บทสรุปผู้บริหาร
สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ ได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี
( พ.ศ. 2561 - 2565) เพือ่ เปน็ แผนหลกั ในการกาหนดทิศทางและเปูาหมายในการดาเนินงานของสานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ ให้สอดคล้องกับปณิธานและพันธกิจของสานักงานฯ ซ่ึงการจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์ในคร้ังนี้ได้ระดมความคิดจากทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกกระทรวงท่ีทางานด้านสังคม
เพื่อให้เกิดพลังในการขับเคล่ือน และพัฒนาแบบบูรณาการร่วมกันอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูล
ต่างๆจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของประเทศและของโลก มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560 - 2579) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 แผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี
(พ.ศ.2561 - 2565) ฉบบั ทบทวน พ.ศ.2563 และยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์
แผนยุทธศาสตร์สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ ระยะ 5 ปี
( พ.ศ. 2561 - 2565) มสี าระสาคญั สรปุ ได้ดังนี้
ค่านยิ ม : สรา้ งคน สรา้ งงาน สานพลงั ชมุ ชน
วิสยั ทัศน์ : สนง.พมจ.ศก. เปน็ ผู้นาในการพัฒนาสังคม เพ่อื คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีของประชาชนอยา่ งถว้ นทั่ว
พันธกจิ : 1.สร้างฐานข้อมูลทางดา้ นสงั คมทีม่ ีประสทิ ธิภาพและครอบคลมุ ทุกมติ ิ
2.สนบั สนุนกลไกการจดั สวัสดกิ ารทางสงั คมทีห่ ลากหลาย
3.ส่งเสรมิ ผลกั ดันให้มีกิจกรรมการพัฒนาศกั ยภาพของคนอย่างต่อเนื่อง
4.สร้างกลไกการทางานเชิงรกุ และจดั ทาแผนความรว่ มมือ (One plan) การทางานกบั หนว่ ยงาน
ภาคีเครือขา่ ยอยา่ งชดั เจน เป็นรปู ธรรม
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ :
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1. เป็นศนู ยก์ ลางข้อมูลทางสังคมที่ครบถว้ น
เปา้ ประสงค์ 1. สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ศรสี ะเกษเปน็ ศูนย์กลางของข้อมูล
ดา้ นสงั คมทเ่ี ชอ่ื ถือได้และสามารถนาข้อมลู เหลา่ นไ้ี ปในในการแกป้ ัญหาทางสงั คมได้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2. พัฒนาศกั ยภาพกล่มุ เปูาหมายและส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการบริการทางสังคม
เปา้ ประสงค์ 2. -ส่งเสรมิ ให้ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเองไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื โดยลดการพงึ่ พาจากรฐั
-ประชาชนตระหนักถึงสิทธทิ ี่พงึ ไดร้ ับ เขา้ ถึง บรกิ ารจากภาครัฐอย่างทัว่ ถึงและเป็นธรรม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3. ขับเคล่ือนกระบวนการทางานเชิงรกุ ในทุกกระบวนงาน (Workfare than welfare)
เปา้ ประสงค์ 3. –มีฐานการทางานทเ่ี ข้มแขง็ ตั้งแต่ระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาสงั คม
-ภาคเี ครอื ข่ายมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดกิ าร
ส่วนที่ 1
บทนา
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ให้ประเทศมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข และ
ตอบสนองต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติในการท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศ
พัฒนาแล้วและสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาค และเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ใน
ระบบเศรษฐกจิ
โดยมีมิติของความยั่งยืนท่ีสอดคล้องกับภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ดังน้ี
•การพัฒนาทีส่ ามารถสรา้ งความเจรญิ รายได้และคุณภาพชวี ิตของประชาชนใหเ้ พมิ่ ขึน้ อยา่ งต่อเน่ือง ซง่ึ เปน็
การเจริญเตบิ โตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติเกนิ พอดี ไม่สร้างมลภาวะตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถใน
การรองรบั และเยยี วยาของระบบนิเวศน์
•การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลกซ่ึงเป็น
ท่ียอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบ
ต่อสงั คม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชนส์ ่วนรวม
•มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน เพื่อการพัฒนา
ในทุกระดับอย่างสมดุล มเี สถยี รภาพ และยัง่ ยืน
•ประชาชนทกุ ภาคส่วนในสงั คมยดึ ถอื และปฏบิ ัตติ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ท่เี กย่ี วกับภารกจิ ของกระทรวงฯ
การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 จึงเป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญในการเช่ือมต่อกับยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12
ได้กาหนดประเด็นการพฒั นา พร้อมทั้งแผนงาน/โครงการสาคัญที่ต้องดาเนินการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรก
ของการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรยี มความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัว
รองรบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ขณะเดียวกัน ยังได้กาหนดแนวคิดและกลไกการขับเคลื่อนและ
ติดตามประเมินผลที่ชัดเจน เพ่ือกากับให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิดประสิทธิภาพ นาไปสู่การพัฒนาเพ่ือ
ประโยชน์สขุ ทีย่ ั่งยืนของสงั คมไทย
สาหรับการกาหนดวิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับน้ียึดวิสัยทัศของกรอบยุทธศาสตร์ชาติท่ีกาหนดว่า
“ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มงั่ คงั่ ยัง่ ยืน เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ในขณะทก่ี ารกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดในด้านต่างๆ ของแผนพัฒนาฯ ได้ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ที่
เป็นเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกาหนดเป้าหมายท่ีจะบรรลุใน 5 ปี โดยท่ีเป้าหมายและตัวชี้วัด
ต้องสอดคลอ้ งกับกรอบเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ท่ีองค์กรระหว่างประเทศกาหนดขึ้น อาทิ
การพฒั นาทีย่ ั่งยืน (sustainable development goals : SDGs) ทีอ่ งค์การสหประชาชาติกาหนดข้ึน เป็นต้น
1
1. ยุทธศาสตร์เสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์
ประเดน็ การพัฒนา
- การพัฒนาศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยให้มีความรู้ความสามารถ โดยกลุ่มวัยเรียน ปรับระบบการจัดการเรียนการ
สอนที่เน้นการศึกษาในลักษณะของสะเต็มศึกษา (STEM) การเรียนรู้เพ่ือสร้างสรรค์ทางปัญญา การจัดการเรียนรู้ท่ี
สอดคล้องกับพัฒนาการสมองแต่ละช่วงวัย กลุ่มวัยแรงงาน มุ่งพัฒนาขีดความสามารถ/สมรรถนะของกลุ่มแรงงาน
ท่ีมีฝีมือ (ทักษะด้าน IT ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูล)
การบ่มเพาะการเป็นผู้ประกอบการในแรงงานกลุ่ม Generation Y การขยายฐานการผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษา/
อุดมศึกษาในรูปแบบทวิภาคีและสหกิจศึกษาให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมเปูาหมายการส่งเสริมการทา งานท่ีมีคุณค่า
กลุ่มผู้สูงอายุ พัฒนาทักษะการทางานในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (active ageing) และขยายโอกาสการสร้างงาน
ทเี่ หมาะสม
- การส่งเสริมให้คนมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม โดยควบคุม/ปูองกันปัจจัยเส่ียงทางสังคมท่ีกาหนดสุขภาพ
(Social determinant of health) สร้างความตระหนักและรอบรู้เรื่องสุขภาพ (Health literacy) พัฒนารูปแบบ
การกีฬาและโภชนาการทเี่ หมาะสมกบั แต่ละช่วงวัย
- การสร้างสภาพแวดล้อม / นวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย โดยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมท่ีเหมาะสม
กับการดูแลผสู้ ูงอายปุ รับสภาพแวดลอ้ มให้เออ้ื ตอ่ สังคมสูงวัย และพัฒนาเมอื งที่เป็นมติ รกับผสู้ ูงอายุ
- การเสริมสร้างสถาบันครอบครัวและสถาบันศาสนาให้เป็นฐานในการบ่มเพาะคนให้มีคุณภาพโดยสร้างความ
อยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย ส่งเสริมบรรทัดฐานในการเป็นพลเมืองท่ีดีของสังคม ฟื้นฟูบทบาทสถาบันศาสนา
ในการส่งเสริมศลี ธรรม / คณุ ธรรม / จรยิ ธรรม
2. ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเป็นธรรมลดความเหล่ือมล้าในสังคม
ประเดน็ การพฒั นา
- การสร้างความม่ันคงทางด้านรายได้ โอกาสในการประกอบอาชีพและการส่งเสริมการออมเพื่อความม่ันคง
โดยการพัฒนาศกั ยภาพในการผลิต การแปรรูป ท่ีใช้นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมในการค้าและบริการ สนับสนุน
การเงินฐานรากเพื่อเป็นแหล่งทุนทางเลือกของชุมชนและผู้ประกอบการรายย่อยรวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชน
มกี ารออมมากข้นึ เพือ่ นาไปสู่การขับเคลอื่ นเศรษฐกิจฐานราก
- การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยเสริมสร้างกระบวนการวิจัยในชุมชน
เพ่ือนาไปสู่การแก้ไขปัญหาการผลิตสินค้าของชุมชนและต่อยอดไปสู่เชิงพาณิชย์ การสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน
แ ล ะ ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก า ร ร่ ว ม กั น พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ใ น เ ชิ ง ท ฤ ษ ฏี แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ
เพื่อสร้างศักยภาพให้กบั ชมุ ชนในการประกอบธรุ กิจและการพัฒนาชมุ ชน
- การสร้างโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและบริการทางสังคมอย่างเสมอภาคโดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อย
และกลุ่มผูด้ ้อยโอกาส โดย (1) สนับสนนุ การให้เกษตรกรรายยอ่ ยทไี่ ร้ทีด่ นิ ทากินและยากจนมสี ทิ ธิทากนิ ในท่ีดนิ
