆ ใบงาน ประเมินพฤติกรรม ระหวางเรียน และผลงานนักเรียน เทากับ 53.37 คิดเปนรอยละ 88.95 และทำคะแนนเฉลี่ยจาก การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทากับ 17.65 คิดเปนรอยละ 88.25


11 กิจกรรมการจัดการเรียนรู โดยใชกิจกรรมการ เรียนรูแบบความรวมมือโดยใชเทคนิคกลุมเกมส การแขงขัน(Team Games Tounaments : TGT) ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1. พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้สาระวิชาหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตใน สังคม โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มเกมแข่งขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 86.71/87.56 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสาระวิชาหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิต ในสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มเกมแข่งขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การอภิปรายผล การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนิน ชีวิตในสังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน ปรากฏวา แผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 88.95 /88.25 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กำหนดไวรอยละ 80/80 ที่ตั้ง ไว ทั้งนี้ผูวิจัยไดทำการทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 43 คน ปการศึกษา 2566 โดยทดสอบกอนเรียน แลวจึงทดลองสอนโดยใชแผนการจัดการเรียนรูจำนวน 6 แผน และ ทดสอบยอยจากเกมตาง ๆ ใบงาน การประเมินพฤติกรรมระหวางเรียน และผลงานนักเรียน เมื่อ 1.ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชา หนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต ในสังคม เรื่อง สิทธิมนุษยชน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่ พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง สิทธิ มนุษยชน


12 สอนเสร็จจึงทดสอบหลังเรียนซึ่งเปนชุดเดียวกันกับแบบทดสอบกอนเรียนแลวจึงนำคะแนนมาหา ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตใน สังคม โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สิทธิมนุษยชน การที่แผนการจัดการรูมีประสิทธิภาพสืบเนื่องมาจาก แผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้นไดผานกระบวนการการสรางตามขั้นตอนอยางมีระบบโดย ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อใหทราบมาตรฐานการเรียนรูสาระการเรียนรู ตัวชี้วัด การวัดและ ประเมินผล วิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรูตลอดจนศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการ จัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) นอกจากนี้แผนการจัดการเรียนรูที่ไดผานการทดลองกับกลุมตัวอยาง ผานกระบวนการ กลั่นกรอง ตรวจสอบ และปรับปรุงแกไขจากผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณในการสอนกลุมสาระ การเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ไดทำการตรวจสอบและประเมินแผนการจัดการ เรียนรูจำนวน 3 ทาน กอนจะนำไปใชทดลองจริงซึ่งกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยัง มีการพัฒนาดวยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติและประเมินผลดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การ เรียนและเครื่องมือวัดกระบวนการทักษะการทำงานกลุมและการสรางชิ้นงาน นอกจากนี้การ จัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) ยังเปน วิธีการสอนอีกหนึ่งวิธีที่สามารถชวยใหผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนเนื่องจากมีรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายนาสนใจและเปนรูปแบบการแขงขัน ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ สุชาติ เพ็งหนู (2561 : บทคัดยอ) ไดทำการศึกษาเรื่อง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู แบบรวมมือเทคนิค TGT กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 2 หนาที่ พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ชุดพลเมืองดีตามวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 พบวา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยกลุมรวมมือแบบ TGT มี ประสิทธิภาพ 82.02/81.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว และยังสอดคลองงานวิจัย ปยนาถ สุทธิ ประภา (2560 : บทคัดยอ) ไดทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา เศรษฐศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โดยการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT พบวา การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT วิชาเศรษฐศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 5 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เทากับ 85.10/82.88 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กำหนดไว


