The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนบ้านแก้งยาง 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา ชัดเจน, 2020-07-07 00:49:22

SAR โรงเรียนบ้านแก้งยาง 2562

SAR โรงเรียนบ้านแก้งยาง 2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ี
สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานระดับปฐมวัยและระดับข้นั พื้นฐาน เพอื่ การประกันคณุ ภาพภายใน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของ
เด็ก/คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ตลอดจนผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนาและระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาใน
อนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมาให้ต้นสังกัดและ
สาธารณชนได้รบั ทราบ และเตรยี มความพรอ้ มในการรบั การประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเล่มนี้ นาโครงสร้างการจัดทารายงาน
การประเมินตนเองของสถานศึกษาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 และ
อ้างอิงแนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ท่ีให้ความร่วมมือในการ
จดั ทารายงานครง้ั นี้ เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ยและสมบูรณ์ตอ่ การเผยแพรแ่ ก่สาธารณชน

……………………………………………
(นางสาวอรสิ รา ชดั เจน)

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหำร

โรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง ตงั้ อยู่ หมู่ที่ 6 ตาบลนาเรือง อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์
34160 มีข้าราชการครู จานวน 1 คน ธุรการโรงเรียน 1 คน นักการภารโรง 1 คน และครูอัตราจ้าง 1 คน
จัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาล 2 ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจานวนนักเรียนท้ังหมด 57 คน มีเขต
บริการ 1 หมู่บา้ นคือบ้านแก้งยาง ผ้อู านวยการปัจจุบันคอื นางสาวอริสรา ชัดเจน

ผลกำรประเมนิ ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดับปฐมวัย
โรงเรียนบ้านแก้งยางจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย มีนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2-3 รวม 17 คน

ครูผู้สอน 1 คน จัดทารายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2562 เสนอต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัด และหน่วยงานอื่นๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม มีผลการดาเนินงาน
ดงั ต่อไปนี้

เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ เด็ก ระดับ
ปฐมวยั 17 คน มนี า้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ จานวน 17 คน กิจกรรมออกกาลงั กายใส่ใจสขุ ภาพ เป็นโครงการที่
ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ส่งผลให้เด็ก ร้อยละ 100 สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแล
ความปลอดภยั ของตนเองได้

คุณภาพเด็กด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้จัด
กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กๆได้สนุกสนาน มีความสุขในการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้าน
แก้งยาง รอ้ ยละ 100 มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมตามวยั

คุณภาพเดก็ ดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียน
บ้านแก้งยาง ทุกคนช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวัน มีวินัยในตนเอง รู้จักการประหยัดพอเพียง
มีส่วนร่วมในการดูแลรกั ษาสิ่งแวดล้อมทง้ั ในและนอกหอ้ งเรียน มมี ารยาททางวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การ
ทกั ทาย จากโครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพทกั ษะพ้ืนฐานผู้เรยี นระดบั ปฐมวยั กิจกรรมอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมไทย ส่งผล
ให้นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านแก้งยาง ร้อยละ100 มีพัฒนาการ ด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็น
สมาชิกทด่ี ีของสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

คุณภาพเด็กด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ นักเรียนระดับ
ปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นโคกเกา่ ทกุ คน สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรอ่ื งใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจ ตั้งคาถามในส่ิงท่ีตนเองสนใจหรือ
สงสัยและพยายามคน้ หาคาตอบ อา่ นนิทานและเลา่ เรือ่ งทต่ี นเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการ
คิดรวบยอด การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจเรื่องง่ายๆได้ จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพ้ืนฐาน
ผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง ส่งผลให้นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านแก้งยาง ร้อยละ
95.00 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารไดม้ ีทักษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ดา้ นกระบวนการจัดการบริหารและการจัดการหลักสูตรโรงเรียนบ้านบ้านแก้งยาง มีหลักสูตรปฐมวัย
ที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความ
พร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว
ชุมชน และท้องถ่ิน จากโครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุธศักราช 2560 กิจกรรมกิจกรรม
บูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนบ้านแก้งยาง มีหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวัยตามพทุ ธศักราช 2560

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ด้านการจัดครูให้เพียงพอต่อช้ันเรียนโรงเรียนบ้านบ้านแก้งยาง ได้มีการจัดครูที่เหมาะสมกับการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ คือมีครูพ่ีเลี้ยงที่ผ่านการอบรมทางด้านการดูแลเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้
สง่ บุคคลากรเข้ารบั การอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง

ด้านส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้มีการพัฒนา
คุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้
ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และ
การประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต
และการปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็กและผู้ปกครอง จากโครงการพัฒนาบุคคลากร กิจกรรม PLC กิจกรรมการ
ประชมุ สมั มนา กิจกรรมอบรมคูปองครู และกิจกรรมประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ

จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง
โรงเรียนบ้านบ้านแกง้ ยาง มกี ารจดั สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน ท่ีคานึงถึงความปลอดภัย
ของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และส่ือการเรียนรู้ที่
หลากหลายท่ีได้จากธรรมชาติหรือส่ือในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการ
เรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ จากโครงการส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้ กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่งผลให้โรงเรียนบ้านโคกเก่ามีการจัด
สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่อื การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และพอเพยี ง

การใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พือ่ สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์
โรงเรยี นบา้ นบ้านแก้งยาง มกี ารจัดสงิ่ อานวยความสะดวก ให้บริการด้านส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพ่ือ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและท่ัวถึง จากโครงการส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้ กิจกรรมจัดหาสื่อการเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนบ้านโคกเก่ามีการให้บริการส่ือ
เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรยี นรเู้ พอ่ื สนับสนุนการจัดประสบการณ์

มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โรงเรียนมีการกาหนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษาทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั และอตั ลักษณ์ที่สถานศึกษากาหนด ได้มี
การจดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ท่สี อดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผล
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง
ประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมท้ัง
รายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง จากโครงการส่งเสริมระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนบ้านแก้งยาง มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี
ส่วนร่วม

ดา้ นการจดั การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ มีจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็ก มีพัฒนาการ
ทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆด้านให้เหมาะสม
กบั วัย

ด้านร่างกาย พัฒนาการเคล่ือนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพ่ือให้
รา่ งกายทุกส่วนทงั้ กล้ามเนอ้ื มัดใหญ่มัดเล็กใหท้ างานอย่างมีประสิทธภิ าพ

ดา้ นอารมณ์ จิตใจ เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ รู้จักการ
รอคอย กลา้ แสดงออก ช่วยเหลอื แบ่งปันมีความรับผดิ ชอบ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ดา้ นสงั คม เดก็ ชว่ ยเหลอื ตัวเองในการปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั ได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้
มีสมั มาคารวะตอ่ ผู้ใหญ่

ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา ส่ือสารและมีทักษะความคิดพ้ืนฐานแสวงหา
ความรไู้ ด้อย่างเหมาะสมตามวัย

การสร้างโอกาสให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือ
ปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพ่ือก่อให้เกิดความมีน้าใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และ
การรอคอย เพ่ือส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐาน
ผเู้ รยี นระดบั ปฐมวัย กจิ กรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง ส่งผลให้โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้มีการจัดประสบการณ์ที่สร้าง
โอกาสให้เดก็ ไดป้ ระสบการณต์ รง เล่น และปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสุข

จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้จัด
บรรยากาศในชั้นเรียนท่ีส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น
ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอ้ือเผ่ือเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซ่ึงเป็นแรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนรักการ
อยรู่ ว่ มกนั ในชั้นเรยี น และปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน นอกจากน้ีโรงเรียนบ้านโคกเก่ามีห้องเรียน
ท่ีมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียน
ให้สดใส และมสี อ่ื การเรยี นรทู้ ี่เอือ้ ตอ่ การจดั ประสบการณ์การเรยี นการสอน

ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการ
จัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ โรงเรยี นบ้านโคกเก่ามกี ระบวนการ การประเมินพัฒนาการของ เด็กปฐมวัย
จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจาวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย
เช่น การสังเกต การสอบถาม การสารวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วน
รว่ ม เพอื่ ได้นาผลการประเมนิ ไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียน
จากกจิ กรรมแข่งขนั ทกั ษะทางวิชาการ สง่ ผลให้โรงเรียนบ้านโคกเก่าได้มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพ
จริง และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การ จัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็

ผลกำรประเมินตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ ระดับกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน
โรงเรยี นบ้านแก้งยาง จดั การเรียนการสอนระดบั ประถมศึกษา มีนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ที่ 1

ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน 40 คน ครูผู้สอน 1 คน จัดทารายงานการประเมินคุณภาพ ของตนเอง
(SAR) ปีการศึกษา 2562 เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอ่ืน ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม
อยูใ่ นระดบั ดีเลศิ มีผลการดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

โรงเรียนกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุ่งเน้นให้
นกั เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา มคี วามสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ
สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณ ะและค่านิยมท่ีดีตามที่
สถานศกึ ษากาหนด และมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและสงั คม ความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับ
ทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ประเด็นภาพความสาเร็จดา้ นคุณภาพผูเ้ รียนสถานศึกษามกี ารวเิ คราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้
กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนา
สูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในให้เหมาะสม มีส่ือด้านเทคโนโลยี
ท่ที ันสมยั จดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนมี สุขภาพกาย สขุ ภาพจิตดี มีความกล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
อย่างมีความสุข เน้นทักษะการทางานร่วมกัน ทาให้นักเรียนมีทักษะใน การอ่าน การเขียน การส่ือสาร และ
การคิดคานวณเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดในแต่ระดับช้ัน นักเรียนมีความสามารถในการคิดจาแนก
แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเอง
และการทางานเปน็ ทมี เชอ่ื มโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ จากการเรียนรู้
โดย โครงการ/ กิจกรรมพัฒนาการอ่านเขียนภาษาไทย นักเรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความ
เป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมท้ังภูมิปัญญาไทยเข้าร่วมกิจกรรมที่โรงเรียนจัด
คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ร้อยละ 100 มีผล
การอ่านคิด วิเคราะห์และเขียนผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด ร้อยละ 100 กาหนดมาตรฐานด้านคุณภาพ
ผู้เรียนตามที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี
ความสุข” ดังนั้นโรงเรียนบ้านแก้งยางจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน 2 ด้าน ได้แก่
1) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคานวณ รวมท้ังการมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มี
ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการ มีความรู้ ทักษะ
พ้ืนฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจใน
ท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายโดยมีประเด็นภาพ
ความสาเร็จด้านคุณภาพผู้เรียน ดังน้ี นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ
เป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนดในแต่ระดับชั้น มีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ
ไตร่ตรอง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม
เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ
โครงงาน ช้ินงาน ผลผลิตความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเอง และ
สงั คมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรมมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้
ตามหลักสูตรสถานศึกษา จากพื้นฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมทั้งมี
ความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอ่ืน ๆ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ
เจตคติท่ีดีพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสูงข้ึน การทางานหรืองานอาชีพมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม
จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสานึกตามที่สถานศึกษากาหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดีของสังคมมีความภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมท้ังภูมิปัญญา ผู้เรียนยอมรับการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ด้านเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และ
สังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอ่ืนอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อ่ืน ไม่มีความ
ขดั แย้งกบั ผอู้ ืน่

