ก คำนำ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอนสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในส่วนภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560 (ข้อ 11) เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย และให้มี อำนาจหน้าที่ในเขตจังหวัด รวมทั้งให้มีอำนาจหน้าที่จัดระบบ ส่งเสริม และประสานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2560 โดยให้มีคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัด ทุกจังหวัด ในการดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบดังกล่าว ในการนี้ คณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยจัดทำระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ทางการศึกษาเพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมินและรายงานผลและเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาของจังหวัดตามความเหมาะสมด้วยความ สะดวกและรวดเร็ว ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับความอนุเคราะห์จากหน่วยงาน ที่จัดการศึกษาทั้งหน่วยงานของรัฐ สถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน กุมภาพันธ์2567
ข บทสรุปสำหรับผู้บริหาร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐมาตรา 76 รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหาราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลางส่วนภูมิภาคส่วนท้องถิ่นและงานของรัฐอย่างอื่น ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยหน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันในการปฏิบัติ หน้าที่ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินการจัดทำบริการสาธารณะ และการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพ สูงสุด เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนรวมตลอดทั้งพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีทัศนคติ เป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวกรวดเร็วไม่เลือกปฏิบัติและปฏิบัติหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ชาติด้าน (6) การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กำหนดให้เร่งส่งเสริม ให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการจัดการศึกษาและสร้างเครือข่าย/ความเป็นภาคีหุ้นส่วนกับองค์กรทั้งภายในและ ต่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา อีกทั้งปรับปรุงกลไกลเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัด การศึกษาทั้งในระดับส่วนกลางและในพื้นที่ระดับภาค/จังหวัดให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเน้นด้านคุณธรรม และความโปร่งใส ส่งเสริมการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กรให้เหมาะสมต่อสภาพบริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลง ลดความล่าช้าและซ้ำซ้อนสู่องค์กรที่มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป้าหมาย หลักที่ 5 การเสริมสร้างความสามารถของประเทศไทย ในการรับมือการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยงภายใต้บริบท โลกใหม่ โดยการสร้างความพร้อมในการรับมือกับการเป็นสังคมสูงวัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยโรค ระบาด รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และกลไกทางสถาบันให้เอื้อต่อสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัลรวมทั้งปรับปรุง โครงสร้างและระบบการบริหารงานของภาครัฐ ให้สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วได้อย่างทัน การณ์หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน โดยยกระดับภาครัฐ ให้มีสมรรถนะสูงและคล่องตัว สามารถก้าวสู่การเป็นภาครัฐดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ รวมถึงการยกเลิกกฎหมาย ที่ไม่จำเป็น และเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ และยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการตามนโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และแผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ 2 ( พ.ศ.2566 - 2570) ด้านที่ 6 การพัฒนาระบบราชการและการภาครัฐ ยุคดิจิทัลข้อที่ 6.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้สามารถใช้งานเครือข่ายสื่อสาร ข้อมูลเชื่อมโยงหน่วย งานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับระบบราชการ 4.0 สามารถตอบสนองความ ต้องการ ของประชาชนได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และทุกช่องทาง
ค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ที่ 19/2560 สั่ง ณ วันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 11 ให้มีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการบริหารและแนวการจัดการศึกษา ตามที่กฎหมายกำหนด การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ นโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย และให้มีหน้าที่ในเขตจังหวัด ข้อ (4) จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา การดำเนินการด้านข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินการตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2560 ข้อ 6 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อใช้ในการวางแผนตัดสินใจกำหนดนโยบาย และทิศทางการพัฒนาการศึกษาของส่วนราชการ หน่วยงานและสถานศึกษา (2) เพื่อสร้างโอกาส ความเสมอภาค ในการเข้าถึงข้อมูลและการบริการทางการศึกษา (3) เพื่อบูรณาการฐานข้อมูลของส่วนราชการ หน่วยงานและสถานศึกษาเข้าด้วยกันให้เป็นระบบ (4) เพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน และการบริการประชาชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ดำเนินการด้านข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 โดยดำเนินการประกาศรายชื่อคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้าน การศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอนและ แต่งตั้งคณะทำงานข้อมูลสารสนเทศการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา แต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน คณะกรรมการฯ และคณะทำงานฯ แต่งตั้งจากหน่วยงานทางการศึกษา และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในจังหวัดแม่ฮ่องสอนประกอบด้วย 11 หน่วยงาน 1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 1 2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 2 3. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 4. สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแม่ฮ่องสอน 5. สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน 6. สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดแม่ฮ่องสอน 7. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 8. ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน / โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 59 9. กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 33 10.สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 11.สำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน (วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีแม่ฮ่องสอน)
ง ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ส่วนที่ 3 ดัชนีทางการศึกษา ส่วนที่ 4 ข้อมูลการดำเนินงานตามโครงการพระราชดำริฯ ตราประจำจังหวัด “รูปช้างในท้องน้ำ” หมายถึง การฝึกช้างป่าให้รู้จักการบังคับ บัญชาในการรบและงานต่างๆ สาเหตุที่ใช้รูปช้างในท้องน้ำเป็นตราประจำจังหวัด เพราะเป็นที่มาของการตั้งเมืองแม่ฮ่องสอน โดยเริ่มจากการที่เจ้าแก้วเมืองมาออก จับช้างให้เจ้าเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ. 2368-2389) และได้รวบรวมชาวไทยใหญ่ให้มา ตั้งบ้านเมืองเป็นหลักแหล่งขึ้น 2 แห่ง มีหัวหน้าเป็นผู้ปกครอง คือ ที่บ้านปางหมู และ บ้านแม่ฮ่องสอน สาเหตุที่เรียกว่า แม่ฮ่องสอน ก็เพราะว่าได้มาตั้งคอกฝึกช้าง ณ บริเวณลำห้วยแห่งนี้นั่นเอง ต้นไม้ประจำจังหวัด “ต้นกระพี้จั่น”มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Millettia brandisiana Kurz วงศ์ LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE ชื่ออื่น เช่น จั่น พี้จั่น ปี้จั่น เป็นไม้ ต้นผลัดใบ สูง 8-10 เมตร เปลือกสีเทาเข้ม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่เรียงสลับใบ ประกอบย่อยเรียงตรงข้าม มี 6-10 คู่ รูปรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 1.1.5 เซนติเมตร ยาว 3-4.5 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบมนหรือรูปลิ่ม เบี้ยว ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตาม ซอกใบและปลายกิ่งกลีบเลี้ยงจำนวน 5 กลีบ กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีขาวปนม่วง เกสรเพศผู้10 อัน แยกเป็น 2 มัด มัดละ 9 อัน และ 1 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบผลเป็นฝักแบน โคนแคบ กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 9-12 เซนติเมตร เปลือกหนาคล้ายแผ่นหนัง ขอบเป็นสัน แห้งแล้วแตก เมล็ด 1-4 เมล็ดสีน้ำตาล มีเขตการกระจาย พันธุ์ในประเทศไทยและประเทศขึ้นในป่าเบจพรรณและป่าเต็งรัง ทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันตก เฉียงใต้ ออกดอกเดือนธันวาคม-มีนาคม โดยเมล็ดและปักชำราก การใช้ประโยชน์ คือ เนื้อไม้ให้ทำเยื่อกระดาษ ด้ามเครื่องมือ ของเล่นเด็ก ดอกไม้ประดิษฐ์ คำขวัญประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน
จ 1. ข้อมูลจำนวนสถานศึกษาจำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 จำนวน 532 แห่ง ที่ สังกัด จำนวน สถานศึกษา (แห่ง) ที่ สังกัด จำนวน สถานศึกษา (แห่ง) 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 131 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด แม่ฮ่องสอน (สกร.) และศูนย์ส่งเสริม การเรียนรู้อำเภอ 7 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 176 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 1 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 8 11 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 1 4 สถานศึกษา สังกัดสำนักงาน บริการศึกษาพิเศษ 5 12 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) โรงเรียนพระปริยัติธรรม 4 5 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (สช.) 45 13 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองบัญชาการตำรวจตระเวน ชายแดน โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดน 16 6 สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) 2 14 วิทยาลัยชุนชนแม่ฮ่องสอน 6 7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ (อปท.) 11 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 167 ** ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2566