13 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือ เทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สังคมมนุษย หลังเรียนสูง กวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เปนไปตามสมมติฐานขอที่ 2 ทั้งนี้เนื่องจาก การจัดกิจกรรมการสอนที่เนนนักเรียนเปนสำคัญมีกระบวนการทำงานเปนกลุม ใชกิจกรรมที่ หลากหลายชวยใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมอยางทั่วถึงและมากที่สุด เปดโอกาส ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ โดยผูเรียนไดรวมมือและชวยเหลือกันเพื่อทำความเขาใจ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทั้งเนื้อหาสาระ กระบวนการทำงานรวมกันเปนกลุม การ สรางสรรคผลงาน การนำเสนอผลงาน ตลอดจนการวิเคราะหและวิจารณผลงานอยางมีเหตุผล ผูเรียนเกิดการเรียนรูจากการปฏิบัติกิจกรรม มีความรับผิดชอบทั้งตนเองและกลุม มีความ กระตือรือรนในการเรียนและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรม พยายามทำความเขาใจกับเนื้อหา การแกปญหา สามารถสรุปขอความรูดวยตนเอง ทำใหบรรยากาศในการเรียนเปนไปดวยดี ปราศจากความ กดดัน สงผลใหผูที่เรียนออนเกิดความมั่นใจวาจะไดรับความชวยเหลือจากเพื่อนที่เกงกวา สวนผูเรียนที่เกงจะไดรับความภาคภูมิใจและการยอมรับตนเอง ซึ่งเหตุผลที่กลาวมา ทำ ใหการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรียนดวย กิจกรรมการเรียนรูโดยใชการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) เรื่อง สังคมมนุษย มีคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 9 และหลังเรียนมี คะแนนเฉลี่ย 17.51 และมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ ทิวาพร อุณยเกียรติ (2559: 45) ที่วาเทคนิคการเรียนรู แบบ TGT เปนวิธีการที่ชวยสรางแรงจูงใจใหนักเรียนชวยเหลือเพื่อนสมาชิกในกลุมใหเกิดการ เรียนรูเห็นความสำคัญของการเรียนและเกิดความสนุกสนานในการเรียนรู มีการเพิ่มการทดสอบ ดวย การแขงขันโดยสมาชิกกลุมเลนเกมทางวิชาการ การแขงขันกับสมาชิกกลุมอื่น เพื่อเพิ่ม คะแนนใหกับ ทีมของตนเอง โดยผูที่ไดคะแนนสูงสุดในแตละครั้ง จะไดคะแนนมาเพิ่มใหกับกลุม ของตนเอง ผูมีผลสัมฤทธิ์สูง และผลสัมฤทธิ์ต่ำของแตละกลุม จะแขงขันกันกลุมที่มีคะแนนจาก การแขงขันสูงที่สุด จัดอยูในกลุมดีเยี่ยมจะไดรับรางวัลตามที่ตกลงกันไวที่สำคัญสมาชิกกลุมแตละ กลุมจะตองชวยเหลือกัน เพื่อเตรียมความพรอมที่จะเลนเกมแขงขันกับสมาชิกกลุมอื่น ๆ และ ขณะที่เลนเกมสมาชิกไมสามารถจะชวยเหลือสมาชิกกลุมของตนเองได ดังนั้นนักเรียนทุกคนมี


14 โอกาสเทาเทียมกันในการทำคะแนน จึงทำใหมีความภาคภูมิใจ มั่นใจในความพยายามและ ความสามารถของตนและเปนผูกระตุนใหนักเรียนกระตือรือรนในการคนควาหาความรูและ ชวยเหลือกันเชนเดียวกับ สุคนธ สินธพานนทและคณะ (2565: 30-31) ไดกลาวถึงลักษณะสำคัญ ของการเรียนรูแบบรวมมือไววา สมาชิกของกลุมมีความแตกตางกัน ในความสามารถทางการเรียน เพศ และ อายุ สมาชิกทุกคนในกลุมจะมีปฏิสัมพันธตอกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีการพึ่งพาอาศัย กำหนดเปาหมายของการเรียนรู การแกปญหารวมกัน การเชื่อมโยง ความรูเดิมกับความรูที่ ตองศึกษา ชวยเหลือสนับสนุนใหกำลังใจซึ่งกันและกันตลอดจนตองใช ทักษะทั้ง 6 คือ ทักษะผูนำ ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการแกปญหาความ ขัดแยง ทักษะการสรางความไววางใจและทักษะการอยูรวมกันในสังคม การเรียนรูแบบรวมมือจึง จะประสบความสำเร็จไดอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ธารินี ธีระพรกิตติกุล (2562 : บทคัดยอ)ไดทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนรูการแขงขันเปนทีม (TGT) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ประเพณีทองถิ่นพระประแดงของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และยัง สอดคลองงานวิจัย ทิวัตถ ภูจำนง (2562 : บทคัดยอ) ไดทำการศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตรที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชวิธี TGT กับ วิธีการสอนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนหลังเรียนโดยใชการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ขอเสนอแนะ ในการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) ควรจัดใหมีเวลาเรียนตอเนื่องสม่ำเสมอ เพราะบางครั้งในระยะเวลา เรียน 1 ชั่วโมง นักเรียนไมสามารถทำงานหรือแขงขันเกมตาง ๆ ไดเสร็จตามเวลาที่กำหนด ทำให ตองเลื่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออกไปอีก 1 ชั่วโมง สงผลตอการจัดการเรียนการสอน ในคาบปกติ และกิจกรรมสวนใหญแผนการจัดการเรียนรูเปนกิจกรรมกลุม นักเรียนตองมีการทำ กิจกรรมรวมกัน ไมสามารถปฏิบัติรายบุคคลได


