The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ Coding ในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา ชัดเจน, 2024-02-04 07:09:45

คู่มือ Coding ในสถานศึกษา

คู่มือ Coding ในสถานศึกษา

นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ง


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ส่วนที่ ๑ รายงานด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ๑.๑ การวางแผนพัฒนาโค้ดดิ้งของ สถานศึกษา การวางแผนพัฒนาโค้ดดิ้งของสถานศึกษา ขั้นแรกคือการ SWOT เพื่อวิเคราะห์สังเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ นำมาสร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อนด้วย DONYOO Model จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ลงสู่แผนปฏิบัติราชการ จัดทำโครงการ/กิจกรรม จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และนำไปใช้ ภาพที่ 1 Flowchart ในการดำเนินการขับเคลื่อนพัฒนาโค้ดดิ้งของสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษา เริ่มต้น การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) สร้างนวัตกรรม DONYOO Model ในการขับเคลื่อน จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ 3 ปี (2566 – 2568) จัดปฏิบัติราชการประจำ ปีการศึกษา 2566 จัดทำโครงการ/กิจกรรม 4 กิจกรรม จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษาอนุมัติ สิ้นสุด ไม่อนุมัติ อนุมัติ 1 1) กิจกรรมส่งเสริมการ จัดการเรียนการสอนด้วยวิธี ที่หลากหลายด้วยสื่อและ นวัตกรรม 2) กิจกรรม Coding to learning life skills (การ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ด้วยโค้คดิ้ง) 3) กิจกรรมพัฒนา หลักสูตรและการจัดการ เรียนการสอน 4) โครงการบูรณาการ แหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียน


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -นวัตกรรมในการขับเคลื่อนด้วย DONYOO Model ภาพที่ 2 การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาด้วย DONYOO Model - แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ 3 ปี( 2566 – 2568) บริหารจัดการด้วย DONYOO Model กำหนด นโยบาย วิสัยทัศน์แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภายใต้ แนวความคิด “องค์กรที่เน้นการพัฒนาทักษะดิจิทัล มีเครือข่ายความร่วมมือ สร้างองค์ความรู้ เปลี่ยนแหล่ง เรียนรู้นอกโรงเรียนเป็นห้องเรียน ผลผลิตคือคุณภาพของ ผู้เรียน” DONYOO Model มีความหมายดังต่อไปนี้ D : Digital Skill = ทักษะดิจิทัล O : Organization = องค์กร N : Network = เครือข่าย Y : Yield = ผลผลิตที่เกิดจากการพัฒนา O : Object of knowledge = องค์ความรู้ O : Out-Of-School Activity = กิจกรรมนอก โรงเรียน 2 การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาด้วย DONYOO Model ทำให้มีแนวทางการขับเคลื่อน เกิดการดำเนินงานที่ชัดเจน แสดงถึงระบบการพัฒนางาน ที่จำเป็นในการเป็นภาวะผู้นำในการดำเนินงาน เพื่อเป็นรูปแบบในการพัฒนาองค์กร มีกระบวนการที่ใช้ปรับปรุงการทำงานขององค์กรอย่างเป็นระบบ โดยมี เป้าหมายเพื่อแก้ปัญหา ทำให้เกิดการพัฒนาองค์กร สร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีกว่าเกิดการ ปรับปรุงพัฒนา


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 วิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค์ของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา วิสัยทัศน์ โรงเรียนบ้านดอนยู บริหารจัดการด้วย DONYOO Model น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การปฏิบัติ และบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น ส่งเสริมบุคลากรให้มีศักยภาพในการใช้สื่อเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มุ่งให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการพัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม มีความรู้ มีทักษะ ชีวิตอย่างยั่งยืน พันธกิจ ๑) โรงเรียนบริหารจัดการ DONYOO Model ภายใต้แนวความคิด “องค์กรที่เน้นการพัฒนา ทักษะดิจิทัล มีเครือข่ายความร่วมมือ สร้างองค์ความรู้ เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียนเป็นห้องเรียน ผลผลิตคือ คุณภาพของผู้เรียน” 2) โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ 3) โรงเรียนพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 4) ครูจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกับหลักสูตรสถานศึกษาและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 5) ผู้เรียนให้มีความสามารถ ความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 6) พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 7) สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เป้าประสงค์ ๑) โรงเรียนมีกลยุทธิ์ในการบริหารจัดการ ด้วย DONYOO Model มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ เน้นสมรรถนะและบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) โรงเรียนมีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาสถานศึกษาที่เป็นมืออาชีพ 3) โรงเรียนบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ทำงาน แบบบูรณาการ มีเครือข่ายการบริหารจัดการ และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 4) ครูมีจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายโลก เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 5) ครูเป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ทางวิชาการและมีทักษะการจัดการเรียน ที่หลากหลายตอบสนอง ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์ นวัตกรรม และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี 6) ผู้เรียนมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีความรู้ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 7) ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพและเสมอ 3


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีการศึกษา 2566 ยุทธศาสตร์/วิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา/พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับประถมศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วถึงครอบคลุม ผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมีคุณภาพกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษากลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ ภายในปี พ.ศ. 2567 โรงเรียนบ้านดอนยูมุ่งพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียนผู้เรียนทุกคนเป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา บูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น สามารถใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ พันธกิจ ๑) โรงเรียนบริหารจัดการ DONYOO Model ภายใต้แนวความคิด “องค์กรที่เน้นการพัฒนา ทักษะดิจิทัล มีเครือข่ายความร่วมมือ สร้างองค์ความรู้ เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียนเป็นห้องเรียน ผลผลิตคือ คุณภาพของผู้เรียน” 2) โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใช้สื่อเทคโนโลยี ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3) โรงเรียนพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand 4.0 4) ผู้เรียนให้มีความสามารถ ความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 5) พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 นำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาลงสู่แผนปฏิบัติ ราชการประจำปีการศึกษา กำหนดยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ลงสู่โครงการ/กิจกรรมเพื่อขับเคลื่อน เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง โดยการบริหารจัดการด้วย DONYOO Model 4