ฉ 2. จำนวนนักเรียน/นักศึกษา จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 จำนวน 56,319 คน ที่ สังกัด จำนวน นักเรียน/ นักศึกษา (คน) ที่ สังกัด จำนวน นักเรียน/ นักศึกษา (คน) 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 14,410 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด แม่ฮ่องสอน (สกร.) และศูนย์ ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอ 4,235 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 17,239 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 921 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 8,758 11 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 71 4 สถานศึกษา สังกัดสำนักงาน บริการศึกษาพิเศษ 2,079 12 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) โรงเรียนพระปริยัติธรรม 420 5 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (สช.) 1,772 13 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองบัญชาการตำรวจตระเวน ชายแดน โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดน 853 6 สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) 1,536 14 วิทยาลัยชุนชนแม่ฮ่องสอน 460 7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ (อปท.) 2,476 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3,708 ** ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2566
ช 3. จำนวนครู/สอน จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 จำนวน 4,502 คน ที่ สังกัด จำนวน ครู/ผู้สอน (คน) ที่ สังกัด จำนวน ครู/ผู้สอน (คน) 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 1,121 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัด แม่ฮ่องสอน (สกร.) และศูนย์ ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอ 252 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 1,891 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 140 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 492 11 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน 12 4 สถานศึกษา สังกัดสำนักงาน บริการศึกษาพิเศษ 263 12 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) โรงเรียนพระปริยัติธรรม 37 5 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (สช.) 137 13 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองบัญชาการตำรวจตระเวน ชายแดน โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดน 97 6 สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) 38 14 วิทยาลัยชุนชนแม่ฮ่องสอน ๑๒๗ 7 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ (อปท.) 125 8 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 199 ** ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2566
ซ 4. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) 1 - 4 การเข้ารับการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 ดัชนีที่ 1 สัดส่วนนักเรียนก่อนประถมศึกษา 3 – 5 ปี ต่อประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี ดัชนีที่ 2 ประชากรอายุ 6 – 11 ปี ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาเทียบกับประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี ดัชนีที่ 3 ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เทียบกับประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 12 – 14 ปี ดัชนีที่ 4 สัดส่วนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สามัญศึกษา + อาชีวศึกษา) อายุ 15 – 1๗ ปี ต่อประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 15 – 1๗ ปี การวิเคราะห์และอภิปรายข้อมูลการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรวมทุก สังกัด แยกตามกลุ่มอายุ ปีการศึกษา 2566 การเข้ารับการศึกษา ตามกลุ่มอายุ ผู้เรียนรวมทุกสังกัด* (คน) จำนวนประชากรวัยเรียน* (คน) เฉลี่ยร้อยละ อายุ 3 – 5 ปี 8,425 9,124 92.34 อายุ 6 – 11 ปี 22,161 21,453 103.30 อายุ 12 – 14 ปี 10,554 10,612 99.45 อายุ 15 – 17 ปี 8,986 11,309 79.46 รวม 50,126 52,498 93.63 ที่มา : *ระบบศูนย์บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการศึกษา (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) https://exchange.moe.go.th/ หมายเหตุ : **ข้อมูลผู้เรียนซ้ำซ้อน จากตารางข้างต้น พิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาโดยจำแนกตามช่วงอายุได้ดังนี้ เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 3 – 5 ปี ได้เข้าเรียน ระดับก่อนประถมศึกษาเทียบกับผู้เรียนอายุ 3 – 5 ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ 3 – 5 ปี เฉลี่ยร้อยละ 92.34 เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ ๖ – ๑๑ ปี ได้เข้าเรียน ระดับประถมศึกษาเทียบกับผู้เรียนอายุ ๖ – ๑๑ ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ ๖ – ๑๑ ปี เฉลี่ยร้อยละ 103.30
ฌ เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นเทียบกับผู้เรียนอายุ 12 – 14 ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ 12 – 14 ปี เฉลี่ยร้อยละ 99.45 เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 15 – 17 ปี ได้เข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายและประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เทียบกับผู้เรียนอายุ 15 – 17 ปีพบว่าการเข้าถึง โอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 15 – 17 ปี เฉลี่ยร้อยละ 79.46 5. ด้านคุณภาพทางการศึกษา (Quality) ดำเนินการ 2 ดัชนี ดังนี้ ดัชนีที่ 5 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึ้นไป แต่ละระดับชั้น ดังนี้ ตารางที่ 16 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับหน่วยงาน ชั้น กลุ่มสาระ ระดับหน่วยงาน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา อังกฤษ สังคมฯ เฉลี่ย รวม ป.6 ประเทศ 53.89 28.06 39.34 37.62 - 39.72 กระทรวงศึกษาธิการ 53.76 28.04 39.28 37.44 - 39.63 ภาคเหนือ 55.79 29.54 41.14 38.81 - 41.32 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 54.73 28.63 40.49 38.40 - 35.84 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 49.99 24.65 36.33 31.25 - 35.56 ม.3 ประเทศ 52.95 24.39 33.32 32.05 - 35.68 กระทรวงศึกษาธิการ 53.21 24.48 33.45 32.18 - 35.83 ภาคเหนือ 55.92 25.57 34.59 33.06 - 37.29 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 55.30 25.12 34.23 33.02 - 36.92 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 50.89 21.79 31.35 27.77 - 32.95 ม.6 ประเทศ 44.09 21.61 28.08 23.44 33.00 30.04 กระทรวงศึกษาธิการ 44.42 21.83 28.26 23.56 33.11 30.23 ภาคเหนือ 46.68 23.13 29.20 24.24 34.34 31.52 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 46.20 22.78 28.86 24.15 34.31 31.26 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 42.69 19.80 26.78 21.61 32.34 28.64 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับหน่วยงาน ดังนี้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 35.56 ต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 35.84) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 39.63)
ญ ระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 39.72) และต่ำกว่าระดับภาคเหนือ(ค่าเฉลี่ย 41.32) โดยกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่มี คะแนนสูงที่สุดคือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 49.99) รองลงมา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 36.33) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 31.25) และคณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 24.65) ตามลำดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม (ค่าเฉลี่ย 32.95) ต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยของ ระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 35.68) สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 36.92) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 35.83) และต่ำกว่าระดับภาคเหนือ (ค่าเฉลี่ย 37.29) โดยกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่มีคะแนนสูงที่สุดคือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 50.89) รองลงมา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 31.35) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 27.77) และคณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 21.79) ตามลำดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม (ค่าเฉลี่ย 28.64) ต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยของ ระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 30.04) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 30.23) สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 31.26) และต่ำกว่าระดับภาคเหนือ (ค่าเฉลี่ย 31.52) โดยกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่มีคะแนนสูงที่สุดคือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 42.69) รองลงมา ได้แก่ สังคมฯ (ค่าเฉลี่ย 32.34) วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 26.78) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 21.61) และคณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 19.80) ตามลำดับ ดัชนีที่ 6 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT : National test) วิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT : National test) ของนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเปรียบเทียบผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2564 กับ ปีการศึกษา 2565 พบว่า ความสามารถด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2565 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2564 คิดเป็นร้อยละ - 0.06 ส่วนความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2564 คิดเป็นร้อยละ - 0.14 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ของผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 ระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกตามสังกัด ชั้น ด้าน สังกัด ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematic) ด้านภาษาไทย (Thai Language) เฉลี่ยรวม 2 ด้าน ป.3 ประเทศ 49.12 55.86 52.50 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 45.95 53.48 49.72 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด แม่ฮ่องสอน 45.58 51.71 48.65 สพฐ. 44.99 50.70 47.85 สช. 52.89 68.78 60.84 อปท. 42.66 49.67 46.16 ตชด. 50.83 51.91 51.37
