The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.คู่มือ ตัวชี้วัด (One Home) ปี 64 (ฉบับสมบูรณ์) ส่งจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanapong.12, 2021-01-22 02:12:29

3.คู่มือ ตัวชี้วัด (One Home) ปี 64 (ฉบับสมบูรณ์) ส่งจ

3.คู่มือ ตัวชี้วัด (One Home) ปี 64 (ฉบับสมบูรณ์) ส่งจ





คำนำ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดยคณะผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับกองตรวจราชการ สำนักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1-11 สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ได้จัดทำคู่มือการ
ขับเคลื่อนทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ตามตัวชี้วัดของกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่มอบหมายให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ดำเนินการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบแนวทางการขับเคลือ่ นทีม พม.
จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) สำหรับจังหวัด ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไป
ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงเพื่อใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน การกำกับ ติดตาม ประเมินผล การพัฒนา
การดำเนินงานทีม พม. จงั หวดั ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกนั (One Home) อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตอ่ ไป

กองตรวจราชการ
สำนกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

พฤศจกิ ายน 2563



สารบญั

หน้า

สว่ นที่ 1 บทนำ 4
ส่วนที่ 2
รายละเอียดตัวชีว้ ัด : ระดับความสำเร็จในการขับเคลือ่ น 8
ส่วนที่ 3 การดำเนินงานทีม พม.จังหวัด (One Home)
ส่วนที่ 4
แนวทางการดำเนินงานตามตวั ช้วี ัด 12

รายชอ่ื หน่วยงานสังกดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและ 37

ความมัน่ คงของมนุษย์ ทีม พม. จงั หวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกนั

(One Home) (จำแนกตามจังหวัดและเขตตรวจราชการ)



ส่วนที่ 1
บทนำ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นองค์กรที่มุ่งมั่นในการ
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อให้บริการอย่างครอบคลุม ทั่วถึง และอำนวยประโยชน์สุขแก่ประชาชน
ทั้งการบริหารราชการส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาระบบบริหารราชการ
ส่วนภูมิภาคที่เน้นการพัฒนาและแก้ไขปัญหาความต้องการและความเดือดร้อนของประชาชน
มุง่ ผลสมั ฤทธิ์ และความคุ้มค่า ประชาชนได้รับประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเปน็ รูปธรรม ซึง่ กระทรวง พม.
มีการกำหนดนโยบายการขับเคลื่อนระดับพื้นที่/จังหวัด (Area Based) ในการบูรณาการการขับเคลื่อน
เป็นทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) อย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๕๙ เป็นต้นมา เป้าหมาย คือ เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
มีเอกภาพ บรรลุตามภารกิจของกระทรวง และเพือ่ ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชน

1. วัตถุประสงค์

การขบั เคลื่อนทีม พม. จังหวดั ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) มีวัตถุประสงค์
ดังน้ี

1. เพื่อให้เกิดการบูรณาการการทำงานของทุกส่วนราชการในสังกัด พม. ในระดับจังหวัด
เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั มีเอกภาพ และปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อบูรณาการนโยบายของส่วนราชการในสังกดั พม. ในจังหวัด และแบ่งปันทรัพยากร
ในการบริหารงานให้เกิดการปฏิบตั ิงานในระดับพื้นทีอ่ ยา่ งเป็นรปู ธรรม บรรลุภารกิจของกระทรวง



2. บทบาท อำนาจหน้าท่ี

ทีม พม. จงั หวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) มีอำนาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. จัดทำแผนปฏิบัติการรายจังหวัด และแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนษุ ย์ ในลักษณะแผนบรู ณาการ
2. ประสาน และจัดระบบการทำงานที่เชื่อมโยง รวมถึงบูรณาการทรัพยากร และพื้นที่
เป้าหมายการทำงานรว่ มกนั เพื่อให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ต่อประชาชน
3. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำเนินงานร่วมกันของทีม พม. จังหวัด ภายใต้
แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ร่วมกับองค์กรเครือข่ายในพื้นที่ และจังหวดั ท้ังภาครฐั ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชน เพือ่ ให้บรรลุภารกิจ และเป้าหมายของกระทรวง ท้ังในเชิงการป้องกนั แก้ไข และพัฒนา
4. ส่งเสริม ประสาน และดำเนินงานร่วมกันในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
และการส่งต่อให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีอำนาจหน้าที่ในการจัดสวัสดิการ
สังคมตามกฎหมาย
5. บูรณาการร่วมกันในการเผยแพร่ ประสัมพันธ์กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนษุ ย์ รวมถึงความก้าวหน้าทางวิชาการ และผลการปฏิบัติงานตา่ ง ๆ ของกระทรวง
6. ปฏิบัติงานรว่ มกบั หรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่นื ทีเ่ กี่ยวข้อง หรอื ที่ได้รับ
มอบหมาย

3. กลไกการขับเคลื่อน

1. แผนบูรณาการ (One Plan) : การจัดทำแผนบูรณาการ (One Plan) ในจังหวัด และ
ขบั เคลือ่ นการทำงานในความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เพื่อประโยชน์สงู สุดของประชาชน

2. การสรา้ งทีม : ทีมงาน พม. จงั หวดั ดำเนนิ งานอยา่ งเป็นเอกภาพ โดยมีพัฒนาสงั คมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) เป็นหัวหน้าทีมในการบูรณาการความร่วมมือของหน่วยงานสังกัด
กระทรวง พม. ในจังหวัด และเป็นผู้นำในภารกิจหลัก และสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ (สสว.)
เป็นพี่เลีย้ ง/ทีป่ รึกษาในการขับเคลือ่ นงาน การสนับสนนุ ด้านวิชาการ

3. การนำแนวคิด/วิธีการ Shared Services มาปฏิบัติ เพื่อลดต้นทุนในการบริหารจัดการ
และให้เกิดการใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มค่า

4. หน่วยงานภาคีเครือขา่ ย



4. นยิ าม

นิยาม
One Home & One Plan หมายถึง ทีมงานระดับจังหวัดที่ทำงานอย่างเป็นเอกภาพ โดยมีพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) เป็นหัวหน้าทีมในการบูรณาการความร่วมมือของหน่วยงาน
ภายในจังหวัด มีแผนและขับเคลื่อนการทำงานในความรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่
ประชาชน
(ทีม่ า : นโยบายกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ “การขบั เคลื่อนระดับพืน้ ที/่ จังหวัด
(Area Based)” ประจำปี ๒๕๖๑, หน้า ๖๖)

5. แนวทางการขบั เคลื่อนการดำเนินงานทมี พม. จังหวัด ภายใตแ้ นวคดิ บ้านเดียวกนั (One Home)

1. จังหวัดจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิด
บ้านเดียวกัน (One Home) โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด หรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย
เป็นที่ปรึกษา และผอู้ ำนวยการสำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ เปน็ ที่ปรึกษาและคณะทำงาน และ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เปน็ ประธานคณะทำงาน รวมถึงผู้แทนหน่วยงานกระทรวง
พม. ในจังหวัด สังกัดกรมต่าง ๆ และเครือข่ายในพื้นที่/จังหวัด เป็นคณะทำงาน โดยมีหัวหน้ากลุ่มนโยบาย
และวิชาการหรือหัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์จังหวัด (สนง.พมจ.) ที่ได้รับมอบหมาย เป็นเลขานุการและคณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ สนง.พมจ.
หรอื หน่วยงานของทีม พม. จังหวดั ที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการและคณะทำงาน

2. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) เป็นผู้นำทีมในการบูรณาการ
ความรว่ มมือของหนว่ ยงาน พม. ภายในจังหวัด

3. คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน
(One Home) ร่วมกันกำหนดกรอบแนวทาง วิธีการ กระบวนการ บทบาท ภารกิจ การขับเคลื่อนทีม พม.
จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ตามบริบทของพื้นที่/จังหวัด โดยการมีส่วนร่วมกับ
เครือข่ายในพื้นที่ เช่น อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนองค์การสวัสดิการชุมชน
ผู้แทนองค์กรสาธารณประโยชน์ ผู้แทนองค์กรปกครองสวนท้องถิ่น เป็นต้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และ
ประโยชนส์ ูงสุดต่อประชาชน โดยมีการดำเนินงานต่าง ๆ ดงั น้ี



3.1 จัดทำแผนงานในลักษณะบูรณาการ/แผนงานเดียวกัน (One Plan) และ
ขบั เคลื่อนการทำงานในความรับผดิ ชอบร่วมกัน

3.2 เชอ่ื มโยงและแบง่ ปัน/บรู ณาการทรพั ยากรในการบริหาร (บุคลากร อาคาร
สถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วสั ดุ อุปกรณ์ ฐานข้อมลู องคค์ วามรู้)

3.3 กำหนดแบ่งพื้นที่รบั ผดิ ชอบอย่างชดั เจน โดยอาจแบ่งเปน็ ตำบล/อำเภอ ท้ังนี้
ขอให้พิจารณาตามความเหมาะสม และสอดคล้องกบั บริบทของพื้นที่/จงั หวดั

3.4 จดั ทำฐานข้อมูลทางสงั คมของจงั หวัดร่วมกนั
3.5 กำกับ ดูแล ติดตาม ให้มีการบูรณาการการดำเนินงานในทุกมิติร่วมกัน
ระหว่างส่วนราชการสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด และ
เครือขา่ ย เพื่อเอือ้ อำนวยตอ่ การขบั เคลือ่ นการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน
(One Home) เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3.6 ประเมินผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิด
บ้านเดียวกัน (One Home) ในภาพรวมของจงั หวดั
4. ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) มีการประชุมร่วมกัน
เป็นประจำ และต่อเนื่อง รวมถึงร่วมแบ่งปันสถานการณ์/ข้อมูล เพื่อให้ทีมได้รับรู้ รับทราบสถานการณ์
อย่างเป็นปัจจุบัน อันจะเอื้อต่อการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงต้องมีการประสานงาน
ติดต่อสื่อสารอย่างสม่ำเสมอ และจัดทำรายงานการประชุมทุกครั้ง เพื่อให้การขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ตามภารกิจ เปน็ ไปอยา่ งราบรน่ื ชดั เจน