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการเพ่ือให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการ
คณุ ภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านโคกเก่า การดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่
ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ในดาเนินการพัฒนา
วิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริง
จัดทาแผนพัฒนา คณุ ภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มี ความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ
ตามความต้องการของครูและสถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้านแก้งยาง โดยประเมินภาพความสาเร็จดังนี้ โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์
และพันธกิจที่โรงเรียนกาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของต้น
สังกัด รวมท้ังทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผน
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนาแผนไปปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางาน
อย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการนิเทศภายใน นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน
ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษามีการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ พัฒนา
หลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริงและครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย รวมถึง การจัดการเรียนการสอนของกลุ่มที่เรียนแบบควบรวมและกลุ่มเรียนร่วมด้วย มีการ
สง่ เสริมสนับสนุนพฒั นาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ใน
การพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และ
สภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีความปลอดภัยจัดระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน
จัดหา พัฒนาและบริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ จัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการ
บรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรอู้ ย่างเหมาะสม

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/โครงการ/
กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้ผู้เรียนผ่าน
กระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร
สถานศกึ ษา ให้นักเรียนมสี ว่ นร่วม ครรู ้จู ักผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่าง
เป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาผลท่ีได้มาปรับปรุงการจัดการ
เรยี นรู้ ครมู แี ผนการจดั การเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปใชจ้ ดั กจิ กรรมได้จริง ครูใช้ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหาร
จัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพ่ือให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้
และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการ
เรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย
กาหนดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคท์ ีส่ อดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีสร้าง
โอกาสให้นกั เรียนทุกคนมสี ่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้น

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ทกั ษะการคิด เช่น จดั การเรียนรดู้ ้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าท่ีให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศ
ตามสถานที่ต่าง ๆทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช้ครูทุกคนทางานวิจัยในชั้นเรียน
ปีการศึกษาละ 1 เรื่อง โดยมีประเด็นภาพความสาเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ดงั นค้ี รูจดั การเรยี นรูใ้ หน้ กั เรียนผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง ให้นักเรียนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในชวี ิตประจาวนั ได้ มแี ผนการจดั การเรียนรู้ และจัดกิจกรรมสาหรับนักเรียนท่ีต้องการความช่วยเหลือ เป็น
พิเศษ ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ ได้แสดงความคิดเห็น ได้แสดงออก เป็นผู้สามารถสรุปองค์ความรู้ นาเสนอ
ผลงาน และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ ครูใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งนาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือ ที่หลากหลาย ครูมีการ
บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างเด็กกับครู ครูกับเด็กเด็กกับเด็ก เด็กรักการ
เรียนรู้ และสามารถอยรู่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุข ครูร่วมกันออกแบบการวัดผลประเมินผลเพ่ือตรวจสอบ และ
ประเมินผู้เรียนอย่างมีขั้นตอน ใช้เคร่ืองมือ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม พร้อมท้ังนาผลไปใช้พัฒนาการเรียนรู้
ของผู้เรียน ครูผู้สอนร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
และนาไปปรบั ปรงุ /พฒั นาการจดั การเรียนรู้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ควำมเหน็ ชอบของคณะกรรมกำรสถำนศึกษำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562 สถานศึกษามีภาระหน้าท่ี
จะต้องดาเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 มาตรา 9 (3) ได้กาหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่สาคัญข้อ
หนึ่ง คือ มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และมาตรา 48
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทา
รายงานประจาปีเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การ
พฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา และเพ่อื รับรองการประกนั คณุ ภาพภายนอก

ดังนั้นโรงเรียนบ้านแก้งยาง จึงได้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู
ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี เมื่อส้ินปีการศึกษาได้มีการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา และจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2562
แก่คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นที่
เรยี บรอ้ ยแลว้

(นายคา กุหลาบ)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

โรงเรียนบา้ นแกง้ ยาง
วันท่ี 10 เดือนเมษายน พ.ศ. 2563

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

สำรบัญ

เร่อื ง หนำ้

บทนา…………………………………………………………………………………………………………………………. 1
โครงสรา้ งรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา............................................................... 2
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา…………………………………………………………………….. 3

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐาน................................................................................................... 4
ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา...........................................................17

ผลการประเมินระดับการศึกษาปฐมวัย..................................................................17
ผลการประเมินระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน……………….…………………………………….23
ผลการประเมินภาพรวม......................................................................................... 28
ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการชว่ ยเหลอื .............................33
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 37
ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา......................................................38
ประกาศการกาหนดค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา.......... 39
คาสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของโรงเรยี น...................................40
คาสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2562 ................................................................................................. 43
คาสง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ งานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
เพ่อื จัดทารายงานประจาปีของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 2562 .................. 45
ภาพกจิ กรรม/โครงการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2562.......... 46

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

บทนำ

การจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นการนาเสนอผลการดาเนินงานในการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลมาจากการดาเนินงานท่ีครอบคลุมมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา และนาเสนอรายงานตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง เปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรับรองการ
ประกันคุณภาพภายนอกตอ่ ไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา หรือ รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี
รายงานประจาปี รายงานการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา รายงานท้ังหมดที่กล่าวมาเป็นการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาเหมือนกัน มีเน้ือหาสาระ องค์ประกอบ/โครงสร้างของรายงาน และจุดมุ่งหมายไม่แตกต่าง
กัน คือ สะท้อนภาพความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาภายใต้บริบท
ของสถานศึกษา ดังน้นั ประโยชน์ในการจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ได้แก่

1. ทาให้มฐี านข้อมลู การดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาท้ังในด้านจดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา
และแผนพฒั นาเพ่ือให้สถานศึกษาพฒั นาคุณภาพการศึกษาในปีถัดไปให้พฒั นาขึ้น

2. ทาใหม้ ขี อ้ มลู สารสนเทศเชงิ ประจกั ษ์ และเช่ือมโยงกบั ระบบ AMSS++ และ SMSS ของ
สถานศกึ ษา ซ่งึ แสดงถึงการดาเนนิ งานที่มีระบบและตอ่ เนื่อง ศักยภาพการปฏบิ ตั งิ านของผูบ้ ริหาร ครู และ
คณะกรรมการสถานศึกษาทกุ ท่าน เพื่อเปา้ หมายทีก่ าหนดไว้ร่วมกัน

3. ทาให้ชุมชน ตลอดจนผ้มู ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ย ได้รบั ทราบผลการพฒั นาการจดั การศึกษาของ
สถานศึกษา โดยมกี ารประชุม ประชาสมั พันธ์ จัดนิทรรศการ “Open House” ฯลฯ ใหร้ บั ทราบและเช่ือม่นั
ในการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา และให้การชว่ ยเหลือสนบั สนุนอยา่ งเหมาะสมต่อไป

4. สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 มีการสนบั สนุน ช่วยเหลอื การ
พฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานมี
ฐานขอ้ มลู ในการกาหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาทงั้ ในระดับเขตพนื้ ท่แี ละระดบั ประเทศ

5. สถานศึกษาใช้รายงานการประเมินตนเองเพอ่ื รองรบั การประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา
และรายงานต่อสานกั งานเขตพ้ืนท่ี เพื่อรบั การประเมินคุณภาพภายนอกจาก สานกั งานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

โครงสร้ำงรำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นแก้งยางมโี ครงสร้างแบ่งออกเนื้อหาเปน็ 3
สว่ น มรี ายละเอียดดังต่อไปน้ี

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐำน
 ข้อมลู ท่ัวไป
 วิสยั ทศั น์
 พันธกจิ
 เป้าหมาย
 เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
 อัตลักษณ์ของผเู้ รียน
 ข้อมลู ครแู ละบุคลากร (SMSS : WAR ROOM)
 ขอ้ มลู นักเรยี น (SMSS : WAR ROOM)
 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระ
 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
 ผลการประเมนิ ผู้เรียนตามมาตรฐานสานกั งานเขตพ้นื ท่ี (SMSS : WAR ROOM)
 ผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน (SMSS : WAR ROOM)
 ผลสอบ NT
 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู้ รียน
 สรปุ การใชแ้ หลง่ เรยี นรูภ้ ายในและภายนอกสถานศึกษา
 สภาพชุมชนโดยรวม
 สรปุ ผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอก และข้อเสนอแนะ
ฯลฯ

สว่ นที่ 2 ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศึกษำ
 ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาปฐมวยั
- ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
- ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
- ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สาคัญ
 ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
- ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
- ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
- ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้
ผเู้ รียนเป็นสาคัญ
 สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และระดบั ข้นั พนื้ ฐาน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ส่วนท่ี 3 สรุปผล แนวทำงกำรพัฒนำ และควำมต้องกำรช่วยเหลอื
 จุดเด่น
 จุดควรพัฒนา
 แนวทางการพฒั นาในอนาคต
 ความต้องการชว่ ยเหลอื /สนบั สนุน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ส่วนท่ี 1
ขอ้ มลู พนื้ ฐำน

 ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนบำ้ นแกง้ ยำง
ชอ่ื โรงเรียน
ท่อี ยู่ หมู่ 6 ต.นำเรอื ง อ.นำเยีย จ.อุบลรำชธำนี 34160
สงั กดั
โทรศพั ท์ สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำอบุ ลรำชธำนี เขต 4
เปดิ สอนระดบั ช้ัน
093-3199923 E-mail : [email protected]

อนุบำล 2 ถงึ ระดบั ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ 6

 วสิ ยั ทศั น์
โรงเรยี นบา้ นแกง้ ยาง เปน็ สถานศึกษาแห่งการเรยี นรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นักเรยี น

มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน ต้านทจุ รติ มจี ิตอาสา พฒั นาครเู ป็นครมู ืออาชพี ชมุ ชนมีส่วนรว่ มจัดการศกึ ษา

 พันธกจิ

โรงเรยี นบ้านแก้งยาง มีภารกจิ ที่จะต้องดาเนนิ การดังน้ี
1. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ระดบั ประถมศึกษาเพ่อื ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการจดั การศกึ ษา
2. พัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีให้ทันสมัยส่งเสริมให้ผู้เรียนอ่านได้ เขียนได้ คิดเป็น

แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ สามารถดารงชวี ิตในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ
3. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกสถานศึกษาให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ จัดกระบวนการบริหาร

และการจัดการเรียนรู้เชิงระบบ
4. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน

เป็นสาคญั และมีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5. พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม มจี ิตอาสา นาพาหลักสตู รตา้ นทุจริต และคา่ นยิ มอนั พงึ ประสงค์
6. สง่ เสรมิ ความสัมพนั ธ์กบั ผปู้ กครองนักเรียนชุมชน วัด และองค์กรอ่ืน

 เปา้ หมาย

1. เพ่ือใหโ้ รงเรยี นมีสภาพแวดลอ้ ม อาคารสถานที่เหมาะสมกบั การจัดการเรยี นการสอน
2.เพ่อื ให้โรงเรียนมีกระบวนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรทู้ ี่เป็นระบบและมคี ุณภาพ
3. เพ่ือให้นักเรยี นมีทักษะความรู้พน้ื ฐานตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
4. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นเปน็ ผูม้ คี ุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมอันพงึ ประสงค์ ตามทชี่ ุมชนต้องการ
5. เพื่อให้ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการสง่ เสริมสนบั สนุนการจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
“เปน็ คนดี มจี ติ อาสา”

 อัตลักษณ์ของผเู้ รยี น
“ยิม้ ไหว้ ทายทัก รักความสะอาด”

 ขอ้ มูลครูและบุคลากร (SMSS : WAR ROOM)

 ข้อมูลนักเรียน (SMSS : WAR ROOM)

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระ

 ผลสัมฤทธิข์ องนักเรยี นที่มีผลการประเมินระดบั 3 ข้นึ ไป ปีการศึกษา 2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ปีการศึกษา 2562

 ผลการประเมนิ ผ้เู รยี นตามมาตรฐานสานกั งานเขตพ้นื ท่ี (SMSS : WAR ROOM)
 ภาคเรยี นที่ 1/2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 ภาคเรยี นที่ 2/2562

 ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน (SMSS : WAR ROOM)
 ผลการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ปีการศึกษา 2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 ผลสอบ NT

 ผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รียน
 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน ( O – NET ) ปีการศึกษา 2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

 สรุปการใชแ้ หลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกสถานศึกษา

 แหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษา

แหล่งเรยี นรู้ภายใน รอ้ ยละการใชแ้ หลง่ เรียนรู้
1.หอ้ งคอมพิวเตอร์ รอ้ ยละ 80
2.ห้องสอ่ื การเรยี นรู้ ร้อยละ 80
3.หอ้ งสมุด รอ้ ยละ 80
4.สวนแกว้ มังกร รอ้ ยละ 88
5.สระเล้ียงปลา รอ้ ยละ 80
6.สวนยางพารา ร้อยละ 80
7.สนามเดก็ เลน่ ร้อยละ 90

 แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกสถานศกึ ษา

แหลง่ เรยี นรูภ้ ายนอก ร้อยละการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้
1.วัดบา้ นแกง้ ยาง ร้อยละ 100
2.ลาน้าโดม รอ้ ยละ 80
3.ศาลาประชาคม ร้อยละ 80
4.รา้ นค้าชุมชน รอ้ ยละ 80
5.สะพานหว้ ยยาง รอ้ ยละ 80

 สภาพชุมชนโดยรวม

 ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนขนาดเล็ก มีประชากรประมาณ 300 คน

บรเิ วณใกลเ้ คยี งโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,วัดบ้านแก้งยาง ,ลาน้าโดม อาชีพหลักของชุมชน
คือ ทานาและสวนยางพารา ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่เป็นท่ีรู้จัก
โดยทัว่ ไป คือ บญุ ผะเหวด บุญสารทไทย...ฯลฯ

2) ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาระดับ ป. 6 อาชพี หลัก คอื ทานาและสวนยางพารา สว่ นใหญ่
นบั ถอื ศาสนา พทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉล่ยี ตอ่ ครอบครวั ตอ่ ปี 7,500 บาทจานวนคนเฉล่ีย
ตอ่ ครอบครวั 4 คน

3) โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน
ได้รบั การส่งเสริมสนับสนุนจากชมุ ชน ผู้นาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โรงเรียนเป็นหมู่บ้านสุดท้าย
ติดเขตอาเภอเดชอุดม ทิศเหนือจดบ้านนาจาน ทิศตะวันออกจดบ้านคานาแซง อาเภอเดชอุดม ทิศใต้จดลาโดม
ทิศตะวันตกจดบ้านหนองกระบือ จึงทาให้พ้ืนที่มีขนาดไม่ใหญ่มากและมีเพียงหมู่บ้านเดียวที่เป็นเขตบริการของ
โรงเรียนบ้านแก้งยาง จึงทาให้มีจานวนประชากรนักเรียนน้อย แต่โรงเรียนก็ได้รับการสนับสนุนจาก อบต.นาเรือง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในสาระการงานและเทคโนโลยี ( เศรษฐกิจพอเพียง ) แต่งบประมาณก็ยังไม่เพียงพอ
เพราะยังเป็นงบสว่ นนอ้ ยอยู่ และไดร้ ับความร่วมมือ รว่ มแรง รว่ มใจ จากชาวบา้ น บา้ นแก้งยางและวัดบา้ นแกง้ ยาง

 สรุปผลการประเมินจากหนว่ ยงานภายนอก และข้อเสนอแนะ

ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกของสถำนศึกษำ แสดงในตำรำงสรุปผลดังน้ี

กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน :ระดับกำรศกึ ษำปฐมวัย

ตวั บ่งช้ีที่มีคณุ ภำพระดบั ดีข้ึนไป ได้แก่

ลำดบั ตัวบ่งช้ี ช่อื ตัวบ่งชี้ ระดบั คณุ ภำพ

ท่ี ท่ี

1 5 เดก็ มคี วามพร้อมศึกษาต่อไปในชน้ั ตอ่ ไป ดีมาก

2 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ และ ดีมาก

วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ต้ังสถานศกึ ษา

3 10 ผลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ดมี าก

ของสถานสถานศึกษา

4 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา ดมี าก

5 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพอื่ ยกระดบั มาตรฐาน รักษา ดมี าก

มาตรฐานและพัฒนาส่คู วามเปน็ เลิศท่สี อดคลอ้ งกับแนวทางการ

ปฏริ ูปการศึกษา

6 7 ประสทิ ธภิ าพองการบรหิ ารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา ดีมาก

7 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ดีมาก

8 1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกายสมวัย ดีมาก

9 2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจิตใจสมวัย ดมี าก

10 3 เดก็ มีพฒั นาการด้านสงั คมสมวัย ดี

11 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญาสมวัย ดี

12 5 ประสทิ ธผิ ลของการจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ เ่ี น้นเด็กเปน็ สาคญั ดี

จดุ เดน่
1. เด็กส่วนใหญ่มีพัฒนาการด้านร่างกาย โดยเฉพาะสุขนิสัยสมวัย มีพัฒนาการท่ีดีด้านอารมณ์

และจิตใจ สังคมและสติปัญญา นอกจากน้ี เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในข้ันต่อไป เด็กมีพ้ืนฐานตา
พัฒนาการทุกด้านสมวัย เพราะมีความรู้พื้นฐานสมวัย สถานศึกษาพัฒนาเด็กปฐมวัยมีผลผลิตบรรลุตาม
วิสัยทัศน์ คือ “สุขภาพกายดี มีคุณธรรม เน้นความซื่อสัตย์ และร่วมกันกาหนดจุดเน้นและจุดเด่นเพื่อ
พัฒนาสถานศึกษา เกิดผลดีสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือ ส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาเยาวชน
ฟุตซอล เปตอง จัดทาโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ปรับปรุงแก้ไขปัญหาสถานศึกษา
เป็นท่พี ึงพอใจของชุมชนรอบสถานศึกษา

2. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถในการบริหารทั้ง
ด้านบริหารงบประมาณ มีความรู้และเป็นผู้นาในการพัฒนาวิชาการ ส่งเสริมให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องมีส่วนร่วม

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

คณะกรรมการสถานศกึ ษามีความรคู้ วามสามารถ รู้บทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ งาน
บุคคล งาน-งบประมาณและงานบริหารทัว่ ไป มีการคัดเลือกและพัฒนาครูตามเกณฑ์คุรุสภากาหนด การจัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกเอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด ถูกสุขลักษณะ สวยงาม มี
มาตรการป้องกันความ-ปลอดภัยและบาดเจ็บในเด็ก สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือ-
ยกระดับ มาตรฐาน ส่งผลให้เด็ก-ปฐมวัยมีพัฒนาการทุกด้านอย่างเหมาะสมกับวัย สถานศึกษาไม่มี
ข้อเสนอแนะจาก สมศ. แตท่ กุ ฝา่ ยพยายามพัฒนาตามข้อเสนอแนะของสถานศึกษาและต้นสังกัดตามแนวทาง
ปฏริ ูปการศึกษา

3. ครูส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคมและสติปัญญา
ความสัมพันธ์เชิงบวกกับเด็กและครอบครัว และส่งเสริมการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการ
ของเด็กประสิทธผิ ลของการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ทู ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคัญมีระดบั คณุ ภาพ ดมี าก

4. สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด จากสานักงานเขตพ้ืนท่ี
ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๔ มีการดาเนินระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาในระดับ
การศกึ ษาปฐมวัยครอบคลมุ การดาเนินงานตามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ครบทั้ง ๘ ข้อ มีการพัฒนาการและ
สอดคลอ้ งกับรายงานการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาประจาปี

จุดที่ควรพฒั นำ
1. เด็กควรไดร้ ับการส่งเสริมในการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และเคารพความคดิ เหน็ ของคนอื่น

และทกั ษะพนื้ ฐานการใชภ้ าษาไทย ไม่ควรส่งเสรมิ ใหพ้ ูดภาษาถิน่
2.สถานศึกษามีครูไม่ครบหอ้ ง จัดกจิ กรรมเพื่อแกป้ ญั หาและป้องกนั ความปลอดภยั ไม่ครอบคลมุ

ท้งั 6 ด้าน ขาดแผนการฝึกซอ้ มป้องกันภยั และฝึกการก้ชู ีพ
3.ครูควรให้ความสาคัญกับความรู้และความคิดเห็นของเด็ก รับฟังและตอบสนองเด็กด้วย

พฤติกรรมไมเ่ หมาะสม จดั โอกาสให้เด็กได้เรยี นรกู้ ารเป็นผู้นาและผูต้ ามที่ดที กุ คน จัดกิจกรรมให้เด็กเล่าถึงส่ิง
ท่ีกาหนดเรือ่ งทเ่ี ดก็ ควรรู้ด้วยภาษาไทย ไมค่ วรสง่ เสรมิ การใชภ้ าษาท้องถิ่น

ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื กำรพัฒนำตำมกฎกระทรวงวำ่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีกำรประกนั คุณภำพ
กำรศึกษำ พ.ศ.2553

1. ด้ำนผลกำรจัดกำรศึกษำ
1) เด็กปฐมวัยควรไดร้ บั การส่งเสริมในการจัดกจิ กรรมหรือการจดั ประสบการณ์การเรียนรใู้ นการ

แลกเปล่ยี นความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และเคารพในความคดิ เหน็ ของคนอ่ืน
2) เด็กปฐมวยั ควรสง่ เสรมิ ให้ทกั ษะพ้นื ฐานการใช้ภาษาไทย ไมค่ วรส่งเสรมิ ใหใ้ ชภ้ าษาถ่ิน

2. ดำ้ นกำรจดั กำรศกึ ษำ
1) ครจู ัดหาครปู ฐมวัยให้ครบหอ้ ง โดยการระดมทรัพยากรบุคคลในท้องถิน่ ช่วยสนับสนุน หรอื

จงู ใจให้ผูป้ กครอง ศิษย์เก่าร่วมเปน็ พี่เลยี้ งช่วยครดู แู ลเด็กทากิจกรรมประจาวัน เป็นต้น
2) ควรจัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัยและปอ้ งกันการบาดเจ็บในเดก็ ให้ครบทัง้ 6 ดา้ น

3. ด้ำนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
1) ครคู วรให้ความสาคัญกบั ความรสู้ ึกและความคิดเห็นของเดก็ รับฟงั และตอบสนองเดก็ ดว้ ย

พฤติกรรมท่เี หมาะสม

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

2) ครคู วรจัดกจิ กรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรูก้ ารเป็นผู้นาและผตู้ ามทด่ี ีทุกๆคน และใหเ้ ดก็ ไดเ้ ล่า
เรอ่ื งทเ่ี ขาชอบหรือสง่ิ ทเ่ี ขาชอบหรอื เรื่องที่เดก็ ควรรูด้ ว้ ยภาษาไทย ไมค่ วรสง่ เสรมิ ให้ใชภ้ าษาถ่นิ
4.ด้ำนกำรประกันคณุ ภำพภำยใน

สถานศึกษาควรกาหนดทิศทางการพัฒนาโดยส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานตามระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ยงั่ ยนื และต่อเน่ืองต่อไปในอนาคต

นวัตกรรมหรือตัวอยำ่ งกำรปฏบิ ัตทิ ีด่ ี(Good Practice) ของสถำนศึกษำทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คม
-ไม่มี

ผลกำรประเมินคุณภำพภำยนอกของสถำนศึกษำ แสดงในตำรำงสรุปผลดงั น้ี
กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน :ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน
ตวั บ่งชีท้ ่ีมคี ุณภำพระดับดีข้ึนไป ได้แก่

ลำดบั ตัวบ่งช้ที ่ี ช่อื ตวั บง่ ช้ี ระดับคุณภำพ

ท่ี ดมี าก
ดมี าก
1 1 ผู้เรยี นมสี ุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี ดีมาก
ดีมาก
2 2 ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีมาก
ดีมาก
3 3 ผเู้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดมี าก

4 4 ผเู้ รียนคิดเป็น ทาเป็น ดีมาก

5 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา ดมี าก
ดมี าก
6 8 พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและต้นสังกัด
ดี
7 9 ผลการพัฒนาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และ

วัตถุประสงค์ของการจดั ตงั้ สถานศกึ ษา

8 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ทส่ี ง่ ผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณ์ของ

สถานศกึ ษา

9 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา

10 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน

และพฒั นาสู่ความเปน็ เลศิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรปู การศกึ ษา

11 6 ประสทิ ธิภาพของการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ตวั บ่งชที้ ี่มีคณุ ภำพต่ำกว่ำระดับดี ได้แก่

ลำดบั ที่ ตัวบง่ ชีท้ ี่ ชอื่ ตัวบง่ ชี้ ระดบั คณุ ภำพ
ตอ้ งปรบั ปรงุ
1 5 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี น

จดุ เด่น
1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี เป็นลูกท่ีดีของพ่อแม่ เป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน

มีความรู้อย่างต่อเนื่อง มีความสามารถด้านการคิด สถานศึกษามีผลผลิตเป็นไปตามวิสัยทัศน์หรืออัตลักษณ์
ของผู้เรียน คือ สุขภาพกายดี มีคุณธรรม เน้นความซ่ือสัตย์ สถานศึกษากาหนดจุดเน้นและจุดด้อยเพื่อ
พัฒนาและสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาคือ “ส่งเสริมกีฬาเพ่ือพัฒนาเยาวชน(ฟุตซอล เปตอง)
ดาเนินงานโครงการพิเศษสง่ เสริมบทบาทของสถานศกึ ษาเพื่อแกไ้ ขปัญหา มีผลการเปลยี่ นแปลงทีด่ ขี นึ้

2. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหาร ผู้บริหารมีความสามารถ
มีประสบการณ์ในการบริหาร กาหนดโครงสร้างการบริหารสอดคล้องกับหน่วยงานต้นสังกัด 4 ด้าน คือ การ
บริหารงานวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารงานบุคคลและบริหารงานทั่วไป ดาเนินการตามระบบ
ประกันคุณภาพบรรลุเป้าหมาย ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีองค์ประกอบและ
การได้มาเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด ปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีระบุไว้ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๓ คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบและพึงพอใจต่อผล
การดาเนินงานของสถานศึกษาทุกคน บรรยากาศและสภาพแวดล้อมมีความสะอาด ถูกสุขลักษณะและ
สวยงาม เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ไม่กระทบส่ิงแวดล้อมการพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับ
มาตรฐานสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกันจัดทาแผนงานโครงการยกระดับมาตรฐานบรรลุเป้าหมาย
ตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี สง่ ผลดตี ่อคณุ ภาพของสถานศึกษา

3. ครูทุกคนได้รบั การพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สถานศกึ ษาประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ ประเมิน
การสอน เคร่ืองมือวัดผล และพยายามปรบั ปรงุ ให้ดีขนึ้ ตามบริบทของโรงเรยี นขนาดเล็ก

4. สถานศึกษาได้รับการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัดทุก
มาตรฐานของปีล่าสุด สถานศึกษามีการดาเนินการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับ
การศึกษา ขั้นพื้นฐานครอบคลุมการดาเนินงานตามกฎกระทรวง ทั้ง 8 ข้อ และมีพัฒนาการสูงข้ึนตลอด
3 ปี ยอ้ นหลังและสอดคลอ้ งกบั รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกปี

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

จดุ ทีค่ วรพฒั นำ
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่ากว่าระดับคุณภาพดี

โดยเฉพาะภาษาไทย วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ส่วนคณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะ
อยู่ในระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรุง

2.การแต่งตั้งที่ปรึกษาหรอื คณะอนุกรรมการเพ่ือดาเนนิ การตามระเบียบ
3.ครบู างคนขาดการศกึ ษาค้นคว้าวิจัยเพอ่ื พัฒนาสอื่ และกระบวนการจดั การเรียนร้ทู เ่ี น้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ

ข้อเสนอแนะเพ่อื กำรพฒั นำตำมกฎกระทรวงวำ่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีกำรประกนั คุณภำพ
กำรศึกษำ พ.ศ.2553

1.ด้ำนผลกำรจดั กำรศึกษำ
1) ผู้เรียนควรได้รับการจูงใจให้ต้ังใจทาแบบทดสอบโดยสถานศึกษากาหนดมาตรการจูงใจ เช่น

ประกาศเกยี รตบิ ัตรให้ผูเ้ รียนทมี่ คี ะแนนผ่านเกณฑ์ที่กาหนด เพิ่มความเข้มข้นในกระบวนการทบทวนความรู้
โดยเฉพาะการให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้โดยใช้แบบทดสอบที่มีคุณภาพอย่างสม่าเสมอและทดสอบเป็นระยะ
ครูควรใช้ผลการทดสอบของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาความรู้ของผู้เรียนให้เต็ม
ศักยภาพ ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ตามเน้ือหารสาระและเทคนิคการสอนโดยการอบรม นิเทศ
กากบั ใหค้ รูจดั กระบวนการเรยี นรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพโดยเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ

2) สถานศึกษาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะการกาหนดเป้าหมายในการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยพิจารณานาข้อเสนอแนะของ สมศ.ไปสู่การ
ปฏิบัติ สถานศึกษาต้องเสนอแผนพัฒนาคุณภาพต่อต้นสังกัด และ สมศ. ภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับ
ฉบับสมบูรณจ์ าก สมศ. สถานศึกษาควรดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้และให้มีผลพัฒนาการของผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนสูงขึ้นภายใน 2 ปีการศึกษา นาเสนอผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อต้นสังกัดและ สมศ.ให้
ดาเนนิ การตอ่ ไป

2.ด้ำนกำรบรหิ ำรจัดกำรศกึ ษำ
1) สถานศึกษาควรส่งเสรมิ ให้ทุกฝา่ ยร่วมระดมทรัพยากรทุกดา้ นเพื่อพัฒนาสถานศึกษา และ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานควรมีทป่ี รึกษาหรือนุกรรมการเพื่อการสรา้ งเครือขา่ ยร่วมพฒั นา
สถานศึกษา

2) สถานศึกษาควรจดั แหลง่ เรยี นรู้ให้หลากหลายทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษาและแสวงหา
วิทยากรภายนอกช่วยเหลอื เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนใหส้ งู ย่งิ ข้นึ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

3.ดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
ครคู วรพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องเปน็ ระบบ และปรบั ปรุงกระบวนการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยการใช้

ผลทดสอบหรอื ผลประเมนิ มากาหนดประเดน็ ปญั หาเพอื่ ทาวจิ ยั ในชนั้ เรยี นหรอื เพอื่ พัฒนาสื่อและกระบวนการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ขู องครูแต่ละคนโดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรยี นรูท้ มี่ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน(O-NET) ตา่
4.ด้ำนกำรประกันคณุ ภำพภำยใน

สถานศกึ ษาควรกาหนดทิศทางการพฒั นาโดยสง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานตามระบบ
ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาให้ย่ังยืนและตอ่ เน่ืองต่อไปในอนาคต

นวตั กรรมหรือตัวอยำ่ งกำรปฏิบตั ิท่ดี ี (Good Practice) คอื ของสถำนศึกษำที่เป็นประโยชน์ต่อ
สงั คม