(2) การจัดรปู แบบสวัสดิการพื้นฐานที่จาเป็นและเหมาะสมตามกลุ่มเปูาหมาย (Customized Welfare) ท่ีคานึงถึงฐานะ
ทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีแตกต่างกันโดยมีแนวทางร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสม (3) พัฒนาระบบบริการ
สาธารณะใหม้ ีคณุ ภาพและมีช่องทางการเข้าถึงอย่างหลากหลาย โดยเฉพาะระบบบริการสาธารณะการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และสวัสดิการทางสังคม และ (4) สนับสนุนการจัดหาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยและเข้าถึงระบบสาธารณูปโภค
โดยเฉพาะการพฒั นาโครงสร้างทอี่ ยูอ่ าศัยเพื่อแก้ปัญหาชมุ ชนแออดั ในเมือง
- การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค โดยการให้ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับสิทธิและหน้าท่ีตาม
กฎหมายแก่ประชาชน การพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ระบบยุติธรรมชุมชน การเพิ่มศักยภาพของกองทุนยุติธรรมในการช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มด้อยโอกาสให้ได้รับ
2
ความเป็นธรรมและเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม
มีการบูรณาการการทางานอย่างมีประสิทธภิ าพ
การดาเนินนโยบายการคลังเพื่อลดความเหล่ือมล้า โดยการดาเนินมาตรการด้านภาษี รวมท้ังนโยบาย
ด้านรายจา่ ยเพอ่ื จัดสรรทรัพยากรให้มีความเท่าเทียมกันมากข้ึน (redistributive policy) ได้แก่ การปรับระบบภาษีให้มี
ความสมดุลระหว่างฐานรายได้ ฐานการบริโภค และฐานทรัพย์สิน การดาเนินนโยบายภาษีเงินได้ติดลบ (negative
income tax) เพอื่ ขยายความคมุ้ ครองทางสังคมให้มากขึ้นและด้านสวสั ดิการทสี่ ามารถเจาะจงกลุ่มเปาู หมายได้มากข้ึน
Sustainable Development Goals (SDGs)
SDGs เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน
อนาคตการเปลี่ยนยุคอาจใช้เวลาไม่ถึง 5 ปีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วดังกล่าวทาให้เกิดปัญหาตามมา
มากมายจึงเกิดแนวคิดของการพัฒน าซึ่งแนวทางการพัฒนาท่ีผ่านมาตามสหัสวรรษตั้งแต่ปี ค.ศ.2000
(The Millennium Development Goals หรือ MDGs) เปูาหมายในการพัฒนาในขณะนั้นมีแนวคิดเพียง 8 ด้าน
เช่น การขจัดความยากจน ความหิวโหย โรคภัยไข้เจ็บ ความเท่าเทียมกันทางด้านเพศ การเข้าถึงน้าที่สะอาด และ
สุขาภิบาลที่ดีการลดการตายแรกเกิด การส่งเสริมสุขภาพของแม่การเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นต้น และแนวทาง
ดงั กล่าวได้ส้ินสุดลงในปี ค.ศ. 2015 องค์การสหประชาชาติจงึ ไดเ้ สนอแนวคิดใหม่ในการพฒั นาโลกใบนห้ี ลังปี ค.ศ.2015
(Post-2015 Development Agenda) โดยมีข้อกาหนดเปูาหมายของการพัฒนาที่ย่ังยืน 17 ประการซ่ึงจะนาไปใช้ใน
การพัฒนาโลกใบน้ีต้ังแต่ปีค.ศ.2015 และให้เรียกว่า Sustainable Development Goals หรือ SDGs โดยมีเปูาหมาย
17 ด้าน ดังน้ี
เปาู หมายท่ี 1 ขจัดความยากจนในทุกรปู แบบ ทกุ ที่
เปาู หมายท่ี 2 ขจดั ความหิวโหย บรรลเุ ปูาความมนั่ คงทางอาหารและโภชนาการทด่ี ขี ึน้ และส่งเสริม
เกษตรกรรมยั่งยืน
เปูาหมายที่ 3 ทาใหแ้ นใ่ จถงึ การมีสุขภาวะในการดารงชีวติ และสง่ เสริมความเป็นอยทู่ ด่ี ขี องทกุ คน
ในทุกชว่ งอายุ
เปาู หมายท่ี 4 ทาใหแ้ น่ใจถงึ การไดร้ บั การศึกษาท่ีไดค้ ณุ ภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถงึ และส่งเสรมิ โอกาส
ในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตแกท่ ุกคน
เปูาหมายที่ 5 บรรลุถงึ ความเท่าเทยี มทางเพศ และเสรมิ สร้างพลังให้แก่สตรีและเด็กหญงิ ทุกคน
เปาู หมายท่ี 6 ทาให้แนใ่ จวา่ เรื่องนา้ และการสุขาภบิ าลได้รับการจดั การอย่างย่ังยืน และมีสภาพพรอ้ มใช้
สาหรับทุกคน
เปาู หมายที่ 7 ทาให้แนใ่ จวา่ ทุกคนสามารถเขา้ ถึงพลงั งานทีท่ นั สมยั ย่งั ยืน เช่ือถือได้ ตามกาลังซอ้ื ของตน
เปูาหมายท่ี 8 ส่งเสริมการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ท่ียั่งยืนและทั่วถึงใหเ้ ปน็ ไปอย่างย่ังยนื ส่งเสรมิ ศักยภาพ
การมงี านทาและการจา้ งงานเตม็ ท่ี และงานท่มี ีคณุ ค่าสาหรับทุกคน
เปาู หมายท่ี 9 พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานท่พี รอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงส่งเสริมการปรบั ตัวให้เป็นอตุ สาหกรรม
อยา่ งยั่งยืนและทว่ั ถงึ และสนับสนนุ นวตั กรรม
เปูาหมายท่ี 10 ลดความเหลื่อมลา้ ทงั้ ภายในและระหว่างประเทศ
เปาู หมายที่ 11 ทาให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มคี วามปลอดภยั ทวั่ ถงึ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
และย่ังยนื
เปูาหมายที่ 12 ทาใหแ้ น่ใจถงึ การมแี บบแผนการผลติ และการบรโิ ภคทย่ี ง่ั ยืน
เปาู หมายที่ 13 ดาเนนิ การอย่างเร่งด่วนเพ่ือต่อสกู้ บั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบทเ่ี กิดขึ้น
เปูาหมายที่ 14 อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลสาหรับการพัฒนา
ทยี่ ั่งยืน ให้เป็นไปอย่างยัง่ ยืน
3
เปูาหมายที่ 15 พิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ย่ังยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการปุาไม้
อยา่ งยั่งยืน ต่อสูก้ บั การแปรสภาพเปน็ ทะเลทราย หยดุ ยง้ั และฟื้นฟคู วามเสื่อมโทรมของท่ีดนิ และหยดุ ยั้ง การสญู เสยี
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เปาู หมายท่ี 16 ส่งเสริมใหส้ งั คมมคี วามเป็นปกตสิ ขุ ไม่แบง่ แยก เพือ่ การพฒั นาทยี่ ั่งยืน มกี ารเขา้ ถึงความ
ยุตธิ รรมโดยถ้วนหน้า และสร้างใหเ้ กดิ สถาบนั อนั เป็นทพ่ี ึ่งของสว่ นรวม มีประสทิ ธผิ ล และเป็นทีย่ อมรับในทกุ ระดับ
เปาู หมายที่ 17 เสริมสร้างความเขม้ แข็งในวิธกี ารปฏิบัติใหเ้ กิดผล และสร้างพลงั แหง่ การเป็นหุ้นส่วนความ
รว่ มมอื ระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
แนวทางการพัฒนาท่ีผ่านมามีการพัฒนากาจัด ความยากจน การมีอาหารที่ปลอดภัยและเพียงพอต่อ
ความต้องการของประชากรโลก ปัจจุบันแนวคิดต่าง ๆ ได้ เปลี่ยนไปทาให้มีแนวทางในการพัฒนาโลกในอนาคตใน 17
ประเดน็ ทส่ี าคญั เพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนาที่ยั่งยืนดังน้ี
1) รัฐบาลในฐานะที่เป็นหัวหน้าแห่งรัฐจะต้องดาเนินการส่งเสริมและกาหนดนโยบาย เพื่อการนาข้อกาหนด
ของการพัฒนาท่ีย่ังยืนไปสู่การปฏิบัติโดยผ่านหน่วยงานกลาง เช่น UN และจากการประชุมอนุสัญญาระหว่างประเทศ
และติดตามผลการทางานของประเทศต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด รวมท้ังกาหนดเปูาหมายตัวช้ีวัดของการพัฒนาท่ีย่ังยืน
ในแต่ละภูมิภาค แต่ละประเทศ และแต่ละกิจกรรม อย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังต้องสนับสนุนงบประมาณในการ
ดาเนินการกิจกรรมดังกล่าวอย่างเพียงพอด้วย โดยการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงการขจัดความยากจน
การส่งเสริม หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การส่งเสริมการลดความเส่ียง และบรรเทาภัยพิบัติรวมท้ังการบริหารจัดการ
น้าและการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในเวทีระหว่างประเทศ การดาเนินการของประเทศไทย สิ่งที่รัฐบาลได้ดาเนินการคือ
มีการจัดต้ัง คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน (กพย.) เมื่อ 24 ก.ค. 2556 โดยมีเลขาธิการสานักงานนโยบายและ
แผนส่ิงแวดล้อมเป็นกรรมการและเลขานุการ นอกจากนี้ยังมีการจัดการประชุม Asia-Pacific Ministerial Dialogue:
From the Millennium Development Goals to the United Nations Development Agenda beyond 2015
ร่วมกับเอสแคป ช่วง 26-28 ส.ค. 2556 ท่ีกรุงเทพฯ โดยท่ีประชุมได้รับรอง Bangkok Declaration of the
Asia-Pacific region on the United Nations Development Agenda beyond 2015
2) ความม่ันใจในการพัฒนาท่ียั่งยืน วิกฤตเศรษฐกิจ ทาให้ประชาชนที่พ้นจากสภาวะยากจนแล้วต้องกลับไป
เผชิญ สถานะเดิม เนื่องจากไม่มีงานทา ดังนั้นการเจริญเติบโตท่ี ยั่งยืน ผ่านการสร้างงาน โดยเฉพาะการสร้างงานท่ีมี
คณุ ค่าจงึ มีความสาคญั รวมถงึ การสง่ เสรมิ การศึกษาที่เน้นคุณภาพ และตอบสนองต่อความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
3) ความยั่งยืนในเชิงสิ่งแวดล้อม โดยหัวใจหลักคือ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจที่จะต้องคานึงถึงทรัพยากรท่ีจะ
เหลอื ไปถงึ คนรนุ่ หลัง นอกจากนัน้ ยงั มปี ระเด็นสาคญั ทีต่ อ้ ง พจิ ารณาคือความมัน่ คงทางดา้ นนา้ อาหาร และพลงั งาน
4) ความยืดหยุ่นและการปรับตัวเป็นประเด็นสาคัญ สาหรับการเปลี่ยนแปลง โดยที่เปูาหมายด้านสุขภาพเป็น
MDGs ท่ียังคงไม่บรรลุและสาคัญต่อศักยภาพของมนุษย์ในการตอบสนองต่อสิ่งท้าท้ายใหม่ ๆ ดังนั้น Post-2015
Development Agenda ควรมีประเด็นเร่ือง Universal Health Coverage ท่ีไทยมีบทบาทนาและสามารถเป็น
แบบอยา่ งทด่ี ี ต่อประเทศอืน่
5) ประเด็นด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงและ บรรเทาภัยจากเหตุภัยพิบัติเน่ืองจากได้เกิดขึ้นถี่และ
รุนแรงข้ึน ทาให้การบรรลุการพัฒนาท่ียั่งยืนต้องชะงักหรือถดถอยลง ทั้งน้ีไทยสามารถก้าวผ่านวิกฤตมหาอุทกภัย
และสามารถแลกเปล่ียนประสบการณ์การบรหิ ารจัดการนา้ กับประเทศต่าง ๆ
6) การลดความเหล่อื มลา้ ในสังคมและสง่ เสรมิ สิทธิ มนษุ ยชน รวมท้ังการเข้าถงึ ของคนจากทุกภาคส่วนในสังคม
สาคัญต่อนโยบายที่ยึดคนเป็นศูนย์กลาง ดังน้ันควรให้ความสาคัญกับการลดความไม่เท่าเทียมกัน ท้ังในประเทศ และ
ระหว่างประเทศ รฐั บาลจะต้องใหค้ วามสาคัญเป็นพเิ ศษ แก่กลุ่มคนที่มีความเปราะบาง โดยเฉพาะเด็ก สตรีผู้พิการ และ
ผ้สู งู อายุซง่ึ ยงั คงถูกละเลยอยมู่ ากและเพื่อบรรลุการพัฒนา ทีค่ รอบคลุมทุกภาคสว่ นและลดความไม่เสมอภาค
4
7)การกาเนิดเปูาหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืนต้ังแต่ ในอดีตจนถึงปัจจุบันเพ่ือให้สังคมโลกอยู่ด้วยกันอย่างสันติ