ฎ การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ความสามารถ พื้นฐาน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลต่าง + / - ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2564 - 2565 ด้านคณิตศาสตร์ 45.64 45.58 - 0.06 ด้านภาษาไทย 51.85 51.71 - 0.14 เฉลี่ยรวม 2 ด้าน 48.75 48.65 - 0.1 6. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ดำเนินการ 1 ดัชนี ดังนี้ ดัชนีที่ 7 สัดส่วนนักเรียนต่อครู สัดส่วนนักเรียนต่อครู จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 ที่ หน่วยงานทางการศึกษา จำนวน นักเรียน จำนวน ครู เฉลี่ย ครู: นักเรียน 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 14,410 1,121 1 : 12 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 17,239 1,891 1 : 9 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 8,758 492 1 : 17 4 สำนักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษแม่ฮ่องสอน 2,079 263 1 : 8 5 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สกร.) 4,235 24 1 : 16 6 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 1,692 98 1 : 17 7 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 1,536 38 1 : 40 8 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/(อปท.) 6,184 324 1 : 19 9 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ/(สตช.) 853 97 1 : 8 10 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (สพช.) 420 37 1 : 11 11 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) 992 152 1 : 6 รวม 56,319 4,274 1 : 12 จากตาราง สัดส่วนนักเรียนต่อครู จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 สรุปได้ว่า หน่วยงานทาง การศึกษาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของทุกสังกัด โดยเฉลี่ยครู 1 คน รับผิดชอบนักเรียน ประมาณ 12 คน ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กำหนดให้อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในระดับประถมศึกษา 1 : 25 คน และระดับมัธยมศึกษา 1 : 20 คน
ฏ สารบัญ หน้า คำนำ ก บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ข สารบัญ ฏ สารบัญตาราง ฐ ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานจังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. ข้อมูลสภาพทั่วไป 1 2. ที่ตั้งและเขตการปกครอง 2 2.1 ที่ตั้งและอาณาเขต 2 2.2 การปกครอง 2 2.3 ประชากร 3 ส่วนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา 1. ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษา 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน 7 1.2 ข้อมูลจำนวนสถานศึกษา นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน 16 2. ด้านคุณภาพการศึกษา 2.1 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 20 ส่วนที่ 3 ดัชนีทางการศึกษา 1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) 26 2. ด้านคุณภาพทางการศึกษา (Quality) 27 3. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) 29 ส่วนที่ 4 ข้อมูลการดำเนินงานตามโครงการในพระราชดำริฯ 1. ข้อมูลนักเรียนทุนพระราชทานจังหวัดแม่ฮ่องสอน 30 1.1 ข้อมูลนักเรียนทุนพระราชทานโครงการทุนการศึกษาพระราชทาน ม.ท.ศ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน 30
ฐ สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 การแบ่งการปกครองของจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2 ตารางที่ 2 สถิติประชากรของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ปี พ.ศ. 2566 3 ตารางที่ 3 แสดงจำนวนประชากร 4 ตารางที่ 4 แสดงจำนวนประชากรเด็ก อายุต่ำกว่า 18 ปี 4 ตารางที่ 5 แสดงจำนวนประชากรเยาวชน 4 ตารางที่ 6 แสดงจำนวนประชากรวัยแรงงาน 5 ตารางที่ 7 แสดงจำนวนประชากรวัยผู้สูงอายุ 5 ตารางที่ 8 แสดงจำนวนคนพิการที่จดทะเบียนและประเภทของความพิการ 5 ตารางที่ 9 แสดงร้อยละของจำนวนประชากรจังหวัดแม่ฮ่องสอน 6 ตาราง 10 ข้อมูลสถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และครู/อาจารย์ ปีการศึกษา 2566 16 ตาราง 11 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาในกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอื่น ๆ ปีการศึกษา 2566 17 ตาราง 12 ข้อมูลครู/อาจารย์ในกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอื่น ๆ ปีการศึกษา 2566 18 ตารางที่ 13 จำนวนสถานศึกษา สังกัด สกร.จังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 19 ตารางที่ 14 ตารางจำนวนนักศึกษาสังกัด สกร.จังหวัด แม่ฮ่องสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 19 ตารางที่ 15 จำนวนครู สังกัด สกร.จังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 19 ตารางที่ 16 ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 19 ตารางที่ 17 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 21 ตารางที่ 18 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 22 ตารางที่ 19 จำนวนสถิติด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2565 ของจังหวัด 23 ตารางที่ 20 จำนวนสถิติด้านการเขียนได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี 2565 ของจังหวัด 23 ตารางที่ 21 การวิเคราะห์และอภิปรายข้อมูลการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) 26 ตารางที่ 22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 27 ตารางที่ 23 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ 28 ตารางที่ 24 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน 29 ตารางที่ 25 สัดส่วนนักเรียนต่อครู จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 29 ตารางที่ 26 ข้อมูลนักเรียนทุนพระราชทานโครงการทุนการศึกษา 30
ฑ ภาคผนวก - คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน (กศจ.แม่ฮ่องสอน) - คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา - คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ด้านการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ - ประกาศคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน - เรื่อง รายชื่อคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน - คำสั่งคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ 356 /2567 เรื่อง แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาจังหวัด แม่ฮ่องสอน - รายชื่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน - คณะผู้จัดทำ
๑ ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ลักษณะทางกายภาพ แสดงอาณาเขตของจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง และประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันตก ติดต่อกับรัฐฉาน รัฐคะยา และรัฐคอเลทู ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา โดยมีเทือกเขาถนนธงชัยตะวันตก แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำเมย เป็นแนว พรมแดนกั้นระหว่างประเทศ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก โดยมีแม่น้ำยวม และแม่น้ำเงา เป็นแนว เขตจังหวัด ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเวียงแหง อำเภอเชียงดาว อำเภอแม่แตง อำเภอสะเมิง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอฮอด และอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเทือกเขา ถนนธงชัยกลาง และเทือกเขาถนนธงชัยตะวันออกเป็นแนวเขตระหว่างจังหวัด ทุกอำเภอในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีเขตแดนติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา รวมระยะทางประมาณ 483 กิโลเมตร โดยเป็นพื้นดินประมาณ 326 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำประมาณ 157 กิโลเมตร แบ่งเป็นแม่น้ำสาละวิน 127 กิโลเมตร และแม่น้ำเมย 30 กิโลเมตร จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นจังหวัดชายแดน ตั้งอยู่ ทางภาคเหนือตอนบน ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 924 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 7,987,808.27 ไร่ หรือ ประมาณ 12,681.259 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาด ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับ 8 ของประเทศ พื้นที่มีรูปร่างเรียวยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้มีความยาวประมาณ 250 กิโลเมตรและความกว้างประมาณ 95 กิโลเมตร พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นเนื้อที่ป่าไม้ ประมาณ 11,133.78 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,958,612.23 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 87.12 ของพื้นที่จังหวัด มีพื้นที่เกษตรกรรม 406,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.08
๒ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศเป็นทิวเขาสูงสลับซับซ้อนและเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีทิวเขาเรียงตามแนวทิศเหนือ-ใต้ ขนานกัน ทิวเขาที่สำคัญ คือ ทิวเขาแดนลาว อยู่ทางตอนเหนือสุดของ จังหวัด เป็นแนวแบ่งเขตแดนประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และ ทิวเขาถนนธงชัย ประกอบด้วยทิวเขาเรียงขนานกัน 3 แนว คือ ทิวเขาถนนธงชัยตะวันตก เป็นแนวเขตแดนประเทศไทยและ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาทิวเขาถนนธงชัยกลาง อยู่ระหว่างแม่น้ำยวมและแม่น้ำแม่แจ่ม และทิวเขาถนน ธงชัยตะวันออก เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างจังหวัดแม่ฮ่องสอนกับจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งยังเป็นที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ยอดเขาแม่ยะอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอปาย มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,005 เมตร แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ คือ แม่น้ำปาย ซึ่งมีต้นกำเนิดจากทิวเขาถนนธงชัย ไหลผ่าน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ไปบรรจบกับแม่น้ำสาละวิน มีความยาว 135 กิโลเมตร แม่น้ำยวม ซึ่งมีต้นกำเนินจาก ภูเขาด้านตะวันออกของอำเภอขุนยวม ไหลผ่านอำเภอแม่ลาน้อยและอำเภอแม่สะเรียง ไปบรรจบกับแม่น้ำเมย มีความยาว 160 กิโลเมตร และ แม่น้ำละมาด ซึ่งมีต้นกำเนิดจากดอยแม่ละมาด ไหลผ่านอำเภอเมืองลงสู่แม่น้ำปาย ข้อมูลการปกครอง และประชากร จังหวัดแม่ฮ่องสอน แบ่งการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ 45 ตำบล 415 หมู่บ้าน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน 50 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 6 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 42 แห่ง ตารางที่ 1 การแบ่งการปกครองของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ จังหวัด / อำเภอ พื้นที่ (ตร.กม.) ตำบล หมู่บ้าน อบจ. ทม. ทต. อบต. จ.แม่ฮ่องสอน 12,681.259 45 415 1 1 6 42 1 อ.เมืองแม่ฮ่องสอน 2,483.115 7 68 1 1 - 6 2 อ.ขุนยวม 1,698.312 6 43 - - 1 6 3 อ.ปางมะผ้า 798.375 4 38 - - - 4 4 อ.ปาย 2,244.700 7 62 - - 1 7 5 อ.แม่ลาน้อย 1,456.645 8 69 - - 1 8 6 อ.แม่สะเรียง 2,587.425 7 77 - - 3 5 7 อ.สบเมย 1,412.687 6 58 - - - 6 ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดแม่ฮ่องสอน
