The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน BCP พมจ.ศรีสะเกษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanapong.12, 2021-03-28 23:22:28

แผน BCP พมจ.ศรีสะเกษ

แผน BCP พมจ.ศรีสะเกษ

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างต่อเนอ่ื ง
สาหรับการบริหารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤต

(Business Continuity Management : BCP)

สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จงั หวดั ศรสี ะเกษ

แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนอ่ื ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หน้า 1

สารบญั

หน้า

บทนา

วตั ถปุ ระสงค์ 1

สมมติฐานของแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง 1

ขอบเขตของแผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเน่อื ง 1

การวเิ คราะห์ทรพั ยากรทสี่ าคัญ 2

ตารางท่ี 1 สรุปเหตุการณส์ ภาวะวิกฤตและผลกระทบ 2

ทมี งานแผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Business Continuity Plan Team) 3

ตารางที่ 2 รายช่ือบคุ ลากรและบทบาทของทีมบริหารความตอ่ เนอ่ื ง (BCP Team) 4

ผลกระทบต่อกระบวนการทางานหรือการใหบ้ ริการ 5

ตารางที่ 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทางานหรือการให้บริการ (Business Impact Analysis) 6

การวเิ คราะห์เพื่อกาหนดความต้องการทรัพยากรทีส่ าคัญ 7

ตารางท่ี 4 กาหนดพื้นที่การปฏิบตั ิงานสารอง 7

ตารางที่ 5 จานวนวสั ดุอุปกรณ์ทจ่ี าเปน็ ต่อการสนบั สนนุ การปบิ ัติงานในสภาวะวิกฤต 8

ตารางท่ี 6 ความต้องการด้านระบบเทคโนโลยีและฐานข้อมูล 9

ตารางท่ี 7 จานวนบคุ ลากรหลักที่จาเป็น 9

ตารางที่ 8 จานวนผใู้ หบ้ รกิ ารทต่ี อ้ งติดตอ่ หรือขอรับบริการ 10

กลยุทธค์ วามต่อเน่ือง (Business Continuity Strategy) 10

ตารางท่ี 9 กลยุทธค์ วามต่อเน่ือง (Business Continuity Strategy) 10

ขน้ั ตอนการบรหิ ารความต่อเน่ืองและกอบกู้กระบวนการ 11

ภาคผนวก ก กระบวนการแจ้งเหตุฉกุ เฉิน (Call Team) 17

ภาคผนวก ข คาส่ังแต่งตั้งคณะบรหิ ารความต่อเน่ืองของ 19

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดศรสี ะเกษ

ภาคผนวก ค แบบตรวจสอบความครบถ้วนของแผนดาเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเนื่อง 21

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หน้า 2

บทนา

สถานการณ์วกิ ฤตตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขึ้นในปัจจุบนั น้ีท้ังท่ีมีเหตุมาจากน้ามือมนุษย์หรือภัยธรรมชาติ
พบว่าเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อีกท้ังมีความรุนแรงและก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง
เช่นเดียวกับสถานการณ์โรคระบาด COVID – 19 ท่ีระบาดเข้าสู่ประเทศไทยต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2563
เป็นต้นมา ซ่ึงก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง โดยเฉพาะต่อประชาชน และภาครัฐไม่สามารถให้บริการได้
อย่างต่อเนอื่ ง ซง่ึ สะท้อนให้เหน็ ถงึ ระบบและกลไกของรัฐทมี่ ีความสาคัญต่อการให้บริการประชาชนมปี ัญหา
ขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี ไม่สามารถดาเนินภารกิจในสภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน
สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นบทเรียนอันสาคัญที่ทุกหน่วยงานของรัฐต้องนามาพิจารณาเพ่ือปรับกระบวนการ
ทางานใหม่ โดยเฉพาะการบริการประชาชน เพ่ือให้มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการ หรืองานบริการ
ประชาชนที่สาคัญสามารถดาเนินงานหรือให้บริการได้โดยไม่สะดุดหยุดลงแม้ว่าจะประสบกับวิกฤตการณ์
หรอื ภัยพบิ ตั ใิ ด ๆ

สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ เป็นหน่วยงานที่ให้บริการ
แก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคม ประกอบด้วย กลุ่มเด็กแรกเกิด เด็กและเยาวชน คนพิการ ผู้สูงอายุ และ
ผู้ด้อยโอกาส หรือผู้ได้รับความเดือดร้อนจาเป็นเร่งด่วน ตามภารกิจท่ีสาคัญคือ การข้ึนทะเบียนรับเงิน
อุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กที่ประสบ
ปัญหา การจดทะเบียนคนพิการ การให้บริการเงินกู้คนพิการ การส่งเสริมอาชีพและพัฒนาศักยภาพคน
พิการ การปรับสภาพบ้านคนพิการ การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบปัญหาทางสังคม การส่งเสริมอาชีพ
ผู้สูงอายุ การช่วยเหลือปรับสภาพบ้านผู้สูงอายุ การช่วยเหลือค่าจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี เป็นต้น
จากสถานการณ์การแพร่ของโรคเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประเทศไทยได้ออกมาตรการอย่าง
เข้มงวดเพื่อยับยั้งการแพร่เช้ือ ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และการใช้
ชีวิตประจาวันของประชาชน รวมถึงการให้บริการของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดศรีสะเกษ ที่ยังจาเป็นต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง หากเกิดสถานการณ์ฯ จาเป็นต้องแก้ไข
เหตุการณ์เฉพาะหน้าอย่างเร่งด่วน ซ่ึงอาจเกิดความไม่รอบคอบ และความล่าช้าในการบริการเกิดข้ึนได้
ดังน้ัน สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ จึงได้จัดทาแผนบริหารความ
ตอ่ เน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Plan:BCP) เพื่อให้สามารถ
รับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินที่ไม่คาดคิด และทาให้กระบวนการท่ีสาคัญ (Critical Business Process)
สามารถกลบั มาดาเนนิ การไดอ้ ย่างปกติ หรือดาเนินการได้ตามระดับการให้บริการท่ีกาหนดไว้ และช่วยลด
ระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดข้ึนได้ และอาจเป็นส่วนหนึ่งของฐานชีวิตให้มี (New Normal)
ของการบรหิ ารจดั การภาครัฐในอนาคต

สานกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ
มิถุนายน 2563

แผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งต่อเนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ หน้า 3

แผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งตอ่ เน่ืองของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวดั ศรีสะเกษ
(Business Continuity Plan : BCP)

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
ศรีสะเกษ (Business Continuity Plan : BCP) จัดทาขึ้น เพ่ือให้ “หน่วยงาน” เตรียมความพร้อมองค์กร
และสามารถนาไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ทั้งที่เกิด
จากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือ
เหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้องหยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่าง
ตอ่ เนื่อง

การท่ีหน่วยงานไม่มีกระบวนการรองรับให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเน่ือง อาจส่งผลกระทบ
ต่อหน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ชีวิตและ
ทรัพยส์ ินของประชาชน เป็นต้น ดงั นน้ั การจดั ทาแผนดาเนนิ ธุรกิจอยา่ งต่อเนอื่ งจึงเปน็ สง่ิ สาคญั ท่ีจะช่วยให้
หน่วยงานสามารถรับมือกับเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิด และทาให้กระบวนการท่ีสาคัญ (Critical Business
Process) กลับมาดาเนินงานได้อย่างปกติในระดับการให้บริการที่กาหนดไว้ รวมท้ัง ลดระดับความรุนแรง
ของผลกระทบที่เกิดข้ึนตอ่ หนว่ ยงานได้

วัตถุประสงค์ (Objectives)
1) เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการบรหิ ารความต่อเนอ่ื งในการปฏิบตั ิงานหรือการให้บริการ
2) เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤต และลดผลกระทบจาก
การหยุดชะงักในการดาเนินงานหรอื การให้บรกิ าร
3) เพือ่ บรรเทาความเสยี หายใหอ้ ยูร่ ะดบั ที่ยอมรบั ได้
4) เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าท่ี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเช่ือม่ันในศักยภาพของ
หนว่ ยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทาให้การดาเนินงาน
ต้องหยุดชะงกั

สมมตฐิ านของแผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างตอ่ เนอื่ ง (BCP Assumptions)
เอกสารฉบับนจี้ ดั ทาขึ้นภายใต้สมมตฐิ าน ดงั ตอ่ ไปนี้
1) เหตุการณ์ฉุกเฉินท่ีเกิดขึ้นในช่วงเวลาสาคัญต่าง ๆ แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงาน
สารองที่ไดม้ ีการจดั เตรียมไว้
2) หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศรับผิดชอบในการสารองระบบสารสนเทศต่าง ๆ โดยระบบ
สารสนเทศสารองมิไดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ เหมือนกับระบบสารสนเทศหลัก
3) “บุคลากร” ทถี่ ูกระบุในเอกสารฉบบั น้ี หมายถึง เจ้าหน้าที่และพนกั งานทัง้ หมดของหน่วยงาน

ขอบเขตของแผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เน่อื ง (Scope of BCP)

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCP) ฉบับน้ี ใช้รองรับสถานการณ์ กรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือ
เหตุการณ์ฉกุ เฉินในพน้ื ที่สานกั งานของหน่วยงาน หรือภายในหน่วยงาน ด้วยเหตกุ ารณ์ต่อไปนี้