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 เป้าประสงค์ ๑) โรงเรียนมีกลยุทธิ์ในการบริหารจัดการ ด้วย DONYOO Model มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ เน้นสมรรถนะและบูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) โรงเรียนมีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาสถานศึกษาใช้สื่อเทคโนโลยีในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3) โรงเรียนบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรมยุคใหม่ ทำงาน แบบบูรณาการ มีเครือข่ายการบริหารจัดการ และทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 4) ครูเป็นผู้เรียนรู้ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรู้ทางวิชาการและมีทักษะการจัดการเรียน ที่หลากหลายตอบสนอง ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์ นวัตกรรม และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี 5) ผู้เรียนมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีความรู้ทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินการ 1) กิจกรรมส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีที่หลากหลายด้วยสื่อและนวัตกรรม กิจกรรม ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีที่หลากหลายด้วยสื่อและนวัตกรรม สนองกลยุทธ์สพฐ. ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 2 การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วให้ครอบคลุม ผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ สนองกลยุทธ์เขต ที่ 3 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สนองพันธะกิจโรงเรียน ข้อ 2 แผนงาน งานบริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ ครูศศิธร สายแก้ว ระยะเวลาดำเนินการ ปีการศึกษา 2566 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุจุดมุ่งหมายตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กำหนดให้ สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดเผชิญสถานการณ์ การ ประยุกต์ความรู้มาใช้แก้ปัญหา การจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของ กิจกรรมส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีที่ หลากหลายด้วยสื่อและนวัตกรรม เพื่อเพื่อให้ผู้สอนและ จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และ ความแตกต่างของผู้เรียน เกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมที่ หลากหลายและได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยสื่อและนวัตกรรม 5


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จึงควรมีโครง การ นี้เป็น อย่างยิ่ง 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้สอนและผู้เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ ความสนใจ ความถนัด และ ความแตกต่างของนักเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากกิจกรรมที่หลากหลายและได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยสื่อและ นวัตกรรม 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนบ้านดอนยูทุกคน 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 4. กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน ที่ กิจกรรมการดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะครูเพื่อแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรม เมษายน ครูทุกคน 2. จัดทำกิจกรรมเสนอความเห็นชอบขออนุมัติ กิจกรรม เมษายน ครูศศิธรและ คณะครู 3. ดำเนินกิจกรรมตามกิจกรรม - ประชุมวางแผน - แต่งตั้งคณะทำงาน ตลอดปี การศึกษา ครูศศิธรและ คณะครู 4. ติดตามและประเมินผล ตลอดปี การศึกษา ครูศศิธร 5. สรุปรายงานกิจกรรม ตลอดปี การศึกษา ครูศศิธร 5. งบประมาณ งบประมาณ ๒,000 บาท 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - ครูจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เน้นการสอนแบบโครงงาน , บูรณาการ - นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง - ทุกชั้นมีผลงานวิจัย - นักเรียนมีสื่อ นวัตกรรมทางการเรียน 6


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 7. ตัวชี้วัด - จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย และมีผลงานวิจัย (ลงชื่อ) ศศิธร ผู้เสนอโครงการ ( นางสาวศศิธร สายแก้ว) ครู (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (นายพิทักษ์ ศรีโคตร) ครู ชำนาญการ (ลงชื่อ) ผู้อนุมัติโครงการ ( นางสาวอริสรา ชัดเจน) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู 2) กิจกรรม Coding to learning life skills (การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยโค้คดิ้ง) โครงการ ICT/Coding กิจกรรม Coding to learning life skills (การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ด้วยโค้คดิ้ง) แผนงาน งบประมาณ(งบเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ) สนองยุทธศาสตร์ สพป.อบ.4 ข้อที่ 6 สนองมาตรฐานการศึกษาชาติ ด้านที่ 1,2,3 กิจกรรม Coding to learning life skills (การ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยโค้คดิ้ง) เพื่อการเสริมสร้าง ทักษะชีวิตนักเรียนสู่การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ต่อเนื่องและยั่งยืน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบูรณาการกับ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหา 7