สว่ นที่ 2
รายละเอียดตวั ช้วี ดั

รายละเอียดตวั ชีว้ ดั (KPI Template)
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ชือ่ ตัวชีว้ ัด : ระดบั ความสำเร็จในการขับเคลือ่ นการดำเนินงานทีม พม.จังหวดั (One Home)
น้ำหนกั : ร้อยละ 10

ความเชือ่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ /

ประเด็นยุทธศาสตร์/เปา้ หมาย แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ / แผนฯ 12 / นโยบายรฐั บาล
ของกระทรวง/กรม
(√)
ประเด็นยทุ ธศ์ าสตร์ พม.
- ยกระดบั องคก์ รสกู่ ารเป็นผนู้ ำ แผนแมบ่ ทฯ แผนฯ 12 นโยบายรัฐบาล อื่น ๆ
ทางสงั คม
ประเดน็ ยุทธศ์ าสตร์ สป.พม. √ √ √-
- ผนึกกำลงั ทางสังคมจาก
ทกุ ภาคสว่ น การบริการ การปฏิรปู การ
- เพิม่ ขีดความสามารถในการ
พฒั นาระบบการให้บริการ ประชาชนและ บริหารจัดการ
ทางสังคม
ประสิทธิภาพ ภาครฐั

ภาครฐั



ชือ่ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ มูลพืน้ ฐาน (Baseline data) หมายเหตุ
ปี 256๑ ปี 256๒ ปี 256๓ -
ระดบั ความสำเรจ็ ในการขบั เคลือ่ นการ
ดำเนนิ งานทีม พม.จังหวัด (One Home) -- -

คำอธิบาย :

๑. ทีม พม.จังหวัด (One Home) หมายถึง คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม.
จงั หวัด (One Home) หมายถึง คณะทำงานทีม่ ีองค์ประกอบ ดังน้ี ผอู้ ำนวยการสำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ เป็นที่ปรึกษาและคณะทำงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นประธาน ผู้แทน
หน่วยงานสังกัดกระทรวง พม.ทุกหน่วย(รวม พอช.และกคช.) เป็นคณะทำงาน โฆษก พม.ประจำจังหวัด และ
หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย ในสนง.พมจ.ที่ได้รับมอบหมายเป็นคณะทำงานและเลขานุการ เจ้าหน้าที่ สนง.พมจ.
เป็นคณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่กำหนดกรอบและแนวทางการดำเนินงาน กำกับติดตาม
ให้มกี ารบรู ณาการการดำเนินงาน

๒. การขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม.จังหวัด หมายถึง การดำเนินงานที่มีการบูรณาการ
การทำงานร่วมกันของหน่วยงานและเครือข่าย ประกอบด้วย มิติที่ ๑ ปัจจัยนำเข้า (โครงสร้างทีม พม.จังหวัด/
ฐานข้อมูลทรัพยากร) มิติที่ ๒ กระบวนการ(การบูรณาการทรัพยากร/การสื่อสาร/การกำกับติดตาม) มิติที่ ๓
วัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม(การทำงานเป็นทีม/ความสัมพันธ์ของทีม) และมิติที่ ๔ ผลผลิต/ผลลัพธ์
(แผนปฏิบัติการระดบั จงั หวัด/สง่ เสริมสนบั สนนุ /ประสานการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหา)

๓. งาน/โครงการ/กิจกรรม หมายถึง ภารกิจที่ต้องดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานประจำปี
งบประมาณ อำนาจหน้าที่ และทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

การกำหนดคา่ เป้าหมาย : รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)

รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑ์การให้คะแนน

1 มีคำสง่ั แตง่ ตั้งคณะทำงานขับเคลือ่ นการดำเนินงานทีม พม. จงั หวัด (OneHome) และ

มีการจัดทำฐานข้อมูลทรพั ยากร เพื่อเช่อื มโยงและบูรณาการทรพั ยากร ประกอบด้วย

บคุ ลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณ์ ข้อมลู และ

องคค์ วามรู้

หลกั ฐานประกอบ คำสงั่ คณะทำงานขับเคลือ่ นฯ และ ฐานข้อมูลทรัพยากร ในจังหวดั

๑๐

รอบการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ

ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน

2 มีการจดั ประชุมคณะทำงานขบั เคลือ่ นฯ เพือ่ บูรณาการ การทำงานร่วมกนั ภายใน

จังหวัด โดยมีการกำหนดแผนงานในการดำเนินการร่วมกัน ในรอบ 6 เดือน

(อย่างน้อย 3 ครั้ง) ทั้งน้จี ะต้องมีแผนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือ

สังคม 1300 ประจำจงั หวัด รวมอย่ดู ้วย

หลักฐานประกอบ แผนปฏิบตั ิงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน

3 มีการขบั เคลือ่ นงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯร่วมกนั ของ OneHome จงั หวัด

อย่างน้อย ๒ หน่วยงาน และไมน่ ้อยกว่า 10 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ รายงานผลการขบั เคลือ่ นการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย

4 มีการขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯร่วมกนั ของ OneHome จงั หวัด

กบั หน่วยงานอ่นื ภายในจังหวัดหรอื ภายนอกจังหวดั อย่างนอ้ ย 5 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ รายงานผลการขับเคลือ่ นดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พรอ้ มภาพถ่าย

5 มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ในรอบ 6 เดือน

หลักฐานประกอบ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบที่กำหนด

การกำหนดค่าเป้าหมาย : รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. 64 – 30 ก.ย. 64)

รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารให้คะแนน

1 มีการประชุมคณะทำงานขับเคลือ่ นฯ เพือ่ ทบทวนแผนบูรณาการ ในรอบ 12 เดอื น

(อย่างน้อย 3 คร้ัง) ทั้งนีจ้ ะต้องมีแผนการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือ

สงั คม 1300 ประจำจังหวัด รวมอยู่ด้วย

หลกั ฐานประกอบ แผนปฏิบัติงานบรู ณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในรอบ 12 เดอื น

2 มีการขบั เคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯรว่ มกันของ OneHome จงั หวดั

อย่างน้อย ๒ หน่วยงาน และไม่น้อยกว่า 10 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ รายงานผลการขับเคลื่อนการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย

3 มีการขบั เคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯร่วมกนั ของ OneHome จงั หวดั

กบั หนว่ ยงานอน่ื ภายในจังหวดั หรอื ภายนอกจงั หวัด อย่างนอ้ ย 5 กิจกรรม

หลกั ฐานประกอบ รายงานผลการขับเคลือ่ นการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย

๑๑

รอบการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ

ระดับคะแนน คำอธิบายเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

4 มีรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ในรอบ 12 เดือน

หลักฐานประกอบ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบที่กำหนด

5 มีการประเมินประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน และ

มีการถอดบทเรียนการดำเนินงาน

หลักฐานประกอบ รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบตั ิงาน

และการถอดบทเรียนการดำเนินงาน

แหล่งขอ้ มูล/วิธีการจัดเก็บขอ้ มลู :
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/การรายงานผลการดำเนินงาน

ตามแบบที่กำหนด

๑๒

ส่วนที่ 3
แนวทางการดำเนนิ งานตามตวั ชว้ี ัด

รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
รอบ 6 เดือน (1 ต.ค. 63 – 31 มี.ค. 64)

ข้ันตอนท่ี 1 : มีคำสง่ั แต่งตง้ั คณะทำงานขบั เคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จงั หวัด (OneHome) และมีการ
จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร เพื่อเชื่อมโยงและบูรณาการทรัพยากร ประกอบด้วย บุคลากร อาคาร
สถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วสั ดุอปุ กรณ์ ข้อมลู และองคค์ วามรู้

หลักฐานประกอบ 1. คำสั่งคณะทำงานขบั เคลื่อนฯ
2. ฐานข้อมลู ทรพั ยากรในจังหวดั

1.1 คำส่งั แต่งต้งั คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทมี พม. จงั หวัด (One Home)
โครงสร้างของทีม พม. จังหวัด ประกอบด้วย ทุกส่วนราชการในสังกัดกระทรวง

การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัด มีการดำเนินงานและบูรณาการการทำงาน ร่วมกับ
เครือข่ายให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีเอกภาพ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดความคุ้มค่า และ
ประโยชนส์ ุขแก่ประชาชน

จังหวัดดำเนินการแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด
ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกนั (One Home) โดยมีองคป์ ระกอบและอำนาจหน้าที่ ดงั น้ี

๑๓

องค์ประกอบ

คณะทำงานขับเคลือ่ นการดำเนินงานทีมพม.จงั หวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (OneHome)

ประกอบด้วย

๑. ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด หรอื รองผู้ว่าราชการจงั หวดั ที่ได้รับมอบหมาย ทีป่ รึกษา

2. ผอู้ ำนวยการสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ ที่ปรึกษา

3. พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ประธานคณะทำงาน

4. ผแู้ ทนสำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ คณะทำงาน

5. ผแู้ ทนหนว่ ยงานในจังหวัด สงั กัด ดย. เช่น บ้านพักเด็กและครอบครวั จังหวัด คณะทำงาน

6. ผู้แทนหนว่ ยงานในจังหวัด สังกดั พส. เช่น ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่ง คณะทำงาน

7. ผู้แทนหนว่ ยงานในจังหวัด สงั กัด สค. คณะทำงาน

เช่น ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว

8. ผู้แทนหน่วยงานในจังหวัด สงั กัด ผส. คณะทำงาน

เชน่ ศนู ยพ์ ฒั นาการจัดสวสั ดิการสังคมผสู้ งู อายุ

9. ผู้แทนหนว่ ยงานในจงั หวัด สงั กดั พก. คณะทำงาน

เช่น ศนู ย์พัฒนาศักยภาพและอาชีพคนพิการ

10. ผู้แทนหนว่ ยงานในจังหวัด สังกัด กคช. คณะทำงาน

11. ผู้แทนหนว่ ยงานในจังหวดั สังกัด พอช. คณะทำงาน

12. โฆษก พม. ประจำจังหวดั คณะทำงาน

13. อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) คณะทำงาน

14. ผแู้ ทนเครือขา่ ยในพืน้ ที/่ จงั หวัด คณะทำงาน

(จำนวนไม่เกิน 5 คน)