และเกิดความย่ังยืนของอารยธรรมของมนุษย์ให้ยาวนานที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นเรื่องของการใช้ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมท่ปี ราศจากมลพษิ สาหรับอนชุ นรุ่นหลัง
8) เปูาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน 8 ประการในอดีต ยังไม่เพียงพอเพราะการอยู่ร่วมกันยังมีความขัดแย้งของ
การแก่งแย่งทรัพยากรและการสร้างมลพิษ จึงต้องเพิ่ม เปูาหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืนเป็น 17 ประการ และแนวทาง
ในการดาเนนิ การอย่างไรใหข้ อ้ กาหนดทง้ั 17 ประการทกี่ ลา่ วมาบรรลเุ ปูาหมายตามทีค่ าดไว้
9) ประเทศต่าง ๆ จะต้องดาเนินกิจกรรมเพ่ือ การปลูกฝังเร่ืองการพัฒนาที่ย่ังยืนหมายถึงการใช้เท่าท่ีจาเป็น
ไม่จาเป็นต้องสะสมทรัพย์สินหรือทรัพย์สมบัติท่ีเกิน ความจาเป็นในการดารงชีพ มิใช่การดารงอยู่เพ่ือก่อให้เกิดกาไร
ของผู้มีอานาจและทุนมาก
10) การนาไปใช้ให้เกิดผลเป็นประเด็นสาคัญของการพัฒนาโดยมีการเสริมสร้างหลักธรรมาภิบาล
(good governance) และหลักนิติธรรม (rule of law) เป็นวิธีการนาไปสู่การพัฒนาที่ครอบคลุมและยั่งยืน นอกจากนี้
จะไมส่ ามารถบรรลกุ ารพฒั นาทีย่ ่งั ยนื ได้หากประเทศไม่มีความสงบสุขและสนั ติภาพ การเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนเพ่ือ
การพัฒนา ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน
ภาคประชาสังคม และ นักวชิ าการ
แนวคิดการพฒั นาเพือ่ มุ่งสู่การพัฒนาคณุ ภาพสังคมและคณุ ภาพชวี ติ
กรอบวสิ ัยทศั นแ์ ละออกแบบประเทศไทยทม่ี ุ่งเนน้ ทวี่ าระการปฏิรูป (Reform Agenda) คือ การปฏิรูปประเทศ
ใ น ป ร ะ เ ด็ น ปั ญ ห า ที่ ส ะ ส ม เ รื้ อ รั ง ม า น า น เ พื่ อ ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ก ลั บ เ ข้ า สู่ ส ภ า ว ะ ป ก ติ แ ล ะ ว า ร ะ ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น
(Transformation Agenda) โมเดลประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วย “กลไกการขับเคล่ือน” ชุดใหม่ (New Growth
Engine) 3 กลไกสาคญั คือ
1. กลไกขบั เคลื่อนผ่านการสร้างและยกระดบั ผลติ ภาพ (Productive Growth Engine)
2. กลไกขับเคลื่อนท่คี นส่วนใหญม่ ีส่วนรว่ มอย่างเท่าเทยี มและทัว่ ถงึ (Inclusive Growth Engine)
3. กลไกการขบั เคลอ่ื นท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมอยา่ งยง่ั ยืน (Green Growth Engine)
ดังนน้ั จึงอาจกลา่ วได้ว่า ในสว่ นของมิตสิ ังคมนน้ั นับว่าจะมคี วามสาคัญไมย่ ่งิ หย่อนไปกวา่ มติ ิอื่นๆ โดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิงในเรื่องกลไกขบั เคลือ่ นท่ีคนสว่ นใหญม่ สี ว่ นรว่ มอยา่ งเท่าเทยี มและทั่วถึง (Inclusive Growth Engine)
การพฒั นาคนไทยเป็นมนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ และการมีสังคมท่มี ีคุณภาพ
แนวคดิ คณุ ภาพสังคม (Social Quality)
ประกอบไปด้วย 4 มิติ คอื
1. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic Security) เพม่ิ ความเปน็ ธรรมในการกระจาย
ทรพั ยากร เพอื่ ใหเ้ กิดการกระจายตวั ของความม่งั คั่ง ยกระดบั คุณภาพและประสิทธภิ าพการจัดสวัสดกิ ารพ้ืนฐาน
และการเสริมสรา้ งศกั ยภาพให้ประชาชนในการยกระดบั รายได้
2. การสรา้ งโอกาสอย่างเป็นธรรมโดยไม่แบ่งแยก (Social Inclusion) เพ่มิ กลไกการเขา้ ถึงบรกิ ารของภาครฐั
อยา่ งเทา่ เทียม และปลดล็อกการถูกกดี กันทางสงั คมของกล่มุ ผู้ด้อยโอกาส
3. การเสริมสร้างพลังทางสังคม (Social Empowerment) สร้างกระบวนการเรียนรู้ระดับปัจเจกเพ่ือพัฒนา
ทกั ษะท้งั ในดา้ นขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจ รวมถงึ ด้านสิทธแิ ละหน้าทีข่ องพลเมืองการเข้าไปมีส่วนร่วม
ในการรวมกลุม่ ของประชาชนเพอ่ื การตัดสินใจทางเศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดล้อม และการเมือง
4. ความเปน็ อนั หนึง่ อันเดียวกันของสังคม (Social Cohesion) พฒั นากลไก/กระบวนการแก้ปญั หาอย่าง
สนั ตวิ ธิ ี เพือ่ สร้างความไวเ้ นอื้ เช่อื ใจกันของคนในสังคม
5
คุณภาพชีวติ (Quality of Life)
คณุ ภาพสงั คมทีด่ ีจะสามารถนาไปสูค่ ุณภาพชีวติ ที่ดีได้ โดยสามารถแบ่งประชาชนออกเป็น 4 กล่มุ ตาม
ระดบั คุณภาพชีวิต ได้แก่
1. กลุ่มทีย่ ากจนข้นแคน้ (Suffered) อาทิ กลุม่ คนใตเ้ ส้นความยากจน กลุ่มคนชายขอบ กลุ่มคนพกิ าร
โดยการสรา้ งตาข่ายความม่นั คงทางสังคม (Social Safety Net) ในลกั ษณะเยยี วยาและฟ้ืนฟู
2. กลุม่ คนทพ่ี อประทังชวี ิตอยูร่ อดไปวนั ๆ (Survived) อาทิ กลมุ่ เฉียดจน เกษตรกร แรงงานนอกระบบ
โดยการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ทางสังคม (Social Immunity) ในลกั ษณะการให้แตม้ ต่อและโอกาส
3. กลุ่มที่สามารถมชี ีวติ อยู่อยา่ งพอเพียง (Sufficient) อาทิ กลุ่มชนชัน้ กลางค่อนขา้ งสูง มนุษยเ์ งนิ เดือน
ผูป้ ระกอบการรายย่อย โดยการสร้างประสทิ ธิภาพทางสังคม (Social Efficiency) ในลกั ษณะการพัฒนาศกั ยภาพ
และการสรา้ งเครอื ข่าย
4. กลมุ่ คนท่ีสามารถมีชีวติ อยอู่ ยา่ งยั่งยนื (Sustained) อาทิ แรงงานมที ักษะ คนทางานในวชิ าชีพต่างๆ
โดยการผนกึ กาลงั ทางสังคม (Social Collaboration) ในลักษณะของการเกอ้ื กลู และแบ่งปันผู้ด้อยโอกาสหรือผทู้ ีม่ ี
โอกาสน้อยกวา่
โมเดลประเทศไทย 4.0 ต้องเน้นการ “พัฒนาที่สมดุล” ใน 4 มิติ คือ มีความสมดุลในความม่ังค่ัง ทางเศรษฐกิจ
การรักษ์ส่ิงแวดล้อม การมีสังคมท่ีอยู่ดีมีสุข และการเสริมสร้างภูมิปัญญามนุษย์ โดยการพัฒนาท่ีสมดุลตั้งอยู่บนฐานคิด
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หลักการสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีอยู่ว่า “เม่ือพร่อง ต้องรู้จักเติม เม่ือพอ
ต้องรู้จักหยุด เม่ือเกินต้องรู้จักปัน” กรอบการพัฒนาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ซ่ึงเป็นกรอบแนวคิดการจัดทา
ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ. 2560 – 2564 คือ “การรู้จักเติม รู้จักพอ
ร้จู ักปัน”
นอกจากน้ี เปูาหมายการพัฒนา คือ การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ึน โดยทาให้คนในกลุ่มท่ี
ต่ากว่าสามารถเลื่อนไหลขยับช้ันทางสังคม (Social Mobility) ได้ น่ันคือ ขยับจากกลุ่ม Suffered เป็นกลุ่ม Survived
ขยับจากกลุ่ม Survived เป็นกลุ่ม Sufficient และขยับจากกลุ่ม Sufficient เป็นกลุ่ม Sustained ในท่ีสุด รวมถึงต้อง
หาทางปูองกนั ไมใ่ ห้เกิดการตกชัน้ ทางสงั คม และ/หรือ หาทางชว่ ยเหลือเพือ่ ลดผลกระทบที่เกดิ ขึ้น
นโยบายกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตระหนักว่าบุคคลย่อมมีศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์และ
การพัฒนาสังคมและย่ังยืน คือการพัฒนาคนทุกกลุ่มให้เป็นทุนทางสังคมเพื่อจะได้ร่วมมือกันนาพาสังคมให้พึ่งพาตนเอง
ได้ มคี วามสมานฉันท์และเปน็ ส่วนหนงึ่ ของสังคมโลก จงึ ได้กาหนด นโยบาย ดังนี้
1. นโยบายการพัฒนาสังคม โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักใน
การบูรณาการการทางานทุกภาคส่วน เพื่อช่วยเหลือ พัฒนา แก้ไขปัญหา และเฝูาระวังปัญหาทางสังคม มีตัวช้ีวัด
การพฒั นาสงั คม และประสานหนว่ ยงานต่าง ๆ เพ่อื เตือนภยั ทางสังคม และเพอ่ื ให้เป็นการพัฒนาท่ียัง่ ยืน
2. นโยบายการเสริมสร้างความมั่นคงในการดารงชีวิต เพ่ือให้ประชาชนมีความม่ันคงในที่อยู่อาศัย
สร้างโอกาสในการมีท่ีอยู่อาศัยที่ถาวรได้มาตรฐานเป็นของตนเอง และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถสร้างความสัมพันธ์
ในครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อไปสู่ชุมชนที่น่าอยู่อย่างย่ังยืนต่อไป ด้วยการจัดสร้างท่ีอยู่อาศัยท่ีได้มาตรฐาน
ในชุมชน มีสภาพ แวดล้อมท่ีเหมาะสม พร้อมระบบสาธารณูปโภคตามโครงการบ้านเอ้ืออาทรและร่วมกันแก้ไขปัญหา
ชมุ ชนแออดั ใน เมืองตามโครงการบา้ นมน่ั คง
3. นโยบายการพฒั นาสถาบันครอบครัวให้เขม้ แขง็ เพ่ือให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และ
ชุมชน ด้วยการพัฒนาศักยภาพของประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้มีความสามารถและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้
เขม้ แขง็ เปน็ การพัฒนาสังคมอย่างย่ังยืน
6
4. นโยบายการพัฒนาศักยภาพทุกกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงฯ เน้นการทางานเชิงรุก เช่น กลุ่มเปูาหมาย
ที่เป็นเด็กและเยาวชน เพื่อให้มคี วามรคู้ วามสามารถ กลา้ แสดงออก สามารถอยู่ร่วมกันในสังคม เป็นผู้นาของชุมชน และ
สังคมอย่างแท้จริง เป็นกลไกของภาครัฐในการเข้าถึงปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของประชาชนใน พ้ืนที่ เพ่ือการ
แกไ้ ขได้ตรงกับปญั หาความต้องการท่ีแท้จรงิ
5. นโยบายการจัดสวัสดิการสังคม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก เยาวชน สตรี คนพิการ และผู้สูงอายุ
ที่ประสบปัญหาได้รับบริการอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม โดยการจัดสวัสดิการสังคมขั้นพื้นฐานท่ีเหมาะสม เพื่อให้
กล่มุ เปาู หมาย สามารถดารงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ย่างปกติ สามารถช่วยเหลอื ตนเองไดโ้ ดยไมเ่ ป็นภาระของสังคม
6. นโยบายการคุ้มครองสิทธิ ความเสมอภาคและเป็นธรรม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายของกระทรวงฯ ได้รับการ
คุ้มครองสิทธิ และส่งเสริมสนับสนุนให้ได้รับบริการตามสิทธิด้านต่างๆ ตามกฎหมาย 3 ฉบับ ได้แก่ พระราชบัญญัติ
คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ.2546 เชน่ บริการทางการแพทย์ การศกึ ษา ศาสนา การประกอบอาชีพ การพฒั นาตนเอง เป็นตน้
7. นโยบายการพัฒนาการบรหิ ารจดั การ โดยการพัฒนาระบบงานใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของรัฐบาล มีความ
ชดั เจน ในทศิ ทางและตวั ชีว้ ดั ผลความสาเร็จ เพอื่ เปน็ หน่วยงานหลกั ในการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ การช้สี ถานการณ์