1) เหตกุ ารณอ์ ทุ กภยั
2) เหตกุ ารณอ์ ัคคีภัย
3) เหตกุ ารณช์ มุ นมุ ประทว้ ง/จลาจล
4) เหตกุ ารณ์กอ่ การร้าย

แผนดาเนินธรุ กิจอย่างต่อเนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรสี ะเกษ หนา้ 1

5) เหตกุ ารณไ์ ฟฟูาดับเปน็ วงกว้าง
6) เหตกุ ารณ์โรคระบาดตอ่ เนอ่ื ง
การวเิ คราะหท์ รพั ยากรทีส่ าคัญ

สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานสามารถ

บริหารจัดการการดาเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเน่ือง การจัดหาทรัพยากรที่สาคัญจึงเป็นสิ่งจาเป็น

และต้องระบุไว้ในแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงการเตรียมการทรัพยากรท่ีสาคัญ จะพิจารณาจาก

ผลกระทบใน 5 ดา้ น ดงั นี้

ผลกระทบ เหตกุ ารณ์

1.ด้านอาคาร/สถานท่ีปฏบิ ตั ิงานหลกั เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นทาให้สถานท่ีปฏิบัติงานหลักได้รับความ

เสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานท่ีปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผล

ใหบ้ คุ ลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ช่ัวคราวหรือระยะยาว

ซึ่งรวมท้ังการที่ผู้รับบริการไม่สามารถเข้าถึงสถานที่ให้บริการ

ของหนว่ ยงานด้วย

2.ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ/การจัดหา เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนทาให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ

จดั ส่งวสั ดุอุปกรณท์ สี่ าคัญ หรือไมส่ ามารถจัดหา/จัดส่งวัสดุอปุ กรณ์ทส่ี าคญั ได้

3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึน้ ทาให้ระบบงานเทคโนโลยี หรอื ระบบสารสนเทศ

ขอ้ มูลทส่ี าคญั หรือขอ้ มลู ทส่ี าคญั ไม่สามารถนามาใช้ในการปฏิบัตงิ านได้ตามปกติ

4. ดา้ นบุคลากรหลกั เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงาน

ไดต้ ามปกติ

5. ด้านค่คู า้ /ผใู้ ห้บริการที่สาคญั เหตุการณ์ท่ีเกิดขนึ้ ทาใหค้ คู่ า้ /ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่

สามารถตดิ ตอ่ หรอื ให้บริการหรือสง่ มอบงานได้

โดยหน่วยงานได้ทาการวิเคราะห์ว่าเมื่อมีเหตุการณ์สภาวะวิกฤตเกิดขึ้น แต่ละกรณีจะส่งผล
กระทบตอ่ ทรพั ยากรที่สาคัญ ปรากฏดงั ตะรางที่ 1

ตารางที่ 1 สรปุ เหตกุ ารณ์สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตกุ ารณ์

ผลกระทบ

เหตุการณส์ ภาวะวิกฤต ด้านอาคาร/ ด้านวสั ดุ ดา้ น ดา้ น คู่ค้า/
สถานท่ี อปุ กรณท์ ี่ เทคโนโลยี บุคลากร ผู้ให้บรกิ าร/
ปฏิบตั ิงาน สาคญั และการ สารสนเทศ ผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ น
หลกั จดั หา/จดั สง่ และขอ้ มลู ท่ี หลัก
เสีย
สาคัญ

1 เหตุการณ์อุทกภัย    

2 เหตุการณอ์ ัคคภี ัย    

3 เ ห ตุ ก า ร ณ์ ชุ ม นุ ม   - 
ประท้วง/จลาจล

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หนา้ 2

ผลกระทบ

เหตุการณ์สภาวะวิกฤต ด้านอาคาร/ ดา้ นวสั ดุ ดา้ น ดา้ น คคู่ ้า/
4 เหตกุ ารณก์ อ่ การรา้ ย สถานท่ี อุปกรณ์ที่ เทคโนโลยี บุคลากร ผู้ให้บรกิ าร/
ปฏบิ ัติงาน สาคญั และการ สารสนเทศ ผูม้ สี ่วนได้สว่ น
หลกั จดั หา/จัดสง่ และข้อมูลท่ี หลกั
เสีย
  สาคญั 
- -
-
 
5 เหตุการณ์ไฟฟูาดับเป็น - 

วงกว้าง

6 เหตุการณ์โรคระบาด  - -

ตอ่ เนอ่ื ง*

* กรณีโรคระบาดที่เกิดข้ึนเป็นเหตุให้ประชาชนหรือคู่ค้าไม่สามารถเดินทางมารับ/ให้บริการ ณ
สานกั งานของหน่วยงานได้ในสภาวะวิกฤตน้ัน จงึ มผี ลกระทบตอ่ ดา้ นอาคาร/ สถานทป่ี ฏิบัติงานหลัก

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ือง (Business Continuity Plan : BCP) ฉบับน้ี ไม่รองรับการ
ปฏิบัติงานในกรณีท่เี หตขุ ัดข้องเกิดข้ึนจากการดาเนินงานปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบใน
ระดับสูงต่อการดาเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือ
ปรบั ปรงุ แก้ไขสถานการณ์ไดภ้ ายในระยะเวลาท่ีเหมาะสม โดยผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละ
กลมุ่ งานและฝาุ ยงานสามารถรับผิดชอบและดาเนินการไดด้ ว้ ยตนเอง

ทมี งานแผนดาเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนอ่ื ง (Business Continuity Plan Team)

การบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เป็นระบบการบริหารจัดการองค์กร ซึ่งประกอบด้วย การ
วางแผน การจัดทา การนาไปปฏิบัติ การทดสอบ การติดตาม การทบทวนเพื่อให้แผนดาเนินธุรกิจอย่าง
ต่อเน่ืองเป็นปัจจุบัน และสามารถนาไปใช้ได้จริง เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงัก
โดยระบบการบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวกิ ฤต ประกอบดว้ ย

1) การกาหนดนโยบายทช่ี ัดเจนในการบริหารความพรอ้ มต่อสภาวะวิฤตขิ องผูบ้ รหิ าร
2) การวางแผนกาหนดบทบาทหนา้ ทข่ี องบุคลากรไว้อย่างชัดเจน
3) การทดสอบ และซกั ซอ้ มเพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจในการนาแผนไปปฏบิ ัติ
4) การทบทวน และปรบั ปรุงให้เป็นปจั จุบนั

ดังน้ันเพ่ือให้แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดศรีสะเกษสามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงได้จัดต้ังทีมบริหาร
ความต่อเนื่องของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อทาหน้าที่ในการ
สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเน่ืองของจังหวัด และดาเนินการตามขั้นตอนและแนว

แผนดาเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ หนา้ 3

ทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนการสรรหาทรัพยากรที่ได้กาหนดไว้ในแผนธุรกิจอย่างต่อเนื่องของ
สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัดศรีสะเกษ โดยมอี งคป์ ระกอบ ดงั น้ี

หัวหน้าทีมบรหิ ารความตอ่ เนือ่ ง
(พฒั นาสังคและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัดศรีสะเกษ)

ผปู้ ระสานงาน
(นกั พัฒนาสงั คมชานาญการพิเศษ)

ทมี บรหิ ารความต่อเนื่อง ทมี บริหารความต่อเน่ือง ทีมบรหิ ารความต่อเนื่อง ทีมบรหิ ารความต่อเน่ือง
ฝุายบริหารท่ัวไป
กลุ่มนโยบายและวิชาการ กลุม่ การพัฒนาสงั คมและ ศูนย์บรหิ ารคนพกิ าร
(หัวหนา้ ฝุาย) สวสั ดิการ จงั หวัดศรีสะเกษ
(หวั หนา้ กล่มุ ) (หัวหน้ากลมุ่ ) (ผู้อานวยการศนู ย์)

โครงสร้างทีมบริหารความต่อเน่ือง (BCP Team) ของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จงั หวัดศรสี ะเกษ

โดยบุคลากรทุกตาแหน่งจะต้องร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินใน
ฝุายงานของตนเอง ให้สามารถบริหารความต่อเน่ืองและกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่
ที่กาหนดไว้ของทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) และในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติ
หนา้ ท่ีได้ ใหบ้ ุคลากรสารองรับผิดชอบทาหน้าทใี่ นบทบาทของบุคลากรหลัก ปรากฏดังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 รายชือ่ บคุ ลากรและบทบาทของทีมงานบรหิ ารความต่อเนื่อง (BCP Team)
ของสานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดศรสี ะเกษ

บคุ ลากรหลัก บทบาท บุคลากรสารอง
ชอื่ เบอร์โทรศัพท์ ช่อื เบอร์โทรศัพท์

นางสาวนภาพร เมฆาผอ่ งอาไพ 0x-xxxx-xxxx หัวหน้าทีมงานบริหาร นางสาววรี ินท์ นติ ยส์ ุวรรณ 0x-xxxx-xxxx
(พฒั นาสงั คมและความัน่ คง 0x-xxxx-xxxx
ของมนษุ ย์จงั หวดั ศรีสะเกษ) ความตอ่ เน่อื ง นักพัฒนาสังคมชานาญ