15. หวั หนา้ กลุ่มนโยบายและวชิ าการ หรอื เลขานุการ

หวั หนา้ กลุม่ การพัฒนาสงั คมและสวสั ดิการ สนง.พมจ. และคณะทำงาน

ที่ได้รบั มอบหมาย

16. เจ้าหน้าที่ สนง.พมจ. หรอื หน่วยงานของทีม พม. จังหวดั ผชู้ ่วยเลขานุการและ

ที่ได้รับมอบหมาย คณะทำงาน

(หมายเหตุ : ข้อ 14 ผแู้ ทนเครอื ข่ายในพืน้ ที่/จังหวัด ขอให้จงั หวัด พิจารณาตามความเหมาะสม เช่น ผู้แทน

กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด ผู้แทนองค์กรคนพิการในจังหวัด ผู้แทนองค์กรผู้สูงอายุ

ในจังหวดั ผแู้ ทนเครอื ขา่ ยองคก์ รสาธารณประโยชน์ เป็นต้น)

๑๔

อำนาจหน้าที่
1. กำหนดกรอบแนวทาง วิธีการ กระบวนการ บทบาท ภารกิจ การขับเคลื่อนทีม
พม. จงั หวดั ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ตามบริบทของพื้นที่/จังหวัด ให้เกิดประสิทธิภาพ
2. กำกับ ดูแล ติดตาม ให้มีการบูรณาการการดำเนินงานในทุกมิติร่วมกัน ระหว่าง
ส่วนราชการสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด และภาคี
เครือข่าย เพื่อเอือ้ อำนวยตอ่ การขบั เคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จงั หวดั ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน
(One Home) เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
3. ให้คำปรึกษา แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้
แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home)
4. ดำเนนิ การอ่นื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย
* ผู้วา่ ราชการจงั หวดั หรอื รองผู้ว่าราชการจงั หวดั ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ลงนามในคำสั่งแตง่ ต้ัง
คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวดั ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home)

(หมายเหตุ : องค์ประกอบของคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภา ยใ ต้แ นว คิด บ้านเดียวกัน
(OneHome) ได้ปรับตามข้อเสนอแนะในคราวการประชุมการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ครั้งที่ 1/2564 วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2564
เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม ช้ัน 7 อาคาร ซี.พ.ี ทาวเวอร์ 3 พญาไท)

1.2 การจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร เพื่อเชื่อมโยงและบูรณาการทรัพยากร
ประกอบด้วย บุคลากร อาคารสถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วัสดุอุปกรณ์ ข้อมูล และ
องค์ความรู้

ทมี พม. จังหวดั
ภายใต้แนวคดิ บ้านเดียวกนั (One Home)

บคุ ลากร อาคาร สถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ

วัสดุ อุปกรณ์ ฐานข้อมูล องค์ความรู้

๑๕

1. บุคลากร

บุคลากร หมายถึง บุคลากรในหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ในระดบั จังหวดั อันประกอบด้วย ข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจา้ งประจำ

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการเตรียมการฐานข้อมูล
ด้าน “บุคลากร” ของแตล่ ะหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ระดับจงั หวัด โดยครอบคลมุ ประเด็นที่สำคัญ
เช่น

- จำนวนข้าราชการ พนกั งานราชการ ลกู จา้ งประจำ ตอ่ กลุ่ม/ฝา่ ย
- ความสามารถ/ความเชี่ยวชาญพิเศษ (ความเชี่ยวชาญในพื้นที่/ภาษา/การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ/ความถนัดในสายงาน เช่น นโยบาย ยุทธศาสตร์ การวิจัย งานวิชาการ การประชาสัมพันธ์
การลงพ้ืนที่ การพบปะมวลชน)
- การมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์และวิชาชีพอื่น ๆ (จำนวนนักสังคม
สงเคราะห์รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556 และตามพระราชบัญญัติ
วิชาชีพอ่นื ๆ)
- การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ เช่น พระราชบัญญตั ิ
คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไข
เพิม่ เติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558 และ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ.2560 พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองผถู้ ูกกระทำด้วยความ
รุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน
พ.ศ. 2559 เปน็ ต้น ดังภาพ

บุคลากร

ทมี พม. จังหวัด ฐานขอ้ มูล/
(One Home) ทำเนียบ
บคุ ลากร

1. จำนวนข้าราชการ พนักงานราชการ ลกู จา้ งประจำตอ่ กลุม่ /ฝา่ ย

2. ความสามารถ/ความเช่ยี วชาญพิเศษ (ความเช่ยี วชาญในพืน้ ที่ ความเชี่ยวชาญ

เฉพาะด้านภาษา ความถนัดในสายงาน ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ)

3. การมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหแ์ ละวชิ าชีพอ่ืน ๆ

4. การปฏิบัติหนา้ ที่ของพนักงานเจ้าหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ิตา่ ง ๆ

๑๖

ตัวอย่าง
แบบข้อมลู ทรพั ยากร ด้านบคุ ลากร

จังหวัด .................................... รวม

หน่วยงาน ....................................
สังกัดกรม  1) สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

 2) กรมกิจการเด็กและเยาวชน
 3) กรมกิจการผู้สูงอายุ
 4) กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั
 5) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
 6) กรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ
 7) สถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน)
 8) การเคหะแหง่ ชาติ

ประเภท บุคลากร
ประเภท ข้าราชการ ลูกจา้ งประจำ พนกั งาน พนักงาน จา้ งเหมา
ราชการ กองทนุ บริการ

จำนวน

รายละเอียด (รายบุคคล)

1. ชือ่ ………………………………………………………… นามสกุล ....................................

2. เพศ  ชาย  หญิง

3. อายุ …………… ปี

4. วฒุ ิการศึกษา (ระบุชื่อเต็มของวุฒกิ ารศกึ ษา) ............................................

5. ตำแหน่ง ........................................................................................

6. บัตรประจำตวั พนักงานเจ้าหนา้ ที่ ตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ .....................................................

7. ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ (ถ้ามี) เลขที่ .............................................................

๑๗

8. สาขาความชำนาญในการทำงานร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย

 เดก็  เยาวชน  สตรี  คนพิการ  ผู้สูงอายุ  ผดู้ ้อยโอกาส  คนไร้ทีพ่ ึ่ง

 อื่น ๆ (ระบ)ุ .........................................................................

9. ความเชี่ยวชาญด้านภาษาต่างประเทศ

- ภาษาองั กฤษ  ดีมาก  ดี  พอใช้

- ภาษาจีน  ดีมาก  ดี  พอใช้

- ภาษาญี่ปุน่  ดีมาก  ดี  พอใช้
- ภาษาพม่า  ดีมาก  ดี  พอใช้

- ภาษาลาว  ดีมาก  ดี  พอใช้

- ภาษาเวียดนาม  ดีมาก  ดี  พอใช้

- อื่น ๆ (ระบุ) ...........................................  ดีมาก  ดี  พอใช้

10. ความสามารถด้าน IT ……………………..……….  ดีมาก  ดี  พอใช้

11. ความสามารถพิเศษอื่น ๆ .......................................................................................

12. รางวัลที่ได้รับ ........................................................................................................

13. ผลงานโดดเด่น .....................................................................................................

14. ประเภทงานที่ถนัด ................................................................................................

2. อาคาร สถานท่ี
อาคาร สถานที่ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างถาวร วัสดุอุปกรณ์ที่ติดตั้งทั้งภายในและภายนอก

อาคาร และบริเวณโดยรอบ เช่น อาคาร ถนน ที่จอดรถ ลานกิจกรรม ห้องฝึกอาชีพ ฯลฯ ของหน่วยงาน
สังกัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ในระดับจังหวดั

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการเตรียมการฐานข้อมูล
ด้าน “อาคาร สถานที่” ของแตล่ ะหน่วยงานในสงั กดั กระทรวง พม. ระดบั จงั หวดั ซึ่งเปน็ ประโยชน์ต่อการใช้
ทรัพยากรร่วมกนั เชน่ หอ้ งประชุมทีม่ ีความเปน็ สดั ส่วน หอ้ งสอบข้อเทจ็ จริงและให้คำปรึกษาแก่ผู้ใช้บริการ
ลานอเนกประสงค์/พื้นที่สำหรับการจดั งาน/บริการประชาชน/พืน้ ที่โลง่ หอ้ งกิจกรรม หอ้ งฝึกอาชีพ สถานที่
สำหรับคัดแยกเหยือ่ ฯลฯ

๑๘

ตัวอย่าง
แบบขอ้ มลู ทรัพยากร ด้านอาคาร สถานท่ี

จังหวัด ....................................

หน่วยงาน ....................................

สงั กัดกรม  1) สำนักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 2) กรมกิจการเดก็ และเยาวชน
 3) กรมกิจการผู้สูงอายุ
 4) กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครวั
 5) กรมพัฒนาสังคมและสวสั ดิการ
 6) กรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ
 7) สถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (องคก์ ารมหาชน)
 8) การเคหะแห่งชาติ

รายละเอียด

1. ชื่ออาคาร.......................................................................กอ่ สร้างปี พ.ศ. ...................

หน่วยงานเจา้ ของอาคาร ....................................................................................................