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1,3 สนองประเด็นการประเมินภายนอก ด้านที่ 3 (ประถม) หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านดอนยู ผู้รับผิดชอบ นายพิทักษ์ ศรีโคตร ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง(กิจกรรมใหม่) ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2566 – มีนาคม 2567 1. หลักการและเหตุผล การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นการเรียนรู้หลายทาง หรือการบูรณาการความรู้ต่างๆ ด้วย วิธีการที่ หลากหลาย ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับผู้สอน สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ได้ โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ มาใช้ สร้างแรงกระตุ้นในการเรียนรู้ เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ ที่จะทำให้นักเรียนได้เรียนรู้การ ใช้เทคโนโลยีควบคู่ไปกับการเรียนรู้ทักษะชีวิต พร้อมกับปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เข้าไปโดยไม่รู้ตัว ทั้งนี้ ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง การ เรียนรู้จะต้องเน้นที่การเรียนภาคปฏิบัติด้านเทคโนโลยี การศึกษาปัญหาใกล้ตัว ชุมชน และสังคมโลกต่อไป การ ให้ผู้เรียนได้ลงมือทําจริงได้เรียนรู้จากประสบการณ์ จริง แสดงความเห็นและลักษณะเฉพาะของตน ความ สนุกสนานและการเล่นเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้และชีวิตทางสังคมการร่วมมือ ต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูล และตอบคําถามสร้างสื่อและนวัตกรรม ซึ่งปัจจัย เหล่านี้ทําให้จัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร โดยบูรณาการทักษะชีวิต เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิตนักเรียนสู่การปฏิบัติให้เกิดผล เป็นรูปธรรมต่อเนื่องและยั่งยืน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบูร ณาการกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมที่นำไปสู่การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์หรือสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ ที่เอื้อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต การใช้ ทักษะการคิดเชิงคำนวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่ พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งใช้ความรู้ความสามารถ ทักษะกระบวนการและเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์เรียนรู้สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวอย่างเข้าใจสภาพที่เป็นอยู่ และการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่การจัดการและ ปรับใช้ในการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพอย่างสร้างสรรค์ จากที่กล่าวมานี้ สิ่งหนึ่งที่สำคัญที่จะช่วยในการต่อยอดทักษะต่าง ๆ คือการคิดวิเคราะห์และวางแผน อย่างเป็นลำดับขั้นตอน หรือที่เรียกกันว่า อัลกอริทึม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) แต่ใน การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา ค้นพบว่านักเรียนขาดกระบวนการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่ดี อาทิเช่น - นักเรียนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาไม่ได้ - นักเรียนไม่รู้จักวัฒนธรรมในชุมชน - นักเรียนไม่รู้จักปัญหาในครอบครัว และในชุมชน - นักเรียนขาดคุณธรรม จริยธรรม - นักเรียนไม่มีความสุขกับการเรียน ดังนั้นการเลือกกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของนักเรียน ที่เด็กสามารถเข้าถึงได้ง่าย ใกล้ตัว รวมทั้ง ครูผู้สอนสามารถนำเข้ามาบูรณาการ ประยุกต์ให้เข้ากับบทเรียน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงได้จัดทำกิจกรรมการบูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียนขึ้น 8


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคิดเชิงระบบของผู้เรียน 2.2 เพื่อส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ทักษะกระบวนการคิด 2.3 เพื่อนำทักษะกระบวนการคิดไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ . เป้าหมายผลลัพธ์ 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 3.1.1 นักเรียนร้อยละ 100 ได้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคิด เชิงระบบ 3.1.2 ครูร้อยละ 80 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด 3.1.3 ร้อยละ 80 นักเรียนและครูนำทักษะกระบวนการคิดไปใช้ในการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวันได้ 3.2 เป้าหมายคุณภาพ 3.2.1 นักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคิดเชิงระบบเพิ่มมากขึ้น 3.2.2 ครูจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิดเพิ่มมากขึ้น 3.2.3 ครูและนักเรียนสามารถนำทักษะกระบวนการคิดไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน เพิ่มมากขึ้น 4. วิธีดำเนินการ 4.1 ขั้นวางแผนดำเนินงาน (PLAN) 4.1.1 ประชุมบุคลากรในโรงเรียน 4.1.2 เสนอโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ 4.1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการ 4.2 ขั้นดำเนินการ (DO) 4.2.1 การดำเนินการตามโครงการ 4.3 ขั้นตรวจสอบ ทบทวนและประเมินผล (CHECK) 4.3.1 นิเทศ กำกับ ติดตาม 4.4 ขั้นปรับปรุงแก้ไข/พัฒนา (ACT) 4.4.1 นำผลการตรวจสอบ ทบทวนและนิเทศงานไปใช้ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการดำเนินงาน ในโครงการในปีการศึกษาต่อไป 9


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 5. ระยะเวลาดำเนินการ กิจกรรม ระยะเวลา วัสดุ/เครื่องมือ ผู้รับผิดชอบ 1. เสนอโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ พ.ค.66 โครงการ นายพิทักษ์ ศรีโคตร 2. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน พ.ค.66 คำสั่งโรงเรียน น.ส.อุบลวรรณ แก้วชนะ 3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน ดำเนินงาน พ.ค.66 บันทึกการประชุม คณะครูทุกคน 4. กิจกรรม - เรียนตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา พ.ค.66- มี.ค.67 แบบประเมิน บันทึกการสอน คณะครูทุกคน 5. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการหรือ กิจกรรมและรายงานผล มี.ค.67 รายงานโครงการหรือ กิจกรรม นายพิทักษ์ ศรีโคตร 6. งบประมาณ 5,000 บาท 7. การติดตามผลประเมินผล 7.1 แบบรายงานโครงการหรือกิจกรรม 7.2 บันทึกการสอน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8.1 ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคิดเชิงระบบของ 8.2 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ คิด 8.3 สามารถนำทักษะกระบวนการคิดไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน (ลงชื่อ) ผู้เสนอโครงการ ( นายพิทักษ์ ศรีโคตร) ครู (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (นายพิทักษ์ ศรีโคตร) ครู ชำนาญการ (ลงชื่อ) ผู้อนุมัติโครงการ ( นางสาวอริสรา ชัดเจน) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู 7 10


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 3) กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน กิจกรรม พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สนองกลยุทธ์สพฐ. ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 2 การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทั่วให้ครอบคลุม ผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ สนองกลยุทธ์เขต ที่ 3 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สนองพันธะกิจโรงเรียน ข้อ 1 แผนงาน งานบริหารวิชาการ ผู้รับผิดชอบ ครูศศิธร สายแก้ว ระยะเวลาดำเนินการ ปีการศึกษา 256๕ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล โรงเรียนบ้านดอนยูได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2551 ขึ้นเพื่อใช้ดำเนินการจัดการเรียน การสอนและพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง แต่เนื่องจากยังมีข้อบกพร่อง โรงเรียนบ้านดอนยูได้จัดทำโครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อแก้ไขปรับปรุงและเพิ่มเติมให้เหมาะสม และสนองต่อการจัดการเรียนการสอน และเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะกับการจัดการเรียนรู้และเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด 2. เพื่อจัดทำหลักสูตรที่สอดคล้องกับท้องถิ่นและบูรณาการ 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่นและบูรณาการ 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะกับผู้เรียน กิจกรรม พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอน เพื่อปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะกับการ จัดการเรียนรู้และเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนที่สอดคล้องกับ ท้องถิ่นและบูรณาการมากที่สุด 11