นางสาวรตั นาภรณ์ บุญมี สนง.พมจ.ศรสี ะเกษ การพเิ ศษ
(หวั หน้าฝุายบรหิ ารทั่วไป)
ที ม ง า น บ ริ ห า ร ค ว า ม นางสาวประไพ แซ่งัง้ 0x-xxxx-xxxx

ต่อเน่อื ง (เจ้าพนักงานการเงินและ

ฝาุ ยบรหิ ารทั่วไป บัญชีชานาญงาน)

นายทรงพล ศรีลาชยั 0x-xxxx-xxxx

นิติกร

นางสาววรี ินท์ นติ ย์สุวรรณ 0x-xxxx-xxxx ที ม ง า น บ ริ ห า ร ค ว า ม นายเอกวัฒน์ ปูองกัน 0x-xxxx-xxxx
(หัวหน้ากลุ่มนโยบายและ
วชิ าการ) ตอ่ เนื่อง (นักพฒนาสงั คมปฏบิ ัติการ)

กลุ่มนโยบายและวิชาการ นายทนิ กรณ์ ทองอินทร์ 0x-xxxx-xxxx

(นกั พฒนาสงั คมปฏิบัตกิ าร)

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งต่อเนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 4

บุคลากรหลกั บทบาท บคุ ลากรสารอง
ชือ่ เบอร์โทรศัพท์ ชอ่ื เบอรโ์ ทรศัพท์

นางพรทพิ ย์ นธิ โิ พธพิ งศ์ 0x-xxxx-xxxx ที ม ง า น บ ริ ห า ร ค ว า ม นายดเี จริญ สมประสาท 0x-xxxx-xxxx
( หั ว ห น้ า ก ลุ่ ม ก า ร พั ฒ น า ต่อเนื่อง กลุ่มการพัฒนา (นั ก สั งค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์
สงั คมและสวสั ดกิ าร) สงั คมและสวสั ดิการ ชานาญการ)

นางนงลักษณ์ ชัยชาญ 0x-xxxx-xxxx นางสาวชลติ า คณุ ารัตน์ 0x-xxxx-xxxx
(ผู้อานวยการศูนย์บริการคน (นักพฒนาสังคมปฏิบตั ิการ)
พกิ ารจงั หวัดศรีสะเกษ)
ที ม ง า น บ ริ ห า ร ค ว า ม นางสาวปราถนา วันอ่นุ 0x-xxxx-xxxx
นางสาววีรินท์ นติ ย์สุวรรณ 0x-xxxx-xxxx ต่อเนื่อง ศูนย์บริการคน นักพฒั นาสงั คม
(นักพัฒนาสังคมชานาญการ พกิ ารจังหวดั ศรีสะเกษ นางสาวนริชา จันทะศรี 0x-xxxx-xxxx
พเิ ศษ)
นิตกิ ร

ผูป้ ระสานงาน

ผลกระทบตอ่ กระบวนการทางานหรือการให้บรกิ าร

สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ ได้นากระบวนการของ
หนว่ ยงานมาศึกษา วิเคราะห์ เพ่ือระบุกระบวนการหลักท่ีสาคัญและระบุระดับผลกระทบ เพ่ือพิจารณาถึง
ความเส่ียง ภยั คุกคาม และผลกระทบต่อทรัพยากรหลักในการดาเนินงานหรือการให้บริการของหน่วยงาน
ในแตล่ ะกระบวนการ โดยใช้เกณฑ์ในการกาหนดระดับผลกระทบ ดังน้ี

ระดับผลกระทบ หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาระดับผลกระทบ
สงู
ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดาเนินงานหรือการให้บริการประชาชนลดลง
ปานกลาง มากกว่า รอ้ ยละ 50 ของกระบวนการหลักทัง้ หมด

ตา่ ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดาเนินงานหรือการให้บริการประชาชนลดลง
มากกว่า รอ้ ยละ 25-50 ของกระบวนการหลกั ท้ังหมด

ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดาเนินงานหรือการให้บริการประชาชนลดลง
นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25 ของกระบวนการหลกั ท้งั หมด

จากการวเิ คราะหต์ ามหลกั เกณฑ์ทกี่ าหนด พบว่ากระบวการทางานท่ีหน่วยงานต้องให้ความสาคัญ
และกลบั มาดาเนินงานหรือฟ้ืนคนื สภาพให้ไดภ้ ายในระยะเวลาทกี่ าหนด ปรากฏดงั ตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ผลกระทบต่อกระบวนการทางานหรอื การใหบ้ ริการ (Business Impact Analysis)

ระดับผลกระทบ/ ระยะเวลาเปา้ หมายในการฟน้ื คืนสภาพ

กระบวนการหลัก ความเรง่ ด่วน 4 1 1 2 1

1.ฝา่ ยบรหิ ารท่ัวไป (สงู /ปานกลาง/ตา่ ) ชัว่ โมง วัน สปั ดาห์ สัปดาห์ เดอื น
1) งานสารบรรณ
2) งานการเงนิ /บัญชี/พัสด/ุ ครุภัณฑ์ สงู 
3) งานอาคารสถานที่ สูง 
สูง 

แผนดาเนนิ ธุรกิจอย่างต่อเนอื่ ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หนา้ 5

ระดบั ผลกระทบ/ ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคนื สภาพ

กระบวนการหลกั ความเร่งดว่ น 4 1 1 2 1

(สูง/ปานกลาง/ต่า) ชัว่ โมง วนั สปั ดาห์ สัปดาห์ เดือน

4) งานยานพาหนะ สงู 

5) งานบริหารบคุ คล ปานกลาง 

2.กล่มุ นโยบายและวชิ าการ

1) งานแผนงาน/โครงการ/งบประมาณ ปานกลาง 

2) งานตรวจราชการ ปานกลาง 

3) การจดั ทายทุ ธศาสตร์ ปานกลาง 

4) การสนบั สนุนเครือขา่ ย ปานกลาง 

5) งานสนับสนนุ วชิ าการ ปานกลาง 

3.กลมุ่ การพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ

1)การลงทะเบียนเงินอุดหนุนเพื่อการ สูง 

เล้ยี งดเู ด็กแรกเกดิ

2) การรบั เดก็ เปน็ บุตรบญุ ธรรม สงู 

3) การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง สูง 

สังคม(เคสร้องเรียน/ถวายฎีกา/ศูนย์

ช่วยเหลอื สงั คม)

4) การคุ้มครองช่วยเหลือ ฟื้นฟู และ ปานกลาง 

พฒั นาศกั ยภาพผู้สูงอายุ

5) การให้บรกิ ารกองทนุ สงู อายุ ปานกลาง 

-การยืนกูเ้ งินผู้สงู อายุ

-การชาระหนก้ี องทนุ ผสู้ ูงอายุ

-การตดิ ตามทวงหนีผ้ สู้ งู อายุ

4.ศนู ยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจังหวัดศรีสะเกษ

1)การจดทะเบียนคนพิการ(ออกบัตร สูง 

ประจาตัวคนพิการ)

2) การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง สงู 

สังคมด้านคนพิการ(เคสร้องเรียน/ถวาย

ฎีกา/ศูนย์ชว่ ยเหลือสงั คม)

3) การคุ้มครองช่วยเหลือ ฟื้นฟู และ สงู 

พฒั นาศกั ยภาพคนพิการ

4) การส่งเสริมการรวมกลุ่มประกอบ ปานกลาง 

อาชพี คนพิการ

5) การให้บริการเงินกู้เพ่ือการประกอบ สงู 

อาขีพคนพิการ

-การยนื กเู้ งนิ คนพกิ าร

-การชาระหนค้ี นพิการ

-การตดิ ตามทวงหน้ีคนพิการ

หมายเหตุ : ระยะเวลาเปูาหมายในการฟ้ืนฟูคนื สภาพ หมายถึง ระยะเวลาภายหลังจากเกิดอุบัติการณ์ขึ้นที่
ทาให้การบริการต้องกลับคืนสภาพเดิม กิจกรรมต้องกลับมาดาเนินการได้ และทรัพยากรต้องได้รับการ
ฟ้นื ฟู (มอก.22301-2556)

แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ หนา้ 6

สาหรับกระบวนการอ่ืนๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมี
ความยืดหยุ่นสามารถชะลอการดาเนินงานและให้บริการได้ โดยให้หัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่มประเมิน
ความจาเป็นและเหมาะสม ท้ังนี้ หากมีความจาเป็นให้ปฏิบัตตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง

เช่นเดยี วกับกระบวนการหลัก

การวเิ คราะห์เพ่ือกาหนดความต้องการทรัพยากรทส่ี าคัญ
1) ดา้ นสถานที่ปฏบิ ตั งิ านสารอง (Working Space Requirement) ดงั ตารางที่ 4
ตารางที่ 4 การระบพุ ้ืนทกี่ ารปฏบิ ัติงานสารอง

ประเภททรัพยากร สถานที/่ ทม่ี า 4 ช่ัวโมง 1 วัน 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน
-
1. พื้นที่สาหรับสถานที่ 1.ศูนย์คุ้มครองคนไร้ 26 ตร.ม. 40 ตร.ม. 60 ตร.ม. 104 ตร.ม.
ท่ีพ่ึงจังหวดั ศรีสะเกษ (13 คน) (20 คน) (30 คน) (52 คน) -
ปฏบิ ตั งิ านสารอง -
2.ศูนยส์ งเคราะห์และ 16 คน 16 คน 16 คน - -
5 คน 5 คน 6 คน
ฝึ ก อ า ชี พ เ ย า ว ช น 34 คน 41 คน 52 คน 52 คน