2. ระดับความพร้อมและความปลอดภัยในการรองรับผู้ประสบปัญหาทางสงั คมในกระบวนการ

ต่าง ๆ

 ไม่พร้อม  พร้อม
3. จำนวนหอ้ งที่สามารถใช้ร่วมกนั

3.1 หอ้ งประชมุ ..............หอ้ ง บรรจคุ นได้..................... คน

3.2 หอ้ งรบั รอง...............ห้อง บรรจุคนได้..................... คน

3.3 หอ้ งพกั ........... ห้อง พักเดีย่ ว ............ หอ้ ง พกั กลุ่ม ............ หอ้ ง พักรวม ......... หอ้ ง

3.4 หอ้ งน้ำ ............. หอ้ ง หอ้ งอาบน้ำ......... ห้อง หอ้ งสว้ ม ............ หอ้ ง หอ้ งรวม ...... หอ้ ง

3.5 หอ้ งเกบ็ ของ ..............หอ้ ง ขนาด...................ตารางเมตร

3.6 หอ้ งอาหาร ..................... หอ้ ง รองรบั ได้ ............................ คน

3.7 หอ้ งครัว ....................... หอ้ ง

๑๙

3.8 หอ้ งกิจกรรม ................................. ห้อง
3.๙ พืน้ ทีโ่ ลง่ ................................. ตารางเมตร
4. เจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภยั  มี  ไมม่ ี
5. กลุ่มเป้าหมายที่รองรบั

 เดก็  เยาวชน  สตรี  คนพิการ
 ผสู้ ูงอายุ  ผดู้ ้อยโอกาส  คนไร้ทีพ่ ึ่ง  อืน่ ๆ (ระบ)ุ ......................

3. งบประมาณ

งบประมาณ หมายถึง จำนวนเงินที่หน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัด ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานปลัดกระทรวง และกรมต่าง ๆ
ของกระทรวง พม.

งบประมาณเปน็ ปจั จัยพื้นฐานทีเ่ อื้ออำนวยต่อการปฏิบตั ิงานในระดบั พืน้ ที่/จังหวัดให้เป็นไป
อยา่ งราบร่นื บรรลุเป้าหมาย ซึง่ จะต้องมีการใชจ้ ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ให้เกิดประโยชน์ คุ้มคา่ และ
มีประสิทธิภาพ โดยทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการหารือ/ประชุม
ในเรื่องแผนงาน โครงการ และ “งบประมาณ” ของแต่ละหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ระดับจังหวัด
และพิจารณา แผนงาน โครงการ งบประมาณ ที่สามารถบูรณาการหรือดำเนินงานร่วมกันได้ โดยระบุ
ประเด็นที่มคี วามสำคญั เช่น

- รายละเอียด แผนงาน โครงการ งบประมาณ
- บูรณาการแผนงาน โครงการ งบประมาณของทีม พม. จังหวัด โดยพิจารณาถึงความ
สอดคล้อง สนับสนุนการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ และพิจารณาตามวาระเร่งด่วนของจังหวัด/
อำเภอ/พื้นที่ อย่างเหมาะสม จำเป็น รวมถึงมีความยืดหยุ่น คล่องตัวในการดำเนินงาน และการเบิกจ่าย
งบประมาณอยา่ งรวดเรว็ เพือ่ แก้ไขปัญหาในพืน้ ที่ได้อย่างทันท่วงที

๒๐

4. ยานพาหนะ

ยานพาหนะ ในที่นี้ หมายถึง ยานพาหนะรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ของหน่วยงานสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัดที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงาน
ปลดั กระทรวง และกรมตา่ ง ๆ ของกระทรวง พม.

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการเตรียมการข้อมูล
ด้าน “ยานพาหนะ” ที่สามารถใช้งานได้จริงของแต่ละหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ระดับจังหวัด
โดยครอบคลุมประเด็นสำคัญ เช่น ประเภท/จำนวน/ทะเบียนยานพาหนะรถยนต์ที่สามารถใช้งานได้ตาม
เกณฑ์มาตรฐานของสำนักงบประมาณ พนักงานขับรถยนต์ การเชื่อมโยงฐานข้อมูลยานพาหนะกับพื้นที่
รับผิดชอบ พืน้ ที่เฉพาะกิจ (เช่น พืน้ ที่ประสบภยั พิบัติ/เสี่ยงภยั )

ดังภาพ ฐานขอ้ มูล พื้นท่เี ฉพาะกิจ
พื้นท่ีรับผิดชอบ ยานพาหนะ

๒๑

ตัวอย่าง

แบบข้อมูลทรัพยากร ด้านยานพาหนะ

จงั หวัด ....................................
หนว่ ยงาน ....................................
สังกดั กรม  1) สำนกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

 2) กรมกิจการเดก็ และเยาวชน
 3) กรมกิจการผู้สูงอายุ
 4) กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั
 5) กรมพัฒนาสงั คมและสวัสดิการ
 6) กรมส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ
 7) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
 8) การเคหะแห่งชาติ
ประเภทยานพาหนะ (ทุกคนั )
1. ประเภทรถมอเตอรไ์ ซต์
 คนั ที่ 1 ยี่ห้อ ...............................................................................................

เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายกุ ารใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซอ่ มแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน
 คันที่ 2 ยี่หอ้ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวัด .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายกุ ารใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซ่อมแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน

๒๒

2. ประเภทรถยนต์
 คนั ที่ 1 ยีห่ ้อ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวัด .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายุการใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซ่อมแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน
 คนั ที่ 2 ยี่หอ้ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายกุ ารใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซอ่ มแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน

3. ประเภทรถตู้
 คนั ที่ 1 ยีห่ ้อ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายุการใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซ่อมแซม  หมดอายุการใช้งาน
 คนั ที่ 2 ยี่หอ้ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายุการใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซ่อมแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน

4. ประเภทอืน่ ๆ (ระบ)ุ ............................................................................................
 คนั ที่ 1 ยีห่ ้อ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายกุ ารใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซ่อมแซม  หมดอายุการใช้งาน

๒๓

 คนั ที่ 2 ยีห่ อ้ ...............................................................................................
เลขทะเบียนรถ ......................... จังหวดั .......................................................
จดทะเบียน ปี พ.ศ. .........................................................................................
อายกุ ารใช้งาน ........................... ปี
สมรรถนะ  ปกติ  ต้องซอ่ มแซม  หมดอายกุ ารใช้งาน

5. วสั ดุ อปุ กรณ์

วัสดุ อุปกรณ์ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัด ประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์
กระเป๋าหิ้ว เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องฉาย LCD เครื่องขยายเสียงเคลื่อนที่ ชุดประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่
ระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Web Conference) เปน็ ต้น

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกนั (One Home) ควรมีการเตรียมการข้อมลู ด้าน
“วัสดุ อุปกรณ์” ที่สามารถใช้งานได้จริงของแต่ละหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ระดับจังหวัด และ
จัดทำ “ฐานข้อมูล” ร่วมกัน โดยระบุประเด็นที่มีความสำคัญ เช่น จำนวนคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว
(Note Book) เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องฉาย LCD เครื่องขยายเสียงเคลื่อนที่ ชุดประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่
ระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Web Conference) เปน็ ต้น

๒๔

ตวั อยา่ ง

แบบขอ้ มลู ทรัพยากร ด้านวัสดุ อปุ กรณ์

จงั หวัด ....................................
หนว่ ยงาน ....................................
สังกดั กรม  1) สำนักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์

 2) กรมกิจการเดก็ และเยาวชน
 3) กรมกิจการผู้สูงอายุ
 4) กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครัว
 5) กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ
 6) กรมส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการ
 7) สถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน (องคก์ ารมหาชน)
 8) การเคหะแห่งชาติ
รายละเอียด
1. อุปกรณก์ ารสื่อสาร/อปุ กรณ์สำนักงาน
 โทรศัพท์ .... เครื่อง
 โทรสาร ...... เครื่อง
 คอมพิวเตอร์ ..... เครื่อง
 ปริน้ เตอร์ ...... เครือ่ ง
 วสั ดุสำนกั งาน ...... ชดุ
 อืน่ ๆ (ระบุ) .......................

๒๕

6. ฐานขอ้ มลู

ฐานข้อมูล หมายถึง ข้อมูลที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานสังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในจังหวัด โดยเป็นข้อมูลที่ครบถ้วนตามการใช้งาน ถูกต้อง
เทีย่ งตรง และเชอ่ื ถือได้ เพือ่ ประโยชน์ในการป้องกนั แก้ไข เฝา้ ระวงั ทางสงั คม

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการเตรียมการ
“ฐานข้อมลู ” โดยเฉพาะอย่างยิ่งฐานข้อมลู ทางสงั คม ซึง่ ทุกหน่วยงานในสังกดั กระทรวง พม. ระดับจังหวัด
จัดทำเป็นฐานข้อมลู เดียว (One Data) และครอบคลุมทุกมิติ/สถานการณ์ทางสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมาย และ
เชงิ ประเด็น โดยข้อมลู ควรมีความทันสมัย และนา่ เชื่อถือ มีเอกภาพ บรู ณาการทกุ หน่วยงาน เพื่อนำข้อมูล
มาใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนา แก้ไขปญั หาความเดือดร้อน ความตอ้ งการของประชาชนในพืน้ ที่อย่างรวดเร็ว
ทันที

นอกจากนี้ ควรประยุกต์การนำข้อมูลทางสังคมจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องนำมาใช้
ประโยชน์ เช่น ระบบข้อมูลแผนที่ทางสังคม (Social Map) ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคน
แบบชเี้ ป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) เป็นต้น มาใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั
หมายเหตุ :
(๑) ระบบข้อมูลแผนที่ทางสังคม (Social Map) กระทรวง พม. ดำเนินการตามนโยบายการจัดการข้อมูล
ขนาดใหญ่ (Big Data) ของรัฐบาล เพื่อยกระดับการเป็นเจ้าภาพด้านสังคม และพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ด้านสังคม ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงภายใน/ภายนอกกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อ (๑) พัฒนาระบบข้อมูลทางสังคมที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบนั (2) บูรณาการข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนที่ทางสังคม (Social Map) และดัชนีชี้วัดทางสังคม (3) เป็นข้อมูล
ให้ผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ การพัฒนาสังคม การจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยกรอบ
การวิเคราะห์และนำเสนอระบบข้อมูลแผนที่ทางสังคม (Social Map) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่
(1) หัวหน้าครวั เรือน (2) ครวั เรือน (3) ผปู้ ระสบปญั หาภาพรวม (๔) แยกประเภทตามเป้าหมาย
(ทีม่ า : http://www.m-society.go.th)
(๒) TPMAP คือ ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics
Platform) ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอดจากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai Poverty Map
and Analytics Platform) ให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้น เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ
การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการชีเ้ ป้าความยากจนไว้ด้วย TPMAP
จึงสามารถใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ

๒๖

หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น ซึ่งทำให้การแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้นและสามารถ
ออกแบบนโยบาย โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับความต้องการหรือสภาพปัญหาได้ โดย TPMAP
เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และ
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
(ที่มา : https://www.tpmap.in.th)

- ตวั อย่าง -
แนวทางการจดั ทำฐานขอ้ มลู ทางสังคมของจงั หวัดร่วมกนั

แนวทางการจัดทำฐานข้อมูลทางสงั คมของจังหวดั ร่วมกัน มีดังนี้
1. คณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน
(One Home) ในระดับจังหวัด กำหนดให้มีการประชุมทีม พม. จังหวัด ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ
ภาคีเครือข่าย เพื่อจัดทำฐานข้อมูลทางสังคมของจังหวัดร่วมกัน เป็นฐานข้อมูลเดียว และสามารถใช้
ประโยชน์ร่วมกันได้ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่แตล่ ะหน่วยงานมกี ารจดั เกบ็ ข้อมูลจากมาตรฐานข้อมูลกลาง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ที่ครอบคลุมภารกิจของกระทรวงฯ และสอดคล้องกับ
สถานการณป์ ัจจบุ ัน โดยนำมาวิเคราะห์ จดั ทำเปน็ ฐานขอ้ มูลทางสงั คมของจงั หวดั รว่ มกนั
2. ฐานขอ้ มลู ทางสังคมของจงั หวดั ประกอบด้วย

2.1 ข้อมูลบริบทของจังหวัด ได้แก่ จำนวนประชากร สุขภาพ การศึกษา แรงงาน
การมีงานทำและรายได้ วัฒนธรรม ที่อยู่อาศัย กลุ่มเป้าหมายทางสังคม ทุนทางสังคม สิ่งแวดล้อม บริบท
ของพื้นที่ เป็นต้น

2.2 ข้อมลู กลุ่มเป้าหมายทางสงั คม
- ข้อมูลด้านเด็กและเยาวชน ได้แก่ จำนวนเด็กและเยาวชนของจังหวัด ข้อมูลเด็ก

เร่ร่อน เด็กที่ถูกทอดทิ้ง เด็กในครอบครัวยากจน เด็กที่ถูกกระทำความรุนแรงประเภทต่าง ๆ เด็กที่เป็น
เหยื่อการค้ามนุษย์ เด็กและเยาวชนที่ประกอบอาชญากรรม เด็กและเยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา
การตง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อมของเด็กและเยาวชน ข้อมูลเงนิ อดุ หนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ข้อมูลสภาเด็กและ
เยาวชนตำบล อำเภอ และจงั หวดั ข้อมูลสถานรบั เลีย้ งเด็กเอกชน เป็นต้น

- ข้อมูลด้านสตรีและครอบครัว ได้แก่ ข้อมูลสตรีที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ข้อมูล
สตรีที่ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้อมูลความรุนแรงในครอบครัว ข้อมูลลักษณะครอบครัว ข้อมูล

๒๗

ศูนยพ์ ัฒนาครอบครัวในชุมชน ข้อมูลศูนยป์ ฏิบตั ิการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัวระดับ
ตำบล (ศปก.ต.) เป็นต้น

- ข้อมูลด้านผู้สูงอายุ ได้แก่ ข้อมูลแนวโน้มผู้สูงอายุของจังหวัด จำนวนและอัตรา
ผู้สูงอายุ ข้อมูลผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง ผู้สูงอายุที่ยากจน/อยู่ในภาวะยากลำบาก ผู้สูงอายุที่พิการ ผู้สูงอายุ
ที่ต้องรับภาระเลี้ยงดูบุตรหลาน ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการภาครัฐ ข้อมูลเงินทุนประกอบอาชีพ
สำหรับผู้สูงอายุ ข้อมูลโรงเรียนผู้สูงอายุ ข้อมูลศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
(ศพอส.) เป็นต้น

- ข้อมูลด้านคนพิการ ได้แก่ จำนวนและอัตราส่วนของคนพิการต่อประชากร
ในจังหวัด ข้อมูลองค์กรด้านคนพิการจงั หวัด ข้อมูลการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก ข้อมูลการเข้าถึงบริการ
ภาครัฐของคนพิการ ข้อมูลด้านการประกอบอาชีพและเงินทุนเพื่อการประกอบอาชีพสำหรับคนพิการ
ข้อมลู การจา้ งงานคนพิการในสถานประกอบการ เป็นต้น

- ข้อมูลผู้ด้อยโอกาส และผู้ประสบปัญหาทางสังคม ได้แก่ อัตราผู้ด้อยโอกาส
ตอ่ ประชากรในพืน้ ที่ ข้อมูลคนไร้ทีพ่ ึ่ง ขอทาน ข้อมลู การลงทะเบียนเพื่อสวสั ดิการแห่งรฐั เป็นต้น

2.3 ข้อมูลเชิงประเด็น ได้แก่ ข้อมูลความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ข้อมูลด้านการค้ามนุษย์
ข้อมูลความเสมอภาคระหว่างเพศ ข้อมูลการมีงานทำและรายได้ ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้
น้อย ทุนทางสังคม ความยากจน อาชญากรรม ยาเสพติด เป็นต้น โดยเป็นข้อมูลที่เอื้อต่อการดำเนินงาน
ด้านการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์

* ข้อมูลดังกล่าวข้างต้น พิจารณาตามความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ และ
หากเป็นไปได้ ควรมีการจำแนกเป็นรายพื้นที่ ตำบล และอำเภอ เพื่อประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย
วางแผนการดำเนินงานโครงการ กิจกรรม ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์/สภาพปัญหา
ความตอ้ งการ จำนวนกล่มุ เป้าหมาย รวมถึงบริบทของพื้นที่
หมายเหตุ :

1. จังหวัดสามารถนำ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ตั ว ชี้ วัด (KPI Template) ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่ต้องดำเนินงานใน “ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนงานสู่การเป็นศูนย์ข้อมูล
ทางสงั คมของจังหวัด” มาใช้ในการดำเนินงานด้านฐานขอ้ มลู ได้

2. จังหวัดสามารถนำ แนวทางการจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมและ
คาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ประจำปี ๒๕๖๔ ที่สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 1 – 11 กำหนด มาเปน็ กรอบในการจัดทำฐานข้อมูลทางสังคมของจงั หวดั รว่ มกนั ได้

๒๘

7. องค์ความรู้

ทีม พม. จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) ควรมีการจัดประชุมทีม พม.
จังหวัด ภายใต้แนวคิดบ้านเดียวกัน (One Home) เป็นประจำ และต่อเนื่อง เพื่อร่วมแบ่งปันสถานการณ์/
ข้อมูล องค์ความรู้ทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน และให้ทีมได้รับรู้ รับทราบสถานการณ์ ข้อมูล รวมถึง
การขับเคลื่อนการดำเนินงานในจังหวัด อย่างเป็นปัจจุบัน อันจะเอื้อต่อการดำเนินงานได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ ต่อไป

ขั้นตอนที่ 2 : มีการจัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ เพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันภายในจังหวัด
โดยมีการกำหนดแผนงานในการดำเนินการร่วมกันในรอบ 6 เดือน (อย่างน้อย 3 ครั้ง) ทั้งนี้ จะต้องมี
แผนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลอื สังคม 1300 ประจำจังหวัด รวมอยู่ด้วย

2.1 จังหวัดจัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ พร้อมจัดทำ “รายงานการประชุม”
ในทุกคร้ัง (อยา่ งน้อย 3 ครั้ง)

2.2 คณะทำงานขับเคลื่อนฯ จัดทำแผนปฏิบัติงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน

๒๙

- ตัวอย่าง -
แผนปฏิบตั ิงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน

(แผนงานในการดำเนินงานร่วมกัน)

จงั หวัด .............................................................................

ที่ โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยงาน เป้าหมาย ระยะเวลา พื้นทด่ี ำเนินการ งบประมาณ
(หน่วยนบั ) ดำเนินการ (อำเภอ/ตำบล/
(วัน/เดือน/ปี)
1 หมู่บ้าน)
2
3
4
5
6
7
8
9
10

หลกั ฐานประกอบ 1. รายงานการประชุมคณะทำงานขบั เคลือ่ นฯ
2. แผนปฏิบตั ิงานบรู ณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน

๓๐

ขั้นตอนที่ 3 : มีการขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯ ร่วมกันของ One Home จังหวัด
อยา่ งน้อย 2 หนว่ ยงาน และไม่น้อยกว่า 10 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถา่ ย

ข้ันตอนท่ี 4 : มกี ารขบั เคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ระหว่างทีม One Home จังหวัด กับหน่วยงานอื่น
ภายในจงั หวดั /ภายนอกจังหวัด อยา่ งน้อย 5 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถา่ ย

ขั้นตอนท่ี 5 : มกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผน ในรอบ 6 เดือน

หลกั ฐานประกอบ - รายงานผลการดำเนินงานตามแบบทีก่ ำหนด

๓๑

- ตัวอย่าง -
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ในรอบ 6 เดือน

ท่ี รายละเอียดตามตัวชีว้ ดั ดำเนินงาน ไม่ หลกั ฐาน หมาย

ดำเนินงาน ประกอบ เหตุ

(✓) (✓)

1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการ 1. คำสงั่

ดำเนินงานทีม พม. จังหวัด (One Home) มีการ คณะทำงาน

จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร เพื่อเชื่อมโยงและ ขับเคลือ่ นฯ