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 4. กิจกรรม/ขั้นตอนการดำเนินงาน ที่ กิจกรรมการดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะครูเพื่อแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกิจกรรม เมษายน ครูทุกคน 2. จัดทำโครงการเสนอความเห็นชอบขออนุมัติกิจกรรม เมษายน ครูศศิธร และคณะครู 3. ดำเนินกิจกรรมตามกิจกรรม - ประชุมวางแผน - แต่งตั้งคณะทำงาน 1) ปรับปรุงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2) ปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศึกษา 3) เพิ่มเติมหลักสูตรตามนโยบายสพฐ. 4) บูรณาการหลักสูตร 5) ปรับเอกสารประกอบหลักสูตรทั้ง 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ 6) ปรับปรุงระเบียบการวัดผลประเมินผล เมษายน – พฤษภาคม คณะครูทุกคน 4. ติดตามและประเมินผล ตลอดปีการศึกษา ครูศศิธร 5. สรุปรายงานกิจกรรม มิถุนายน ครูศศิธร 5. งบประมาณ งบประมาณ 2,000 บาท 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียน - มีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่น 7. ตัวชี้วัด โรงเรียนบ้านดอนยูมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทและผู้เรียน (ลงชื่อ) ศศิธร ผู้เสนอโครงการ (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (นางสาวศศิธร สายแก้ว) (นายพิทักษ์ ศรีโคตร) ครู ครู ชำนาญการ (ลงชื่อ) ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาวอริสรา ชัดเจน) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู 12


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 4) โครงการบูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียน โครงการ บูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียน แผนงาน งบประมาณ(งบเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ) สนองยุทธศาสตร์ สพป.อบ.4 ข้อที่ 6 สนองมาตรฐานการศึกษาชาติ ด้านที่ 1,2,3 สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1,3 สนองประเด็นการประเมินภายนอก ด้านที่ 3 (ประถม) หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านดอนยู ผู้รับผิดชอบ ครูศศิธร สายแก้ว ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง(กิจกรรมใหม่) ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2566 – มีนาคม 2567 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล การสนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพตามพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 ตลอดจนการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ไม่จำกัดสถานที่ในการศึกษาหาความรู้ ตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 5 “สถานศึกษาจัดทำและบริหารหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ” เพื่อเป็นการพัฒนา เพิ่มความรู้นอกห้องเรียนให้กับนักเรียน โรงเรียนจึงมีความจำเป็นต้องปรับปรุง สภาพพื้นที่ของโรงเรียนให้เป็นแหล่งการเรียนรู้จัดการเรียนการสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และชุมชน จึง ใช้พื้นที่ในชุมชนเป็นฐานในการบูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียน เป็นสถานที่ที่นักเรียนใช้เป็นแหล่งการศึกษา ค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม และเป็นการส่งเสริมกระบวนการสร้างให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มีความสนใจ ในการศึกษา ค้นคว้าเสมือนเป็นห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อบริการแก่นักเรียนอีกทางหนึ่ง จึงได้จัดทำกิจกรรมการบูรณาการแหล่ง เรียนรู้เป็นห้องเรียนขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้แก่ผู้เรียน 2.2 เพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รอบตัว จากแหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 2.3 เพื่อส่งเสริมกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2.4 เพื่อสอดคล้องกับบริบทของชุมชน และเป็นเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการ บูรณาการแหล่งเรียนรู้เป็นห้องเรียน เพื่อ ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสนใจแสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ รอบตัว จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอดคล้องกับบริบทของ ชุมชน และเป็นเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 13


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 3. เป้าหมายผลลัพธ์ 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 3.1.1 นักเรียนร้อยละ 100 ได้เรียนตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 3.1.2 ครูร้อยละ 80 จัดการเรียนรู้ผ่านหน่วยบูรณาการแหล่งเรียนรู้ 3.2 เป้าหมายคุณภาพ 3.2.1 นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รอบตัว ตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา เพิ่มมากขึ้น 3.2.2 ครูจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้สอดคล้องกับ บริบทของชุมชน เพิ่มมากขึ้น 4. วิธีดำเนินการ 4.1 ขั้นวางแผนดำเนินงาน (PLAN) 4.1.1 ประชุมบุคลากรในโรงเรียน 4.1.2 เสนอโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ 4.1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการ 4.2 ขั้นดำเนินการ (DO) 4.2.1 การดำเนินการตามโครงการ 4.3 ขั้นตรวจสอบ ทบทวนและประเมินผล (CHECK) 4.3.1 นิเทศ กำกับ ติดตาม 4.4 ขั้นปรับปรุงแก้ไข/พัฒนา (ACT) 4.4.1 นำผลการตรวจสอบ ทบทวนและนิเทศงานไปใช้ปรับปรุง แก้ไข พัฒนาการดำเนินงาน ในโครงการในปีการศึกษาต่อไป 5. ระยะเวลาดำเนินการ กิจกรรม ระยะเวลา วัสดุ/เครื่องมือ ผู้รับผิดชอบ 1. เสนอโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขออนุมัติ พ.ค.66 โครงการ น.ส.ศศิธร สายแก้ว 2. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการดำเนินงาน พ.ค.66 คำสั่งโรงเรียน น.ส.อุบลวรรณ แก้วชนะ 3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผน ดำเนินงาน พ.ค.66 บันทึกการประชุม คณะครูทุกคน 4. กิจกรรม - เรียนตามแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา พ.ค.66- มี.ค.67 แบบประเมิน บันทึกการสอน คณะครูทุกคน 5. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการหรือ กิจกรรมและรายงานผล มี.ค.67 รายงานโครงการหรือ กิจกรรม น.ส.ศศิธร สายแก้ว 14