ทางสงั คม เพื่อให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ได้ใช้เปน็ แนวทางกาหนดนโยบายรว่ มกัน โดยมกี ารปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบใหเ้ อ้ือตอ่ การ
ทางานลดขัน้ ตอนการใหบ้ ริการเพ่ือใหก้ ลมุ่ เปูาหมายไดร้ บั บริการทร่ี วดเร็วและมีประสิทธภิ าพเร่งรดั การพัฒนาบคุ ลากร
ให้มีความรูค้ วามสามารถ มีทักษะ และปรับทัศนคติเพ่ือรองรบั การทางานของกระทรวงฯ โดยการทางานของข้าราชการ
ตอ้ งปรบั แนวคิดในการให้บรกิ ารประชาชนโดยยดึ ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง
7
สว่ นที่ 2
บรบิ ทองคก์ ร
ประวตั คิ วามเปน็ มาของหนว่ ยงาน
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค
สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เดิมช่ือสานักงานประชาสงเคราะห์
จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย จัดต้ังขึ้นเม่ือปีพุทธศักราช 2506 และเม่ือปี
พ.ศ. 2536 ได้ย้ายสังกัดมาอยู่กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ตามนโยบายของรัฐบาล ในการจัดต้ังกระทรวง
ดา้ นแรงงาน และสวัสดิการสังคมใหม่ และเมอ่ื วันท่ี 3 ตลุ าคม 2545 ได้มีการปรับเปล่ยี นโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม
ใหม่จึงไดย้ า้ ยโอนมาสงั กัดสานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จนถึงปัจจบุ นั
ภาระหนา้ ท่ีของหน่วยงาน
สานักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค มีอานาจ
หน้าท่ีตามคาสัง่ สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ดงั นี้
1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ทางสังคมเพ่ือการกาหนดนโยบายในระดับจังหวัดรวมท้ังเสนอ
แนะแนวทางแก้ไข
2. ศกึ ษา วิเคราะห์ และจดั ทายทุ ธศาสตร์การพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวดั
3. ประสานและจัดทาแผนงาน โครงการและกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวนโยบายของกระทรวง
4. ส่งเสริมและประสานการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเปูาหมายของหน่วยงาน
ในกระทรวง
5. ส่งเสริม สนบั สนุน และประสานการดาเนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวดั ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน
6. ส่งเสริม ประสานงาน และบูรณการการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมท้ังส่งต่อให้หน่วยงาน
ทเี่ กี่ยวข้องทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชนท่ีมีอานาจหน้าท่ีในการจดั สวสั ดิการสังคมตามกฎหมาย
7. กากับ ดูแล หน่วยงานในสังกัดกระทรวงให้ดาเนินการตามกฎหมาย แนวนโยบายของกระทรวง และติดตาม
และประเมินผล แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัด
กระทรวงในเขตพ้ืนทจ่ี งั หวดั
8. เปน็ ศนู ยข์ ้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความม่ังคงของมนุษย์ในระดบั จงั หวดั
9. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้มีการดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมรวมท้ังความก้าวหน้า
ทางวิชาการ และผลการปฏิบตั ิงานของกระทรวง
10. ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับหรอื สนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอนื่ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งหรือทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
10
เป้าหมายและหลักการปฏบิ ัตงิ านสานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรสี ะเกษ
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทาหน้าที่เป็นผู้แทนกระทรวง จะต้องมีความรอบรู้
ถึงที่มาของการพัฒนาสังคมในระดับโลกสู่ระดับประเทศ ระดับจังหวัดที่จะต้องนาแนวคิดหลักการในการทางานกับ
กลุ่มเปาู หมาย มาถา่ ยทอดในเครอื ข่ายรวมทงั้ ผบู้ รหิ ารในจงั หวัดใหเ้ ขา้ ใจ มารว่ มคิดรว่ มวางแผน ร่วมทาให้เกิดประโยชน์
ตอ่ ประชาชนกลุ่มเปาู หมายใหไ้ ด้ ดงั นน้ั พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัด จึงต้องมีเปูาหมาย มีแนวทางการ
ดาเนนิ งานทีช่ ดั เจนในทกุ เรอ่ื ง
1. แนวคิดหลักในการทางาน
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์เป็นงานท่ีต้องรู้ทั้งในระดับกว้างและลึก ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าใจ
แนวคิดเร่ืองสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นระบบคุณค่าท่ีประชาคมโลกได้กาหนดให้สิทธิมนุษยชนเป็นมาตรฐานร่วมกันที่จะ
ประกันให้ประชาชนทุกคนได้รับการปกปูองคุ้มครองโดยถ้วนหน้า โดยองค์การสหประชาชาติในฐานะที่เป็นองค์การ
ระหว่างประเทศได้กาหนดข้อตกลงระหว่างประเทศ เชิญชวนให้ประเทศท่ัวโลกลงนามในข้อตกลงเป็นภาคีนาไปปฏิบัติ
พัฒนาสิทธิมนุษยชนให้เกิดขึ้นในทุกประเทศ ข้อตกลงระดับโลกท่ีสาคัญมีผลต่อประเทศไทยในการตรากฎหมาย
รัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ืนๆ เพื่อคุ้มครองประชาชน เช่น กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและ
วัฒนธรรม อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ฯลฯ ในปัจจุบัน
มีกฎหมายด้านสวัสดิการสังคมท่ีเก่ียวข้องหลายฉบับในกฎหมายแต่ละฉบับพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัด จะต้องมีความเข้าใจในเน้ือหาของกฎหมายอย่างลึกซึ้งสามารถเป็นตัวแทนของกระทรวงถ่ายทอดนาเสนอ
ต่อผู้บริหารคณะกรรมการพนักงานเจ้าหน้าท่ี ตลอดจนประชาชนในจังหวัดให้เข้าใจเน้ือหากฎหมายแต่ละฉบับ
นอกจากนี้พฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จะต้องรู้ขั้นตอนการดาเนินงาน เพื่อให้มีคณะกรรมการรองรับ
กฎหมายแต่ละฉบับ ขับเคล่ือนให้เกิดการทางานแบบเครือข่ายในภาพรวมของจังหวัด เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมการ
จัดสวสั ดกิ ารสังคม พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติหอพัก พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ.2546 พระราชบัญญัตปิ ราบปรามการคา้ ประเวณี พระราชบัญญัติฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ พระราชบัญญัติการรับ
เดก็ เป็นบุตรบญุ ธรรม พ.ศ. 2522 ฯลฯ ขน้ั ตอนในการทางานตามกฎหมายแตล่ ะฉบับมีความซับซ้อน มีความแตกต่างกัน
เครือข่าย การทางานก็เป็นคนละกลุ่มซ่ึงมีความแตกต่างกัน ต้องใช้ความสามารถสูงในการจูงใจให้เครือข่ายของ
ทุกกลุ่มเปูาหมายรวมทงั้ ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี (Stake holder) มาร่วมกนั ทางานเพื่อประชาชน
2. การจดั ทาแผนพฒั นาจังหวัดใหส้ อดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์จังหวดั
การทางานพัฒนาสังคมในปัจจุบัน จะต้องนานโยบายในระดับประเทศ มาบูรณาการกับนโยบาย ยุทธศาสตร์
ของจงั หวัดไดอ้ ย่างกลมกลืน จะต้องยดึ ยทุ ธศาสตร์จงั หวัดมาเป็นเคร่ืองมือในการกาหนดแผนงาน โครงการ งบประมาณ
นโยบายด้านการพัฒนาสังคมจะบังเกิดผลในการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมียุทธศาสตร์ด้านการ
พัฒนาสังคมบรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด โดยใช้แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี สร้างสวัสดิการสังคมไทยเป็นกรอบ
ในการจัดทาแผนพัฒนาสังคมให้แก่จังหวัด เน้นที่การจัดสวัสดิการสาหรับประชาชนทุกคน (Welfare for All) คานึงถึง
สิทธิศักดิ์ศรี และการมีส่วนร่วมของประชาชน ตอบสนองความจาเป็นขั้นพ้ืนฐานและคุณภาพชีวิตที่ดี มีมาตรฐานท่ัวถึง
และเป็นธรรม ซ่ึงจะต้องครอบคลุม ถึงกลุ่มเปูาหมายทุกกลุ่มเช่น ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็ก สตรี ครอบครัว และ
ผู้ด้อยโอกาส ท้ังนี้จะต้องสร้างความเข้าใจ ระดมความร่วมมือ ระดมงบประมาณจากท้องถิ่น ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
จดั สวัสดิการสงั คมทีจ่ ะนาไปสูค่ วามมัน่ คงของมนษุ ย์ในจังหวัดให้ได้
11
3. การทางานโดยใชเ้ ครอื ขา่ ยเข้ามารว่ มทางานเปน็ พนั ธมิตร
พฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีหน่วยงานเพียงระดับจังหวัดไม่มีหน่วยงานระดับอาเภอ ตาบล
และหมู่บ้าน ต้องรับนโยบายท้ังจากกระทรวงและกรมต่างๆ ในกระทรวง รวมทั้งข้อส่ังการจากหน่วยราชการอ่ืน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และข้อสง่ั การจากจังหวดั มาปฏบิ ัติในฐานะเปน็ ผแู้ ทนกระทรวงและเป็นเจ้าภาพงานด้านสวัสดิการสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ ภารกิจมิได้เกี่ยวข้องเพียงผู้ด้อยโอกาสเท่านั้น หากแต่เก่ียวข้องกับประชาชนทุกคน เสริมสร้าง
สถาบันครอบครัวให้ม่ันคงเป็นการปูองกันมิให้เกิดปัญหาสังคม ดังน้ันการท่ีจะให้ภารกิจต่างๆ ท่ีได้รับมอบหมายสาเร็จ
ได้ด้วยดี จึงมีความจาเป็นท่ีพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จะต้องมีความสามารถพิเศษในการทางานร่วมกับ
ผอู้ น่ื ทั้งผู้บังคับบัญชาในจังหวัด ภาคเอกชน ภาคราชการ ท้องถ่ิน และประชาชน มิเพียงแต่ความสามารถในการทางาน
ร่วมกับผู้อ่ืนเท่าน้ัน พัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด จะต้องมีความสามารถในการจูงใจให้ผู้อื่นมีความ
เข้าใจมีส่วนร่วมอาสาเข้ามาเป็นเจ้าภาพงานร่วมและรับงานบางอย่างไปทาในฐานะเป็นเจ้าภาพได้อีกด้วย ความยาก
ของงานนีจ้ งึ อยทู่ ี่ความชดั เจนในเนอ้ื หาความสามารถที่เป็นทย่ี อมรับ ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ ให้เกยี รตยิ กย่องผู้อื่น จูงใจให้
เขามามีส่วนร่วมเปิดเผยมีความโปร่งใส มีความจริงใจในการทางาน ยกย่องให้เกียรติผู้มีหุ้นส่วนในการปฏิบัติงานเสมอ
จงึ จะทาใหภ้ ารกิจทีไ่ ดร้ ับมอบหมายบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ขยายผลไปถงึ ประชาชนในระดบั ครอบครัวและชุมชนได้
4. ความซบั ซ้อนในการแกไ้ ขปญั หา
ลักษณะงานดา้ นการแก้ไขปญั หา การนากฎหมาย กฎ ระเบียบ ฯลฯ ทเ่ี ก่ยี วข้องมาใชใ้ นการแก้ไขปัญหา จะต้อง
มีความแม่นยาในกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ สามารถวิเคราะห์นามาใช้ได้ รวมทั้งอธิบายให้บุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