จังหวัดศรีสะเกษหรือ

พื้นท่ีอื่ นโ ดย มีก า ร

สารวจความ

เหมาะสมของสถานที่

3.ศาลากลางจังหวัด

ศรสี ะเกษ

2.ปฏิบัติงานท่ีบ้าน

(Work fo Home)

พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ตามที่กาหนดไว้ใน

ปฏิบัตงิ านใหม่ในกรณีจาเปน็ แผนบริหารความ

ต่อเนอื่ ง

รวม

2) ความต้องการดา้ นวสั ดุอปุ กรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางท่ี 5
ตารางที่ 5 การระบจุ านวนวสั ดอุ ปุ กรณ์

ประเภททรัพยากร ทมี่ า 4 ชั่วโมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดือน

ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส า ร อ ง ที่ มี 1 . ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ 5 เคร่ือง 10 เคร่อื ง 20 เคร่ือง 35 เครื่อง -
คณุ ลักษณะเหมาะสม Notebook สารอง
ของสานักงาน
2.ยืมจากสนง. พมจ.
จังห วัด ใกล้ เคี ยง/
ห น่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด
กระทรวง พม.ใน
พน้ื ที่
3.ดาเนินการจัดซื้อ
จัดจ้าง
4.ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
สว่ นตัวของบุคลากร

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างต่อเนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ หน้า 7

ประเภททรพั ยากร ทม่ี า 4 ชัว่ โมง 1 วัน 1 สัปดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดือน
1 เครือ่ ง 1 เครอื่ ง 1 เครื่อง
GFMIS Token Key เจ้าหน้าท่ีฝุายบริการ 1 เครอื่ ง 1 เครอ่ื ง ใชด้ ้วยกัน ใชด้ ้วยกัน ใชด้ ้วยกัน

EGP Token Key กลุ่มงานการเงินและ ใชด้ ว้ ยกนั ใชด้ ว้ ยกนั 5 เคร่ือง 10 เครื่อง -

(ระบบจัดซอื้ จดั จา้ ง) บัญชที เ่ี ก็บรักษา

เครื่องพิมพ์รองรับการใช้ 1 . ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ 1 เครอ่ื ง 3 เคร่อื ง
งานกบั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ Notebook สารอง

ของสานกั งาน

2.ยืมจากสนง. พมจ.

จังห วัด ใกล้ เคี ยง/

ห น่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด

กระทรวง พม.ใน

พน้ื ที่

3.ดาเนินการจัดซื้อ

จดั จ้าง

4.ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์

ส่วนตัวของบคุ ลากร

โทรศัพท์/โทรสาร/พร้อม ยืม จ ากห น่วย งา น 1 เครื่อง 1 เคร่อื ง 1 เครือ่ ง 1 เครือ่ ง 1 เครอ่ื ง
1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครอ่ื ง
หมายเลข สังกัดกระทรวง พม.

ในพื้นที่

เ ค ร่ื อ ง ส แ ก น ด์ / ยืม จ ากห น่วย งา น 1 เครื่อง

(Fax/Document Scan สังกัดกระทรวง พม.

Machine) พร้อมหมายเลข ในพ้ืนท่ี

3) ความตอ้ งการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมลู (IT & Information Requirement)

เน่ืองจากระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงานอยู่ในความ

ดูแลของหน่วยงานกลาง เป็นลักษณะแบบรวมศูนย์ ดังนั้น หน่วยงานจึงใช้อมูลสารสนเทศโดยการเชื่อม

โนงระบบของหน่วยงานกับหน่วยงานกลางผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทาให้หน่วยงานไม่มีระบบ

คอมพิวเตอร์สารอง และหากระบบมีปัญหาต้องรอให้หน่วยงานกลางกู้คืนระบบการบริหารเทคโนโลยี

สารสนเทศก่อน หน่วยงานจึงจะสามารถใช้งานของระบบได้ตามปกติ และข้อมูลท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน

ประจาไม่ได้นาเข้าระบบของหน่วยงานกลาง ผู้ปฏิบัติงานได้สารองข้อมูลไว้ใน google drive ของแต่ละ

บคุ คล เพอ่ื สารองขอ้ มลู ทีจ่ าเป็นตอ่ การปฏิบตั งิ าน หรอื ไดร์ฟสารองของแต่ละบคุ คล

ตารางท่ี 6 การระบุความตอ้ งการด้านเทคโนโลยี

ประเภททรัพยากร แหลง่ ข้อมลู 4 ชั่วโมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 1 เดอื น

สัปดาห์

Email หน่วยงาน ระบบ IT   
ของหนว่ ยงาน  
GFMIS  
(ระบบเบิกจ่ายเงิน) หน่วยงานระบบ IT ของ
EGP หนว่ ยงาน และจงั หวดั
(ระบบจัดซือ้ จัดจ้าง)
หน่วยงานระบบ IT ของ
หน่วยงาน และจังหวดั

แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อย่างต่อเนอ่ื ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ หนา้ 8

ประเภททรัพยากร แหลง่ ขอ้ มลู 4 ช่ัวโมง 1 วัน 1 สัปดาห์ 2 1 เดือน
สปั ดาห์

หนงั สือสง่ั การต่างๆ หนว่ ยงานตา่ งๆทีไ่ ด้รับ   
ทอี่ อกโดยหนว่ ยงาน หนว่ ยงานตน้ สังกัด  

หนงั สอื ส่ังการต่างๆ

เอกสารในแจง้ หน้ี คู่ค้า  

ช้ อ มู ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร -หน่วยงานระดับกรม

จัดทาแผนงบประมาณ ส่วนกลาง 

ประจาปี -ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ ใ น

จังหวัด

4) ความตอ้ งการดา้ นบคุ ลากรสาหรบั ความต่อเน่อื งเพ่ือปฏบิ ตั ิงาน (Personnel Requirement)
ตารางที่ 7 การระบุจานวนบคุ ลากรหลกั ท่ีจาเปน็

ประเภททรพั ยากร 4 ชวั่ โมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดือน

จานวนบคุ ลากรปฏิบัตงิ านที่ 8 8 13 13 13
สานักงาน /สถานท่ีปฏบิ ัตงิ านสารอง 5 5 30 30 30

จานวนบุคลากรปฏบิ ัตงิ านท่บี า้ น

รวม 13 13 43 43 43

5) ความตอ้ งการด้านผ้ใู ห้บรกิ ารท่ีสาคัญ (Service Requirement)
ตารางท่ี 8 การระบุจานวนผู้ให้บริการทตี่ อ้ งตดิ ตอ่ หรือขอรบั บรกิ าร

ฝ่ายงาน /กล่มุ งาน 4 ชัว่ โมง 1 วนั 1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 1 เดือน
11
ผู้ให้บริการเช่ือมโยงระบบ เครือข่าย 1 1 1
อินเตอรเ์ นต็ 11

รวม 1 1 1

หมายเหตุ มีการจัดเตรียมและจัดหาอุปกรณ์เชื่อมโยงระบบเครือข่ายผ่านอินเตอร์เนต แบบพกพา
(Air Card) ของผูใ้ หบ้ รกิ ารโทรศัพทม์ ือถอื เชือ่ มโยงการบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของ
หน่วยงานกลางผ่านอินเตอร์เนต ในกรณีผู้ให้บริการหลักและสารองไม่สามารถให้บริการได้ภายใน
ระยะเวลาท่กี าหนด

กลยทุ ธค์ วามตอ่ เน่อื ง (Business Continuity Strategy)

กลยุทธ์ความต่อเน่ือง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเม่ือ
เกดิ สภาวะวิกฤต ซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ดา้ น ดังตารางที่ 9

แผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างตอ่ เนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หน้า 9

ตารางที่ 9 กลยุทธ์ความต่อเนือ่ ง (Business Continuity Strategy)

ทรพั ยากร กลยุทธค์ วามต่อเน่ือง

อาคาร/ สถานที่  กาหนดให้ใช้พื้นท่ีปฏิบัติงานสารองของหน่วยงานในสังกัด
ปฏบิ ตั งิ านสารอง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เช่น
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวัดศรีสะเกษ ศูนย์สงเคราะห์และ
ฝึกอาชีพเยาวชนจังหวัดศรีสะเกษหรือพ้ืนท่ีอื่นโดยมีการ
สารวจความเหมาะสมของสถานท่ี ประสานงาน และการ
เตรยี มความพร้อม กับหนว่ ยงานเจา้ ของพน้ื ท่ี

วัสดุอุปกรณท์ ี่  กาหนดให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง ท่ีมีคุณลักษณะ

สาคัญ / การจัดหา เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ท่ีสามารถเชื่อมต่อ

จดั สง่ วสั ดุอปุ กรณ์ ผ่านอิเตอร์เน็ตเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของหน่วยงานกลางและ

ที่สาคัญ กรมบญั ชกี ลางได้ เชน่ สานักงานคลังจงั หวดั ศรสี ะเกษ

 ก า ห น ด ใ ห้ ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ บ บ พ ก พ า

(Laptop/Notebook)ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานได้เป็นการ

ชั่วคราว หากมีความจาเป็นเร่งด่วนในช่วงระหว่างการจัดหา

คอมพิวเตอร์สารอง ท้ังนี้ ต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้า