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 6. งบประมาณ 5,000 บาท 7. การติดตามผลประเมินผล 7.1 แบบรายงานโครงการหรือกิจกรรม 7.2 บันทึกการสอน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8.1 มีแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้แก่ผู้เรียน 8.2 ผู้เรียนมีความสนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รอบตัว จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา 8.3 ครูมีกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 8.4 จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน และมีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ลงชื่อ) ศศิธร ผู้เสนอโครงการ ( นางสาวศศิธร สายแก้ว) ครู (ลงชื่อ) ผู้เห็นชอบโครงการ (นายพิทักษ์ ศรีโคตร) ครู ชำนาญการ (ลงชื่อ) ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาวอริสรา ชัดเจน) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู 15


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ๑.๒ การพัฒนาและส่งเสริม กระบวนการจัดการเรียนรู้และสื่อ ทางด้านโค้ดดิ้ง มีกระบวนการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมให้ครูใช้สื่อด้านโค้ดดิ้งครบทุกระดับชั้นที่โรงเรียน เปิดการจัดการเรียนการสอน วิสัยทัศน์หลักสูตรสถานศึกษา เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มีความเป็นผู้นำของสังคมมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติใช้ ภูมิปัญญาไทย สื่อเทคโนโลยีในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มุ่งให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการพัฒนาตนเองให้มี ทักษะกระบวนการคิด มีคุณธรรม มีความรู้ มีทักษะชีวิตอย่างยั่งยืน บูรณาการแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น สามารถใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เป้าประสงค์หลักสูตร (Corporate objective) ๑. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการพัฒนา เต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น แนวทางการดำเนินชีวิต เป็นผู้นำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการ สื่อสารอย่างหลากหลาย ผู้เรียนมีศักยภาพ ๒. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ โดยบูรณาการแหล่ง เรียนรู้ในท้องถิ่น ผ่านการจัดการเรียนรู้บูรณาการแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 3. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) เพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างทั่วถึง 4. เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที ทันสมัย 5. เพื่อให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด โรงเรียนบ้านดอนยู ได้ประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้าน ดอนยู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และในปีการศึกษา ๒๕๖6 โรงเรียนบ้านดอนยู ได้เพิ่มรายวิชาเพิ่มเติมคือ รายวิชาการป้องกันการทุจริต ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และคอมพิวเตอร์ เพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะการ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่น ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความ เป็นไทย โรงเรียนบ้านดอนยูได้ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านดอนยู พุทธศักราช ๒๕๖๖ 16


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยู พุทธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยู พุทธศักราช ๒๕๖6 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีกาตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล กระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยูพุทธศักราช ๒๕๖6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑.รักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๓.มีวินัย ๔.ใฝ่เรียนรู้ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๖.มุ่งมั่นในการทำงาน 17


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ๗.รักความเป็นไทย ๘.มีจิตเป็นสาธารณะ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบ้านดอนยู ภาพที่ 3 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยู พุทธศักราช 2566 แผนการเรียนรู้/จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ต้องการเน้นเป็นพิเศษ คือกลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาการ อ่านออก เขียนได้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ที่ดี มีประโยชน์ มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน โดยจัด การเรียนการสอนและวัดผล ประเมินผลเป็นรายปี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ นั้น จากการประเมินผลระดับโรงเรียน ระดับ ท้องถิ่น และระดับชาติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีมติร่วมกันให้ จัดทำโครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียน โดยเปิดหลักสูตรการป้องกันการทุจริต จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๘๐ ชั่วโมง และเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในด้าน เทคโนโลยี โดยเปิดคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ในโครงสร้าง ของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านดอนยู พุทธศักราช ๒๕๖๖ มีรายวิชาและจำนวนชั่วโมงดังนี้ โครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียน ชั้น ป.๑-๓ จำนวน ๔ ชั่วโมง / สัปดาห์ วิชา การป้องกันการทุจริต จำนวน ๑ ชั่วโมง วิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน ๒ ชั่วโมง วิชา คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม จำนวน ๑ ชั่วโมง *กิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามถนัดและ ความสนใจ ได้แก่ ๑. English is Fun. ๒. ภาพยนตร์สั้นคุณธรรม ๓. วิทย์หรรษา ๔. สิ่งประดิษฐ์จากสิ่งของเหลือใช้ ๕. คณิตคิดสนุก ๖. ศิลป์บำบัด ๗. หุ่นยนต์ ๘.นักร้องน้องรัก ๙. รักการอ่าน 18


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 โครงการสอนเสริมประสบการณ์พิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพนักเรียน ชั้น ป.๔-๖ จำนวน ๔ ชั่วโมง / สัปดาห์ วิชา การป้องกันการทุจริต จำนวน ๑ ชั่วโมง วิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน ๒ ชั่วโมง วิชา คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม จำนวน ๑ ชั่วโมง โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละชั้นปี -แผนการสอนด้านโค้ดดิ้งที่ครูพัฒนาขึ้น 19


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -ตัวอย่างแผนการสอนด้านโค้ดดิ้งที่ครูพัฒนาขึ้น(ใช้สำหรับนักเรียนทุกระดับชั้น) ชุดกิจกรรมที่ 1 Study of Problems ศึกษาปัญหาในชีวิตประจำวัน 20


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ชุดกิจกรรมที่ 2 Problems Solving Skills เรียนรู้ทักษะการแก้ปัญหา 21


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ชุดกิจกรรมที่ 3 Career Skills ต่อยอดสู่ทักษะการสร้างอาชีพ 22


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ชุดกิจกรรมที่ 4 Good Society สู่ดิจิทัลสร้างสังคมดี 23


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -การนำไปใช้ ด้านผู้บริหาร นำนโยบาย Coding ลงสู่การปฏิบัติและการต่อยอดขยายผลการจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะดิจิทัล ไม่เพิ่มภาระให้กับครูผู้สอน เน้นการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ทักษะกระบวนการคิดในรูปแบบการสอนและการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้านครู ส่งเสริมสนับสนุนการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการ เรียนรู้วิทยาการคำนวณ/Coding และทักษะดิจิทัล 24