-การฝึกแม่ไมม้ วยไทย-

สรุปสภำพปญั หำ จุดเดน่ จุดทค่ี วรพัฒนำในกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ

สภำพปัญหำ
ที่ต้ังชุมชนล้อมรอบไปด้วยที่ลุ่มและท้องนา หน้าฝนมักมีน้าท่วมขังล้อมรอบ ทาให้ชุมชน

กลายเป็นเกาะ ทางคมนาคมถูกตัดขาดจากภายนอก ประมาณ 3-4 เดือน แทบทุกปี ผู้ปกครองนักเรียน
ส่วนมากมีฐานะค่อนข้างยากจน การให้การสนับสนุนการศึกษาของบุตรหลานทาได้ไม่เต็มที่ และมีการเล่น
การพนันในชุมชน เสยี่ งตอ่ การจะมผี ลกระทบต่อผู้เรยี น

จดุ เด่น
ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีความรู้และทักษะจาเป็นตามหลักสูตร

มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง มีความสามารถใน
การคดิ วเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ มวี จิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตรต่ รองและมวี ิสยั ทัศน์

ครูมีวุฒิ/ความรู้ ความสามารถกับงานท่ีรับผิดชอบและมีครูเพียงพอ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและ
ความสามารถในการบริหารจดั การ สถานศกึ ษามีการส่งเสริมความสมั พนั ธแ์ ละความร่วมมือกับชมุ ชน

จุดทคี่ วรพฒั นำ
ผู้เรียนควรพฒั นาใหม้ สี ุนทรียภาพ และลักษณะนสิ ยั ด้านศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา ผู้เรียนมีทักษะ

ในการทางาน รกั การทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ และมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริตครูควรได้รับการ
พัฒนาให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้บริหารควรเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ มีการจัดองค์กรและโครงสร้างการบริหารอย่างเป็นระบบครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา
และมหี ลกั สูตรท่ีเหมาะสมกับท้องถ่นิ มสี ือ่ การเรียนการสอนทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ส่วนท่ี 2
ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ

 ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาปฐมวัย

ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2562
อยใู่ นระดับ  ยอดเยย่ี ม  ดีเลศิ  ดี  ปำนกลำง  กำลงั พฒั นำ

ผลกำรประเมนิ ตนเองระดับกำรศกึ ษำปฐมวัย
1) มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษาภาพรวมมีคุณภาพอยูใ่ นระดบั ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ มีคุณภาพอยใู่ นระดับยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพอยูใ่ นระดบั ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสาคญั มคี ุณภาพอยใู่ นระดับยอดเย่ียม

มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของเดก็
ระดับคุณภำพ : ยอดเยย่ี ม

1.1 กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบ้านแกง้ ยางมกี ระบวนการพฒั นาเดก็ ทห่ี ลากหลาย สง่ เสริมใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการ ดา้ น

ร่างกายแขง็ แรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่
สะอาดถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจาทุกวันอย่าง
สม่าเสมอ มีการช่ังน้าหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง มีกิจกรรมออกกาลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียน
ทกุ วัน จดั หาอุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่
เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้
ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนได้ในชีวิตประจาวัน
มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก
และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาจาน ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก
นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาสีภายใน
โรงเรียนและในระดับกลุ่มโรงเรียน มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้ สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้าน
สังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ย้ิม ไหว้
ทกั ทาย ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและ มีมารยาท
ในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบ่ง
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพ่ือนในห้องเรียน ทางานร่วมกับเพ่ือนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรม
กลุม่ ในการจดั ประสบการณ์ การเรียนรู้ รจู้ ักเก็บของเล่น ส่ิงของเคร่ืองใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้
นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัด
กิจกรรมวันสาคัญทางชาติ กิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ส่งเสริมพฒั นาการ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซ่ือสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน
มีความอดทน มีความมั่นใจ กล้าพูด กลา้ แสดงออก ย้มิ แย้มแจม่ ใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้
นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทากิจกรรมด้วยความ
สนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเพ่ือน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดาเนินการจัดประสบการณ์การเรียน
การสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และมีการจัดกิจกรรมร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออก
ตามศักยภาพของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน
และแสวงหาความรู้ได้ โดยมีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรัก
การอ่าน สง่ เสริมใหเ้ ดก็ อ่านนทิ านและเลา่ นทิ านท่ตี นเองอา่ นใหค้ รแู ละเพ่อื นฟัง มกี ารสง่ เสริมสนับสนุนให้เด็ก
เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่างๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาด
ภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาท่ีเหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์
จริง

1.2 ผลการดาเนินงาน
- รายงาน สรุป โครงการ/กจิ กรรม
- เดก็ มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ท่ี ดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้

รอ้ ยละ 100
- เกียรตบิ ตั ร/เหรยี ญรางวลั จากการแขง่ ขันกีฬาระดับกล่มุ โรงเรียน
- เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ร้อยละ 100 สังเกตได้

จากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รู้จักหน้าท่ีรับผิดชอบ ตามท่ี
ได้รับมอบหมายทงั้ ในและนอกห้องเรียน ตามเขตพื้นทีร่ ับผิดชอบ รา่ เริง แจ่มใส

- เดก็ มีพฒั นาด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกที่ดขี องสงั คม ไดร้ อ้ ยละ 100 สงั เกตได้
จากการช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน รู้จักเก็บสิ่งของเครื่องใช้ ท้ังของส่วนตัวและส่วนรวม
รจู้ ักยม้ิ ทกั ทาย อยเู่ ปน็ นิจ อยู่รว่ มกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข

- เดก็ มพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ คดิ เปน็
รอ้ ยละ 100

ประเดน็ พิจารณา ผลการประเมนิ

1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยท่ดี ี และดแู ล ระดบั คุณภาพ : ยอดเยยี่ ม

ความปลอดภัยของตนเองได้

1.2 มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

อารมณ์ได้

1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม

1.3 สมาชิกท่ดี ขี องสงั คม ระดับคุณภาพ : ยอดเยย่ี ม

1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคดิ พื้นฐาน ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม

และแสวงหาความรู้ได้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

1.3 จดุ เดน่
เด็กมรี า่ งกายเติบโตตามวยั มนี ้าหนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์ มที กั ษะการเคลอ่ื นไหวตามวยั สามารถดูแล

สุขภาพและหลีกเล่ียงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และส่ิงเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่
พึงประสงค์ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์
แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรม
ประจาวันอย่างดี

1.4 จดุ ควรพัฒนา
- ด้านการมคี วามคดิ รวบยอด การแก้ปัญหาทเ่ี กิดจากการอ่าน
- การทากจิ กรรมเสรมิ สติปญั ญาใหเ้ หมาะสมตามวัย
- การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจาก

ห้องนา้ หอ้ งส้วม และการเลือกรับประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ ใหเ้ ปน็ นสิ ยั
- การยนื ตรงเมือ่ ไดย้ นิ เพลงชาติ
- การใช้คาพูดขอบคณุ ขอโทษ
- การใช้วาจาสภุ าพเหมาะสมกับวยั

1.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดขี ้นึ กว่าเดิม (อยา่ งน้อย 1 ระดบั )
- โครงการสง่ เสรมิ คุณภาพผเู้ รียนระดบั ปฐมวยั
- โครงการนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย
- โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการการเรียนการสอนปฐมวยั
- โครงการจัดซอ้ื วัสดุประจาชั้นเรียน

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ระดบั คุณภำพ : ดีเลศิ

2.1 กระบวนการพฒั นา

การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบา้ นแกง้ ยางได้มกี ารกาหนดเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และ
พนั ธกิจของสถานศกึ ษาไวอ้ ยา่ งชดั เจน มอี งคป์ ระกอบทสี่ าคญั เพ่อื ทีจ่ ะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่
การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดย
เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพ่ือให้ผู้เรียนมี
ความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สาหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้าง
ความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมี
ส่วนรว่ มการจัดการศกึ ษา โดยใหม้ กี ารประสานความรว่ มมือเพ่ือรว่ มกันพฒั นาผูเ้ รียนตามศักยภาพ

โรงเรียนบ้านแก้งยาง ได้จัดส่ิงอานวยความสะดวกที่จาเป็นซ่ึงเอ้ือประโยชน์ และอานวย
ความสะดวก ต่อการพัฒนาเด็ก ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัด
สภาพแวดล้อม ทางกายภาพที่เอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
สนบั สนุนการบริหารจัดการเพ่ือการจัดการเรียนรู้ เช่น จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็กได้ศึกษาหาข้อมูล
ทาง โลกออนไลน์ จัดให้มอี ปุ กรณ์ ของเล่น ของใช้ เคร่ืองนอน เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียง
กับเดก็ โดยจดั ใหเ้ หมาะสม สะอาด ปลอดภยั ให้มีมุมหนงั สือทจี่ าเป็นต่อพัฒนาการของเด็กให้เพียงพอและ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

เหมาะสมกับวัย จัดให้มีเคร่ืองเล่นสนาม เล่นทราย ที่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพ้ืนท่ีสาหรับแปรงฟัน
ล้างมือ ทาความสะอาดร่างกาย ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ท่ีจาเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตร
ปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการ จัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการ
เตรียมความพรอ้ ม เนน้ การเรียนรู้ผา่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว
ชุมชนและท้องถิ่นจัดครูท่ีเหมาะสมกับการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ มีครูพี่เลี้ยงที่ผ่านการอบรมทางด้าน
การดูแลเด็กปฐมวัย ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องrพัฒนาคุณภาพครู ด้าน
การศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการ
วิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมิน
พัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการ
ปฏสิ ัมพันธท์ ีด่ ีกบั เด็กและผู้ปกครองมกี าร จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึงความ
ปลอดภัยของผู้เรียนส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และส่ือการ
เรียนร้ทู ีห่ ลากหลายทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาตหิ รือสอ่ื ในชมุ ชน มงุ่ เน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขใน
การเรียนรู้มีส่ือเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกให้บริการด้านส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและท่ัวถึง มีการ
กา หน ดม าต รฐ าน กา ร ศึกษา ของส ถา นศึกษา ท่ีส อด คล้ อง กับ ม าต รฐ าน กา รศึก ษา ปฐ มวั ยแ ละอัต ลักษณ์
ที่สถานศึกษากาหนด มีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงาน
ผลการประเมินตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมี
ส่วนรว่ ม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสงั กดั อยา่ งต่อเน่ือง

2.2 ผลการดาเนินงาน
- แผนปฏิบตั ิการ หลักสตู ร
- หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
- รายงานผลการเข้ารว่ มอบรมพฒั นาของครูและบคุ ลากร
- โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพใหเ้ ออื้ ต่อการเรียนรู้
- แผนการจัดประสบการณ์ทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั
- รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจาปี

ประเด็นพจิ ารณา ผลการประเมนิ
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ
2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทงั้ 4 ดา้ น สอดคล้องกับ
บรบิ ทของท้องถ่นิ ระดบั คุณภาพ : ดี
2.2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ช้ันเรียน ระดับคุณภาพ : ดี
ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
2.3 สง่ เสรมิ ให้ครูมีความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

2.4 จดั สภาพแวดลอ้ ม ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ

2.5 ให้บริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้ เพ่ือ
สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องทกุ ฝ่ายมี
ส่วนรวม

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

2.3 จุดเด่น
- มหี ลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถิน่
- การจัดส่ิงอานวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุน

การจดั ประสบการณ์
- ครไู ดร้ บั การพฒั นาด้านวิชาชีพ

2.4 จุดควรพัฒนา
- จัดครูให้เพียงพอต่อชนั้ เรียนและตรงสาขาวิชาเอก
- สง่ เสริมใหค้ รูมคี วามเชีย่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
- จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพยี ง

2.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดขี ้ึนกวา่ เดิม (อยา่ งน้อย 1 ระดบั )
- โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพผเู้ รยี นระดับปฐมวยั
- โครงการนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย
- โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการการเรียนการสอนปฐมวัย
- โครงการจดั ซือ้ วัสดุประจาชั้นเรียน

มำตรฐำนท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สาคัญ
ระดบั คณุ ภำพ : ยอดเยย่ี ม

3.1 กระบวนการพฒั นา

จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสาคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย
อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
ซึ่งเป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข
ภายใต้คาว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพ่ือให้เด็กได้
ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา
ซ่ึงสามารถยืดหยุ่นได้ความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มี
การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆด้านให้
เหมาะสมกับวัย ดังน้ี ด้านร่างกาย พัฒนาการเคล่ือนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตาม
จินตนาการเพ่อื ให้ร่างกายทุกส่วนท้ังกล้ามเน้ือมัดใหญ่มัดเล็กให้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ
เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับย้ังชั่งใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก
ช่วยเหลือแบง่ ปนั มคี วามรบั ผดิ ชอบด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้ มีวินัยใน
ตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา
ส่ือสารและมที กั ษะความคดิ พื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวยั จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่
ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการ
เรยี นรู้รายกลมุ่ เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ความมีน้าใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิด
การเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในช้ันเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ช้ันเรียนมี
บรรยากาศเตม็ ไปดว้ ยความอบอุ่น ความเหน็ อกเห็นใจ มคี วามเอือ้ เผอื่ เผือ่ แตต่ อ่ กนั และกัน ซ่ึงเป็นแรงจูงใจ
ภายนอกที่กระตุ้นใหผ้ เู้ รียนรักการอยู่รว่ มกนั ในช้นั เรยี น และปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหแ้ ก่เด็กนกั เรยี น

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการ
ตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีส่ือการเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมิน
พัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจาวัน ด้วยเคร่ืองมือ
และวิธกี ารท่หี ลากหลาย เชน่ การสังเกต การสอบถาม การสารวจ และการวเิ คราะห์ ผลพฒั นาการของเด็ก
โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นาผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ในชนั้ เรยี นเพื่อพัฒนาครอู ย่างเพยี งพอและทว่ั ถึง มกี ารกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ ที่สถานศึกษากาหนด มีการจัดทา
แผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบ
คุณภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานและจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี มีการ
นาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมิน
ตนเองให้หนว่ ยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง

3.2 ผลการดาเนนิ งาน
- มมุ ประสบการณ์
- แบบบันทกึ การพฒั นาการของเดก็
- รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
- บรรยากาศ หอ้ งเรยี นแจ่มใส มีมุมส่งเสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้
- การจดั กิจวัตรประจาวัน

ประเดน็ พจิ ารณา ผลการประเมิน

3.1 จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกดา้ นอย่าง ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม

สมดุลเตม็ ศกั ยภาพ

3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติ ระดับคุณภาพ : ยอดเยย่ี ม

อย่างมีความสุข

3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยีที่ ระดบั คุณภาพ : ยอดเยย่ี ม

เหมาะสมกบั วัย

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม

พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

3.3 จดุ เด่น
- เด็กมพี ัฒนาการการอยา่ งสมดลุ
- เดก็ เรยี นรู้ จากการเล่นและปฏิบตั กิ ิจกรรม
- มีบรรยากาศ สภาพห้องเรยี นเออ้ื ต่อการเรยี นรู้
- ประเมนิ ผลเด็กด้วยวิธีการหลากหลาย

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

3.4 จดุ ควรพฒั นา
- จดั อุปกรณส์ ่ือการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย
- พัฒนาเคร่อื งเลน่ สนามและระบบสาธารณปู โภค
- จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ เด็กเรียนรกู้ ารอยรู่ ่วมกัน

3.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดขี ้ึนกวา่ เดิม (อย่างน้อย 1 ระดบั )
- โครงการสง่ เสรมิ คุณภาพผเู้ รียนระดับปฐมวัย
- โครงการนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย
- โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการการเรียนการสอนปฐมวัย
- โครงการจดั ซื้อวัสดปุ ระจาชั้นเรยี น

 ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2562
อยใู่ นระดบั  ยอดเยย่ี ม  ดีเลิศ  ดี  ปำนกลำง  กำลังพัฒนำ

ผลกำรประเมินตนเองระดับกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน
1) มาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานของสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ลศิ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น มีคุณภาพอยูใ่ นระดับดีเลิศ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มีคุณภาพอยใู่ นระดบั ยอดเย่ียม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเปน็ สาคญั มคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดีเลิศ

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น
ระดบั คุณภำพ : ดีเลศิ

1.1 กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการเรียนการสอนให้

เป็นไปตามศกั ยภาพของผู้เรยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร มีการออกแบบ การจัดการ
เรยี นร้ทู เี่ หมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ท้ังรูปแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้
กระบวนการคดิ กระบวนการแกป้ ัญหาเป็นหลกั และเน้นเรื่องการอ่านออกเขียนได้ ของผู้เรียนเป็นเรื่องสาคัญ
โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พัฒนาครูทุกคนให้มี
ความสามารถในการนาเทคนิคและวิธีการสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้ส่ือเทคโนโลยีในการจัดการเรียน
การสอน มแี หล่งเรยี นร้แู ละแหลง่ สืบคน้ ข้อมูล ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ ครูกาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลและ
ประเมินผลแบบบรู ณาการ ครูเน้นการใช้คาถามเพอ่ื พฒั นาทักษะการคิดของผู้เรยี น

สถานศึกษาไดม้ กี ารดาเนินการเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรยี น เพ่อื ใหอ้ ยใู่ นสังคมได้อยา่ งมี
ความสุข เน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมท่ีเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ผู้เรียนมีวินัย ซ่ือสัตย์ ความ
รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลจิตใจ นาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกันวาง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

แผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้างการเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ
สถานศกึ ษา

1.2 ผลการดาเนนิ งาน
ในดา้ นการประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการ ผู้เรยี นสามารถอ่านออกและอ่านคล่องตามมาตรฐาน

การอา่ นในแตล่ ะระดบั ช้ัน สามารถเขยี นสื่อสารไดด้ ี รจู้ กั การวางแผน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลัก
ประชาธิปไตยกล้าแสดงออก สืบค้นข้อมูลหรือหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์
จาแนกแยกแยะได้ว่าส่ิงไหนดี สาคัญ ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของส่ิงเสพติดต่างๆ เลือก
รับประทานอาหารที่สะอาดมีประโยชน์ ออกกาลังกาย ยอมรับในกติกากลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มี
ทัศนคติทดี่ ตี ่ออาชพี สจุ รติ รวมถึงมีความเขา้ ใจเรอื่ งความแตกต่างระหว่างบุคคล

ประเด็นพิจารณา ผลการประเมนิ
1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผูเ้ รยี น
ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมรวจิ ารณญาณ อภปิ ราย ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปัญหา ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ
4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ
5) มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม
1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน ระดบั คุณภาพ : ยอดเยยี่ ม
ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ยี ม
ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม ระดบั คุณภาพ : ยอดเยยี่ ม
1) มีคุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดีตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
2) มคี วามภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
3) ยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
4) มีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

1.3 จุดเดน่
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน โดยใช้

ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการ
ปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัด
แหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้า
แสดงออก และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งมคี วามสขุ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

1.4 จุดควรพฒั นา
การจัดกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ยังขาดการปฏิบัติท่ีต่อเน่ือง จริงจัง การยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระประสบผลสาเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป
ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงพัฒนาข้ึนโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ในบางกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ จึงตอ้ งมุง่ เนน้ พฒั นาตอ่ ไป

จัดกจิ กรรมด้านการอา่ น การเขียน คานวณให้กบั นกั เรียนเรียนรว่ ม เปรยี บเทยี บความกา้ วหนา้
และการพฒั นาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล

1.5 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีขนึ้ กว่าเดิม (อยา่ งน้อย 1 ระดบั )
1) พฒั นาใหน้ ักเรยี นมที ักษะในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คานวณ

เปน็ ไปตามเกณฑท์ ่โี รงเรยี นกาหนดในแต่ระดบั ช้ัน
2) พฒั นาใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง

พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ
แกป้ ัญหาอยา่ งมีเหตผุ ล

3) พัฒนาใหน้ ักเรยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ง้ั ดว้ ยตนเองและ
การทางานเป็นทมี เชอ่ื มโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ิง่ ใหม่ ๆ

4) พฒั นาใหน้ กั เรียน มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือ
พัฒนาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน อย่างสร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม

5) พัฒนาให้นกั เรียน มคี วามก้าวหนา้ ในการเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐาน
เดมิ ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมทง้ั

6) พฒั นาใหน้ ักเรียนมีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ มคี วามรู้ ทักษะ
พ้ืนฐานในการจัดการเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า

7) พฒั นาให้นกั เรียนมคี ่านิยมและจิตสานึกตามทีส่ ถานศกึ ษามีความภมู ิใจในท้องถนิ่
เหน็ คุณคา่ ของความเปน็ ไทย มีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทยรวมท้งั ภูมิปัญญาไทย

8) พัฒนาให้นกั เรยี น มีการรกั ษาสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์ และสงั คม แสดงออก
อยา่ งเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร
ระดบั คณุ ภำพ : ยอเย่ียม

2.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์ปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศ

จากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาและจัดประชุมระดม
ความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกาหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ
กลยทุ ธ์ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผนงานเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานและสรุปผลการ
ดาเนนิ งาน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