15 ผูวิจัยควรทดลองสอนในแผนการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิคกลุมเกมแขงขัน (Team Games Tounaments : TGT) กอนทำการทดลองอยางนอย 2-3 ครั้ง เพื่อใหเกิด ความคุนเคยกับการจัดการเรียนรู และชวยเนนย้ำบทบาทของผูเรียนถึงการทำงานรวมกันการ รับผิดชอบรวมกันทำงานกลุมใหสำเร็จและตองควบคุมใหผูเรียนรวมปฏิบัติกิจกรรมรวมกับเพื่อน ในกลุม เอกสารอางอิง กนกทิพย พลเสน. (2551). ผลของการใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบการแขงขัน ระหวางกลุมดวยเกม ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กลุมโรงเรียนสามโก. ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพฯ : กระทรวงฯ จิราพร พุดชา และ ไพศาล สิมาเลาเตา. (2565).การจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค TGT รวมกับ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่องความรูพื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวัดเกาะวังไทร. วิทยานิพนธปริญญาบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม. ณรงค เรืองเกษม. (2566). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศาสนาและวัฒนธรรมและทักษะการทำงานรวมกันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ระหวางกลุมที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบรวมมือโดยใชเทคนิค STAD กับเทคนิค TGT. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา เดือนเพ็ญ สังขงาม. (2562). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยกลุมรวมมือแบบ TGT เรื่องวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2. โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค. ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ :ด่านสุทธาการพิมพ์จํากัด.


16 บรรณานุกรม (ตอ) ศิรินุช รุ่งรวยศร. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษาโดยใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาสังคมศึกษาโดยใ ช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT. โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์. สายใจ ฉิมพาลี. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร3และทักษะ กระบวนการ รหัสวิชา ส 32102 กลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 ที่ไดรับ การจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT. (Placeholder1)ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณทิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. นายสุชาติ เพ็งหนู. (2561). การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT กลุมสาระ การ เรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 2 หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ชุด พลเมืองดีตามวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ชั้น ประถมศึกษาปที่ 3. โรงเรียนเทศบาล 3 (โศภนพิทยาคุณานุสรณ). สุรชัย ขวัญเมือง. 2562. วิธีสอนและการวัดผลคณิตศาสตรในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : เทพ นิมิตรการพิมพ. สุวิทย มูลคํา. (2557). กลยุทธการสอนสังเคราะห. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ. สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคา. (2561). 21 วิธีจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด.กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ. สุวิทย มูลคํา และคณะ. (2559). การเขียนแผนการจัดการเรียนรูที่เนนการคิด. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ. อรพรรณ พรสีมา. (2560) การเรียนแบบรวมมือรวมใจโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โอ.เพส. พริ้นติ้งเฮาส. Anderson, L.W., Krathwohl, D.R., Airasian, P.W., Cruikshank, K.A., Mayer, R.E., Pintrich, P.R., Raths, J., Wittrock, M.C. (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. New York: Pearson, Allyn & Bacon.


Click to View FlipBook Version