มีความเข้าใจได้ง่าย มีผู้รู้และเข้าใจอย่างกว้างขวาง พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดมีอิสระในการคิด
ในการแก้ไขปัญหาในการจัดรูปแบบวิธีการทางานและโดยท่ีสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
เป็นหน่วยงานส่วนภูมิภาคขึ้นตรงกับผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ท่ีกากับดูแล
งานของสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเป็นที่ปรึกษา ร่วมคิดร่วมทา สามารถพัฒนางาน
ให้ราบรื่น หากมีปัญหาก็สามารถแก้ไขปัญหาให้สาเร็จลุล่วงในจังหวัดได้อย่างเบ็ดเสร็จ รวดเร็วเกิดประโยชน์
ตอ่ ประชาชน
5. การทางานเชิงรกุ ในการชี้เปา้ เฝ้าระวงั ปัญหาสงั คม
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดมีหน้าท่ีในการศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคม
นาสถานการณ์ทางสังคมมาเสนอต่อผู้บริหารของจังหวัดและเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องมากาหนดเป็นแผนปฏิบัติงาน
ในการปูองกันและแก้ไขปัญหาเป็นศูนย์ข้อมูลด้านสวัสดิการสังคมซึ่งเป็นงานที่มีเน้ือหางานมาก มีความละเอียดอ่อน
ด้วยความยากลาบากของเน้ืองานนี้ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดได้ทางานร่วมกับเครือข่าย
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยในท้องถ่ินเข้ามาเป็นหุ้นส่วนการศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมขับเคล่ือนกระบวนการ
ทางาน โดยคณะกรรมการในหลายกลุ่มเปูาหมายพร้อมๆ กัน กระตุ้นให้ทุกภาคส่วนร่วมในการทางาน มีระบบการ
ติดตามประเมินผล โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยในท้องถิ่น อีกท้ังยังทาให้มหาวิทยาลัยในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม
ในการจดั ทาโครงการตามยทุ ธศาสตร์จังหวดั อกี ดว้ ย
12
โครงสรา้ งการบริหาร
สนง. พมจ.ศรสี ะเกษ
กลุ่มนโยบายและวิชาการ กลุ่มการพฒั นาสงั คม และ ฝา่ ยบริหารงานทั่วไป
สวสั ดิการ
กลุ่มนโยบายและวชิ าการ มีภาระหน้าท่ี ดงั นี้
1) ศึกษาวิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจเพื่อการกาหนดนโยบายในระดับจังหวัด
รวมทงั้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข
2) ประสานและจัดทาแผนงานโครงการและกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของจังหวัดให้เป็นไป
ตามแนวนโยบายของกระทรวง
3) เป็นศูนย์ข้อมูลดา้ นการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ในระดับจังหวัด
4) เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธค์ วามกา้ วหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบตั ิงานของกระทรวงฯ
5) ปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั หรือสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหนว่ ยงานอนื่ ทเ่ี กยี่ วข้องหรอื ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร มภี าระหน้าที่ ดังนี้
1) ส่งเสริมและประสานงานและดาเนินการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมรวมท้ังส่งต่อให้หน่วยงานอื่นท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
2) ปฏบิ ัติงานร่วมกนั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานอ่นื ทเ่ี กีย่ วข้องหรอื ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
3) ส่งเสริมและประสานงานการดาเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเปูาหมายของหน่วยงานใน
กระทรวง
4) ส่งเสรมิ สนับสนุนและประสานการดาเนนิ งานกบั องคก์ รเครอื ข่ายในจงั หวดั ทั้งภาครฐั และเอกชน
5) รณรงค์ใหม้ ีการดาเนนิ กิจกรรมเกี่ยวกบั การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
6) ปฏิบัตงิ านร่วมกนั หรือสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง
ฝา่ ยบริหารงานทั่วไป มภี าระหน้าท่ี ดังนี้
1) ดาเนนิ การเกย่ี วกับงานบริหารทวั่ ไป
2) การดาเนนิ การเก่ียวกบั งานธุรการงานสารบรรณ
3) ดาเนินการเกยี่ วกับงานงบประมาณงานการเงนิ และบัญชี
4) ดาเนินการเกยี่ วกับการพสั ดคุ รุภณั ฑ์ ยานพาหนะ และอาคารสถานท่ีของสานักงาน
5) ปฏิบตั ิงานร่วมกับหรือสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอ่นื ท่ีเกย่ี วข้องหรือที่ไดร้ ับมอบหมาย
13
การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มองค์กร (SWOT Analysis)
จดุ แขง็ (Strengths)
1. บุคลากร มีความสนใจใฝุรู้ มีความพร้อมในการทางานเชิงรุก และยึดถือวัฒนธรรมองค์กรร่วมกัน ได้แก่
การทางานเป็นทมี มีจติ บริการ เสยี สละ อดทน อดกลั้น ในการปฏบิ ัตงิ าน
2. ผู้บริหารมีภาวะผูน้ าและมีธรรมาภบิ าลในการปฏบิ ัตงิ าน เป็นแบบอยา่ งทีด่ แี กผ่ ู้ใตบ้ งั คับบญั ชา
3. ผบู้ รหิ ารเปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรได้พฒั นาตนเอง และส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
4. บคุ ลากรได้รับการพัฒนาฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง
5. สถานท่ีตั้งของสานักงานฯ เหมาะสมและสะดวกในการใหบ้ ริการแก่ผมู้ าใชบ้ รกิ าร
จดุ ออ่ น (Weaknesses)
1. จานวนบคุ ลากรไมเ่ พยี งต่อปรมิ าณงานทมี่ ีจานวนมาก
2. บคุ ลากรมีความสามารถและความถนัดเฉพาะหนา้ ท่ีของตนเอง ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหน้าที่แทนกนั ได้
3. สง่ิ อานวยความสะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน ไมเ่ พยี งพอ และไม่เอื้อตอ่ การปฏิบัตงิ าน
4. ฐานขอ้ มูลแตล่ ะงานยงั ไมเ่ ปน็ ระบบ
5. การสื่อสารของบคุ ลากรภายในหนว่ ยงาน และการประชาสัมพนั ธ์ภารกจิ ของหน่วยงานมีประสิทธิภาพนอ้ ย
6. แผนปฏบิ ัติงานของหน่วยงานยังไม่ครอบคลุมทุกภารกิจและยังไมช่ ดั เจนเป็นรูปธรรม
โอกาส (Opportunities)
1. นโยบายของรัฐบาลให้ความสาคัญกบั การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ในทุกรปู แบบ
2. รฐั บาลให้ความสาคัญในการดาเนนิ งานของสานกั งาน โดยจดั เปน็ นโยบายเร่งด่วน
3. ภาคีเครือข่ายมคี วามเขม้ แข็งในการปฏิบตั ิงานและปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
4. กฎหมายที่ใช้ในการปฏิบัติงานมีความชดั เจน เอือ้ ตอ่ การปฏิบัตงิ าน
5.ภาคประชาชนมคี วามตน่ื ตวั ในการรวมตัวเพอื่ จัดตง้ั เป็นกลุ่ม องค์กร/กองทุนสวัสดิการในชุมชนเพื่อการพ่ึงพา
ตนเองมากขนึ้
6. คณะอนุกรรมการ และคณะกรรมการจงั หวัดให้การสนับสนุนการดาเนนิ งานของสานกั งาน
อุปสรรค (Threats)
1. การเปล่ียนแปลงทางการเมืองในช่วงเวลาท่ีผ่านมา ทาให้ขาดความต่อเนื่องของนโยบายในการปฏิบัติงาน
และการพฒั นาองค์กร
2. เครอื ข่ายองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินยงั ขาดความรู้ในการปฏิบตั ิงาน และผู้รับบริการยังไม่เข้าใจสิทธิที่ตนเอง
พึงมพี งึ ได้
3. งบประมาณทีไ่ ดร้ ับจัดสรรไมเ่ พียงพอต่อการดาเนนิ งาน
4. ขาดการตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงานที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ได้รับการสนับสนนุ จากหนว่ ยงาน
5. ประชาชนเคยชินกับการเป็นผูร้ บั จึงทาให้กระบวนการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาชุมชน สังคม ยงั นอ้ ย
14
ส่วนท่ี 3
แผนยุทธศาสตรส์ านกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ จังหวัดศรีสะเกษ
คานิยม
สรา้ งคน สร้างงาน สานพลงั ชมุ ชน
วิสัยทัศน์
สนง.พมจ.ศก. เปน็ ผนู้ าดา้ นสังคมของจังหวัด เพื่อให้คนมีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีอย่างทั่วถึง
พนั ธกจิ
1. สร้างฐานขอ้ มูลทางดา้ นสังคมที่มีประสทิ ธภิ าพและครอบคลุมทุกมติ ิ
2. สนบั สนุนกลไกการจัดสวสั ดิการทางสงั คมทีห่ ลากหลาย
3. ส่งเสริม ผลกั ดันใหม้ ีกจิ กรรมการพัฒนาศกั ยภาพของคนอย่างต่อเน่ือง
4. สร้างกลไกการทางานเชิงรุก และจัดทาแผนความร่วมมือ (One plan) การทางานกับหน่วยงานภาคี
เครอื ข่ายอยา่ งชดั เจน เป็นรูปธรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1. เปน็ ศนู ย์กลางข้อมลู ทางสังคมท่ีครบถว้ น
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2. พัฒนาศักยภาพกล่มุ เปูาหมายและส่งเสริมโอกาสการเข้าถงึ การบริการทางสังคม
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3. ขบั เคลื่อนกระบวนการทางาน เชิงรกุ ในทุกกระบวนงาน (Workfare than welfare)
เป้าประสงค์
1. ประชาชนเข้าถงึ และไดร้ ับบริการสวัสดกิ ารสงั คมอยา่ งทัว่ ถึงและอย่างเปน็ ธรรม
2. ประชาชนสามารถลดการพงึ่ พาจากรัฐและสามารถพึง่ พาตนเองได้อยา่ งยังยนื
3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มในการพัฒนาสงั คม มีการเชือ่ มโยงและบรู ณาการการทางานรว่ มกนั
4. สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ เปน็ ผู้นาดา้ นสงั คมในระดบั พื้นที่
15
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั ศรีสะเกษ
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 เปน็ ศูนยก์ ลางขอ้ มูลทางสงั คมที่ครบถ้วน
ยุทธศาสตร์ด้านการเป็นศูนย์กลางข้อมูลทางสังคมท่ีครบถ้วน เน่ืองจากกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ มีเปูาประสงค์ เป็นศูนย์กลางของข้อมูลด้านสังคมที่เช่ือถือได้และสามารถนาข้อมูลเหล่านี้ไป
ในในการแกป้ ัญหาทางสังคม นาไปส่กู ารเปน็ ผู้นาทางสังคมในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับกระทรวงไปจนถึงส่วนภูมิภาค ดังนั้น
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด จึงมีความจาเป็นจะต้องจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม
จากพน้ื ท่ี และหน่วยงาน เพอื่ ทางาน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลในการนามาประเมินสถานการณ์ทางสังคมในระดับ
พ้นื ที่ ทีส่ ะท้อนจากสภาพพืน้ ท่จี ริง ในการนามาแก้ไขปัญหาไดต้ รงตามความต้องการ
ตัวชี้วัดประกอบด้วย (1)พัฒนาปรับปรุงศูนย์ข้อมูลทางสังคมของจังหวัด (2)จัดทาแผน และระบบ/