บูรณาการทรัพยากร ประกอบด้วย บุคลากร 2. ฐานข้อมลู

อาคารสถานที่ งบประมาณ ยานพาหนะ วัสดุ ทรัพยากร

อปุ กรณ์ ข้อมูล และองคค์ วามรู้ ในจังหวดั

2 มีการจัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ 1. รายงานการ

เพื่อบูรณาการ การทำงานร่วมกันภายใน ประชมุ

จังหวัด โดยมีการกำหนดแผนงานในการ คณะทำงาน

ดำเนินการร่วมกัน ในรอบ 6 เดือน ขบั เคลือ่ นฯ

(อยา่ งน้อย 3 ครง้ั ) 2. แผนปฏิบตั ิ

งานบรู ณาการ

ประจำปี

งบประมาณ

พ.ศ.2564

ในรอบ

6 เดอื น

3 มีการขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม รายงานผลการ
ตามแผนฯ ร่วมกันของ One Home จังหวดั ดำเนินงาน
อยา่ งน้อย 2 หน่วยงาน และไม่น้อยกว่า โครงการ/
10 กิจกรรม กจิ กรรม
พรอ้ มภาพถา่ ย

๓๒

ท่ี รายละเอียดตามตวั ชี้วัด ดำเนินงาน ไม่ หลกั ฐาน หมาย

ดำเนินงาน ประกอบ เหตุ

(✓) (✓)

4 มีการขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม รายงานผลการ

ระหว่างทีม One Home จังหวัด กับ ดำเนินงาน
หนว่ ยงานอนื่ ภายในจังหวัด/ภายนอกจังหวัด โครงการ/
อย่างน้อย 5 กิจกรรม กจิ กรรม
พรอ้ มภาพถา่ ย

5 มีการรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผน รายงานผลการ

ในรอบ 6 เดือน ดำเนินงานตาม
แบบท่กี ำหนด

๓๓

รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
รอบ 12 เดือน (1 เม.ย. 64 – 30 ก.ย. 64)

ขั้นตอนที่ 1 : มีการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ เพื่อทบทวนแผนบูรณาการ ในรอบ 12 เดือน
(อย่างน้อย 3 ครั้ง) ทั้งนี้ จะต้องมีแผนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300
ประจำจงั หวัด รวมอยดู่ ้วย

- ตัวอยา่ ง -
แผนปฏิบัติงานบูรณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในรอบ 6 เดือน

(แผนงานในการดำเนินงานร่วมกัน)

จงั หวัด .............................................................................

ที่ โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยงาน เป้าหมาย ระยะเวลา พืน้ ทด่ี ำเนินการ งบประมาณ
(หนว่ ยนบั ) ดำเนินการ (อำเภอ/ตำบล/
(วัน/เดือน/ปี)
1 หมู่บ้าน)
2
3
4
5
6
7
8
9
10

หลกั ฐานประกอบ 1. รายงานการประชมุ คณะทำงานขบั เคลือ่ นฯ
2. แผนปฏิบตั ิงานบรู ณาการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในรอบ 12 เดือน

๓๔

ข้นั ตอนท่ี 2 : มีการขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯ รว่ มกันของ OneHome จงั หวดั
อย่างน้อย 2 หน่วยงาน และไม่น้อยกวา่ 10 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถ่าย

ขั้นตอนท่ี 3 : มกี ารขับเคลื่อนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนฯ ร่วมกันของ OneHome จังหวัด
กับหนว่ ยงานอ่นื ภายในจังหวดั /ภายนอกจังหวัด อย่างน้อย 5 กิจกรรม

หลักฐานประกอบ - รายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม พร้อมภาพถา่ ย

ข้ันตอนท่ี 4 : มกี ารรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผน ในรอบ 12 เดือน

หลักฐานประกอบ รายงานผลการดำเนินงานตามแบบทีก่ ำหนด

- ตัวอย่าง -
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ในรอบ 12 เดือน

ท่ี รายละเอียดตามตัวชีว้ ดั ดำเนินงาน ไม่ หลกั ฐาน หมาย

ดำเนินงาน ประกอบ เหตุ

(✓) (✓)

1 มีการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ 1. รายงานการ

เพื่อทบทวนแผนบูรณาการ ในรอบ 12 เดือน ประชุม

(อย่างน้อย 3 ครั้ง) ทั้งนี้ จะต้องมีแผนการ คณะทำงาน

ขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือ ขบั เคลือ่ นฯ

สงั คม 1300 ประจำจังหวดั รวมอยู่ด้วย 2. แผนปฏิบตั ิ

งานบูรณาการ

ประจำปี

งบประมาณ

พ.ศ.2564

๓๕

ท่ี รายละเอียดตามตัวชีว้ ดั ดำเนินงาน ไม่ หลักฐาน หมาย

ดำเนินงาน ประกอบ เหตุ

(✓) (✓)

ในรอบ

12 เดือน

2 มีการขับเคลือ่ นงาน/โครงการ/กจิ กรรม รายงานผลการ

ตามแผนฯ ร่วมกันของ OneHome จังหวัด ดำเนินงาน

อยา่ งน้อย 2 หนว่ ยงาน และไม่น้อยกว่า โครงการ/

10 กจิ กรรม กจิ กรรม

พรอ้ มภาพถา่ ย

3 มีการขบั เคลื่อนงาน/โครงการ/กจิ กรรม รายงานผลการ

ตามแผนฯ รว่ มกันของ OneHome จงั หวัด ดำเนินงาน

กับหนว่ ยงานอืน่ ภายในจงั หวดั /ภายนอกจงั หวดั โครงการ/

อยา่ งน้อย 5 กจิ กรรม กจิ กรรม

พรอ้ มภาพถ่าย

4 มีรายงานผลการดำเนินงานตามแผน ในรอบ รายงานผลการ

12 เดือน ดำเนินงานตาม

แบบท่กี ำหนด

5 มีการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ รายงานผลการ

ความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน และมีการถอด ประเมิน

บทเรียนการดำเนินงาน ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล

และความ

คมุ้ ค่าในการ

ปฏิบัติงาน และ

การถอด

บทเรียนการ

ดำเนินงาน

๓๖

ขั้นตอนที่ 5 : มีการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน และมีการ
ถอดบทเรียนการดำเนินงาน

ประสิทธิภาพ :
- ผลผลิต : การบรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดผลผลิตการให้บริการ / ดำเนินงานตาม

ที่กำหนดไว้
- การดำเนินงานตามแผน : การเปรียบเทียบระยะเวลาดำเนินงานตามแผนงาน

กบั ระยะเวลาดำเนินงานจรงิ

ประสิทธิผล :
- ผลผลิต : การบรรลุเป้าหมายตามวตั ถุประสงค์ทีก่ ำหนด
- การดำเนินงานตามแผน : ผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายที่เกิดจากการดำเนินงานและการใช้

ประโยชนท์ ั้งในเชิงบวกและเชงิ ลบ รวมทั้ง ผลกระทบทีไ่ ม่คาดหมายหลงั จากโครงการแล้วเสร็จ

ความคมุ้ คา่ :
- การตอบสนอง / สนับสนุนของผลผลิตต่อยุทธศาสตร์ชาติ : ผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับ

ภารกิจยุทธศาสตร์ชาติ
- ความยั่งยืนจากการใช้งบประมาณ : ผลผลิตยังคงอยู่ถึงปัจจุบันในสภาพที่ดี มีการใช้

ประโยชน์จากผลผลิตนั้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ตรงตามวัตถุประสงค์ของการใชงานเดิม หรือมีการ
พัฒนาผลผลติ / แผนการบำรุงรกั ษาที่กำหนดไว้

- การตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมาย : ผลผลิตที่ได้จากโครงการที่สามารถตอบสนองต่อ
กลมุ่ เป้าหมาย

หลกั ฐานประกอบ รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการ
ปฏิบตั ิงาน และการถอดบทเรียนการดำเนินงาน

๓๗

สว่ นที่ 4
รายชอ่ื หน่วยงานสังกดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและ

ความมั่นคงของมนษุ ย์
ทมี พม. จงั หวัด ภายใต้แนวคดิ บ้านเดียวกัน (One Home)

(จำแนกตามจังหวัด และเขตตรวจราชการ)

เขตตรวจราชการท่ี 1 (จงั หวดั ชัยนาท จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จังหวัดลพบุรี จงั หวดั สระบรุ ี
จังหวัดสิงหบ์ ุรี จังหวัดอา่ งทอง)

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
(หน่วย)
ชัยนาท 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ชยั นาท (สป.) 3

ลพบรุ ี 2. ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวดั ชัยนาท (พส.) 5
3. บ้านพักเด็กและครอบครัวจงั หวัดชัยนาท (ดย.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด 7

พระนครศรอี ยธุ ยา (สป.)
2. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (พส.)
3. บ้านพักเดก็ และครอบครวั จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา (ดย.)
4. ศูนย์พฒั นาการจดั สวัสดิการสังคมผสู้ งู อายวุ าสนะเวศม์

จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา (ผส.)
5. สำนกั งานเคหะจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดลพบรุ ี

(สป.)
2. สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 8 จังหวัดลพบุรี (สป.)
3. นคิ มสร้างตนเองจงั หวัดลพบุรี (พส.)
4. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จงั หวดั ลพบุรี (พส.)

๓๘

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
สระบุรี (หนว่ ย)
5. บ้านพักเดก็ และครอบครวั จังหวดั ลพบรุ ี (ดย.)
สิงหบ์ ุรี 6. ศูนย์พฒั นาศกั ยภาพและอาชีพคนพิการบ้านโมกุล 9
อ่างทอง
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ (ราชิน)ี (พก.) 3
7. สำนกั งานเคหะจงั หวดั ลพบุรี (กคช.) 3
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัดสระบรุ ี

(สป.)
2. สถานสงเคราะหเ์ ดก็ หญิงจงั หวดั สระบรุ ี (ดย.)
3. บ้านพักเด็กและครอบครวั จงั หวดั สระบุรี (ดย.)
4. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จังหวัดสระบรุ ี (พส.)
5. สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึง่ ทับกวาง จงั หวัดสระบุรี (พส.)
6. นิคมสร้างตนเองพระพุทธบาท จังหวดั สระบุรี (พส.)
7. ศนู ยส์ ่งเสริมและพัฒนาทกั ษะชีวติ มวกเหลก็ จังหวัดสระบุรี

(พส.)
8. ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาทกั ษะชีวติ หนองแค จงั หวดั สระบรุ ี

(พส.)
9. สำนกั งานเคหะจังหวดั สระบุรี (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวัดสิงหบ์ รุ ี

(สป.)
2. ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จังหวัดสิงหบ์ ุรี (พส.)
3. บ้านพักเดก็ และครอบครัวจงั หวัดสิงหบ์ ุรี (ดย.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั

อ่างทอง (สป.)
2. ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จังหวัดอ่างทอง (พส.)
3. บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดอ่างทอง (ดย.)