๓ ประชากร จากข้อมูลประชากร ปี พ.ศ. 2566 (ข้อมูล ณ เดือน เมษายน 2566 ) จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีประชากรทั้งสิ้น 266,802 คน เป็นชาย 135,296 คน เป็นหญิง 131,506คน และมีจำนวนบ้านทั้งสิ้น 108,235 หลัง ตารางที่ 2 สถิติประชากรของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ปี พ.ศ. 2566 ที่ จังหวัด / อำเภอ ประชากร (คน) จำนวนบ้าน รวม ชาย หญิง (หลัง) จ.แม่ฮ่องสอน 266,802 135,296 131,506 108,235 1 อ.เมืองแม่ฮ่องสอน 56,821 28,568 28,253 24,071 2 อ.ขุนยวม 20,205 10,367 9,838 8,016 3 อ.ปาย 35,233 18,185 17,048 15,731 4 อ.แม่สะเรียง 52,627 26,413 26,214 22,306 5 อ.แม่ลาน้อย 32,266 16,229 16,037 11,157 6 อ.สบเมย 47,405 24,046 23,359 17,824 7 อ.ปางมะผ้า 22,245 11,488 10,757 9,130 ที่มา : ข้อมูลจำนวนประชากรจากระบบสถิติทางการทะเบียน ข้อมูล ณ เดือน เมษายน 2566 ประชากรในจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ คนไทยเชื้อสายไทใหญ่ อพยพมาจากรัฐฉานซึ่งเป็นบ้านเมืองเดิมในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และกลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ 1) ไทใหญ่ หรือ ฉาน เป็นกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่อยู่ในเขตพม่า ตอนใต้ของจีน และภาคเหนือของ ประเทศไทย มีชาวไทใหญ่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย และเชียงใหม่ จากตอนใต้ของ ประเทศจีนเมื่อประมาณศตวรรษที่ 17 2) กะเหรี่ยง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีประชากรมากที่สุดของชาวไทยภูเขา คือ ประมาณร้อยละ 79.3 จะตั้งถิ่นฐานอยู่ทุกอำเภอ ปาดอง หรือกะเหรี่ยงคอยาว ปัจจุบันมีอยู่ที่บ้านในสอยบ้านน้ำเพียงดิน และบ้าน ห้วยเสือเฒ่าในเขตอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนนอกจากนี้ยังมีกะเหรี่ยงกลุ่มย่อยที่อพยพเข้ามาจากประเทศเมียนมา คือ กะเหรี่ยงแดง, กะยัน อาศัยอยู่ในบ้านในสอย บ้านห้วยเสือเฒ่า อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน 3) ลาหู่ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ลาหู่แดง และลาหู่ดำตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่อำเภอปางมะผ้า, อำเภอ ปาย และอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน 4) ลีซู พบได้ใน อำเภอปาย และ อำเภอปางมะผ้า 5) ละเวือะ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยในดินแดนล้านนารวมถึงแม่ฮ่องสอนมาตั้งแต่โบราณปัจจุบัน ชาวละเวือะอพยพขึ้นไปอยู่บนพื้นที่ภูเขาสูงตั้งชุมชนเป็นแนวยาวไปตามสันเขา พบได้มากที่เขตรอยต่ออำเภอ แม่ลาน้อยกับ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 6) ม้ง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีประชากรน้อยที่สุดในแม่ฮ่องสอนแต่กระจายอยู่ทุกอำเภอแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือม้งขาวและม้งลายซึ่งเรียกจากสีกระโปรงของผู้หญิงชาวม้ง 7) จีนยูนนาน (จีนฮ่อ) เป็นกลุ่มชาวจีนที่เป็นอดีตทหารกองพล 93 ที่หนีภัยทางการเมืองเข้ามา ในประเทศไทยอยู่ที่อำเภอปาย อำเภอปางมะผ้า และ อำเภอเมืองบางแห่งตั้งเป็นชุมชนถาวรมีเฉพาะชาวจีนฮ่อ เท่านั้น เช่น หมู่บ้านสันติชล อำเภอปายและหมู่บ้านรักไทย อำเภอเมือง เป็นต้น 8) ปะโอ อพยพเข้ามาจากรัฐฉาน ปัจจุบันมีถิ่นอาศัยอยู่บ้านห้วยมะเขือส้ม ตำบลหมอกจำแป่ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
๔ 9) คนเมือง พลเมืองไทยผู้มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยหรือที่เดิม เรียกกันว่าอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีภาษาพูดเป็นของตนเองที่เรียกว่า “กำเมือง” หรือ “คำเมือง” และมีตัวอักษร เป็นแบบกึ่งเหลี่ยมกึ่งมนอย่างมอญโบราณซึ่งได้ “…แปรรูปมาเป็นตัวกลมอย่างพม่า…” ที่เรียกกันว่า “ตั๋วเมือง” หรือ “ตัว (อักษร) เมือง” ที่ใช้กันมาแต่โบราณ 1) ข้อมูลประชากรตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ เดือน ตุลาคม 2566 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีจำนวนประชากรรวมทั้งหมด 287,498 คน แยกเป็นชาย จำนวน 145,460 คน และเป็นหญิง จำนวน 142,038 คน จากจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 119,841 ครัวเรือน ตารางที่ 3 แสดงจำนวนประชากร เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย 145,460 50.6 หญิง 142,038 49.4 รวม 287,498 100.00 2) เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ เดือน ตุลาคม 2566 จังหวัด แม่ฮ่องสอน มีจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีทั้งสิ้น 81,176 คน คิดเป็นร้อยละ 28.2 ของจำนวนประชากร ทั้งหมด แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน 41,650 คน และเพศหญิง 39,526 คน โดยประกอบด้วย - เด็กแรกเกิด-ปฐมวัย (0-5 ปี) จำนวน 22,205 คน แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน 11,364 คน และเพศหญิง 10,841 คน - เด็กวัยเรียนตามการศึกษาภาคบังคับ ( อายุ 6-15 ปี) จำนวน 46,792 คน แบ่งเป็น เพศชาย 24,009 คน และเพศหญิง 22,783 คน - เด็กวัยเรียน (อายุ 16-18 ปี) จำนวน 12,179 คน แบ่งเป็นเพศชาย 6,277 คน และเพศหญิง 5,902 คน ตารางที่ 4 แสดงจำนวนประชากรเด็ก อายุต่ำกว่า 18 ปี เด็ก ชาย หญิง รวม (คน) 1. เด็กแรกเกิด-ปฐมวัย (อายุ 0-5 ปี) 11,364 10,841 22,205 2. เด็กวัยเรียนตามการศึกษาภาคบังคับ ( อายุ 6-15 ปี) 24,009 22,783 46,792 3. เด็กวัยเรียน (อายุ 16-18 ปี) 6,277 5,902 12,179 รวม อายุต่ำกว่า 18 ปี 41,650 39,526 81,176 3) เยาวชน อายุตั้งแต่ 19 – 25 ปี ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ เดือน ตุลาคม 2566 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีเยาวชนจำนวน 29,734 คน คิดเป็นร้อยละ 10.1 ของจำนวนประชากรทั้งหมด แบ่งเป็นเพศ ชาย 14,946 คน และเพศหญิง 14,788 คน ตารางที่ 5 แสดงจำนวนประชากรเยาวชน เพศ จำนวน ชาย 14,791 หญิง 14,390 รวม 29,181
๕ 4) วัยแรงงาน อายุตั้งแต่ 26 – 59 ปี ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ เดือน ตุลาคม 2566 จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีประชากรวัยแรงงานจำนวน 134,797 คน คิดเป็นร้อยละ 46.9 ของจำนวน ประชากรทั้งหมด แบ่งเป็นเพศชาย 68,430 คน และเพศหญิง 66,367 คน ตารางที่ 6 แสดงจำนวนประชากรวัยแรงงาน เพศ จำนวน ชาย 68,430 หญิง 66,367 รวม 134,797 5) ผู้สูงอายุ อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ เดือน ตุลาคม 2566 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีผู้สูงอายุจำนวน 42,344 คน คิดเป็นร้อยละ 14.7 ของจำนวนประชากรทั้งหมด แบ่งเป็นชาย 20,589 คน และเพศหญิง 21,755 คน ตามตาราง ดังนี้ ตารางที่ 7 แสดงจำนวนประชากรวัยผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ชาย หญิง รวม(คน) อายุ 60-69 ปี 11,886 12,323 24,209 อายุ 70-79 ปี 5,749 6,068 11,817 อายุ 80-89 ปี 2,288 2,564 4,852 อายุ 90-100 ปี 563 696 1,259 อายุ 100 ปีขึ้นไป 103 104 207 รวม 20,589 21,755 42,344 ที่มา : กรมปกครอง ตุลาคม 2566 6) สถิติข้อมูลคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกตาม ประเภทความพิการและเพศ จำนวน 9,758 คน คิดเป็นร้อยละ 3.4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด แบ่งเป็น ชายจำนวน 5,221 คน หญิงจำนวน 4,537 คน และได้แบ่งตามประเภทของความพิการตามตารางนี้ ตารางที่ 8 แสดงจำนวนคนพิการที่จดทะเบียนและประเภทของความพิการ ประเภทความพิการ ชาย หญิง รวม 1) ทางการมองเห็น 397 399 796 2) ทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย 1,434 1170 2604 3) ทางการเคลื่อนไหวหรือร่างกาย 2,214 2,104 4,318 4) ทางจิตใจหรือพฤติกรรม 328 259 587 5) ทางสติปัญญา 356 260 616 6) ทางการเรียนรู้ 79 36 115 7) ทางออทิสติก 52 22 74 พิการมากกว่า 1 ประเภท 361 287 648 รวม 5,221 4,537 9,758
๖ 7) ครัวเรือน ตามฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ จำนวน 119,841 ครัวเรือนข้อมูลจาก ที่ทำการปกครองจังหวัดแม่ฮ่องสอน ข้อมูล ณ เดือน ตุลาคม 2566 จากจำนวนประชากรทั้งหมดของ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 287,498 คน แบ่งเป็นเด็ก จำนวน 63,547 คน เยาวชน จำนวน 29,734 คน วัยแรงงาน จำนวน 118,336 คน ผู้สูงอายุ จำนวน 37,676 คน ตารางที่ 9 แสดงร้อยละของจำนวนประชากรจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากร รวม (คน) ร้อยละ เด็ก 81,176 28.2 เยาวชน 29,181 10.1 วัยแรงงาน 134,797 46.9 ผู้สูงอายุ 42,344 14.7 รวม 287,498 100 ที่มา : อ้างอิงข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร (รายเดือน) ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2566
๗ ส่วนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ทิศทางการจัดการศึกษา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ดำเนินการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา โดยดำเนินการ ตามกระบวนการจัดทำแผนของหน่วยงาน ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง นำนโยบายสำคัญของรัฐบาล นโยบายและจุดเน้นของ กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการจัดทำนโยบายและแผนประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้นำผลการทบทวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทาง ปฏิบัติตามพันธกิจ/ภารกิจ (Mission) ให้สัมฤทธิ์ผลตามวิสัยทัศน์ (Vision) และขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ วิสัยทัศน์ “บูรณาการจัดการศึกษาภายในจังหวัดแม่ฮ่องสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนมีคุณภาพและทักษะ ที่จำเป็น ในโลกยุคใหม่” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” พันธกิจ 1. ส่งเสริมสนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการภายในจังหวัดแม่ฮ่องสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัยให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ 3. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง เหมาะสม ตามศักยภาพและช่วงวัยของผู้เรียน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 4. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะของข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ ค่านิยม TEAMWINS T = Teamwork การทำงานเป็นทีม E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทำงาน A = Accountability ความรับผิดชอบ M = Morality and Integrity การมีศีลธรรมและมีความซื่อสัตย์ W = Willful ความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานอย่างเต็มศักยภาพ I = Improvement การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ N = Network and Communication การเป็นเครือข่ายที่มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน S = Service Mind การมีจิตมุ่งบริการ
๘ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 6 ด้าน และภารกิจสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอนสนับสนุนให้ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญทั้ง 6 ด้าน ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง กลยุทธ์ 1.ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดที่ถูกต้องเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพสถาบันหลักของชาติตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้/อาชีพ ด้วยศาสตร์พระราชาและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเขตพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูงพื้นที่ตามตะเข็บ ชายแดน ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบและแรงงานต่างด้าว) 3. พัฒนากลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดหรือภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ 4. พัฒนาความร่วมมือด้านการศึกษากับต่างประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพและโอกาสทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 1. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและทักษะที่จำเป็น สอดคล้องกับการเสริมสร้างความมั่นคงในแต่ละบริบท 1. ร้อยละของสถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของ ชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ร้อยละ 100 2. ร้อยละของบุคลากรในสังกัด ส่งเสริมความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ร้อยละ 100 3. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ (ยาเสพติด, คุกคามทางเพศ, กลั่นแกล้ง, ภัยไซเบอร์,ภัยพิบัติธรรมชาติ, โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ) ร้อยละ 100