2.2 ผลการดาเนินงาน

2.2.1 สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความ
ต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการชุมชน ท้องถิ่นและสอดคล้อง
กบั แนวทางการปฏิรปู แผนการศกึ ษาชาติ

2.2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครุและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชียวชาญตามมาตรฐาน
ตาแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนินการอย่างเป็น
ระบบ และมกี ารจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่กระตนุ้ ผ้เู รียนใหใ้ ฝเ่ รียนรู้

2.2.3 สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีให้
สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมี
สว่ นร่วมในการพัฒนาและรว่ มรบั ผิดชอบ

2.2.4 ผูเ้ กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ย และเครือข่ายการพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา มีสว่ นร่วมในการรว่ ม
วางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา

2.2.5 สถานศกึ ษามกี ารนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการบรหิ ารและการ
จดั การศึกษาที่เหมาะสมเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง เปิดโอกาสให้ผู้เกย่ี วขอ้ งมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา

2.2.6 สถานศึกษามีรปู แบบการบรหิ ารและการจดั การโดยทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มยดึ หลักธรรมาภิบาล
และแนวคดิ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศึกษา

2.2.7 สถานศึกษามีการระดมทรพั ยากรเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ส่งผลให้สถานศึกษา
มีส่อื และแหลง่ เรียนรู้ทม่ี คี ณุ ภาพ

ประเดน็ พิจารณา ผลการประเมนิ

2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ยี ม

2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ : ยอดเยย่ี ม

2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้าน ตามหลักสตู ร ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ

สถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้อื ตอ่ การจดั การเรียนรู้ ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม

อย่างมีคณุ ภาพ

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจัดการและการ ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

จัดการเรียนรู้

2.3 จุดเด่น

โรงเรียนมกี ารบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ ทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดวิสยั ทัศน์
พนั ธกจิ เปา้ หมายทชี่ ัดเจน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปีท่ีสอดคล้องกับผล
การจัดการศกึ ษา สภาพปญั หา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษาทมี่ ุ่งเน้น การพัฒนาให้
ผู้เรียนมีคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถ จัดการเรียนรู้ได้อย่างมี
คุณภาพ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และการจัดทารายงานผลการจัดการศึกษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

และโรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพ่ือใช้เป็นฐาน ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศกึ ษา

2.4 จดุ ควรพัฒนา
2.4.1 เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองไดม้ สี ่วนรว่ มในการเสนอความคิดเหน็ ในการพฒั นาการศึกษา

เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี น
2.4.2 สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื ของผูม้ ีส่วนเกย่ี วข้องในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนให้มี

ความเขม้ แข็ง มีสว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อผลการพัฒนาการศกึ ษา และขับเคล่อื นคุณภาพการจดั การศึกษา
2.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึน้ กวา่ เดมิ (อย่างนอ้ ย 1 ระดบั )
2.5.1 มีโครงการการบริหารจัดการเกยี่ วกบั งานวชิ าการ การพฒั นาหลักสตู ร
2.5.2 กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรท่เี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน
2.5.3 โครงการจัดการเรยี นการสอนนักเรยี นเรียนรวม
2.5.4 โครงการพัฒนาครูพฒั นาครูสูค่ รมู ืออาชีพ
2.5.5 โครงการจดั สภาพแวดลอ้ มให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั
ระดับคณุ ภำพ : ดเี ลศิ

3.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านแก้งยางส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยการ

ดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2560) เปิดรายวิชาเพ่ิมเติมต้านทุจริต
ศึกษา ส่งเสริมการสอนวิทยาการคานวณ เน้นให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active Learning)
ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ท่ีลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด
ของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและ
ประเมินผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาผลท่ีได้มา
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ครูมแี ผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่ง
เรยี นรู้ มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วม
แลกเปล่ียนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ อกี ทัง้ ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนน
แต่ละหน่วย กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน
การสอนท่ีสรา้ งโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนมสี ่วนร่วม ได้ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ จนสรปุ ความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียน
การสอนที่เนน้ ทักษะการคดิ เชน่ จดั การเรียนรูด้ ้วยโครงงาน ครมู ีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ
และบรรยากาศตามสถานท่ีตา่ ง ๆทงั้ ภายในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรม
และเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ครู ทุก
คนทางานวิจัยในช้นั เรยี น ปีการศกึ ษาละ 1 เร่ือง

3.2 ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงาน / โครงการ / กิจกรรมอย่างหลากหลายเพ่ือพัฒนาให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ี

เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สง่ ผลใหผ้ ลการประเมนิ คุณภาพอยใู่ นระดับ ดเี ลศิ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ประเด็นพจิ ารณา ผลการประเมิน
3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไป ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิต
ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม
3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ
3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก
ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนา
ผเู้ รยี น

3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลป้อนกลับ เพื่อปรับปรงุ และ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้

3.3 จดุ เดน่
ครูมคี วามต้งั ใจ มุ่งมั่นในการพฒั นาการสอน โดยจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนได้เรยี นรูโ้ ดยการคดิ

ไดป้ ฏบิ ัติจริง มแี หลง่ เรยี นรู้ท่ีหลากหลายให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเอง นักเรียนมี
สว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการเรียนรู้และผลงานวจิ ัยในชน้ั เรยี น

3.4 จุดควรพฒั นา
ควรนาภูมิปัญญาท้องถ่นิ เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมใหน้ กั เรยี นได้เรียนรู้และการใหข้ ้อมลู

ยอ้ นกลับแก่นกั เรียนทนั ทีเพอ่ื นกั เรียนนาไปใช้พฒั นาตนเอง
3.5 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด้ ีขึ้นกวา่ เดมิ (อยา่ งนอ้ ย 1 ระดบั )
3.5.1 โครงการปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา
3.5.2 โครงการจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน
3.5.3 โครงการพฒั นาการใช้ส่ือ เทคโนโลยี สูห่ อ้ งเรยี น
3.5.4 โครงการสง่ เสรมิ ให้ครจู ัดทาแผนการจัดการเรยี นร้แู ละนาไปใช้จริง
3.5.5 กิจกรรมสาหรับนักเรยี นท่ีต้องการความชว่ ยเหลือเปน็ พเิ ศษ/นักเรียนเรียนรวมให้นักเรียน

มคี วามร้สู งู ขึ้นตามระดบั ชนั้

 สรปุ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัยและระดับขั้นพน้ื ฐาน

 ระดับปฐมวัย
1. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม
2. กระบวนการพัฒนา/ผลทเี่ กดิ จากการพฒั นา

2.1 กระบวนการพฒั นา/ผลทเี่ กดิ จากการพฒั นา
- ด้านคณุ ภาพของเดก็ ไดม้ กี ารพฒั นาการเด็กท้ัง 4 ด้านทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ์

จิตใจ ดา้ นสังคม และสตปิ ญั ญา
- ดา้ นกระบวนการบริหารและจัดการ จดั ใหค้ รมู เี พียงพอกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อมและ

สอ่ื การเรยี นร้แู ละจดั ใหม้ สี อ่ื เทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นรูส้ นบั สนุนการจดั ประสบการณ์

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

- การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ทุกด้านอย่างสมดุล สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นอย่างมีความสุข มีการจัดบรรยากาศที่เอ้ือ
ต่อการเรียนรู้

2.2 ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
- โครงการตา่ ง ๆ
- กิจกรรมการจัดประสบการณ์
- รูปภาพ
- ผลงานเด็ก

3. จุดเด่น จุดทค่ี วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดับให้สงู ข้นึ
3.1 จุดเด่น
- เดก็ มีพฒั นาการสมดุล
- มโี ครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดน่ ชดั
- มหี ลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ทีน่ าสูก่ ารปฏิบัตไิ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
3.2 จุดท่ีควรพฒั นา
- การช่วยเหลือตนเองทงั้ ท่ีบ้านและโรงเรยี น
- ประสานความรว่ มมือกบั ผู้ปกครองใหม้ สี ่วนร่วมในการจดั ประสบการณ์เดก็
3.3 แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับใหส้ งู ขึ้น
1) โครงการการประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู ร
2) โครงการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นอยา่ งเข้มแขง็ และท่ัวถงึ
3) โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย

 ระดบั ขน้ั พ้นื ฐาน
1. ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ
2. กระบวนการพัฒนา/ผลท่เี กดิ จากการพฒั นา
จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสาเรจ็ ตามทตี่ ัง้ เปา้ หมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดีเลิศ ท้ังนี้ เพราะมาตรฐานที่
1 คณุ ภาพของผเู้ รียน อยูใ่ นระดบั ดี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี
3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอยู่ในระดับดีเลิศ ท้ังน้ี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน
สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพชุมชนของท้องถ่ิน จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ใน
ระดับดีเยี่ยม ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและการเขียน การส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ความสามารถในการคิดคานวณ มีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามท่ี
สถานศึกษากาหนด ดังท่ีปรากฏผลประเมินในมาตรฐานที่ 1 ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหาร
สถานศึกษามผี ลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับดี สถานศึกษามีการวางแผนและการดาเนินงานท่ีผ่านมา
เป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรับปรุง
แก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินอยู่ใน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ระดับดีเยี่ยม วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบท
สถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนา
และแก้ปัญหารายบุคคล สถานศึกษาดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นขั้นตอนจนเกิด
คุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลการประเมินอยู่ในระดับดี โดยสถานศึกษาให้ความสาคัญกับ
ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเพื่อเกิดความร่วมมือในการวางระบบและการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาเปน็ อย่างดี และผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีความม่ันใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษา
ในระดับสงู

สรปุ ผลกำรประเมินมำตรฐำนกำรศึกษำ

ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดบั กำรศกึ ษำปฐมวัย

มาตรฐาน / ประเด็นพจิ ารณา ยอด ระดบั คุณภาพ กาลัง
เยีย่ ม พฒั นา
มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเดก็  ดเี ลศิ ดี ปาน
 กลาง
1.1 มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และ 
ดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้  
1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออก  
ทางอารมณ์ได้
1.3 มพี ฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็น  
สมาชิกทดี่ ขี องสังคม 
1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคิด 
พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและ 

กำรจดั กำร
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้อง
กับบรบิ ทของท้องถน่ิ
2.2 จัดครูให้เพียงพอกบั ช้ันเรียน

2.3 ส่งเสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ียวชาญด้านการจดั ประสบการณ์

2.4 จัดสภาพแวดล้อม

2.5 ให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรียนรู้
เพื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องทกุ
ฝ่ายมีส่วนรวม