คณะบรหิ ารความต่อเนื่องในการกรู้ ะบบคนื ก่อนใชง้ าน

เทคโนโลยี  ระบบบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลสาคัญของ
สารสนเทศและ หน่วยงาน มีลักษณะแบบรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง (สานักงาน
ขอ้ มลู ทีส่ าคญั ปลัด พม. กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมกิจการสตรีและ
สถาบันครอบครัว กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมส่งเสริมและ
พฒั นาคุณภาพชีวิตคนพิการ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ)
และเช่ือมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เน็ต เพ่ือการใช้
งาน ทาให้หน่วยงานระดับจังหวัดไม่มีระบบคอมพิวเตอร์
สารอง ดังน้ี หากเกิดภาวะฉุกเฉินต้องรอนจนกว่าระบบการ
บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานกลางจะกอบกู้ให้
สามารถใช้งานได้ แต่ถ้าเกิดเหตุท่ีจังหวัดการเชื่อมต่อบาง
ระบบจะยังสามารถใช้การได้ เน่ืองจากได้นาดึงข้อมูลสารอง
จากส่วนกลางมาใช้ในพื้นที่ ในกรณีที่มีไฟฟูาหรือระบบ
อนิ เตอร์ใช้งานไดป้ กติ

บคุ ลากรหลัก  กาหนดให้ใช้บุคลากรเรียนรู้การปฏิบัติงาน หรือการถ่ายทอด
งานโดยการจับคู่ปฏิบัติงานทดแทนกันได้ภายในฝุายงานหรือ
กลุ่มงานเดียวกัน เพื่อสามารถให้บริการได้อย่างต่อเน่ือง เช่น
การบริการทาบัตรคนพิการ การรับเร่ืองรับเด็กเป็นบุตรบุญ
ธรรม การชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสงั คม เปน็ ต้น

 กาหนดให้ใช้บุคลากรนอกฝุายงานหรือกลุ่มงานในกรณีท่ี

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ หนา้ 10

ทรพั ยากร กลยุทธ์ความต่อเน่ือง

บุคลากรไม่เพียงพอหรือขาดแคลน และกาหนดให้ข้าราชการ
ทกุ คนต้องร้ทู ุกงาน และต้องมกี ารหมุนเวียนสับเปลี่ยนงานกัน
ทุกปี เพ่ือความตอ้ งเน่ืองในการใหบ้ ริการแก่ประชาชน

คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่  ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสานักงานพัฒนาสังคมและ

สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ กาหนดให้มีผู้ให้

สว่ นเสยี บริการเชอ่ื มโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ๒ ราย คือบริษัท

ทีโอที จากัด(มหาชน)สาขาศรีสะเกษ และบริบัท กสท

โทรคมนาคม (CAT) ซ่ึงหากผู้ให้บริการหลักไม่สามารถ

ให้บริการได้ ระบบเช่ือมโยงจะปรับเปลี่ยนไปยังผู้ให้บริการ

สารองได้

 กาหนดให้จัดหาอุปกรณ์เช่ือมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่าน

อินเตอร์เน็ต แบบพกพา (Air Card) ของผู้ให้บริการ

โทรศัพทม์ อื ถอื เชอื่ มโยงการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและ

ข้อมูลสาคัญของหน่วยงานกลางผ่านอินเตอร์เน็ตหากผู้

ให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้ง ๒ ราย ไม่สามารถใช้การ

ได้ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด

แผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรีสะเกษ หนา้ 11

แผนดาเนนิ ธุรกจิ อยา่ งต่อเนอื่ ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ

หนา้ 1

ข้ันตอนการบรหิ ารความต่อเนื่องและกอบกกู้ ระบวนการ

วันท่ี 1 การตอบสนองต่อเหตุการณท์ นั ที (ภายใน 24 ชั่วโมง)

การปฏิบตั ิการใดๆ ให้บคุ ลากรของทุกกลุ่ม คานงึ ถึงความปลอดภยั ในชีวติ ของตนเองและบคุ ลากรอื่น

และปฏิบัตติ ามแนวทาง แผนเผชญิ เหตุ และขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านท่หี น่วยงานตนเองและสานกั งานปูองกนั

และบรรเทาสาธารณภยั กาหนดขนึ้ อย่างเครง่ ครัด

ขัน้ ตอนและกจิ กรรม บทบาทความรับผิดชอบ ดาเนนิ การแล้วเสรจ็

- แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree ให้กับ หัวหนา้ ทมี งานบรหิ าร 
บุคลากรในฝุายฯ ภายหลังได้รับการแจ้งจากหัวหน้าคณะ ความตอ่ เนอ่ื งของฝาุ ยฯ

บรหิ ารความตอ่ เนื่องของหน่วยงาน

- จัดประชมทีมงามบริหารความต่อเนื่อง เพ่ือประเมินความ ทีมงานบริหารความ 
เสียหาย ผลกระทบต่อการดาเนินงาน การให้บริการ และ ต่อเนื่องของฝาุ ยฯ

ทรพั ยากรสาคญั ท่ีต้องใชใ้ นการบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง

- ทบทวนกระบวนงานที่มคี วามเร่งด่วน หรือส่งผลกระทบอย่าง

สูง (หากไมด่ าเนินการ) ดงั นน้ั จาเป็นต้องดาเนินงานหรือปฏิบัต

ด้วยมอื (Manual Processing)

- ระบุและสรุปรายช่ือบุคลากในฝุายฯ ท่ีได้รับผลกระทบ เช่น หวั หน้าฝาุ ย 

บาดเจบ็ หรอื เสียชีวิต หรอื อืน่ ๆ

- รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน หัวหน้าทีมงานบรหิ าร 
ความต่อเนอ่ื งของฝุาย
ทราบ โดยครอบคลมุ ประเด็นดงั นี้

• จานวนและรายชอื่ บคุ ลากรที่ได้รับบาดเจ็บ/เสยี ชีวติ

• ความเสียหายและผลกระทบต่อการดาเนินงานและ

การใหบ้ รกิ าร

• ทรพั ยากรสาคญั ท่ตี ้องใช้ในการบริหารความตอ่ เนอื่ ง

• กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบอย่าง

สูงหากไม่ดาเนินการ และจาเป็นต้องดาเนินการหรือ

ปฏบิ ัตงิ านด้วยมือ

- ส่อื สารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรในฝุายฯ ให้ทราบ หัวหนา้ ทีมงานบริหาร 
ตามเน้ือหาและข้อความที่ได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจาก ความต่อเน่ืองของฝุาย

คณะบรกิ ารความต่อเนอ่ื งของหน่วยงานแลว้

- ประเมินและระบุกระบวนการหลัก และงานเร่งด่วนท่ี หวั หนา้ ทีมงานบริหาร 
จาเป็นต้องดาเนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 1-5 วันขา้ งหน้า ความต่อเนอ่ื งของฝาุ ย

- ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานในการ หัวหน้าทมี งานบรหิ าร 
ดาเนินงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจากัดและสภาวะวิกฤต ความต่อเนื่องของฝาุ ย 
พร้อมระบุทรพั ยากรทีจ่ าเป็นตอ้ งใช้ในการบิรหารความต่อเน่ือง
ตามแผนการจดั หาทรพั ยากร

- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริการความต่อเน่ือง หวั หน้าทมี งานบริหาร
ของหน่วยงานทราบ พร้อมขออนุมัติการดาเนินงานหรือ ความต่อเนื่องของฝาุ ย
ปฏิบัติงานด้านมือ (Manual Processing) สาหรับ
กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบอย่างสูงหารไม่
ดาเนนิ การ

แผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ หนา้ 13

ขั้นตอนและกจิ กรรม บทบาทความรับผดิ ชอบ ดาเนนิ การแล้วเสรจ็

- ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดหา หัวหนา้ ทีมงานบรหิ าร
ทรพั ยากรทีจ่ าเปน็ ต้องใชใ้ นการบริหารความต่อเนอื่ ง ได้แก่ ความต่อเนอ่ื งของฝุาย 
• ฝุายบรหิ ารทัว่ ไป 
• สถานทปี่ ฏบิ ัตงิ านสารอง • ฝาุ ยบรหิ ารทวั่ ไป 
• วสั ดุอุปกรณ์ที่สาคญั • ฝุายบรหิ ารทว่ั ไป/ 
• เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลท่ีสาคัญ 
หน่วยงาน

• บุคลากรหลัก • หน่วยงาน
• ฝุายบรหิ ารทว่ั ไป/

• คู่คา้ /ผ้ใู หบ้ ริการทีส่ าคญั /ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี หนว่ ยงาน

- พิจารณาดาเนืนการหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual) หัวหนา้ และทีมงานบริหาร
เฉพาะงานเร่งด่วน หากไม่ดาเนินการจะส่งผลกระทบอย่างสูง ความตอ่ เนื่องของฝุาย

และไม่สามารถรอได้ ทั้งนี้ ตอ้ งได้รบั การอนุมัติ

- ระบหุ น่วยงานที่เป็นคู่ค้า/ผู้ให้บริการสาหรับงานเร่งด่วน เพื่อ หัวหนา้ และทมี งานบริหาร 
แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารงานให้มีความ ความตอ่ เนือ่ งของฝาุ ย

ต่อเน่ืองตามความเห็นของคณะบริหารความต่อเน่ืองของ 

หนว่ ยงาน

- บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ท่ีมี ทมี งานบริหารความ
งามบรหิ ารความต่อเน่ืองของฝุายฯ ต้องดาเนินการ (พร้อมระบุ ต่อเน่อื งของฝุายฯ