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ด้านนักเรียน นำกระบวนการแก้ปัญหาที่มีลำดับขั้นตอนวิธี ด้วยการเขียนอัลกอริทึมในรูปแบบผังงาน Flow Chart มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน คือ กระบวนการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม โดยมีการ บูรณาการอย่างสร้างสรรค์กับกลุ่มสาระอื่นเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การสร้างทักษะชีวิต 25


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ๑.๓ การพัฒนาตนเองและความ เป็นผู้นำด้านโค้ดดิ้ง ๑. มีการพัฒนาตนเองด้านโค้ดดิ้ง (เช่น อบรม ร่วมประชุมวิชาการ เป็นต้น) ตารางที่ 1 แสดงการอบรมการพัฒนาตนเองด้านโค้ดดิ้ง รายการ เกียรติบัตร ผ่านการวัดประเมินผลทักษะด้าน Digital Literacy เป็นครูที่ส่งเสริมการเรียนรู้ หัวข้อ การ เป็นพลเมืองอินเทอร์เน็ตอย่างมีความ รับผิดชอบ การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ คำนวณ ระดับประถมศึกษา 26


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 รายการ เกียรติบัตร การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อเป็น ผู้นำด้านการขับเคลื่อนวิทยาการคำนวณ Coding for School Director (C4S) ระหว่างวันที่ ๙ กันยายน - ๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ คำนวณ ระดับประถมศึกษา อบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณสำหรับครูประถมศึกษา ปีที่ 4-6 จำนวน 20 ชั่วโมง - 27


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 รายการ เกียรติบัตร อบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู้ วิทยาการคำนวณสำหรับครูมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 20 ชั่วโมง เรียนออนไลน์หลักสูตร ชีวิตใหม่และ ความฉลาดทางดิจิทัล(New Normal Life and Digital Quotient) ศึกษาจบหลักสูตร “การรับมือกับปัญหา การถูกกลั่นแกล้งทางออนไลน์”จาก โครงการพัฒนาทักษะการรับมือกับปัญหา การกลั่นแกล้งกันทางออนไลน์มีความรู้ใน การป้องกันและช่วยเหลือผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง รังแกในโรงเรียน 28


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 รายการ เกียรติบัตร ได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ในโรงเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 24(วทร.24) ในรูปแบบ ออนไลน์ ผ่านการอบรมหลักสูตรออนไลน์ ปัญญาประดิษฐ์สำหรับโรงเรียน หลักสูตร 1 (AI for School Level 1) ผ่านการอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษา JavaScript ระดับเบื้องต้นและภาษา C# ระดับเบื้องต้น จำนวน 40 ชั่วโมง 29


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ๒. มีประสบการณ์ในการเป็นวิทยากร ระดับสถานศึกษาขึ้นไป -วิทยากร Coding & Robotics โรงเรียนบ้านนาเมือง 30


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -วิทยากรการอบรม การนำนโยบาย Coding ลงสู่การปฏิบัติและการต่อยอดขยายผลการจัดการ เรียนรู้ด้วยทักษะดิจิทัล ๓. เป็นกรรมการหรือคณะทำงานด้านโค้ดดิ้ง ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป 31


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -กรรมการตัดสินการแข่งขันกิจกรรม การแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับชั้น ป.๑ - ป.6/ระดับชั้น ม.๑ - ม.3 - กรรมการตัดสินการแข่งขันกิจกรรม การแข่งขันหุ่นยนต์ระดับพื้นฐาน ระดับชั้น ม.๑ - ม.3 32


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ส่วนที่ ๒ รายงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้นำทางวิชาการโค้ดดิ้ง 2.1 มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของ ครูหรือบุคลากรในสถานศึกษา มีแผนการนิเทศตามระบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้และดำเนินการนิเทศการจัดการเรียน รู้ตามแผนที่กำหนด นำผลการนิเทศไปแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ติดตามประเมินผลปรับปรุง แก้ไขหรือพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๒ ปีการศึกษาขึ้นไป -ปฏิทิน/แผนการนิเทศ/แผนการพัฒนาครู/บันทึกผลการนิเทศ/หลักฐานการนิเทศ/สมุดนิเทศ/ รายงานการนิเทศ 33


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 มีการนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผลการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผ่าน Google Forms สามารถประเมิน และสรุปผลการนิเทศ ติดตามได้ข้อมูลทันทีหลังการนิเทศเสร็จ นำข้อมูลเสนอต่อที่ประชุมประจำเดือนเพื่อ ปรับปรุงแก้ไขในการนิเทศครั้งถัดไป -คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน 34


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -โครงการ(กิจกรรมนิเทศภายใน) -รายงานผล(โครงการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน) ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ พบปัญหาและอุปสรรค -เนื่องจากภารกิจอื่นเข้ามาแทรกในตารางการนิเทศทำให้การนิเทศไม่ตรงกับวันและเวลาที่ กำหนดในตาราง -การวัดและประเมินผลยังไม่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอน ข้อเสนอแนะ -จัดทำคำสั่งให้มีผู้นิเทศหลายคนเพื่อทำการนิเทศให้ตรงตามตาราง -อบรมพัฒนาครูเรื่องหลักสูตร การวัดและประเมินผล 35


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -คู่มือการวัดผล/คู่มือการนิเทศ จัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน เพื่ออธิบายความให้ทุกฝ่ายตั้งแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีความเข้าใจที่ชัดเจนตรงกัน และทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ จัดทำคูมือการนิเทศภายในแบบร่วมพัฒนาสู่มืออาชีพ ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการนิเทศ ภายในโรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ทักษะ และส่งเสริมสนับสนุนให้คำแนะนำช่วยเหลือ ร่วมมือ อีกทั้งให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้มี ประสิทธิภาพประสิทธิผล เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร 36