รูปแบบของศูนย์ข้อมูลทางสังคมของจังหวัด (3)นาเข้าข้อมูล และรวบรวมสถิติข้อมูลมิติงานด้านสังคมของจังหวัด
(4)จดั ทารายงานสถานการณ์ทางสังคมของจังหวัด รายไตรมาส เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด (5)นาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ใน
การวางแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม และการจัดบริการ (6)ประเมินผลศูนย์ข้อมูลทางสังคมของจังหวัด (7)การนาข้อมูล
ไปเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์กับหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
ประเดน็ ด้านการพัฒนาเปน็ ศนู ยก์ ลางข้อมูลทางสังคมที่ครบถ้วน ประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ ดงั นี้
1)รวบรวม จัดเก็บข้อมูลของทุกกลุ่มงานทั้งใน และนอกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา
ทางสังคม
2)พัฒนาระบบฐานข้อมูลตามประเด็นกลุ่มเปูาหมาย และตามสภาพปัญหา เพ่ือให้สามารถนามา
วเิ คราะหแ์ ละประมวลผลได้ครบถ้วน
3)สง่ เสริมใหเ้ กดิ การนาข้อมลู ทผี่ า่ นกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ไปใชอ้ ้างอิงหรือจัดโครงการ /
กิจกรรม ไดต้ รงตามความตอ้ งการของสภาพปญั หา และสามารถนาไปสูสกู่ ารแก้ไข หรือพัฒนาต่อยอดได้
4)สร้างระบบการส่ือสารสองทาง (Two Way Communication) ได้สามารถตอบประเด็นคาถาม
ข้อปัญหา ไดท้ ันท่วงที ลดปญั หาความไมเ่ ขา้ ใจระหว่างภาครบั และประชาชน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาศักยภาพกลมุ่ เปูาหมายและสง่ เสริมโอกาสการเข้าถึงการบริการทางสังคม
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปูาหมายและส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการบริการทางสังคม
มีเปูาประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างย่ังยืน โดยลดการพึ่งพาจากรัฐ นอกจากนั้นยัง
สนับสนุนให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงสิทธิท่ีพึงจะได้รับบริการจากภาครัฐ และส่งเสริมให้เกิดการ
เรียนรู้ในการเข้าถึงโอกาสของการจัดสวัสดิการทางสังคมอย่างทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม และประชาชนสามารถ
ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน เกิดกลไกการขับเคลื่อนท่ีสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในทุกระดับ ตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมทา
รว่ มประเมินผลและร่วมพัฒนา
ตัวช้ีวัดประกอบด้วย (1) การพัฒนาและฟ้ืนฟูชุมชนและสังคม ในสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลง
ทุกกลุ่มเปูาหมาย (2) ส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิประโยชน์และโอกาสทางสังคมของทุกกลุ่มเปูาหมาย (3) ส่งเสริมความ
เข้มแข็งของสถาบันครอบครัว (4)สนับสนุนให้เกิดการขยายตัวของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและสร้างอาสาสมัครพัฒนา
สังคมรุ่นใหม่ (5)การช่วยเหลืออุดหนุนแก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคมตามภารกิจของ พม. (6)เกิดสังคมแห่งการแบ่งปัน
ตามแนวคดิ การให้เพือ่ สังคมท่ีดีกว่า
16
ประเดน็ ด้านการพฒั นาศกั ยภาพกลุม่ เปูาหมายและสง่ เสริมโอกาสการเข้าถึงการบริการทางสงั คม
ประกอบด้วย 4 ประเดน็ ดังน้ี
1) สนบั สนนุ ให้เกดิ พน้ื ทตี่ น้ แบบทางสังคม (Social Smart City) โดยสร้าง Flagship รว่ มกบั
พน้ื ท่ีและขยายผล มกี ารประเมินสถานการณ์อยา่ งตอ่ เนื่อง เพ่ือพฒั นาใหเ้ กิดความต่อเน่อื งยัง่ ยืน
2) ส่งเสรมิ การเข้าถงึ การจัดสวัสดิการทางสังคมแก่ทุกกลุ่มเปูาหมาย ตามประเดน็ ปญั หา
3) สง่ เสริมการพฒั นาศกั ยภาพแกนนา ยกระดับอาสาสมัครพฒั นาสงั คมในพนื้ ทใี่ ห้มีศักยภาพ
4) ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในทกุ ระดบั อยา่ งแท้จรงิ
5) สร้างสังคมแห่งการแบ่งปนั โดยใช้หลกั การให้เพอื่ สงั คมที่ดกี ว่า(ใหอ้ ย่างมีคณุ ค่า รบั อยา่ งมศี ักดิ์ศรี)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคล่อื นกระบวนการทางานเชงิ รุกในทกุ กระบวนงาน (Workfare than welfare)
ยุทธศาสตร์ด้านการขับเคล่ือนกระบวนการทางานเชิงรุกในทุกกระบวนงาน เน้นการทางานสร้าง
ฐานรากให้เข้มแข็งต้ังแต่การวางนโยบาย ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคมให้มากกว่าการสงเคราะห์ เน้นการปรับ
กระบวนทัศน์ในการดึงศักยภาพพื้นที่ให้ได้มากท่ีสุดตามบริบทของแต่ละภูมิสังคมและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมใน
การพฒั นาสงั คมและสวสั ดิการ
ตัวช้ีวัดประกอบด้วย (1)ความร่วมมือในการจัดทาแผนบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย และ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในจังหวัดศรีสะเกษ (One Plan)
(2)สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและชุมชนในทุกระดับ (3)จะทาแผนปฏิบัติการของส่วนงานโดยเวทีระดม
ความคิดเห็นและประชาพิจารณ์ (4)การจัดต้ังศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมจังหวัด (CSR) (5)ลงพ้ืนที่ติดตาม
ตรวจเยี่ยม และประเมินผลอย่างต่อเนือ่ ง สม่าเสมอเพอ่ื ความเป็นกลั ยามิตร
ประเดน็ ด้านการขบั เคลือ่ นกระบวนการทางานเชิงรกุ ในทุกกระบวนงาน (Workfare than welfare)
ประกอบดว้ ย 4 ประเด็น ดังน้ี
1) การพฒั นาศกั ยภาพเครอื ข่ายการคุม้ ครองสทิ ธกิ ลุ่มเปาู หมายในทกุ ระดบั
2) ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของเครอื ข่ายดา้ นสังคมในการพัฒนาสังคมทุกภาคสว่ น
3) พัฒนาบุคลากรให้มคี วามพรอ้ ม มีศักยภาพและร้เู ท่าทันความเปล่ยี นแปลง
4) พัฒนาระบบบริหารจัดการความร้ทู ีเ่ ปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ
5) ส่งเสริมการนาระบบเทคโนโลยแี ละเครือข่ายสารสนเทศมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน
6) ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตง้ั ศูนยส์ ง่ เสริมความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
17
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 1. เป็นศูนยก์ ลางข้อมูลทางสังคมที่ครบถ้วน
เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์
1.สานักงานพัฒนาสังคม 1)เป็นหน่วยในการรวบรวม จัดเก็บข้อมูลของทุก 1)การพ
และความมั่นคงของมนุษย์ กลุ่มงานท้ังใน และนอกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับ จงั หวัด
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นผู้นา
ด้านสังคมในระดับพ้ืนท่ี ประเดน็ ปญั หาทางสงั คม 2)มจี ดั
2 ) พั ฒ น า ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ต า ม ป ร ะ เ ด็ น สังคมข
กลุ่มเปูาหมาย และตามสภาพปัญหา เพ่ือให้
สามารถนามาวิเคราะห์และประมวลผลได้ 3)ร้อย
ครบถ้วน ข้อมูลม
3)ส่งเสริมให้เกิดการนาข้อมูลที่ผ่านกระบวนการ 4)มกี า
วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ไปใชอ้ า้ งองิ หรอื จดั โครงการ จงั หวัด
/กิจกรรม ได้ตรงตามความต้องการของสภาพ
ปัญหา และสามารถนาไปสูสู่การแก้ไข หรือ 5)รอ้ ย
พฒั นาตอ่ ยอดได้ วางแผ
4)สร้างระบบการส่ือสารสองทาง (Two Way 6)มีกา
Communication) ได้สามารถตอบประเด็น
คาถาม ข้อปัญหา ได้ทันท่วงที ลดปัญหาความไม่ 7)รอ้ ย
เข้าใจระหวา่ งภาครบั และประชาชน กับหน
ตวั ชวี้ ัด คา่ เป้าหมาย
2561 2562 2563 2564 2565
พัฒนาปรบั ปรงุ ศนู ยข์ ้อมูลทางสังคมของ
ด 6 เดือน / 1 ครัง้ - 60 70 80 90
ดทาแผนและระบบ/รูปแบบของศูนย์ข้อมลู ทาง - มี มี มี มี
ของจงั หวัด
ยละของการนาเขา้ ข้อมูล และรวบรวมสถิติ - 60 70 80 90
มิติงานดา้ นสังคมของจังหวัด
ารจดั ทารายงานสถานการณท์ างสงั คมของ - - มี มี มี
ด รายไตรมาส เสนอผวู้ ่าราชการจังหวดั
ยละของการนาขอ้ มูลไปใช้ประโยชนใ์ นการ - 50 60 70 80
ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และการจัดบริการ
ารประเมินผลศูนย์ข้อมลู ทางสงั คมของจังหวดั - มี มี มี มี
ยละของการนาขอ้ มูลไปเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ - 60 70 80 90
นว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2. พฒั นาศกั ยภาพกลมุ่ เปูาหมายและส่งเสรมิ โอกาสการเข
เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์
1.ประชาชนสามารถลดการ 1)สนับสนุนให้เกิดพื้นที่ต้นแบบทางสังคม 1) รอ้ ย
พึ่งพาจากรัฐและสามารถ (Social Smart City) โดยสร้าง Flagship สถานก
พง่ึ พาตนเองได้อย่างยง่ั ยืน ร่วมกับพ้ืนท่ีและขยายผล มีการประเมิน แนวทา
2 . ป ร ะ ช า ช น ต ร ะ ห นั ก ถึ ง สถานการณอ์ ย่างต่อเน่ือง เพอื่ พัฒนาให้เกิดความ 2) รอ้ ย
สิ ท ธิ ที่ พึ ง ไ ด้ รั บ เ ข้ า ถึ ง ตอ่ เน่ืองยั่งยืน โอกาส
บ ริ ก า ร จ า ก ภ า ค รั ฐ อ ย่ า ง 2)ส่งเสริมการเข้าถึงการจัดสวัสดิการทางสังคม 3) จาน
ทั่วถงึ และเป็นธรรม แกท่ ุกกลุ่มเปูาหมาย ตามประเดน็ ปัญหา สถาบัน
3) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพแกนนา ยกระดับ 4) จาน
อาสาสมัครพฒั นาสงั คมในพื้นทใ่ี ห้มีศักยภาพ อาสาส
4) ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนใน 5)รอ้ ย
ทกุ ระดับอยา่ งแทจ้ ริง ทางสงั
5) สร้างสังคมแห่งการแบ่งปันโดยใช้หลักการให้ 6)มสี ัง
เพ่ือสังคมท่ีดีกว่า(ให้อย่างมีคุณค่า รับอย่างมี สงั คมท
ศกั ดิ์ศรี
ข้าถึงการบริการทางสงั คม
ตัวช้ีวดั คา่ เป้าหมาย
2561 2562 2563 2564 2565
ยละการพฒั นาและฟืน้ ฟูชุมชนและสังคม ใน - 50 60 70 80
การณ์ทเี่ ปลย่ี นแปลงทุกกล่มุ เปูาหมาย (โดยใช้
าง Social Smart City)
ยละการสง่ เสรมิ การเขา้ ถึงสทิ ธิประโยชน์และ 50 60 70 80 90
สทางสงั คมของทกุ กลมุ่ เปาู หมาย
นวนกิจกรรมท่สี ่งเสริมความเขม้ แขง็ ของ 60 65 70 75 80
นครอบครวั
นวนของอาสาสมัครพฒั นาสังคมและสร้าง 60 65 70 75 80
สมัครพัฒนาสงั คมรุ่นใหม่ ทเี่ พ่ิมขึ้น
ยละการช่วยเหลอื อุดหนุนแก่ผปู้ ระสบปญั หา 85 80 75 70 65
งคมตามภารกจิ ของ พม.