๙ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนากำลังคน เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ 1.พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะและสมรรถนะอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานใน พื้นที่ภูมิภาคและประเทศ เป้าประสงค์ที่ 2. ผู้เรียนมีสมรรถนะและองค์ความรู้ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ในพื้นที่ภูมิภาคและประเทศ 1. สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 30 : 70 2. จำนวนผลการวิจัยด้านการศึกษา 1 3. จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับแล้วได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ 30 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบผ่านประสบการณ์ตรงจากการลง มือปฏิบัติ ควบคู่กับการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล 2. บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ระเบียบ วินัย คุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะความเป็นพลเมือง และความปลอดภัยของผู้เรียน 3. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อยกระดับสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาและพัฒนาบุคลากรวิจัยทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 3. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และคุณลักษณะที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ 1. ร้อยละของนักเรียนสังกัดโรงเรียนเอกชนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 2. ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) เพิ่มขึ้นจากฐานเดิม ร้อยละ 3 3. ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) เพิ่มขึ้นจากฐานเดิม ร้อยละ 3 4. ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้เรียนมีสมรรถนะตามหลักสูตร ร้อยละ 90 6. ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาตามหลักสูตร ร้อยละ 95
๑๐ เป้าประสงค์ที่ 4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ 1. ร้อยละของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ ร้อยละ 100 2. ร้อยละของครูผู้ช่วยที่บรรจุใหม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 100 3. ร้อยละความพึงพอใจของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการ บริหารงานบุคคลระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 4. ร้อยละของบุคลากรในสังกัดได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกาปฏิบัติงาน ในโลกยุคใหม่ ร้อยละ 80 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กลยุทธ์ 1. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้อย่างหลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ และ กลุ่มเป้าหมาย 2. ส่งเสริม พัฒนาสื่อการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสมต่อการเข้าถึงและพัฒนาการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เป้าประสงค์ที่ 5. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเสมอภาคด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 1. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 3-5 ปี ได้รับการศึกษาระดับอนุบาล ร้อยละ 90 2. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 6-11 ปี ได้รับการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ร้อยละ 100 3. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 12-14 ปี ได้รับการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 90 4.ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 15-17 ปี ได้รับการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้พิการได้รับการศึกษาตามความเหมาะสม ร้อยละ 80 6. ร้อยละของการเรียนต่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ต่อ ม.1 ร้อยละ 100 7. ร้อยละของการเรียนต่อ จบ ม.ต้น ต่อ ปวช./ม.ปลาย ร้อยละ 90 8. ร้อยละของการเรียนต่อ จบ ม.ปลาย/ปวช. ต่อ ปวส./ปวท./อุดมศึกษา ร้อยละ 70
๑๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักรู้คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วย รูปแบบที่หลากหลาย เป้าประสงค์ที่ 6. หน่วยงานและสถานศึกษามีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. ระดับความสำเร็จในการรณรงค์การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน ร้อยละ 80 2. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษาใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สร้างจิตสำนึกรักษ์ สิ่งแวดล้อม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ร้อยละ 100 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการและบริการประชาชน 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ให้เป็นเอกภาพ เชื่อมโยงกันเป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 3. พัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและบูรณาการเชื่อมโยงทุกระดับ ทุกพื้นที่ และ พัฒนาภาคีเครือข่ายด้านการศึกษา 4. ส่งเสริมคุณธรรมความโปร่งใส และสร้างภาคีเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติ มิชอบ 5. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนและบุคลากรทางการศึกษาอื่นเพื่อยกระดับ สมรรถนะการปฏิบัติงาน เป้าประสงค์ที่ 7. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส 1. ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของโครงการ ตามแผนปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 2. ร้อยละของคะแนนผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 3. ความพึงพอใจระดับดีขึ้นไปของผู้เกี่ยวข้องทางการศึกษาที่มีส่วนร่วมในการ บูรณาการการจัดการศึกษาในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร้อยละ 90 4. จำนวนภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย : สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มาร่วมจัด/พัฒนา/ ส่งเสริมการศึกษา) อย่างน้อย 5
๑๒ เป้าประสงค์ที่ 1. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและทักษะที่จำเป็น สอดคล้องกับการเสริมสร้างความมั่นคงในแต่ละบริบท 1. ร้อยละของสถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลัก ของชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ร้อยละ 100 2. ร้อยละของบุคลากรในสังกัด ส่งเสริมความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของ ชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ร้อยละ 100 3. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ (ยาเสพติด, ภัยไซเบอร์, ภัยพิบัติธรรมชาติ, โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ) ร้อยละ 80 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนากำลังคน เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กลยุทธ์ 1.พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะและสมรรถนะอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ในพื้นที่ภูมิภาคและประเทศ เป้าประสงค์ที่ 2. ผู้เรียนมีสมรรถนะและองค์ความรู้ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ ภูมิภาคและประเทศ 1. สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสามัญศึกษา 30:70 2. จำนวนผลการวิจัยด้านการศึกษา 1 3. จำนวนนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับแล้วได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ 30
๑๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบผ่านประสบการณ์ตรงจาก การลงมือปฏิบัติ ควบคู่กับการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล 2. บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม ระเบียบ วินัย คุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมืองและความปลอดภัยของผู้เรียน 3. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อยกระดับสมรรถนะในการ ปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาและพัฒนาบุคลากรวิจัยทางการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 3. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และคุณลักษณะที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ 1. ร้อยละของนักเรียนสังกัดโรงเรียนเอกชนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 2. ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) เพิ่มขึ้นจากฐานเดิม ร้อยละ 3 3. ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) เพิ่มขึ้นจากฐานเดิม ร้อยละ 3 4. ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร ร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้เรียนมีสมรรถนะตามหลักสูตร ร้อยละ 90 6. ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาตามหลักสูตร ร้อยละ 95 เป้าประสงค์ที่ 4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ 1. ร้อยละของผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนได้รับ การพัฒนาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่ ร้อยละ 100 2. ร้อยละของครูผู้ช่วยที่บรรจุใหม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 100 3. ร้อยละความพึงพอใจของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อการ บริหารงานบุคคลระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 4. ร้อยละของบุคลากรในสังกัดได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานในโลกยุคใหม่ ร้อยละ 80
๑๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กลยุทธ์ 1. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตได้อย่างหลากหลายครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 2. ส่งเสริม พัฒนาสื่อการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสมต่อการเข้าถึงและพัฒนาการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เป้าประสงค์ที่ 5. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเสมอภาคด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 1. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 3-5 ปี ได้รับการศึกษาระดับอนุบาล ร้อยละ 90 2. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 6-11 ปี ได้รับการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ร้อยละ 100 3. ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 12-14 ปี ได้รับการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 90 4.ร้อยละผู้เรียนต่อประชากรกลุ่มอายุ อายุ 15-17 ปี ได้รับการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้พิการได้รับการศึกษาตามความเหมาะสม ร้อยละ 80 6. ร้อยละของการเรียนต่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ต่อ ม.1 ร้อยละ 100 7. ร้อยละของการเรียนต่อ จบ ม.ต้น ต่อ ปวช./ม.ปลาย ร้อยละ 90 8. ร้อยละของการเรียนต่อ จบ ม.ปลาย/ปวช. ต่อ ปวส./ปวท./อุดมศึกษา ร้อยละ 70 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักรู้คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย เป้าประสงค์ที่ 6. หน่วยงานและสถานศึกษามีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. ระดับความสำเร็จในการรณรงค์การลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน ร้อยละ 80 2. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษาใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สร้างจิตสำนึกรักษ์ สิ่งแวดล้อม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ร้อยละ 100