รายละเอยี ด ผดู้ าเนนิ การและเวลา) อย่างสม่าเสมอ

- แจง้ สรปุ สถานการณแ์ ละข้นั ตอนการดาเนินงานสาหรับในวัน หวั หนา้ ทีมงานบริหาร
ถดั ไป ให้กบั บคุ ลากรหลกั ในฝุายฯ เพ่ือรับทราบและดาเนินการ ความตอ่ เนอื่ งของฝุายฯ

อาทิ แจ้งวัน เวลา และสถานทป่ี ฏิบตั งิ านสารอง

- รายงานความคบื หนา้ ให้แกห่ วั หน้าคณะบริหารความต่อเน่ือง หัวหน้าและทมี งานบรหิ าร
ความต่อเนอ่ื งของฝุาย
ของหนว่ ยงานอยา่ งสมา่ เสมอหรือตามทไ่ี ด้กาหนดไว้

วนั ท่ี 2-7 การตอบสนองในระยะสนั้

การปฏบิ ัติการใดๆ ให้บคุ ลากรของทุกกลุ่ม คานึงถึงความปลอดภยั ในชวี ิตของตนเองและบุคลากรอ่นื

และปฏิบัตติ ามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขน้ั ตอนการปฏิบัติงานท่ีหนว่ ยงานตนเองและสานกั งานปูองกนั

และบรรเทาสาธารณภยั กาหนดขน้ึ อยา่ งเคร่งครัด

ขั้นตอนและกจิ กรรม บทบาทความรับผดิ ชอบ ดาเนนิ การแล้วเสร็จ

- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คือนมาของทรัพยากรที่ได้รับ หัวหน้าทมี งานบริหาร 

ผลกระทบ ประเมินความจาเป็นและระยะเวลาที่ต้องใช้ในการ ความตอ่ เนอื่ งของฝุายฯ

กอบกู้คืน

- ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพรอ้ มและขอ้ กาจักในการจัดหา หวั หนา้ ทีมงานบรหิ าร 
ทรัพยากรทีจ่ าเปน็ ตอ้ งใช้ในการบรหิ ารความตอ่ เน่ือง ได้แก่ ความตอ่ เนอ่ื งของฝุาย
• ฝาุ ยบรหิ ารทั่วไป
• สถานท่ีปฏิบตั ิงานสารอง • ฝาุ ยบรหิ ารทั่วไป 
• วัสดุอปุ กรณท์ ี่สาคัญ • ฝาุ ยบรหิ ารทั่วไป/ 
• เทคโนโลยสี ารสนเทศและข้อมูลทส่ี าคญั 
หนว่ ยงาน

แผนดาเนินธุรกจิ อย่างตอ่ เนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 14

ขัน้ ตอนและกจิ กรรม บทบาทความรบั ผดิ ชอบ ดาเนนิ การแลว้ เสร็จ

• บคุ ลากรหลัก • หน่วยงาน 

• คูค่ ้า/ผใู้ หบ้ ริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ฝาุ ยบรหิ ารท่ัวไป/

หนว่ ยงาน 

- รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน หัวหนา้ ทมี งานบริหาร 
ความพรอ้ ม ข้อจากัด และข้อเสนอแนะในการจดั หาทรัพยากรที่ ความตอ่ เนื่องของฝาุ ย 

จาเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการบริหารความต่อเนอ่ื ง 

- ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรพั ยากรท่จี าเป็นต้องใช้ใน หัวหนา้ ทีมงานบรหิ าร
ความต่อเน่ืองของฝาุ ย 
การบริ หารความตอ่ เน่อื ง ได้แก่ 
• ฝุายบรหิ ารทว่ั ไป
• สถานที่ปฏิบตั ิงานสารอง 
• ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป 
• วัสดุอปุ กรณ์ที่สาคัญ
• ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป/
• เทคโนโลยสี ารสนเทศและขอ้ มูลทส่ี าคญั หน่วยงาน
• บุคลากรหลกั
• คคู่ า้ /ผู้ให้บรกิ ารทสี่ าคญั /ผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสีย • หนว่ ยงาน
• ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป/

หนว่ ยงาน

- ดาเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงานต่างๆ ที่ ฝุายบรหิ ารท่ัวไป

จาเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการดาเนินงานและใหบ้ ริการตามตารางท่ี 6

- ดาเนนิ งานและใหบ้ รกิ าร ภายใต้ทรพั ยากรที่จัดหาเพ่ือบริหาร หวั หน้าทมี งานบรหิ าร
ความตอ่ เนอื่ งของฝุาย
ความตอ่ เน่ือง

• สถานทป่ี ฏิบัตงิ านสารอง

• วัสดอุ ปุ กรณท์ ส่ี าคัญ

• เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทสี่ าคญั

• บคุ ลากรหลัก

• คู่คา้ /ผูใ้ ห้บริการทีส่ าคัญ/ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี

- แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องแก่ หัวหนา้ ทีมงานบริหาร
ความตอ่ เนอ่ื งของฝาุ ย
หน่วยงานเกษตรกร/ผู้ใช้บรกิ าร/คคู่ า้ /ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ

- บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ท่ี ทีมงานบรหิ ารความ
ทมี งานบริหารความต่อเนื่องของฝุาย (พร้อมระบุความละเอียด ตอ่ เนอ่ื งของฝุาย

ผูด้ าเนินการ และเวลาอย่างสมา่ เสมอ)

- แจ้งสรุปสถานการณ์และขน้ั ตอนการดาเนินการต่อไป สาหรับ หัวหนา้ ทีมงานบรหิ าร
ความตอ่ เน่อื งของฝุายฯ
ในวันถดั ไป ให้กับบุคลากรในฝาุ ยฯ

- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความต่อเน่ือง หวั หน้าและทมี งานบรหิ าร
ความตอ่ เนื่องของฝาุ ยฯ
ของหนว่ ยงาน ตามเวลาทีก่ าหนดไว้

แผนดาเนินธุรกจิ อย่างต่อเนอื่ ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ หนา้ 15

วันท่ี 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห)์

การปฏบิ ัตกิ ารใดๆ ให้บุคลากรของทุกกลุ่ม คานึงถึงความปลอดภัยในชีวติ ของตนเองและบุคลากรอืน่

และปฏบิ ัตติ ามแนวทาง แผนเผชิญเหตุ และขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงานปูองกนั

และบรรเทาสาธารณภัยกาหนดขึ้นอยา่ งเคร่งครดั

ข้นั ตอนและกจิ กรรม บทบาทความรบั ผิดชอบ ดาเนินการแล้วเสรจ็

- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คือนมาของทรัพยากรท่ีได้รับ หัวหนา้ ทีมงานบรหิ าร 
ผลกระทบ ประเมินความจาเป็นและระยะเวลาท่ีต้องใช้ในการ ความต่อเน่ืองของฝาุ ยฯ

กอบกู้คืน

- ระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ เพ่ือดาเนินงานและให้บริการ

ตามปกติ

- รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน

สถานภาพการกอบกู้คนื มาของทรัพยากรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ และ

ทรัพยากรทจ่ี าเป็นตอ้ งใชเ้ พ่ือดาเนินงานและให้บริการตามปกติ

- ประสานและดาเนนิ งานจัดหาทรัพยากรท่ีจาเป็นต้องใช้เพ่ือให้ หัวหน้าทมี งานบรหิ าร 
ความตอ่ เนื่องของฝุาย
การดาเนินงานและใหบ้ รหิ ารตามปกติ ไดแ้ ก่ 
• ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป 
• สถานท่ปี ฏิบตั งิ านสารอง 
• ฝุายบรหิ ารทวั่ ไป 
• วสั ดุอุปกรณ์ทสี่ าคัญ 
• ฝาุ ยบรหิ ารทั่วไป/
• เทคโนโลยสี ารสนเทศและขอ้ มลู ทส่ี าคัญ
หน่วยงาน
• บคุ ลากรหลกั
• หน่วยงาน
• คูค่ ้า/ผ้ใู หบ้ รกิ ารท่ีสาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
• ฝาุ ยบรหิ ารทว่ั ไป/

หนว่ ยงาน

- รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน หัวหนา้ ทมี งานบริหาร 
ความพร้อม ขอ้ จากัด และขอ้ เสนอแนะในการจดั หาทรพั ยากรท่ี ความต่อเนื่องของฝุาย

จาเปน็ ตอ้ งใช้ในการบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง

- สรุปแจ้งสถานการณ์และเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร หัวหน้าทมี งานบริหาร 
ต่างๆ เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ ให้กับบุคลากรใน ความตอ่ เนื่องของฝาุ ย

ฝาุ ยฯ

- บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงานต่างๆ ที่ ทมี งานบรหิ ารความ 
ทีมงานบริหารความต่อเน่ืองของฝุาย (พร้อมระบุความละเอียด ต่อเน่ืองของฝาุ ย

ผ้ดู าเนินการ และเวลาอย่างสม่าเสมอ)

- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง หวั หนา้ และทมี งานบริหาร 
ความตอ่ เน่อื งของฝุายฯ
ของหน่วยงาน ตามเวลาทีก่ าหนดไว้

แผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนอ่ื ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ หนา้ 16

ภาคผนวก ก

การกาหนดกระบวนการแจ้งเหตุฉกุ เฉนิ )Call Tree)

กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน )Call Tree) คือ กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในทีม
บริหารความต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สามารถบริหารจัดการในการติดต่อบุคลากรของหน่วยงาน
ภายหลังจากมีการประกาศเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตของหน่วยงาน และให้แผนดาเนินธุรกิจอย่าง
ต่อเน่ืองสามารถนาไปปฏิบัตใิ ช้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลมากยิง่ ขน้ึ

โดยกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน )Call Tree) ของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ เร่ิมต้นท่ีหัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่องแจ้งให้ผู้ประสานงานทีมบริหารความ
ตอ่ เนื่องทราบถงึ เหตุการณ์ฉุกเฉิน เพ่ือให้ผู้ประสานงานฯ แจ้งทีมบริหารความต่อเนื่องแต่ละกลุ่ม หัวหน้า)
รับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนด (หัวหน้าส่วนงาน/ฝุายำเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองและ
แจ้งไปยังบุคลากรภายในกลุ่มรับทราบ ตามรายชื่อและช่องทางติดต่อส่ือสารที่ได้ระบุในตารางที่
ก-1 ถึง ก-4 ซง่ึ สามารถแสดงเปน็ แผนผงั กระบวนการแจ้งเหตฉุ ุกเฉนิ (Call Tree) ดังน้ี

หวั หนา้ ทีมบริหารความต่อเน่ือง
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวัดศรีสะเกษ

(พฒั นาสงั คและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั ศรสี ะเกษ)

นางสาวนภาพร เมฆาผอ่ งอาไพ (0x-xxxx-xxxx)

ผู้ประสานงานทีมบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื ง

นางสาววรี นิ ท์ นติ ย์สวุ รรณ
นกั พฒั นาสงั คมชานาญการพิเศษ

(0x-xxxx-xxxx)

ทีมบริหารความต่อเนอ่ื ง ทมี บริหารความต่อเนื่อง ทมี บริหารความต่อเนื่อง ทมี บริหารความตอ่ เนือ่ ง
ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุม่ นโยบายและวชิ าการ กลุ่มการพัฒนาสงั คมและสวสั ดิการ
ศนู ยบ์ ริหารคนพิการจังหวดั ศรีสะเกษ
(หวั หนา้ ฝ่าย) (หวั หน้ากล่มุ ) (หัวหนา้ กลุม่ )
นางสาวรตั นาภรณ์ บุญมี นางพรทิพย์ นิธิโพธพิ งศ์ (ผู้อานวยการศนู ย์)
นางสาววีรินท์ นิตย์สุวรรณ นางนงลักษณ์ ชัยชาญ
(0x-xxxx-xxxx) (0x-xxxx-xxxx) (0x-xxxx-xxxx)
(0x-xxxx-xxxx)

แผนดาเนินธรุ กิจอย่างตอ่ เนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ หนา้ 17

ตารางที่ ก-1 รายชอื่ บคุ ลากรในกระบวนนการแจ้งเหตุฉุกเฉนิ ของฝาุ ยบริหารทว่ั ไป

ทมี บริหารความต่อเนือ่ ง

หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารทัว่ ไป บคุ ลากรในฝา่ ย

ชอ่ื เบอรโ์ ทรศพั ท์ ชอ่ื เบอรโ์ ทรศัพท์

นางสาวรัตนาภรณ์ บญุ มี (0x-xxxx-xxxx) นางสาวประไพ แซง่ ้ัง (0x-xxxx-xxxx)

นายทรงพล ศรีลาชยั (0x-xxxx-xxxx)

ตารางที่ ก-2 รายช่อื บคุ ลากรในกระบวนนการแจ้งเหตุฉกุ เฉนิ ของกลุ่มนโยบายและวิชาการ

ทีมบรหิ ารความต่อเน่ือง

หัวหน้ากลุ่มนโยบายและวชิ าการ บคุ ลากรในฝา่ ย

ช่อื เบอร์โทรศพั ท์ ชือ่ เบอรโ์ ทรศัพท์

นางสาววรี ินท์ นติ ยส์ ุวรรณ (0x-xxxx-xxxx) นายเอกวัฒน์ ปอู งกัน (0x-xxxx-xxxx)

นายทนิ กรณ์ ทองอินทร์ (0x-xxxx-xxxx)

ตารางท่ี ก-3 รายชอ่ื บุคลากรในกระบวนนการแจง้ เหตุฉกุ เฉินของกลมุ่ การพัฒนาสงั คมและสวสั ดกิ าร

ทมี บริหารความต่อเน่ือง

กลมุ่ การพฒั นาสังคมและสวสั ดกิ าร บคุ ลากรในฝา่ ย

ช่อื เบอร์โทรศัพท์ ช่ือ เบอรโ์ ทรศัพท์

นางพรทพิ ย์ นิธิโพธิพงศ์ (0x-xxxx-xxxx) นายดีเจรญิ สมประสาท (0x-xxxx-xxxx)

นางสาวชลิตา คณุ ารตั น์ (0x-xxxx-xxxx)

ตารางที่ ก-4 รายชือ่ บคุ ลากรในกระบวนนการแจง้ เหตฉุ ุกเฉนิ ของศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการจงั หวัดศรีสะเกษ

ทมี บริหารความตอ่ เนอ่ื ง

ผู้อานวยการศูนย์บรกิ ารคนพกิ ารจังหวดั ศรีสะเกษ บคุ ลากรในฝา่ ย

ชื่อ เบอรโ์ ทรศัพท์ ชือ่ เบอรโ์ ทรศัพท์

นางนงลกั ษณ์ ชยั ชาญ (0x-xxxx-xxxx) นางสาวปราถนา วันอุน่ (0x-xxxx-xxxx)

นางสาวนรชิ า จนั ทะศรี (0x-xxxx-xxxx)

ภายหลังจากได้รับการตอบรับจากบุคลากรหลักครบถ้วนตามกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน
)Call Tree) ข้างต้น ทีมบริหารความต่อเน่ืองแต่ละกลุ่ม มีหน้าท่ีโทรศัพท์ (นงานหัวหน้าส่ว/หัวหน้าฝุาย)
กลับไปแจ้งยังผู้ประสานงานทีมบริหารความต่อเนื่อง เพ่ือรายงานสรุปความพร้อมของหน่วยงานในการ
บรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวกิ ฤต รวมทั้งความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ินของหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ี
ทงั้ หมดในหน่วยงานโดยทมี บริหารความตอ่ เน่ืองแตล่ ะกลุ่ม มีหนา้ ท่ีในการปรับปรุงข้อมูลสาหรับการติดต่อ
ให้เป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้กระบวนการติดต่อบุคลากรภายในหน่วยงานสามารถดาเนินได้อย่าง
ต่อเนื่องและสาเร็จลุล่วงภายในระยะเวลาท่คี าดหวัง

แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรีสะเกษ หนา้ 18

ภาคผนวก ข

คาสัง่ แต่งตั้งทีมบรหิ ารความต่อเนื่อง
ของสานักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวดั ศรีสะเกษ

แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างต่อเนอื่ ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ หนา้ 19

-รา่ ง-

คาสั่งสานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั ศรีสะเกษ

ท่ี /2563

เรื่อง แต่งต้ังทีมบรหิ ารความต่อเนื่องสานักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ

-----------------------

ด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันที่ 31 มีนาคม 2563 เห็นชอบในหลักการมาตรการเตรียมความ

พร้อมของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารราชการและให้บริการประชาชนในสภาวะวิกฤต (รองรัสถาน

การณ์การระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID – 19)) โดยให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วย

ดาเนินการทบทวนและปรับปรุงแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเน่ืองสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ

วิกฤต (BusinessContinuity Plan) ให้เป็นปัจจุบัน โดยนามาตรการเตรียมความพร้อมฯ มาผนวกไว้ใน

แผนฯ รวมทั้งปรับปรุงแผนฯ ให้สามารถรองรับกรณีเกิดโรคระบาดต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานานได้ ดังน้ัน

เพ่ือให้สา นักงานพัฒนาสังคมและคว ามมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ มีความพร้อมและสามารถ

ตอบสนองการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต เหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น รวมทั้งโรคระบาดต่อเนื่อง

อันเป็นการช่วยลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงาน และสามารถปฏิบัติงานให้บริการ

ประชาชนได้ต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีคาส่ังแต่งตั้งทีมบริหารความต่อเนื่องสานักงานพัฒนาสังคม

และความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดศรสี ะเกษ โดยมอี งคป์ ระกอบและอานาจหน้าที่ ดงั นี้

องคป์ ระกอบ

1. พฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั ศรสี ะเกษ หวั หนา้ ทมี

2. นางสาววรี นิ ท์ นิตยส์ วุ รรณ นกั พัฒนาสังคมชานาญการพิเศษ ผปู้ ระสาน

3. หัวหนา้ ฝุายบรหิ ารทัว่ ไป ทีมงาน

4. หวั หนา้ กลมุ่ นโยบายและวิชาการ ทีมงาน

5. หวั หนา้ กลมุ่ การพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ ทมี งาน

6. ผู้อานวยการศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจังหวดั ศรสี ะเกษ ทีมงาน

อานาจหน้าท่ี

1. จัดทาแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

จงั หวดั ศรีสะเกษ

2. จดั ใหม้ ีการซกั ซอ้ มการดาเนินการตามแผนดาเนนิ ธรุ กิจอยา่ งตอ่ เน่ืองของสานักงานพัฒนาสังคม

และความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั ศรสี ะเกษ

3. ทบทวนและปรบั ปรุงแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ

มนุษย์จังหวัดศรสี ะเกษใหเ้ ปน็ ปจั จุบันตามความเหมาะสม

4..สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะบริหารความต่อเนื่องของจังหวัดศรีสะเกษ ดาเนินการตาม

ขน้ั ตอนและแนวทางการบรหิ ารความต่อเนอ่ื ง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรท่ีได้กาหนดไว้ในแผนดาเนินธุรกิจ

อย่างตอ่ เนือ่ งของหน่วยงาน

ทงั้ นี้ ต้ังแตบ่ ัดน้ีเป็นตน้ ไป

สัง่ ณ วนั ท่ี มถิ ุนายน พ .ศ.2563

(นางสาวนภาพร เมฆาผ่องอาไพ(
พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัดศรีสะเกษ

แผนดาเนินธุรกิจอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 20

ภาคผนวก ค
แบบตรวจสอบความครบถว้ นของแผนดาเนินธรุ กจิ อยา่ งต่อเนอื่ งของหน่วยงานภาครฐั

(BCP Checklist)
หน่วยงาน สานกั งานพฒั นสั งคมและความมนั่ คงขอมุนษยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ

แบบฟอร์มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานใช้ในการสารวจตนเอง เพ่ือให้ม่ันใจว่าแผน
มีความครบถ้วนและสมบูรณ์ตามแนวทางของการจัดทา BCP รวมท้ังสารวจความพร้อมของ
ระบบ e-Service และระบบเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีรองรับการบริหารงานภายในและงานบริการของ
หน่วยงานได้อย่างต่อเนอ่ื งแม้ประสบสภาวะวิกฤต

รายการตรวจสอบ มี ไม่มี
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐาน
1.1 ก่อนหนา้ น้มี ีแผนเดิมอยู่ ☐☒
1.2 แผน BCP ท่ีจัดทาขึน้ ในครงั้ นสี้ ามารถรองรบั เหตกุ ารณ์ ดังตอ่ ไปนี้
☒☐
 เหตุการณ์อุทกภัย ☒☐
 เหตกุ ารณ์อัคคีภัย ☐☒
 เหตุการณ์ชมุ นมุ ประท้วงจลาจล/ ☒☐
 เหตุการณ์โรคระบาดต่อเน่อื ง ☐☒
 อ่ืน ๆ (ระบุ) ไฟฟูาดบั ในวงกวา้ ง
ส่วนท่ี 2 องค์ประกอบตามแนวทางของการจดั ทา BCP ☒☐
☒☐
2.1 ทมี งานแผนดาเนนิ ธุรกจิ อย่างต่อเน่ือง ☒☐

2.2 ผลกระทบต่อกระบวนการทางานหรอื การใหบ้ รกิ าร )BIA) ☒☐
2.3 ความตอ้ งการทรัพยากรที่สาคัญ ☒☐
2.4 กลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความตอ่ เน่ือง ☒☐
☒☐
 ดา้ นอาคาร สถานทีป่ ฏิบตั งิ านสารอง/ ☒☐
 ดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีสาคญั /การจัดหา จัดสง่ วัสดอุ ุปกรณท์ ี่สาคัญ ☒☐
 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทส่ี าคัญ ☒☐
 ด้านบุคลากร
 ด้านคูค่ ้า/ผใู้ หบ้ ริการที่สาคัญผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี /
2.5 กระบวนการแจ้งเหตฉุ ุกเฉิน )Call Tree)

2.6 ข้นั ตอนการบริหารความตอ่ เน่อื งและกอบกู้กระบวนการ

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างตอ่ เนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 21

สว่ นที่ 3 ประเดน็ ทคี่ ณะรฐั มนตรีใหค้ วามสาคญั ตามมติคณะรฐั มนตรีเม่ือวันที่)31 มีนาคม 2563)

3.1 การนาระบบ e-Service มาใชใ้ นการบริหารงานและให้บรกิ ารประชาชน

นอกเหนือจาก e-Service ท่รี ะบุใน Strategy Map แล้ว หน่วยงานมีภารกิจมแี ผนทจี่ ะงานท/ี่
พัฒนาเป็นe-Service ในระยะต่อไป เพ่ือสนบั สนุนกระบวนงานหลักหรือไม่ อยา่ งไร

ภารกิจนาง/ ระบบนาง )ีาม ้ถ(

1.การรบั สง่ หนังสือจากสว่ นกลางหรือหนว่ ยงานใน ………………………………………………………………

สังกดั กระทรวง ในรูปแบบอเี มล์

2.การรับชาระหนีก้ องทุนสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพ

ชีวติ คนพิการ และกองทนุ ผู้สูงอายุ ผา่ นระบบเคาเตอร์

เซอรว์ ิส หรอื ระบบธนาณัติออนไลน์

3.2 การนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบรหิ ารงาน

3.2.1จากเหตุ COVID ในคร้ังนี้ มีการนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใช้สนับสนนุ การทางาน
(หน่วยงานทงั้ การบรหิ ารงานภายในและงานบริการของ)

ภารกิจนาง/ ระบบเทคโงโลยถ
GIN Conference /วีดีโอคอลระบบ Line
1.ประชุมและตดิ ตามงานผ่านโปรแกรมออนไลน์
2.ฐานข้อมลู กลางในการประสานงานและแลกเปลยี่ น
ข้อมูลระหวา่ งหน่วยงานในสงั กดั กระทรวง
-ระบบเงินอดุ หนนุ เพื่อการเล้ียงดเู ดก็ แรกเกิด
-ระบบเงินสงเคราะห์ครอบครัวผ้ปู ระสบปญั หาทาง
สังคม
-ระบบคา่ จัดการศพผู้สูงอายุ และเงินสงเคราะห์
ผูส้ งู อายุในภาวะยากลาบาก
-ระบบดูแลเด็กในครอบครวั อุปถัมภ์
3.การติดตอ่ ส่ือสารงานของหนว่ ยงานกบั เครือขา่ ย
อปท.ผ่านระบบกลมุ่ Line

3.2.2 ในอนาคตมแี ผนที่จะนาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นภารกิจานใดหรือไม่ ง/
อย่างไร

ภารกิจนาง/ ระบบเทคโงโลยถ )ีมา้ถ(
e-Learning System
สง่ เสรมิ บคุ ลากรให้มกี ารพัฒนาตนเองผ่านระบบ
e-Learning

3.3 การบรกิ ารโครงสรา้ งพืน้ ฐานที่จาเป็นตอ่ การดารงชีวิตของประชาชน เช่น พลงั งาน
ประปา โทรคมนาคม คมนาคมขนสง่ สถานพยาบาล

แผนดาเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สานักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 22

รายการตรวจสอบ เปา้ หมายความพร้อมการ

ใหบ้ รกิ าร

บรกิ ารได้ หยดุ ชะงักไม่

ตอ่ เนอื่ งไม่ เกิน (วนั /.ชม)

หยดุ ชะงัก

หน่วยงานมภี ารกิจงานเก่ียวกบั การใหบ้ รกิ ารโครงสร้างพ้ืนฐานท่จี าเป็นตอ่ การดารงชวี ติ /

(1) ระบชุ ่อื ภารกิจ งาน/ - ☐

ระบุมาตรการแนวทางท่ดี าเนินการ เชน่ มาตรการในการ/

ทดแทนบุคลากรในระยะสั้น/มุนเวยี นห………………………..

(2) ระบชุ ่อื ภารกิจ งาน/ - ☐

ระบุมาตรการแนวทางท่ีดาเนินการ เช่น มาตรการในการ/

ทดแทนบุคลากรในระยะส้ัน/หมุนเวียน…………………………

หมายเหตุ : 1. e-Service หมายถึง ระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงาน ในรูปแบบออนไลน์ หรือ
การใช้โปรแกรมต่าง ๆ เพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงงานบริการของภาครัฐ แทนการมาติดต่อด้วยตนเองที่
หนว่ ยงาน เชน่ การรับส่งเอกสาร การรับเรอ่ื ง และ การย่ืนขออนุมตั ิ อนุญาต เป็นตน้

2. ระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั หมายถงึ การนาระบบเทคโนโลยี เช่น เคร่ืองมือ อุปกรณ์ โปรแกรม
ตา่ ง ๆ มาประยุกต์ใชเ้ พอ่ื สนับสนนุ กระบวนการทางานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การใช้
Internet of Things AI Robotic Blockchain และรวมถงึ การพัฒนาระบบ e-Service ดว้ ย

แผนดาเนนิ ธรุ กิจอย่างตอ่ เนอ่ื ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ หนา้ 23

สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดศรีสะเกษ
เลขท่ี ๒๐๓/๙ หมูท่ ี่ ๙ ถนนกสกิ รรม ตาบลโพธิ์
อาเภอเมือง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ๓๓๐๐๐
โทรศพั ท์/โทรสาร ๐ ๔๕๖๑ ๒๘๑๕-๗

E-mail : [email protected]
http://www.sisaket.m-society.go.th

แผนดาเนินธรุ กจิ อย่างตอ่ เนอื่ ง สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ศรสี ะเกษ หนา้ 24


Click to View FlipBook Version