งคมแห่งการแบ่งปนั ตามแนวคิด การให้เพ่ือ 50 60 70 80 90
ทด่ี ีกวา่
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3. ขับเคลอื่ นกระบวนการทางานเชงิ รุกในทุกกระบวนงาน (Work
เป้าประสงค์ กลยุทธ์
1.มี ฐ า น ก า ร ท า ง า น ท่ี 1) การพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยการคุ้มครองสิทธิ 1)ความ
เขม้ แขง็ ตง้ั แต่ระดับนโยบาย กลมุ่ เปาู หมายในทุกระดับ หน่วยง
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา 2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่ายด้านสังคม กระทร
สงั คม ในการพฒั นาสังคมทุกภาคสว่ น ในจงั ห
3) พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อม มีศักยภาพ
2.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม และรู้เทา่ ทนั ความเปลย่ี นแปลง 2)รอ้ ย
ในการพัฒนาสังคมและการ 4) พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการความร้ทู ี่เป็นระบบ หนว่ ยง
จัดสวัสดกิ าร และมีประสทิ ธภิ าพ
5) สง่ เสริมการนาระบบเทคโนโลยีและเครอื ขา่ ย 3)มีแผ
สารสนเทศมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน คิดเหน็
6)สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดต้งั ศนู ย์สง่ เสริม 4)ศูนย
ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
(CSR)
5)รอ้ ย
ประเม
kfare than welfare)
ตัวช้ีวัด คา่ เป้าหมาย
2561 2562 2563 2564 2565
มรว่ มมือในการจดั ทาแผนบูรณาการกบั 50 60 70 80 90
งานภาคีเครอื ขา่ ย และหน่วยงานในสงั กัด
รวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
หวัดศรีสะเกษ (One Plan)
ยละในการสรา้ งกระบวนการมสี ่วนร่วมกบั 60 70 80 90 95
งานและชมุ ชนในทุกระดับ
ผนปฏิบัติการของส่วนงานโดยเวทีระดมความ - มี มี มี มี
นและประชาพจิ ารณ์
ย์สง่ เสรมิ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมจังหวดั - 50 60 70 80
ยละการลงพน้ื ทีต่ ิดตาม ตรวจเยี่ยม และ 60 65 70 75 80
มินผลอย่างตอ่ เน่ือง
ความเช่อื มโยงยุทธศาสตรก์ ระทรวงและยุทธศาสตรแ์ ผนยทุ ธศา
วิสยั ทศั นก์ ระทรวง : พม. เป็นผูน้ าด้านสงั คม
ุยทธศาสตร์สนง.พมจ.ศก. ยุทธศาสตร์กระทรวง สง่ เสรมิ โอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางสังคม สร้างภมู คิ ุ้มกันและพัฒนาศกั ยภาพ
บนพนื้ ฐานความพอเพยี ง กลุ่มเปาู หมายและเครือขา่ ย
เปน็ ศนู ยก์ ลางขอ้ มลู ทางสงั คมทค่ี รบถ้วน พัฒนาศักยภาพกลมุ่ เปูาห
เข้าถงึ การบร
เ ูปาประสงค์สา ันกงานฯ สนง.พมจ.ศก. เปน็ ผนู้ า ประชาชนสามารถลดการพงึ่ พา ประชาชนตระหน
ด้านสังคมในระดบั พ้ืนท่ี จากรัฐและสามารถพึ่งพาตนเอง เขา้ ถงึ บรกิ ารจา
ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน และเ
าสตร์สานักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรีสะเกษ
มของไทยและอาเซยี น ม่งุ สู่คนอยดู่ ีมสี ุขในสังคมคุณภาพ
ผนกึ กาลังทางสงั คมเพื่อเปน็ กลไกในการ บรหิ ารจดั การองคก์ รทเ่ี ปน็ เลศิ และ
พฒั นาสังคม เสรมิ สร้างธรรมาภบิ าล
หมายและสง่ เสรมิ โอกาสการ ขับเคล่อื นกระบวนการทางานเชิงรกุ ในทุกกระบวนงาน
ริการทางสังคม (Workfare than welfare)
นกั ถงึ สิทธิทพ่ี งึ ไดร้ บั มฐี านการทางานท่เี ขม้ แข็งตง้ั แต่ ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการ
ากภาครฐั อยา่ งทัว่ ถงึ ระดับนโยบาย ยุทธศาสตรด์ า้ นการ พฒั นาสงั คมและการจดั สวสั ดิการ
เป็นธรรม พฒั นาสังคม
แผนท่ียทุ ธศาสตร์ สานักงานพฒั นาสังคมแ
วสิ ยั ทศั น์ “ สนง.พมจ.ศก. เป็นผ้นู าด้านสงั คมของจังหวัด
ประเด็น ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 1 : ประเด็นยทุ ธศา
ยุทธศาสต ์ร เป็นศูนย์กลางขอ้ มลู ทางสังคมทีค่ รบถว้ น และสง่ เสรมิ
(Strategy)
ประสิทธิผลตาม การจดั การความรู้ (KM) และขอ้ มลู (Data) สนับสนุน
ยุทธศาสต ์ร ทม่ี ีประสิทธภิ าพ ให้สาม
(Run the
Business)
ุคณภาพการ ข้อมลู ทางด้านสงั คมครบถ้วน สมบูรณ์
ใ ้หบ ิรการ ในทุกมิติ
(Serve the
Customer)
ประสิทธิภาพของ ฐานขอ้ มูลด้านสงั คมมคี วามถกู ต้อง สามารถบรหิ
การ สามารถนาไปอ้างองิ และใชป้ ระโยชนไ์ ด้ การให
ปฏิ ับ ิตราชการ
(Manage
Resources)
การ ัพฒนาองค์กร บคุ ลากรมที ักษะแล
(Capacity
Building)
และความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดศรสี ะเกษ
ด เพอ่ื ให้คนมีคุณภาพชีวิตท่ดี ีอยา่ งทัว่ ถงึ ”
าสตร์ 2 : พัฒนาศักยภาพกลมุ่ เปาู หมาย ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 3 : ขับเคลื่อนกระบวนการทางาน
มโอกาสการเข้าถึงการบรกิ ารทางสังคม เชงิ รุกในทกุ กระบวนงาน
(Workfare than welfare)
นการพัฒนาศักยภาพกลมุ่ เปูาหมาย สง่ เสรมิ การทางานเชิงกระบวนวจิ ยั สรา้ งมาตรฐาน แผนท่ยี ุทธศาสตร์สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวดั
มารถพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื และความรูใ้ หม่
ประเมินความพงึ พอใจของการรับบริการของ
กลุ่มเปูาหมายและนาไปใชใ้ นการพัฒนา
หารจัดการเวลา (Timeline) ใน ผนกึ กาลังการทางานเครอื ขา่ ยในการ
ห้บริการไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที เคลื่อนงานเชิงรกุ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ละเปน็ มอื อาชพี ด้านการพฒั นาสังคม
สว่ นที่ 4
การขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัตแิ ละการติดตามประเมนิ ผล
ขน้ั ตอนการนายทุ ธศาสตร/์ กลยทุ ธส์ ูก่ ารปฏิบัติ สามารถดาเนนิ การตามแผนภมู ิโดยมีรายละเอียดขน้ั ตอน ดงั น้ี
นโยบายปรบั เปล่ยี น
ยทุ ธศาสตร/์ กลยทุ ธ์ ทบทวนยทุ ธศาสตร/์ กลยุทธ์ สงั คม/โลก
เปล่ยี นแปลง
ควบคุม กากับ กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน ความเหมาะสมกับ
ติดตาม ประเมนิ ผล สถานการณป์ จั จุบนั
แผนปฏบิ ัตกิ าร
โครงการ/
กิจกรรม
เวลา
ผปู้ ฏิบตั ิ
งบประมาณ
1. ศึกษาแผนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ของหน่วยงาน เป็นการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ท่ีได้กาหนดไว้
เพ่ือจัดทารายละเอียดขั้นตอนการดาเนินงานตา่ ง ๆ ให้เปน็ ไปตามยทุ ธศาสตร/์ กลยทุ ธ์
2. ทบทวน/ปรับกลยุทธ์ ในข้ันน้ีเป็นการทบทวนกลยุทธ์ที่ได้กาหนดไว้ เพื่อพิจารณาว่าเหมาะสมหรือไม่
อย่างไร ซึ่งอาจมีกรณีที่มีความจาเปน็ ตอ้ งปรับกลยทุ ธ์ จากเหตุการณ์ดังตอ่ ไปนี้
- นโยบายหนว่ ยเหนือ หรอื นโยบายหน่วยงานมกี ารปรบั เปล่ียน
- สงั คมภายในประเทศ หรอื สังคมโลกมีการเปลย่ี นแปลงไปตามสภาวการณ์
- กลยุทธไ์ ม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจบุ ัน
3. จัดทาแผนปฏิบัติการ ในขั้นน้ีหน่วยงานจะต้องแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผน ปฏิบัติการ (Action Plan)
โดยจัดทาโครงการ/กิจกรรมที่จะดาเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบเปูาหมายตัวชี้วัดความสาเร็จและกาหนด
งบประมาณ จากการทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์หลัก ประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ แล้วแปลงเป็น
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีของหน่วยงาน เพ่ือเปน็ กรอบทศิ ทางการดาเนินงานตามภารกิจ
24
4. ปรับกระบวนการปฏิบัติงาน ในข้ันน้ีเป็นการปรับกระบวนการปฏิบัติงานเพ่ือให้หน่วยงานพร้อมท่ีจะนา
กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติได้สาเร็จ ได้แก่ การปรับโครงสร้างการทางาน ระบบงาน บุคลากร ตลอดจนวัฒนธรรมของ
หน่วยงาน ซึ่งกระบวนการปฏิบัติงานดังกล่าวมีองค์ความรู้ที่สามารถศึกษาเพ่ิมเติมจาก การพัฒนาองค์กร การจัดทา
ข้อเสนอการเปล่ยี นแปลง (Blue print for Change) เป็นต้น
5. ควบคมุ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน เปน็ การดาเนนิ การดังนี้