๑๕ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการและบริการ ประชาชน 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ให้เป็นเอกภาพ เชื่อมโยงกันเป็นปัจจุบันและทันต่อการใช้งาน 3. พัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและบูรณาการเชื่อมโยงทุกระดับ ทุกพื้นที่ และพัฒนาภาคีเครือข่ายด้านการศึกษา 4. ส่งเสริมคุณธรรมความโปร่งใส และสร้างภาคีเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติ มิชอบ 5. พัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนและบุคลากรทางการศึกษาอื่น เพื่อยกระดับสมรรถนะการปฏิบัติงาน เป้าประสงค์ที่ 7. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ตอบสนอง ความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส 1. ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่มีผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของโครงการตาม แผนปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 2. ร้อยละของคะแนนผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 80 3. ความพึงพอใจระดับดีขึ้นไปของผู้เกี่ยวข้องทางการศึกษาที่มีส่วนร่วมในการ บูรณาการการจัดการศึกษาในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร้อยละ 90 4. จำนวนภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคี เครือข่าย : สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มาร่วมจัด/พัฒนา/ส่งเสริม การศึกษา) อย่างน้อย 5
๑๖ 3.1 การศึกษาในระบบ 3.1.1 ตาราง 10 ข้อมูลสถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และครู/อาจารย์ ปีการศึกษา 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอื่น ๆ สังกัด สถานศึกษา นักเรียน/ นักศึกษา ครู/อาจารย์ กระทรวงศึกษาธิการ 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) 320 42,486 3,767 1.1 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 131 14,410 1,121 1.2 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 176 17,239 1,891 1.3 สนง. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 8 8,758 492 1.4 สนง. บริหารงานการศึกษาพิเศษแม่ฮ่องสอน 5 2,079 263 1.4.1 ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัดแม่ฮ่องสอน 1 210 35 1.4.2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 1 496 62 1.4.3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 1 503 69 1.4.4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 34 1 206 34 1.4.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 59 1 664 63 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 45 1,772 137 2.1 ประเภทสามัญศึกษา 6 1,692 98 2.2 ประเภทนอกระบบ (Home School) 39 80 39 3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 2 1,536 38 3.1 ประเภทอาชีวศึกษา 2 1,536 38 4 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 6 460 ๑๒๗ 4.1 วิทยาลัยชุมชน 6 460 ๑๒๗ 4.๑.1 หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอแม่สะเรียง 1 ๑๔๒ 4.1.๒ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอแม่ลาน้อย 1 ๔๖ 4.1.๓ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอขุนยวม 1 ๕๓ 4.1.๔ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอเมือง 1 ๙๙ 4.1.๕ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอปางมะผ้า 1 ๕๙ 4.1.๖ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนอำเภอปาย 1 ๖๑ กระทรวงอื่น ๆ 5 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (สพช.) 4 420 37 5.1 โรงเรียนพระปริยัติธรรม 4 420 37 6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/(อปท.) 179 6,184 324 6.1 ประเภทสามัญศึกษา 11 2,476 125 6.2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 167 3,708 199 7 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) 2 992 152 7.1 มหาวิทยาลัย 1 921 140 7.2 โรงเรียนสาธิต 1 71 12 8 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ/(สตช.) 16 853 97 8.1 โรงเรียนตำรวจตะเวนชายแดน 16 853 97 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน 7 4,235 252 รวมทั้งสิ้น 543 58,877 4,863
๑๗ 3.1.2 ตาราง 11 ข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาในกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอื่น ๆ ปีการศึกษา 2566 จำแนกตามระดับ/ประเภทการจัดการศึกษา ที่ สังกัด ประเภทการจัดการศึกษา รวม ขั้นพื้นฐาน อาชีว ศึกษา อุดม ศึกษา ก่อน ประถม ประถม ม.ต้น ม.ปลาย กระทรวงศึกษาธิการ 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6,176 20,753 9,372 5,975 - - 42,276 1.1 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 2,944 9,937 1,529 - - - 14,410 1.2 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 3,232 10,556 3,117 334 - - 17,239 1.3 สนง. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา - - 3,956 4,802 - - 8,758 1.4 สนง. บริหารงานการศึกษาพิเศษ - 260 770 839 1,869 1.4.1 ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัด ไม่มีระดับชั้น 210 1.4.2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 - 30 187 279 - - 496 1.4.3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 - 99 198 206 - - 503 1.4.4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 34 - 40 98 68 - - 206 1.4.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 59 - 91 287 286 - - 664 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 625 1,116 31 - - - 1,772 2.1 ประเภทสามัญศึกษา 610 1,052 30 - - - 1,692 2.2 ประเภทนอกระบบ (Home School) 15 64 1 - - - 80 3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา - - - - 1,536 - 1,536 4 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4.1 วิทยาลัยชุมชน - - - - - ๔๖๐ ๔๖๐ 4.1.๑ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอแม่สะเรียง - - - - - ๑๔๒ ๑๔๒ 4.1.๒ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอแม่ลาน้อย - - - - - ๔๖ ๔๖ 4.1.๓ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอขุนยวม - - - - - ๕๓ ๕๓ ๔.1.4 หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอเมือง - - - - - ๙๙ ๙๙ 4.1.๕ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอปางมะผ้า - - - - - ๕๙ ๕๙ 4.1.๖ หน่วยจัดการศึกษาวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อำเภอปาย - - - - - ๖๑ ๖๑ กระทรวงอื่น 5 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ - - 319 101 - - 420 6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4,424 1,047 464 249 - - 6,184 7 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 228 625 - - - - 853 8 กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 71 - - - - 921 992 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ - 423 2,219 1,509 84 - 4,235 รวมทั้งสิ้น 11,524 23,964 12,405 7,834 1,620 1,381 58,728
๑๘ 3.1.3 ตาราง 12 ข้อมูลครู/อาจารย์ในกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงอื่น ๆ ปีการศึกษา 2566 ที่ สังกัด ระดับ/ประเภทการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวม กระทรวงศึกษาธิการ 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3,703 - - 3,640 1.1 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 1,121 - - 1,121 1.2 สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2 1,891 - - 1,891 1.3 สนง. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 492 - - 492 1.4 สนง. บริหารงานการศึกษาพิเศษ 199 - - 234 1.4.1 ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัด 35 1.4.2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21 62 - - 62 1.4.3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 22 40 - - 40 1.4.4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 34 34 - - 34 1.4.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 59 63 - - 63 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 137 - - 137 2.1 ประเภทสามัญศึกษา 98 - - 98 2.2 ประเภทนอกระบบ (Home School) 39 - - 39 3 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา - 38 - 38 4 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 4.1 วิทยาลัยชุมชน - - ๑๒๗ ๑๒๗ กระทรวงอื่น 5 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 37 - - 37 6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 125 - - 125 7 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 97 - - 97 8 กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 12 - 140 152 9 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ 250 2 - 252 รวมทั้งสิ้น 4,361 40 267 4,605
๑๙ การศึกษานอกระบบ ตารางที่ 13 จำนวนสถานศึกษา สังกัด สกร.จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 จำแนกตามประเภท ประเภท จำนวน (แห่ง) สกร.อำเภอ 7 สกร.ตำบล 45 ศศช. 126 ศรช. 12 รวมทั้งสิ้น 190 ตารางที่ 14 ตารางจำนวนนักศึกษาสังกัด สกร.จังหวัด แม่ฮ่องสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำแนกตามระดับชั้น ระดับชั้น จำนวนนักศึกษา (คน) ชาย หญิง รวม ผู้ไม่รู้หนังสือและผู้ลืมหนังสือ 2,583 2,626 5,209 ประถมศึกษา 214 184 398 มัธยมศึกษาตอนต้น 910 579 1489 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1000 1163 2163 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 41 43 84 รวมทั้งสิ้น 4,748 4,595 9,343 ** ข้อมูลฐานข้อมูล DMIS ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤษจิกายน 2566 ตารางที่ 15 จำนวนครูสังกัด สกร.จังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2566 จำแนกตามประเภท วุฒิการศึกษา จำนวน (คน) ชาย หญิง รวม ข้าราชการครู 8 14 22 ครูอาสา 3 11 14 ครู สกร.ตำบล 16 28 44 ครู ศรช. 4 6 10 ครู ศศช. 61 79 140 ครู กพด. 8 12 20 ครู เร่ร่อน - - - ครู ปวช. 2 - 2 รวมทั้งสิ้น 102 150 252 ** ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤษจิกายน 2566
๒๐ ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ปีการศึกษา 2563 – 2565) ตารางที่ 16 ผลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษา (O-NET) คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับจังหวัด ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ค่าพัฒนา เปรียบเทียบ ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 65 - 64 ภาษาไทย 50.36 46.64 49.99 53.89 3.35 คณิตศาสตร์ 25.91 34.62 24.65 28.06 -9.97 วิทยาศาสตร์ 35.09 33.09 36.31 39.34 3.22 ภาษาอังกฤษ 33.65 32.50 31.25 37.62 -1.25