๓๙

เขตตรวจราชการท่ี 2 (จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวดั นครปฐม จังหวัดสมทุ รปราการ)

จังหวัด หนว่ ยงาน จำนวน
(หนว่ ย)
นนทบุรี 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวดั นนทบรุ ี
(สป.) 18

2. สถานสงเคราะหเ์ ดก็ ชายบา้ นปากเกร็ด จงั หวดั นนทบุรี (ดย.)
3. สถานแรกรับเด็กชายบ้านปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี (ดย.)
4. สถานสงเคราะหเ์ ด็กออ่ นปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี (ดย.)
5. สถานสงเคราะหเ์ ด็กอ่อนพญาไท จงั หวดั นนทบุรี (ดย.)
6. ศูนย์เรียนรู้การพฒั นาสตรแี ละครอบครัวภาคกลาง จงั หวดั นนทบุรี

(สค.)
7. สถานคุ้มครองสวสั ดิภาพผเู้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์ (บ้านเกรด็
ตระการ)จังหวดั นนทบรุ ี (สค.)
8. สถานคุ้มครองและพฒั นาคนพิการบ้านนนทภูมิ จังหวดั นนทบรุ ี

(พก.)
9. สถานคุ้มครองและพฒั นาคนพิการบ้านราชาวดี (ชาย) จงั หวดั

นนทบรุ ี (พก.)
10. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านราชาวดี (หญิง) จังหวัด

นนทบุรี (พก.)
11. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านเฟือ่ งฟ้า จังหวัดนนทบุรี

(พก.)
12. ศูนย์ส่งเสริมอาชีพคนพิการ (โรงงานปีคนพิการ) จงั หวดั นนทบุรี

(พก.)
13. ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลออทิสติกจังหวดั นนทบุรี (พก.)
14. สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จังหวดั นนทบุรี (พส.)
15. ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จงั หวดั นนทบุรี (พส.)
16. บ้านพักเด็กและครอบครัวจงั หวัดนนทบรุ ี (ดย.)
17. สำนักงานเคหะจังหวดั นนทบรุ ี 1 (กคช.)

๔๐

จังหวัด หนว่ ยงาน จำนวน
ปทมุ ธานี (หนว่ ย)
18. สำนกั งานเคหะจังหวัดนนทบรุ ี 2 (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั 18

ปทุมธานี (สป.)
2. สำนักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 จังหวดั ปทุมธานี

(สป.)
3. ศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวัสดิการสงั คมผสู้ ูงอายุ จังหวดั ปทมุ ธานี

(ผส.)
4. สถานสงเคราะห์เยาวชนมูลนิธิมหาราช จังหวัดปทุมธานี (ดย.)
5. สถานแรกรับเดก็ หญิงบ้านธญั ญพร จังหวดั ปทมุ ธานี (ดย.)
6. สถานสงเคราะหเ์ ด็กอ่อนรงั สติ จงั หวดั ปทมุ ธานี (ดย.)
7. สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผเู้ สียหายจากการค้ามนุษย์

จงั หวดั ปทุมธานี (สป.)
8. สถานคุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งชายธญั บุรี จงั หวัดปทุมธานี (พส.)
9. สถานคุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งหญิงธัญบรุ ี จงั หวดั ปทุมธานี (พส.)
10. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ บ้านกึ่งวิถี (ชาย)

จังหวัดปทมุ ธานี (พก.)
11. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ บ้านกึง่ วิถี (หญิง)

จังหวดั ปทุมธานี (พก.)
12. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจงั หวดั ปทมุ ธานี (พส.)
13. บ้านพักเดก็ และครอบครวั จงั หวดั ปทุมธานี (ดย.)
14. สถาบนั พระประชาบดี จังหวัดปทุมธานี (สป.)
15. สำนักงานเเคหะจงั หวัดปทุมธานี สาขา 1 (กคช.)
16. สำนกั งานเเคหะจงั หวดั ปทุมธานี สาขา 2 (กคช.)
17. สำนักงานเเคหะจงั หวัดปทุมธานี สาขา 3 (กคช.)
18. สำนกั งานเเคหะจังหวัดปทมุ ธานี สาขา 4 (กคช.)

๔๑

จังหวัด หน่วยงาน จำนวน
(หนว่ ย)
นครปฐม 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัด
สมุทรปราการ นครปฐม (สป.) 6

2. ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จงั หวัดนครปฐม (พส.) 10
3. บ้านพักเด็กและครอบครวั จังหวัดนครปฐม (ดย.)
4. สำนักงานเคหะจังหวัดนครปฐม ๑ (กคช.)
5. สำนกั งานเคหะจังหวัดนครปฐม ๒ (กคช.)
6. สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 จงั หวัดนครปฐม

(สป.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัด

สมุทรปราการ (สป.)
2. บ้านพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดสมุทรปราการ (ดย.)
3. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวดั สมุทรปราการ (พส.)
4. สถานคุ้มครองและพฒั นาคนพิการพระประแดง

จังหวัดสมทุ รปราการ (พก.)
5. ศูนยพ์ ัฒนาศกั ยภาพและอาชีพคนพิการพระประแดง

จงั หวัดสมุทรปราการ (พก.)
6. สำนกั งานเคหะจงั หวดั สมทุ รปราการ สาขา 1
7. สำนกั งานเคหะจงั หวดั สมทุ รปราการ สาขา 2
8. สำนกั งานเคหะจงั หวดั สมทุ รปราการ สาขา 3
9. สำนักงานเคหะจังหวัดสมุทรปราการ สาขา 4
10. สำนกั งานเคหะจังหวดั สมทุ รปราการ สาขา 5

๔๒

เขตตรวจราชการท่ี 3 (จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบรุ ี จังหวัดสพุ รรณบรุ )ี

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
กาญจนบรุ ี (หน่วย)
ราชบรุ ี 1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด
กาญจนบรุ ี (สป.) ๖
สุพรรณบุรี
2. ศนู ย์พัฒนาราษฎรบนพื้นทีส่ ูง จังหวัดกาญจนบรุ ี (พส.) 7
3. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจงั หวดั กาญจนบุรี (พส.)
4.บ้านพักเด็กและครอบครัวจงั หวดั กาญจนบรุ ี (ดย.) 5
5. สถาบนั เพาะกล้าคุณธรรม จังหวัดกาญจนบรุ ี (ดย.)
6. สำนกั งานเคหะจงั หวดั กาญจนบรุ ี (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัดราชบุรี
(สป.)
2. ศูนย์พฒั นาราษฎรบนพื้นที่สูง จงั หวัดราชบรุ ี (พส.)
3. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจงั หวัดราชบุรี (พส.)
4. บ้านพกั เดก็ และครอบครัวจงั หวัดราชบรุ ี (ดย.)
5. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการจงั หวดั ราชบรุ ี (พก.)
6. สถาบันพัฒนาความรดู้ ้านการพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ

จังหวดั ราชบรุ ี (พส.)
7. สำนักงานเคหะจงั หวัดราชบุรี (กคช.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัด
สพุ รรณบุรี

(สป.)
2. นิคมสร้างตนเองกระเสียว จังหวัดสพุ รรณบรุ ี (พส.)
3. บ้านพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดสพุ รรณบรุ ี (ดย.)
4. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จงั หวัดสุพรรณบุรี (พส.)
5. สำนักงานเคหะจงั หวัดสุพรรณบุรี (กคช.)

๔๓

เขตตรวจราชการท่ี 4
(จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ จงั หวัดเพชรบุรี จังหวดั สมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสาคร)

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
(หน่วย)
ประจวบคีรขี ันธ์ 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั
เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ (สป.) 8
สมุทรสงคราม
2. นิคมสร้างตนเองจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ (พส.) 7
3. สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึง่ ประจวบคีรขี นั ธ์ (บ้านประจวบโชค) (พส.)
4. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ (ดย.) 4
5. ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาทกั ษะชีวติ หว้ ยสตั วใ์ หญ่ (พส.)
6. ศูนยป์ ระสานงานโครงการหมู่บ้านสหกรณ์หว้ ยสัตว์ใหญ่ ปา่ ละอู

หนองพลบั ตามพระราชดำริ จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ (พส.)
7. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ (พส.)
8. สำนกั งานเคหะจังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ (กคช.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวดั เพชรบรุ ี

(สป.)
2. สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งกุม่ สะแก จังหวัดเพชรบรุ ี (พส.)
3. ศูนยพ์ ฒั นาราษฎรบนพื้นทีส่ งู จงั หวัดเพชรบุรี (พส.)
4. บ้านพกั เดก็ และครอบครัวจงั หวดั เพชรบรุ ี (ดย.)
5. ศูนยป์ ระสานงานโครงการหมบู่ ้านสหกรณ์ หว้ ยสัตว์ใหญ่ ป่าเดง็

หุบกะพง ดอนขนุ หว้ ยกลดั หลวง ตามพระราชดำริ จงั หวัดเพชรบุรี
(พส.)
6. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวัดเพชรบรุ ี (พส.)
7. สำนักงานเคหะจงั หวดั เพชรบรุ ี (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัด
สมุทรสงคราม (สป.)
2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จังหวดั สมุทรสงคราม (พส.)