- ตรวจสอบความเข้าใจของบุคลากรในหน่วยงาน
- กากบั ใหม้ ีการปฏิบตั ิงานให้เปน็ ไปตามผงั การปฏิบตั งิ าน
- การไดร้ ับการสนบั สนุนโดยการมสี ่วนรว่ มของบุคลากรหรือหนว่ ยงานอน่ื ๆ
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษมีระบบและกลไกเพื่อควบคุมการปฏิบัติงาน
ตามกลยุทธ์ และก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนท้ังระหว่าง
โครงการและเมือ่ สิน้ สดุ โครงการ ดงั นี้
- การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานระดับหนว่ ยงาน
สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ จะดาเนินการประเมินแผนทุก 6 เดือน
เพ่อื ติดตามผลการดาเนนิ งาน และสรปุ รายงานความก้าวหนา้ ในการดาเนนิ การตามแผนงานของหนว่ ยงาน
- การประเมินแผนกลยทุ ธแ์ ละตวั ช้ีวดั
สานักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษจะมีการประเมินแผนกลยุทธ์และตัวช้ีวัดของ
สานกั งานฯ เพอื่ ประเมินผลสัมฤทธก์ิ ารดาเนินงานของสานกั งานฯในแตล่ ะปี เพอื่ ใหท้ ราบผลสมั ฤทธ์ิการดาเนินงานในแต่
ละปี
- การประเมินแผนยทุ ธศาสตร์
เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี ของสานักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษแล้ว สานักงานฯกาหนดให้มีการประเมินแผนยุทธศาสตร์เพื่อประเมินผลสัมฤทธ์ิการ
ดาเนินงานของสานักงานฯวา่ มกี ารดาเนินงานตามผลการปฏบิ ัติงานท่ไี ดจ้ รงิ กับเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ โดยประเมินตัวช้ีวัด
ผลสัมฤทธ์ิ และแผนตามที่กาหนดไว้ เพ่ือนาผลการประเมินดังกล่าวเป็นข้อมูลสาหรับจัดทาแผนยุทธศาสตร์สานักงาน
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั ศรสี ะเกษต่อไป
การติดตามประเมนิ ผล
การติดตามประมาณผล ยุทธศาสตร์พัฒนาท่ีอยู่อาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 – 2565) โดย
การรายงานผลการขับเคล่ือนงานต่อคณะทางานการขับเคลื่อนนโยบายและแผนพัฒนาท่ีอยู่อาศัยระดับจังหวัด และ
คณะอนุกรรมการด้านนโยบายและแผนงานการพัฒนาท่ีอยู่อาศัย อย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการ P D C A ในการ
ติดตามและประเมินโครงการตามประบวนการ เพราะจะทาให้การดาเนินงาน ตอบโจทย์ขององค์กรได้ตรงจุด ส่งผลให้
การดาเนินงานสอดคล้องกับธรรมชาติของคนในองค์กร จากการวางแผนอย่างเหมาะสมด้วยการใช้ข้อมูลของ
สถานการณ์จริง และท่ีสาคัญ การดาเนินการได้รับการเฝูาติดตามอย่างเป็นระยะ ซ่ึงก็จะทาให้สามารถปรับแผน ให้
สอดคล้องกับสถานการณไ์ ด้ รวมถึงมีการสรุปบทเรียนที่ได้หลังจากจบโครงการ ทาให้สามารถเรียนรู้รูปแบบท่ีเหมาะสม
สาหรับองค์กร และนามาเป็นแนวทางในการดาเนินงานรอบใหม่ ซ่ึงจะทาให้กิจกรรมการเพิ่มผลิตภาพได้รับการพัฒนา
และยกระดับไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดังน้ี
25
P = Plan Deming Cycle
D = Do -กาหนดวัตถปุ ระสงค์ และขอบเขตการดาเนนิ งาน
C = Check -กาหนดโครงสร้างทีมงาน และมอบหมายความรับผิดชอบ
A = Act -กาหนดตัวช้ีวดั และต้ังเปาู หมาย
-สารวจสถานการณป์ ัจจบุ ันขององค์กร
-วางแผนการดาเนินการ ทงั้ ในสว่ นของการปรับปรุงและจดั กจิ กรรมรณรงค์สง่ เสรมิ
-ดาเนนิ กจิ กรรมเพอ่ื เพิม่ ผลผลติ ตามแผนงาน
--ปรับปรงุ ผ่านเครอื่ งมือ และเทคนิคท่เี ลอื กใช้
--รณรงค์ สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ผา่ นช่องทางท่เี หมาะสม
-ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานรายกิจกรรม และเทียบกบั เปูาหมาย
-สรุปผลการดาเนนิ งาน
-วเิ คราะห์ผลสาเรจ็ ของกจิ กรรม
-นาเสนอผลงาน
-จัดทาแผนการขยายผล เพ่ือต่อยอดการปรบั ปรงุ
การตดิ ตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.25614 - 2565) มีแนวคิด หลักการ และแนวทางดาเนินการ
ดังน้ี
1. แนวคิดและหลักการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม เน้นการติดตามประเมินผลที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วม เป็นระบบประเมินผลเชิงบูรณาการ ท่ีมุ่งเสนอผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ประเมินด้วย
ตนเองเพ่ือสร้างกระบวนการเรียนรู้และติดตามผล อย่างใกล้ชิด ควบคู่กับการให้หน่วยงานหรือสถาบันท่ีเป็นกลาง
ทาหน้าทป่ี ระเมินผล มหี ลักเกณฑ์การตดิ ตามประเมนิ ผลและตัวช้ีวัดทชี่ ดั เจน โปร่งใส มีมาตรฐาน เป็นกลาง และถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
2.แนวทางการประเมินผลแผนพฒั นาฯ แบบมี ส่วนร่วม ดาเนนิ การโดย
2.1 วางระบบการติดตามประเมนิ ผล 3 ระยะเวลา ประกอบด้วย การประเมนิ ผลกอ่ นการปฏบิ ตั ิการ
หรอื ก่อนเริม่ โครงการ การประเมินผลระหวา่ งดาเนนิ การ และการประเมนิ ผลหลังการดาเนนิ งาน
2.2 วางระบบการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการระดบั กลุ่มงานท่ีเก่ียวข้องมากกวา่ หนึ่งงาน
เพ่ือเชื่อมโยงตวั ชวี้ ดั ของแผนปฏบิ ตั กิ ารสานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั ศรีสะเกษ
2.3 วางระบบการติดตามประเมนิ ผลแผนงานโครงการระดับจงั หวดั และพื้นที่ เพอื่ เชอื่ มโยงแผนปฏิบตั ิ
การจงั หวัดและกลุ่มจงั หวัดกับแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 และยทุ ธศาสตรช์ าติ
2.4 วจิ ัย ฝึกอบรม และตรวจสอบมาตรฐานระบบตดิ ตามและประเมนิ ผล เพอ่ื ทาให้ระบบติดตาม
ประเมินผลมีมาตรฐานสากลและพัฒนาให้ทันสมัยเพื่อฝึกอบรม เทคนิค วิธีการ หลักการ แนวคิดในการประเมินผล
แผนงานโครงการก่อนเรมิ่ ระหวา่ งดาเนินการ และหลงั ทีเ่ สร็จส้นิ แล้ว
2.5 ส่งเสริมใหเ้ กดิ การประสานความรว่ มมือระหว่างทีม One Home และหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง ทงั้ ใน
กระทรวง นอกกระทรวง และในพ้นื ที่เพื่อให้การติดตามประเมนิ ผลแบบมีส่วนรว่ มมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
2.6 จัดเตรียมองคก์ รกลางทีม่ คี วามเป็นมอื อาชีพ มคี วามชานาญและ เป็นทยี่ อมรบั ของทกุ ฝา่ ย เพื่อให้
การตดิ ตามประเมินผลมีความเปน็ สากล ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ เชอ่ื ถือได้ เป็นพ้ืนฐานสาหรบั การตัดสินใจนโยบายและ
การดาเนินงานภาครฐั
26
2.7 พฒั นาตวั ชว้ี ัดและตวั ชว้ี ัดรว่ มให้ได้มาตรฐานสากล เพ่ือประเมนิ การบรรลุวตั ถุประสงค์และ
เปา้ หมายของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 และยทุ ธศาสตร์ชาติซึ่งสามารถวัดได้ทั้งตัวช้ีวัดผลกระทบร่วม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ร่วม
และตวั ชี้วัดผลผลติ ร่วม
2.8 จดั เวทสี าธารณะเพือ่ ใหผ้ มู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียได้มีเวทีแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ และแสดง
ความคิดเหน็ อย่างเปดิ เผยและโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ เน้นการส่อื สารแบบสองทาง เน้นการส่ือสารแบบสวนเสวนามากกว่า
ถา่ ยทอดดา้ นเดียว และให้มคี ู่เจรจาโดยตรง เชน่ ระหว่างกลุ่มเปา้ หมายและผู้กาหนดนโยบาย เป็นตน้
2.9 นาเสนอผลการตดิ ตามประเมินผล เป็นการนาเสนอผลการประเมนิ ให้ทุกฝา่ ยได้รับทราบทง้ั
ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ผู้กาหนดนโยบาย หน่วยงานนานโยบายไปปฏิบัติ หน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ ตลอดจน
สาธารณชนผสู้ นใจไดร้ ับทราบผลการประเมนิ
2.10 พฒั นาระบบขอ้ มลู และประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี เพ่ือเพม่ิ ขีดความสามารถในการประเมนิ ผลโดย
จัดทาระบบข้อมูลการบริหาร การเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์และการนาข้อมูลไปใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพ และสามารถนาข้อมูลการประเมนิ ไปใช้ในการกาหนดทางเลือกนโยบาย และสร้างนวัตกรรมในการบริหาร
จัดการ
27