๒๑ ตารางที่ 17 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ปีการศึกษา 2563 – 2565) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษา (O-NET) คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับจังหวัด ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ค่าพัฒนา เปรียบเทียบ ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 65 - 64 ภาษาไทย 50.31 49.40 50.89 52.95 1.49 คณิตศาสตร์ 21.61 21.70 21.79 24.39 0.09 วิทยาศาสตร์ 28.05 29.87 31.35 33.32 1.48 ภาษาอังกฤษ 29.48 27.47 27.77 32.05 0.30
๒๒ ตารางที่ 18 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ปีการศึกษา 2563 – 2565) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษา (O-NET) คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับจังหวัด ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ค่าพัฒนา เปรียบเทียบ ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 65 - 64 ภาษาไทย 40.62 46.14 42.69 44.09 -3.45 คณิตศาสตร์ 20.96 18.45 19.80 21.61 1.35 วิทยาศาสตร์ 29.64 27.52 26.78 28.08 -0.74 สังคมศึกษาฯ 34.23 35.74 32.43 33.00 -3.31 ภาษาอังกฤษ 24.83 22.68 21.61 23.44 -3.45 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากผลการทดสอบประเมินผลทางการศึกษาระดับชาติ O-NET ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ในภาพรวม มีผลดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีค่าเฉลี่ยรวมในรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ๓๕.๖๕ ลดลงจากปีแล้ว ๑.๑๖ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีค่าเฉลี่ยรวมทุกรายวิชา ๓๒.๙๕ เพิ่มขึ้นปีแล้ว ๐.๘๔ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีค่าเฉลี่ยรวมทุกรายวิชา ๒๘.๖๔ ลดลง ๑.๔๖
๒๓ ด้าน จำนวนและร้อยละนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ (ยกเว้นเด็กพิเศษ และ Walk-in) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ การอ่านออกเสียง 1,824 78.94 1,222 29.26 525 13.69 343 9.46 การอ่านรู้เรื่อง 1,518 63.15 1,701 44.36 521 13.58 94 2.45 รวม 2 ด้าน 1,665 78.94 1,408 36.72 598 15.59 163 4.25 ด้าน จำนวนและร้อยละนักเรียน จำแนกตามระดับคุณภาพ (ยกเว้นเด็กพิเศษ และ Walk-in) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ การอ่านออกเสียง 476 14.98 1,058 31.98 1,196 36.15 578 17.47 การอ่านรู้เรื่อง 550 16.62 1,238 37.42 1,110 33.55 410 12.38 รวม 2 ด้าน 444 13.42 1,191 36.00 1,268 38.33 405 12.24 ตารางที่ 19 จำนวนสถิติด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2565 ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน (Reading Test: RT) ตารางที่ 20 จำนวนสถิติด้านการเขียนได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี 2565 ของจังหวัด (NT)
๒๔ ด้านการศึกษา การบูรณาการด้านการศึกษา ขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน และคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการศึกษาของจังหวัดแม่ฮ่องสอนอีกหลายด้าน มีหน้าที่ดังนี้ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. กำหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา ทุกระดับและทุกประเภท ประสานและส่งเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นๆ ที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในจังหวัด 2. พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด 3. พิจารณาและให้ความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวชี้วัด ในการดำเนินงานในลักษณะตัวชี้วัดร่วมของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด 4. เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในจังหวัดต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคเพื่อใช้อำนาจ ตามข้อ 2 (4) 5. กำกับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานและ สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด 6. วางแผนการจัดการศึกษาในจังหวัดและพิจารณาเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่ สถานศึกษา 7. เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค เพื่อแต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการศึกษาธิการ จังหวัดได้ตามความจำเป็น 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด หรือตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูป การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคมอบหมาย
๒๕ คณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน 1. เกี่ยวกับบรรจุ การแต่งตั้ง และโยกย้ายของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 1.1 การพิจารณาเสนอแนะนโยบายและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการกำหนดจำนวนและอัตรา ตำแหน่ง การเกลี่ยอัตรากำลังให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารงานบุคคล ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.2 การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา เช่น การบรรจุและแต่งตั้ง ผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับการคัดเลือก การย้าย การโอน การเปลี่ยนตำแหน่งและการเลื่อนตำแหน่ง การ บรรจุกลับเข้ารับราชการ เป็นต้น 1.3 การกำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 2. เกี่ยวกับวินัยของข้าราชการครูและบุคลาการทางการศึกษา 2.1 เสนอแนะนโยบายและแนวทางเกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนา การเสริมสร้าง และการป้องกันคุ้มครองระบบคุณธรรม ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.2 การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ของ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.3 การกำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 3. เกี่ยวกับวิทยฐานะและสิทธิประโยขน์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.1 เสนอแนะนำนโยบายและแนวทางเกี่ยวกับการพิจารณาวิทยฐานะ ความดีความชอบการ เสริมสร้างขวัญกำลังใจ การยกย่องเชิดชูเกียรติ และสิทธิประโยชน์อื่นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 3.2 การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะ และเลื่อนวิทยฐานะ 3.3 การพิจารณาความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 3.4 การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ การยกย่องเชิดชูเกียรติ และสิทธิประโยชน์อื่นของข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอนมอบหมาย คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ 5. ศึกษา วิเคราะห์ การจัดการศึกษาของหน่วย
๒๖ ส่วนที่ 3 ดัชนีทางการศึกษา 1. ด้านการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ดัชนีที่ 1 สัดส่วนนักเรียนก่อนประถมศึกษา 3 – 5 ปี ต่อประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี ดัชนีที่ 2 ประชากรอายุ 6 – 11 ปี ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาเทียบกับประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี ดัชนีที่ 3 ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เทียบกับประชากรวัยเรียน กลุ่มอายุ 12 – 14 ปี ดัชนีที่ 4 สัดส่วนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สามัญศึกษา + อาชีวศึกษา) อายุ 15 – 1๗ ปี ต่อประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ 15 – 1๗ ปี ตารางที่ 21 การวิเคราะห์และอภิปรายข้อมูลการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน รวมทุกสังกัด แยกตามกลุ่มอายุ ปีการศึกษา 2566 การเข้ารับการศึกษา ตามกลุ่มอายุ ผู้เรียนรวมทุกสังกัด* (คน) จำนวนประชากรวัยเรียน* (คน) เฉลี่ยร้อยละ อายุ 3 – 5 ปี 8,425 9,124 92.34 อายุ 6 – 11 ปี 22,161 21,453 103.30 อายุ 12 – 14 ปี 10,554 10,612 99.45 อายุ 15 – 17 ปี 8,986 11,309 79.46 รวม 50,126 52,498 93.63 ที่มา : *ระบบศูนย์บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการศึกษา (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) https://exchange.moe.go.th/ หมายเหตุ : **ข้อมูลผู้เรียนซ้ำซ้อน จากตารางข้างต้น พิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาโดยจำแนกตามช่วงอายุได้ดังนี้ เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 3 – 5 ปี ได้เข้าเรียนระดับ ก่อนประถมศึกษาเทียบกับผู้เรียนอายุ 3 – 5 ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ 3 – 5 ปี เฉลี่ยร้อยละ 92.34 เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ ๖ – ๑๑ ปี ได้เข้าเรียนระดับ ประถมศึกษาเทียบกับผู้เรียนอายุ ๖ – ๑๑ ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ ๖ – ๑๑ ปี เฉลี่ยร้อยละ 103.30 เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นเทียบกับผู้เรียนอายุ 12 – 14 ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน อายุ 12 – 14 ปี เฉลี่ยร้อยละ 99.45
๒๗ เมื่อพิจารณาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 15 – 17 ปี ได้เข้าเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายและประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เทียบกับผู้เรียนอายุ 15 – 17 ปี พบว่าการเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอายุ 15 – 17 ปี เฉลี่ยร้อยละ 79.46 2. ด้านคุณภาพทางการศึกษา (Quality) ดำเนินการ 2 ดัชนี ดังนี้ ดัชนีที่ 5 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไป ผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 แต่ละวิชาผ่าน เกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไป แต่ละระดับชั้น ดังนี้ ตารางที่ 22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับหน่วยงาน ชั้น กลุ่มสาระ ระดับหน่วยงาน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา อังกฤษ สังคมฯ เฉลี่ย รวม ป.6 ประเทศ 53.89 28.06 39.34 37.62 - 39.72 กระทรวงศึกษาธิการ 53.76 28.04 39.28 37.44 - 39.63 ภาคเหนือ 55.79 29.54 41.14 38.81 - 41.32 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 54.73 28.63 40.49 38.40 - 35.84 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 49.99 24.65 36.33 31.25 - 35.56 ม.3 ประเทศ 52.95 24.39 33.32 33.32 - 35.68 กระทรวงศึกษาธิการ 53.21 24,48 33.45 32.18 - 35.83 ภาคเหนือ 55.92 25.57 34.59 33.06 - 37.29 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 55.30 25.12 34.23 33.02 - 36.92 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 50.89 21.79 31.35 27.77 - 32.95 ม.6 ประเทศ 44.09 21.61 28.08 23.44 33.00 30.04 กระทรวงศึกษาธิการ 44.42 21.83 28.26 23.56 33.11 30.23 ภาคเหนือ 46.68 23.13 29.20 24.24 34.34 31.52 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 46.20 22.78 28.86 24.15 34.31 31.26 จังหวัดแม่ฮ่องสอน 42.69 19.80 26.78 21.61 32.34 28.64 จากตาราง 22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2565 ของ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับหน่วยงาน ดังนี้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 35.56 ต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ยของ สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 35.84) ระดับภาคเหนือ (ค่าเฉลี่ย 41.32) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 39.63) และต่ำกว่าระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 39.72) โดยกลุ่มสาระ การเรียนรู้ที่มีคะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 49.99) รองลงมา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 36.33) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 31.25) และคณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 24.65) ตามลำดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม (ค่าเฉลี่ย 32.95) ต่ำกว่าคะแนนค่าเฉลี่ย ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 36.92) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 35.83) ต่ำกว่า ระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 35.68) และต่ำกว่าภาคเหนือ (ค่าเฉลี่ย 37.29)