จังหวัด หนว่ ยงาน ๔๔

สมทุ รสาคร 3. บ้านพักเดก็ และครอบครัวจงั หวดั สมทุ รสงคราม (ดย.) จำนวน
4. สำนักงานเคหะจังหวัดสมุทรสงคราม (กคช.) (หนว่ ย)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัด
สมทุ รสาคร 5

(สป.)
2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จังหวดั สมุทรสาคร (พส.)
3. บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสมทุ รสาคร (ดย.)
4. สำนกั งานเคหะชมุ ชนจังหวดั สมทุ รสาคร (กคช.)
5. สำนักงานเคหะชุมชนกระทุ่มแบน (กคช.)

๔๕

เขตตรวจราชการท่ี 5
(จังหวดั ชุมพร จังหวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดพัทลงุ จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี จังหวดั สงขลา)

จังหวัด หน่วยงาน จำนวน
(หน่วย)
ชมุ พร 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวดั ชุมพร
(สป.) 4

2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จงั หวดั ชมุ พร (พส.) 7
3. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดชมุ พร (ดย.)
4. สำนักงานเคหะจงั หวัดชุมพร (กคช.) 4
นครศรธี รรมราช 1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

นครศรธี รรมราช (สป.)
2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวัดนครศรธี รรมราช (พส.)
3. บ้านพักเด็กและครอบครัวจงั หวดั นครศรธี รรมราช (ดย.)
4. สถานคุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ ภาคใต้ จังหวดั นครศรธี รรมราช (พส.)
5. สถานสงเคราะหเ์ ดก็ ชายบ้านศรธี รรมราช จังหวัดนครศรธี รรมราช

(ดย.)
6. ศูนย์พัฒนาศักยภาพและอาชีพคนพิการ จังหวัดนครศรธี รรมราช

(พก.)
7. สำนกั งานเคหะจังหวัดนครศรธี รรมราช (กคช.)
พทั ลงุ 1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดพทั ลุง

(สป.)
2. นิคมสร้างตนเองควนขนุน จงั หวัดพทั ลุง (พส.)
3. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจงั หวัดพัทลุง (พส.)
4. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดพทั ลุง (ดย.)

๔๖

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
สรุ าษฎรธ์ านี (หนว่ ย)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดสรุ าษฎร์
สงขลา ธานี (สป.) 9

2. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี (พส.) 11
3. สถานพฒั นาและฟืน้ ฟูเด็กจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี (ดย.)
4. บ้านพกั เดก็ และครอบครวั จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี (ดย.)
5. นคิ มสร้างตนเองขุนทะเล จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี (พส.)
6. นิคมสร้างตนเองพระแสง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี (พส.)
7. สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผเู้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์

(บ้านศรสี รุ าษฎร)์ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี (สค.)
8. สำนกั งานเคหะจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี (กคช.)
9. สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

(สป.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวดั สงขลา

(สป.)
2. สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 12 จังหวัดสงขลา (สป.)
3. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จงั หวดั สงขลา (พส.)
4. สถานสงเคราะห์เด็กบ้านสงขลา จังหวัดสงขลา (ดย.)
5. สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผเู้ สียหายจากการค้ามนษุ ยจ์ งั หวดั สงขลา

(สป.)
6. ศนู ยเ์ รียนรู้การพฒั นาสตรแี ละครอบครวั ภาคใต้ จังหวดั สงขลา

(สค.)
7. ศูนยพ์ ฒั นาการจดั สวสั ดิการสงั คมผสู้ ูงอายุ จังหวัดสงขลา (ผส.)
8. นิคมสร้างตนเองรัตภูมิ จงั หวัดสงขลา (พส.)
9. นิคมสร้างตนเองเทพา จังหวดั สงขลา (พส.)
10. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจังหวดั สงขลา (ดย.)
11. สำนักงานเคหะชมุ ชนหาดใหญ่ (กคช.)

๔๗

เขตตรวจราชการท่ี 6 (จังหวดั กระบี่ จังหวัดตรงั จังหวดั พงั งา จังหวัดภเู กต็ จงั หวดั ระนอง
จังหวัดสตลู )

จังหวัด หนว่ ยงาน จำนวน
กระบี่ (หนว่ ย)
ตรงั 1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จงั หวดั กระบี่ (สป.) 3
พังงา
2. ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จงั หวดั กระบี่ (พส.) 4
ภเู ก็ต 3. บ้านพกั เดก็ และครอบครัวจงั หวดั กระบี่ (ดย.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ 4

จงั หวดั ตรงั (สป.) 5
2. ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จังหวดั ตรัง (พส.)
3. บ้านพักเดก็ และครอบครวั จงั หวัดตรัง (ดย.)
4. สำนักงานเคหะจงั หวัดตรงั (กคช.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

จงั หวดั พังงา (สป.)
2. ศนู ยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวัดพงั งา (พส.)
3. นคิ มสร้างตนเองท้ายเหมอื ง จังหวัดพังงา (พส.)
4. บ้านพักเดก็ และครอบครัวจังหวดั พังงา (ดย.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์

จงั หวัดภูเกต็ (สป.)
2. ศูนย์พฒั นาการจัดสวสั ดิการสังคมผสู้ ูงอายุภูเกต็

จังหวดั ภูเกต็ (ผส.)
3. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวดั ภูเก็ต (พส.)
4. บ้านพกั เดก็ และครอบครวั จงั หวดั ภูเก็ต (ดย.)
5. สำนกั งานเคหะจงั หวัดภูเกต็ (กคช.)

๔๘

จังหวัด หนว่ ยงาน จำนวน
ระนอง (หนว่ ย)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
สตูล จงั หวัดระนอง (สป.) 5

2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จงั หวดั ระนอง (พส.) 4
3. นคิ มสร้างตนเองปากจนั่ จงั หวดั ระนอง (พส.)
4. สถานคุ้มครองสวสั ดิภาพผเู้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์ (ชาย)

จงั หวัดระนอง (สป.)
5. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดระนอง (ดย.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั สตลู (สป.)
2. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจังหวัดสตูล (พส.)
3. บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสตลู (ดย.)
4. นคิ มสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จงั หวัดสตลู (พส.)

๔๙

เขตตรวจราชการท่ี 7 (จังหวดั นราธิวาส จังหวดั ปัตตานี จังหวัดยะลา)

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
นราธิวาส (หนว่ ย)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ปัตตานี จังหวัดนราธิวาส (สป.) 7
ยะลา
2. นิคมสร้างตนเองสุคิริน จังหวดั นราธิวาส (พส.) 5
3. นิคมสร้างตนเองศรสี าครจงั หวัดนราธิวาส (พส.)
4. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึง่ จังหวัดนราธิวาส (พส.) 8
5. สถานสงเคราะหเ์ ด็กชายจังหวัดนราธิวาส (ดย.)
6. บ้านพักเดก็ และครอบครัวจังหวัดนราธิวาส (ดย.)
7. สำนักงานเคหะจงั หวัดนราธิวาส (กคช.)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์

จงั หวัดปัตตานี (สป.)
2. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึง่ จังหวดั ปตั ตานี (พส.)
3. นคิ มสร้างตนเองโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี (พส.)
4. สถานสงเคราะหเ์ ดก็ จงั หวัดปตั ตานี (ดย.)
5. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวัดปัตตานี (ดย.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์

จงั หวดั ยะลา (สป.)
2. ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดยะลา (พส.)
3. นคิ มสร้างตนเองธารโต จังหวดั ยะลา (พส.)
4. นคิ มสร้างตนเองเบตง จังหวัดยะลา (พส.)
5. นคิ มสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จังหวดั ยะลา (พส.)
6.สถานสงเคราะห์เดก็ ชายจังหวัดยะลา (ดย.)
7. ศูนย์พัฒนาการจดั สวสั ดิการสงั คมผสู้ งู อายุบ้าน

ทกั ษิณ จังหวัดยะลา (ผส.)
8. บ้านพกั เดก็ และครอบครัวจงั หวัดยะลา (ดย.)

๕๐

เขตตรวจราชการท่ี 8 (จังหวดั ฉะเชิงเทรา จังหวดั ชลบุรี จงั หวัดระยอง)

จงั หวัด หนว่ ยงาน จำนวน
ฉะเชงิ เทรา (หน่วย)
1. สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั
ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา (สป.) ๕

2. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา (ดย.) 13
3. ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจงั หวัดฉะเชิงเทรา (พส.)
4. สถานสงเคราะหค์ นพิการและทุพพลภาพบางปะกง (พก.)

จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
5. สำนักงานเคหะจังหวัดฉะเชงิ เทรา (กคช.)
1. สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั

ชลบรุ ี (สป.)
2. สำนกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 จงั หวัดชลบุรี

(สป.)
3. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพ่ ึ่งจงั หวดั ชลบุรี (พส.)
4. บ้านพกั เด็กและครอบครัวจังหวดั ชลบรุ ี (ดย.)
5. สถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านบางละมุงจังหวัดชลบรุ ี (ดย.)
6. สถานพัฒนาและฟื้นฟเู ด็กจังหวดั ชลบุรี (ดย.)
7. ศนู ย์พฒั นาการจดั สวสั ดิการสงั คมผสู้ งู อายบุ ้านบางละมงุ

จังหวดั ชลบุรี (ผส.)
8. ศูนย์การเรียนรู้และฝกึ อบรมด้านผสู้ งู อายุ (ผส.)
9. สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการการณุ ยเวศม์ จงั หวดั

ชลบรุ ี (พก.)
10. ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพัฒนาสตรแี ละครอบครวั เฉลิม

พระเกยี รตสิ มเด็จพระเทพฯ 36 พรรษาจังหวดั ชลบรุ ี (สค.)
11. สำนกั งานเคหะจงั หวดั แหลมฉบัง จงั หวัดชลบุรี (กคช.)
12. สำนกั งานเคหะจังหวดั ชลบุรี 1 (พัทยา) (กคช.)
13. สำนักงานเคหะจงั หวัดชลบุรี 2 (บ้านเซิด) (กคช.)


Click to View FlipBook Version