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -การนำผลนิเทศไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง นำผลนิเทศไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นนวัตกรรมการ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ด้วยชุดกิจกรรม Coding to learning life skills ทั้งหมด 4 ชุด -รายงานผลสัมฤทธิ์การเรียนของสถานศึกษา/รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ตารางที่ 2 รายงานผลสัมฤทธิ์การเรียนของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไป เฉลี่ยรวมร้อยละ 69.03 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายของ สถานศึกษา ซึ่งตั้งไว้ที่ร้อยละ 65.00 37


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -ภาพถ่ายกิจกรรมการนิเทศ 38


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 2.2 ส่งเสริมและพัฒนาครูหรือ บุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ด้านโค้ดดิ้ง มีสารสนเทศและแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาครูหรือบุคลากรในสถานศึกษาด้านโค้ดดิ้ง ส่งเสริมให้เข้าศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา ประชุมมีการส่งเสริมให้ขยายผลหรือเผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงาน มีครูที่สามารถเป็นวิทยากรด้านโค้ดดิ้ง - แผนการพัฒนาเป็นรายบุคคล (IDP) มีการวางแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) เพื่อเป็น การพัฒนาที่สนองตอบความต้องการแต่ละบุคคล สนองความสนใจในรูปแบบวิธีการพัฒนา ก็จะส่งผลต่อ สมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพต่อไป และ เป็นการพัฒนาที่ต่อเนื่องจนทำให้การปฏิบัติหน้าที่มี ความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการปฏิบัติงาน อันนำไปสู่การพัฒนาตนเองให้เป็นมือ อาชีพที่มีมาตรฐานในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริงสามารถตรวจสอบได้และพัฒนาสู่ความเป็นวิชาชีพต่อไป – เกียรติบัตรให้ครูเข้าร่วม อบรมหรือพัฒนาด้านโค้ดดิ้ง 39


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 - รายงานการขยายผล/รายงานการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษา ผลงานนวัตกรรม ส่งผลให้โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดย มี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบ Active Learning อยู่เสมอ นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง ฝึกทักษะการแก้ปัญหาพัฒนา ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกัน อย่างมีความสุข มีความสามัคคีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันและกันสามารถนำความรู้ความสามารถที่ได้รับ พัฒนาตนเอง ตลอดมา กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบูรณาการทักษะชีวิตกับบริบทของชุมชน/เผยแพร่ ความรู้ด้านเทคโนโลยีแก่เพื่อนครูในสถานศึกษามาโดยตลอด เรียนรู้ร่วมกัน กับเพื่อนครูอย่างมีความสุข สนับสนุนส่งเสริมให้ครูเป็นวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้วิทยาการ คำนวณ ระดับประถมศึกษา หลักสูตร Scratchและ หลักสูตร Unplugged จัดโดยสถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 40


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 การนำชุดกิจกรรม “Coding to learning life skills” คือการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการของการ เขียนอัลกอรึทึมด้วยผังงาน Flow Chart โดยยึดการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) เพื่อให้นักเรียนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาออกมาในรูปแบบ อัลกอริทึม โดยแต่ละชุดได้เตรียมสื่อ และแบบฝึกสถานการณ์ปัญหา รวมทั้งสื่อดิจิทัลเข้ามากระตุ้นความสนใจ ของนักเรียนด้วย การพัฒนานวัตกรรมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านการบูรณาการทักษะการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการที่หลากหลายตามชุดกิจกรรม มีการนำสื่อเทคโนโลยี และสื่อดิจิทัลมา มาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และความรู้ความสามารถของผู้เรียน ที่เน้นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้กระบวนการแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาผู้รียนด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่สนุกสนาน - คำสั่งการจัดอบรม/สัมมนา 41


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 – คำสั่งไปราชการ 2.๓ จัดสรรงบประมาณหรือระดม ทรัพยากรให7กับกิจกรรมหรือ โครงการที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง มีครบ ๔ ข้อตามประเด็นพิจารณา ได้แก่ ๑. มีแผนปฏิบัติการ โครงการ งาน กิจกรรมที่แสดง การจัดสรรงบประมาณที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง ๒. มีการประชุมชี้แจง มอบหมายงาน มีคณะกรรมการ ดำเนินงานชัดเจน ๓. มีการเสนอความคิดเห็นผ่านคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดสรร งบประมาณกิจกรรม หรือโครงการที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง ๔. มีการรายงานผลการใช้งบประมาณที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง และนำผลไปปรับปรุงพัฒนา -แผนปฏิบัติการ โครงการ งาน กิจกรรมที่แสดง การจัดสรรงบประมาณที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง 0 42


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -การประชุมชี้แจง มอบหมายงาน มีคณะกรรมการ ดำเนินงานชัดเจน -การเสนอความคิดเห็นผ่านคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดสรรงบประมาณกิจกรรม หรือ โครงการที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง 43


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -การรายงานผลการใช้งบประมาณที่เกี่ยวกับโค้ดดิ้ง และนำผลไปปรับปรุงพัฒนา -ภาพการดำเนินงาน -จัดทำรายงานผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่ง นวัตกรรม ประจำปี 2566 ในชื่อผลงาน การ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยชุดกิจกรรม “Coding To Learning Life Skills” แ ล ะ จัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของผู้เรียน -โครงการพัฒนาผู้เรียนด้าน Coding คือ การอบรมเชิงปฏิบัติการหุ่นยนต์พื้นฐาน เพื่อปู พื้นฐานให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การออกแบบ การ แก้ปัญหา และการคิดเชิงระบบ 44