๒๘ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 50.89) รองลงมา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 31.35) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 27.77) และคณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 21.79) ตามลำดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีคะแนนเฉลี่ยรวม (ค่าเฉลี่ย 28.64) ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของ ระดับประเทศ (ค่าเฉลี่ย 30.04) ระดับกระทรวงศึกษาธิการ (ค่าเฉลี่ย 30.23) ระดับภาคเหนือ (ค่าเฉลี่ย 31.52) สูงกว่าระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 15 (ค่าเฉลี่ย 31.26 ) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย 42.69) รองลงมา ได้แก่ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย 32.34) วิทยาศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 26.78) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ค่าเฉลี่ย 21.61) และ คณิตศาสตร์ (ค่าเฉลี่ย 19.80) ตามลำดับ ดัชนีที่ 6 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT : National test) วิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT : National test) ของนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเปรียบเทียบผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด แม่ฮ่องสอน ปีการศึกษา 2564 กับ ปีการศึกษา 2565 พบว่า ความสามารถด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2565 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2564 คิดเป็นร้อยละ - 0.14 ส่วนความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 ลดลงจาก ปีการศึกษา 2564 คิดเป็นร้อยละ - 0.06 ตารางที่ 23 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ของผู้เรียน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกตามสังกัด ชั้น ด้าน สังกัด ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematic) ด้านภาษาไทย (Thai Language) เฉลี่ยรวม 2 ด้าน ป.3 ประเทศ 49.12 55.86 38.40 สำนักงานศึกษาธิการภาค 15 45.95 53.48 35.31 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด แม่ฮ่องสอน 45.58 51.71 34.35 สพฐ. 44.99 50.70 34.08 สช. 52.89 68.78 36.39 อปท. 42.66 49.67 28.03 ตขด. 50.83 51.91 29.39
๒๙ ตารางที่ 24 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2564 กับปีการศึกษา 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ความสามารถพื้นฐาน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ผลต่าง + / - ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2564 - 2565 ด้านคณิตศาสตร์ 45.64 45.58 - 0.06 ด้านภาษาไทย 51.85 51.71 - 0.14 เฉลี่ยรวม 2 ด้าน 48.75 48.65 - 0.1 3. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) ดำเนินการ 1 ดัชนี ดังนี้ ดัชนีที่ 7 สัดส่วนนักเรียนต่อครู ตารางที่ 25 สัดส่วนนักเรียนต่อครู จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 ที่ หน่วยงานทางการศึกษา จำนวน นักเรียน จำนวน ครู เฉลี่ย ครู: นักเรียน 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 14,410 1,121 1 : 12 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 2 17,239 1,891 1 : 9 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ฮ่องสอน 8,758 492 1 : 17 4 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2,098 234 1 : 8 5 สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สกร.) และศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอ 4,235 252 1 : 16 6 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 1,692 98 1 : 17 7 อาชีวศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน 1,536 38 1 : 40 8 สถานศึกษาส่วนท้องถิ่นจังหวัดแม่ฮ่องสอน 6,184 324 1 : 19 9 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) 853 97 1 : 8 10 โรงเรียนพระปริยัติธรรม 420 37 1 : 11 11 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) 992 152 1 : 6 รวม 58,417 4,736 1 : 12 จากตาราง สัดส่วนนักเรียนต่อครู จำแนกตามสังกัด ปีการศึกษา 2566 สรุปได้ว่า หน่วยงานทางการ ศึกษาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของทุกสังกัด โดยเฉลี่ยครู 1 คน รับผิดชอบนักเรียน ประมาณ 12 คน ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กำหนดให้อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในระดับประถมศึกษา 1 : 25 คน และระดับมัธยมศึกษา 1 : 20 คน
๓๐ ส่วนที่ 4 ข้อมูลการดำเนินงานตามโครงการในพระราชดำริฯ 1. ข้อมูลนักเรียนพระราชทาน จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1.1 ข้อมูลนักเรียนทุนพระราชทานโครงการทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุมาร (ม.ท.ศ.) รุ่นที่ 13 – 14 จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตารางที่ 26 ข้อมูลนักเรียนทุนพระราชทานโครงการทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุมาร (ม.ท.ศ.) รุ่นที่ 13 – 14 จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ โรงเรียน รุ่น อำเภอ จำนวนนักเรียน หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) 1 โรงเรียนขุนยวมวิทยา ขุนยวม - 1 1 2 โรงเรียนเฉลิมรัชวิทยาคม สบเมย - 1 1 3 โรงเรียนขุนยวมวิทยา ขุนยวม - 1 1 4 โรงเรียนห้องสอนศึกษาฯ เมืองแม่ฮ่องสอน - 1 1 รวม - 4 4 ความเป็นมา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริให้ดำเนินโครงการทุนการศึกษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ขึ้นมาปี 2552 ทรงให้นำพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์และเงินบริจาค โดยเสด็จพระราชกุศล มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตามพระราชปณิธานที่มุ่งสร้างความรู้ สร้างโอกาสแก่เยาวชนไทยที่มีฐานะ ยากลำบากแต่ประพฤติดี มีความสามารถในการศึกษา ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มั่นคง ต่อเนื่องในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายจนสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีตามความประสงค์ของแต่ละคน อันเป็นการ ลงทุนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพแก่เยาวชนไทย ต่อมาในปี 2553 ทรงมีพระราชดำริให้ จัดตั้ง “มูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามบรมราชกุฎมาร (ม.ท.ศ.)” ขึ้น ทรงเป็นองค์ประธานกรรมการ และทรงให้นำโครงการทุนการศึกษาฯ มาอยู่ภายใต้การดำเนินงานของมูลนิธิฯ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนสืบต่อไป การดำเนินโครงการกองทุนการศึกษา ม.ท.ศ. ที่ผ่านมา มีกลไก คณะกรรมการมูลนิธิฯ กำกับดูแลและอำนวยการระดับนโยบาย และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนงาน ม.ท.ศ. และการติดตามประเมินผลฯ ช่วยขับเคลื่อนประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลไกคณะ กรรมการะดับจังหวัดจากทุกจังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน เพื่อร่วมดำเนินกระบวนการคัดเลือก คัดสรร ผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมจากทุกจังหวัดเข้ารับทุนพระราชทาน พร้อมทั้งร่วมกันติดตามดูแลอย่างเป็นระบบ
ภาคผนวก
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน (กศจ. แม่ฮ่องสอน) ที่ ชื่อ – สกุล หน้าที่ 1 ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประธานกรรมการ 2 ศึกษาธิการภาค 15 รองประธานกรรมการ 3 ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้แทน สำนักงานศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สกร.) กรรมการ 4 ประธานกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้แทนสำนักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา กรรมการ 5 นายทรงกลด วิชชโลกา กรรมการ 6 นายอเนก ศิรินาม กรรมการ 7 นางสุนทรีย์ ทองอินทร์ กรรมการ 8 นายคมสัน คูสินทรัพย์ กรรมการ 9 นายบัญฑิต นิลอุดมศักดิ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 10 นางพุฒชาด จันทร์ดำ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 11 นางอ่อนศรี ศรีอัมพร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 12 นายธวัช โลกา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 13 นางปิยาภรณ์ จันทร์โอภาส กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 14 นายบุญรุ่ง คำของ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 15 ศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน กรรมการและเลขานุการ 16 รองศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน กรรมการและเลขานุการ 17 นางธัญชนก ศรีสุนันทา ผู้ช่วยเลขานุการ
คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ ชื่อ – สกุล หน้าที่ 1 นางอ่อนศรี ศรีอัมพร ประธานอนุกรรมการ 2 ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดแม่ฮ่องสอน อนุกรรมการ 3 นายทรงกลด วิชชโลก อนุกรรมการ 4 นางกนกศรี สายสอด อนุกรรมการ 5 นายอัครวัฒน์ อรัญภูมิ อนุกรรมการ 6 นายศิวัช ปุรณะวิทย์ อนุกรรมการ 7 นางณัฐวีย์ กันธะคำ อนุกรรมการ 8 ศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน อนุกรรมการและเลขานุการ 9 รองศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้ช่วยเลขานุการ 10 นายวรวิทย์ ลืนคำ ผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ ชื่อ – สกุล หน้าที่ 1 นายบัญฑิต นิลอุดมศักดิ์ ประธานอนุกรรมการ 2 ประธานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน อนุกรรมการ 3 ผู้อำนวยการวิทยลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน อนุกรรมการ 4 นางพิมพ์จันทร์ ศิริบุญมา อนุกรรมการ 5 นายสมศักดิ์ เวียงคำ อนุกรรมการ 6 นายประเสริฐ ประดิษฐ์ อนุกรรมการ 7 นายสมจิต สุวรรณบุษย์ อนุกรรมการ 8 นางอัญชลี แหล่งป่าหมุ้น อนุกรรมการ 9 ศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน อนุกรรมการและเลขานุการ 10 รองศึกษาธิการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ผู้ช่วยเลขานุการ 11 นางสาวชนิดาภา ฉันทะ ผู้ช่วยเลขานุการ