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ส่วนที่ ๓ รายงานด้านการบริหารงานชุมชนและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับโค้ดดิ้ง 3.1 สร้าง ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้โค้ดดิ้ง ระหว่างโรงเรียน ชุมชน หรือหน่วยงานอื่น ๆ -จัดนิทรรศการผลงานทางวิชาการเรื่อง Model เตือนภัยระดับน้ำ บูรณาการ STEM และ Coding เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม - การประชุม/อบรม/สัมมนาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการคำนวณ ร่วมงาน AMI ผู้มีความรู้ความสามารถและมีศักยภาพที่จะสามารถนำเอาเทคโนโลยี ด้านนำไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน ในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีและวิชาวิทยาการคำนวณ 45


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -จัดนิทรรศการด้านวิทยาการคำนวณ การจัดนิทรรศการโรงเรียนเพื่อแสดงผลงานด้านวิทยาการ คำนวณในการประชุมผู้บริหารสถานศึกษาสัญจร โดยท่านดร.เธียนไท คำล้าน ผอ.สพป.อุบลราชธานี เขต 4 ณ โรงเรียนบ้านนาดู่ สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -การจัดนิทรรศการโรงเรียนเพื่อแสดงผลงานด้านวิทยาการคำนวณและสะเต็มศึกษา สพฐ.ติดตามเก็บ ข้อมูลวิจัย Coding&STEM โดยการนำของดร.กวินทร์เกียรติ นนธ์พละ รองเลขาธิการกพฐ. ณ โรงเรียนชุมชน บ้านนาเยีย สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -คณะทำงานการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้ Active Learning ด้วย STEM บนพื้น ฐานเศรษฐกิจ BCG บูรณาการ Coding เพื่อส่งเสริมสมรรถนะผู้เรียน 46


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถานศึกษาที่มีความสนใจทั้งในและนอกเขตพื้นที่การศึกษา ส่วนที่ ๔ ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม 4.1 สร้างและนำนวัตกรรม ด้านโค้ดดิ้งไปใช้ในการพัฒนา สถานศึกษา ครบรายการประเมินทั้ง ๔ ข้อ ๑. สร้างนวัตกรรมโค้ดดิ้งที่สร้างผลกระทบด้านบวก ๒. มีการนำไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา ๓. มีการนำเสนอสู่ชุมชนหรือสังคม ๔. ได้ร้บรางวัลระดับชาติ -สร้างนวัตกรรมโค้ดดิ้งที่สร้างผลกระทบด้านบวก สร้างนวัตกรรมในการขับเคลื่อนด้วย DONYOO Model ในการดำเนินการพัฒนาด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิง กลยุทธ์และนวัตกรรม “องค์กรที่เน้นการพัฒนาทักษะดิจิทัล มีเครือข่ายความร่วมมือ สร้างองค์ความรู้ เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้นอก โรงเรียนเป็นห้องเรียน ผลผลิตคือคุณภาพของผู้เรียน” ผ่านจัดทำโครงการ/กิจกรรม Coding to learning life skills เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน นำไปสู่การสร้างทักษะชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี -มีการนำไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยมี การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ในรูปแบบ Active Learning อยู่เสมอ นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงฝึกทักษะ การแก้ปัญหาพัฒนา ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกันอย่าง 47


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 มีความสุข มีความสามัคคีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันและกันสามารถนำความรู้ความสามารถที่ได้รับ พัฒนาตนเอง ตลอดมา และสร้างชื่อเสียงให้กับสถานศึกษาจากการนำนักเรียนไปแข่งขัน และนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้บริหารสนับสนุน ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้พัฒนาตนเอง สู่การพัฒนาผู้อื่น ทำให้มีโอกาส เป็นวิทยากร ในการให้ความรู้เกี่ยวกับการนำเทคนิคต่าง ๆ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมในวิชา วิทยาการคำนวณ อีกทั้ง ผู้บริหารได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในรายวิชาวิทยาการ คำนวณ เป็นผู้บริหารที่ส่งเสริมกิจกรรม PLC และ Lesson Study ในสถานศึกษา และเป็นวิทยากรการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ผ่านระบบออนไลน์พร้อมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้บูรณาการด้าน คุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักเรียนด้วย -มีการนำเสนอสู่ชุมชนหรือสังคม นำมาพัฒนานวัตกรรมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านการบูรณาการทักษะการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการที่หลากหลายตามชุดกิจกรรม มีการนำสื่อเทคโนโลยี และสื่อดิจิทัลมา มาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และความรู้ความสามารถของผู้เรียน ที่เน้นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้กระบวนการแก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนาผู้รียนด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์อีกทั้ง ยังนำทักษะการแก้ปัญหาไปบูรณษการกับทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดำรงตน ได้อย่างมีความสุข นอกจากนั้นการทำกิจกรรมในการเรียนของนักเรียนและพัฒนาประยุกต์ใช้สู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ นักเรียนที่ได้รับรางวัล สามารถเผยแพร่ความรู้สู่นักเรียนในสถานศึกษา ชุมชน สำนักงานเขตพื้นที่ ภูมิภาค ตลอดจน การเผยแพร่ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนบ้านดอนยู เช่น หุ่นยนต์ขั้นพื้นฐาน โครงงาน วิทยาศาสตร์ 48


นางสาวอริสรา ชัดเจน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนยู สพป.อุบลราชธานี เขต 4 -ต่อยอดกระบวนการคิดของผู้เรียนโดยการสร้างเป็นเกม (กิจกรรมเด็กสร้างเกม) ทำให้นักเรียน ๆ รู้จักภาษาคอมพิวเตอร์ สนใจฝึกฝนทักษะความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (Coding) ดึงดูดความสนใจและเวลาของนักเรียน นอกจากนี้นักเรียนยังได้เรียงร้อย กระบวนการในการสร้างองค์ประกอบของเกมตามสถานการณ์ต่างๆที่สนใจ ได้นำเสนอในสิ่งที่สร้างขึ้นมา ปรับปรุงและแก้ไขได้ การนำเสนอและเผยแพร่ผลงานสู่ชุมชน ระดับจังหวัด และระดับภาค 49


Click to View FlipBook Version