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

มาตรฐาน / ประเดน็ พจิ ารณา ยอด ระดับคุณภาพ กาลัง
เยีย่ ม พฒั นา
มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณ์ทีเ่ น้นเดก็  ดีเลศิ ดี ปาน
เปน็ สำคญั  กลาง

3.1 จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมให้เดก็ มีพัฒนาการทุกด้าน 
อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 
3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่น และ
ปฏิบตั ิอยา่ งมีความสขุ 
3.3 จดั บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสมกบั วยั
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการ
ประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และ
พฒั นาเด็ก

ผลกำรประเมินระดบั กำรศึกษำปฐมวัย

ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน

มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา ยอด ระดบั คุณภาพ กาลงั
เยี่ยม พัฒนา
มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของผู้เรยี น ดีเลศิ ดี ปาน
กลาง
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน

1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และ
การคดิ คานวณ 

2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี 
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และ
แก้ปัญหา 

3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 

4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการ
สอ่ื สาร 

5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา ยอด ระดับคุณภาพ กาลัง
เยี่ยม พัฒนา
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชีพ  ดีเลิศ ดี ปาน
 กลาง
1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรียน 
 
1) มคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษากาหนด 
 
2) มีความภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย  

3) ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและ 
หลากหลาย  

4) มีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 
 
มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและ 
กำรจัดกำร

2.1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนด
ชดั เจน
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น
ตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือตอ่ การ
จดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ าร
จัดการและการจดั การเรยี นรู้
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเี่ น้น
ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
3.1 จัดการเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และ
สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวิต
3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อื้อต่อ
การเรยี นรู้
3.3 มีการบริหารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนา
ผลมาพฒั นาผ้เู รียน
3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั เพื่อ
ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ส่วนท่ี 3
สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำ และควำมต้องกำรช่วยเหลือ

ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศึกษำ
ผลการประเมนิ ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดบั คุณภาพ ยอดเยยี่ ม
ผลการประเมินระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ

จดุ เด่น
 ระดบั ปฐมวัย
1.ด้านคุณภาพผู้เรียน
เด็กส่วนใหญ่มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย โดยเฉพาะสขุ นิสยั สมวัย มพี ัฒนาการทดี่ ีด้านอารมณ์

และจติ ใจ สังคมและสตปิ ญั ญา
2.ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บรหิ าร
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถในการบริหาร

ทกุ ๆดา้ นสถานศกึ ษาไดด้ าเนินการพฒั นาสถานศึกษาเพอื่ ยกระดับ มาตรฐาน ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการ
ทกุ ด้านอยา่ งเหมาะสมกบั วยั

3.ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ
ครูส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคมและสติปัญญา

ความสัมพันธ์เชิงบวกกับเด็กและครอบครัว และส่งเสริมการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการ
ของเ ด็ กป ร ะสิ ทธิ ผ ล ของการ จั ด ป ร ะส บ การ ณ์การ เ รี ย น รู้ ที่ เ น้ น เ ด็ กเ ป็ น ส าคัญมีร ะดั บ คุณภ าพ ย อด เ ย่ี ย ม
จัดกิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย เพ่ือส่งพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคมและสติปญั ญา

4.ดา้ นการประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิภาพ
สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด จากสานักงานเขตพื้นท่ี

ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 มีการดาเนินระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาในระดับ
การศกึ ษาปฐมวยั ครอบคลุมการดาเนนิ งานตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ ครบทั้ง 8 ข้อ มีการพัฒนาการและ
สอดคลอ้ งกบั รายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาประจาปี
 ระดับข้นั พื้นฐาน

1.ดา้ นคณุ ภาพผ้เู รียน
ผ้เู รียนมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี เป็นลูกท่ีดีของพ่อแม่ เป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน

มีความรู้อย่างต่อเนื่อง มีความสามารถด้านวิชาการมากข้ึน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงกว่า
ระดบั ชาติ โดยเฉพาะผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) เพ่ิมข้ึนร้อยละ 5.18 ผลการ
วัดความสามารถพ้นื ฐานขอผู้เรยี นระดบั ชาติ(NT) เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 11.95 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับ
3 ขึ้นไป ใน 5 กลุ่มสาระหลัก คิดเป็นร้อยละ 84.11 และมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
( O – NET ) ปกี ารศึกษา 2562 เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 1.90 เม่ือเทยี บกับปกี ารศกึ ษา 2561

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

2.ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บรหิ าร
ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การตามบทบาทหนา้ ท่ขี องผ้บู ริหาร ผบู้ ริหารมคี วามสามารถ

มีประสบการณ์ในการบริหาร กาหนดโครงสร้างการบริหารสอดคล้องกับหน่วยงานต้นสังกัด 4 ด้าน คือ การ
บริหารงานวิชาการ บริหารงบประมาณ บริหารงานบุคคลและบริหารงานท่ัวไป ดาเนินการตามระบบ
ประกันคุณภาพบรรลุเป้าหมาย ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีองค์ประกอบและ
การได้มาเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ระบุไว้ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2543 คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบและพึงพอใจต่อผลการ
ดาเนินงานของสถานศึกษาทุกคน บรรยากาศและสภาพแวดล้อมมีความสะอาด ถูกสุขลักษณะและสวยงาม
เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ไม่กระทบส่ิงแวดล้อมการพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกันจัดทาแผนงานโครงการยกระดับมาตรฐานบรรลุเป้าหมายตาม
แผนปฏบิ ัติการประจาปี สง่ ผลดตี อ่ คณุ ภาพของสถานศกึ ษา

3.ด้านกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
ครทู กุ คนไดร้ ับการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง สถานศึกษาประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมนิ

การสอน เคร่ืองมือวดั ผล และพยายามปรับปรุงให้ดีขน้ึ ตามบริบทของโรงเรียนขนาดเล็ก
4.ด้านการประกนั คุณภาพภายในที่มีประสิทธภิ าพ
สถานศึกษาได้รับการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยหน่วยงานต้นสังกัดทุก

มาตรฐานของปีล่าสุด สถานศึกษามีการดาเนินการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานครอบคลมุ การดาเนินงานตามกฎกระทรวง ท้ัง 8 ข้อ และมีพัฒนาการสูงขึ้นตลอด 3 ปี
ยอ้ นหลังและสอดคลอ้ งกับรายงานการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทุกปี

จุดควรพฒั นำ
 ระดับปฐมวัย

1. เด็กควรได้รับการส่งเสริมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของคนอื่น และ
ทักษะพื้นฐานการใชภ้ าษาไทย ไมค่ วรสง่ เสรมิ ใหพ้ ดู ภาษาถน่ิ

2. สถานศกึ ษามีครูไม่ครบช้นั จดั กิจกรรมเพ่ือแกป้ ัญหาและสง่ เสรมิ การเรียนรู้ให้หลากหลายมากขึน้
โดยการบรู ณาการทุกกลุม่ สาระ ทุกช่วงชน้ั

3. ครูควรใหค้ วามสาคัญกบั ความรูแ้ ละความคดิ เหน็ ของเด็ก รบั ฟงั และตอบสนองเด็กด้วยพฤตกิ รรม
ไมเ่ หมาะสม จัดโอกาสใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรกู้ ารเปน็ ผู้นาและผตู้ ามทีด่ ที ุกคน จัดกิจกรรมใหเ้ ด็กเล่าถงึ ส่ิงท่ีกาหนด
เรือ่ งที่เด็กควรรดู้ ว้ ยภาษาไทย ไม่ควรสง่ เสรมิ การใช้ภาษาทอ้ งถ่ิน
 ระดับข้ันพ้ืนฐาน

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรยี น บาง กลมุ่ สาระการเรียนรูต้ ่ากวา่ ระดบั คุณภาพดี โดยเฉพาะ
ภาษาตา่ งประเทศ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ เน่ืองจากขาด บคุ ลาการ ครูไมค่ รบช้ัน
และไม่ตรงเอก

2.อาคารสถานทบ่ี างจดุ ผุพงั ขาดงบประมาณซ่อมแซม
3. ครูบางคนขาดการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพอื่ พัฒนาสอ่ื และกระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีเน้นผู้เรียนเปน็
สาคัญ

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

แผนพัฒนำเพือ่ ใหโ้ รงเรยี นพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำใหด้ ขี ึน้
 ระดบั ปฐมวยั

1. ด้ำนผลกำรจดั กำรศึกษำ
1.1) เดก็ ปฐมวัยควรไดร้ บั การสง่ เสริมในการจัดกิจกรรมหรอื การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้

ในการแลกเปลย่ี นความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และเคารพในความคดิ เห็นของคนอนื่
1.2) เดก็ ปฐมวัยควรสง่ เสริมใหท้ ักษะพ้นื ฐานการใชภ้ าษาไทย ไม่ควรส่งเสริมให้ใช้ภาษาถิน่

2. ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ
2.1) ครจู ัดหาครูปฐมวัยใหค้ รบห้อง โดยการระดมทรัพยากรบุคคลในท้องถ่ินชว่ ยสนับสนุน

หรอื จงู ใจให้ผ้ปู กครอง ศิษยเ์ กา่ ร่วมเป็นพีเ่ ลีย้ งช่วยครูดูแลเด็กทากจิ กรรมประจาวนั เปน็ ต้น
2.2) ควรจัดใหม้ มี าตรการด้านความปลอดภัยและปอ้ งกันการบาดเจ็บในเด็กให้ครบท้ัง 6

ดา้ น
3. ดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
3.1) ครคู วรให้ความสาคัญกบั ความรสู้ ึกและความคดิ เหน็ ของเด็ก รับฟงั และตอบสนองเด็ก

ด้วยพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม
3.2) ครคู วรจดั กิจกรรมส่งเสริมให้เดก็ ไดเ้ รียนรูก้ ารเป็นผ้นู าและผตู้ ามท่ีดที กุ ๆคน และให้เดก็

ได้เล่าเรอ่ื งทเ่ี ขาชอบหรือส่ิงท่ีเขาชอบหรอื เร่ืองท่ีเด็กควรรูด้ ว้ ยภาษาไทย ไม่ควรสง่ เสรมิ ใหใ้ ชภ้ าษาถิ่น
4. ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศึกษาควรกาหนดทิศทางการพัฒนาโดยสง่ เสริมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานตามระบบ

ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ยง่ั ยนื และตอ่ เนื่องต่อไปในอนาคต
 ระดบั ขั้นพื้นฐาน

1. ดำ้ นผลกำรจัดกำรศกึ ษำ
1.1) ผู้เรยี นควรได้รบั การจูงใจให้ตง้ั ใจทาแบบทดสอบโดยสถานศึกษากาหนดมาตรการจูงใจ
เช่น ประกาศเกียรตบิ ัตรใหผ้ เู้ รยี นทมี่ ีคะแนนผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด เพ่ิมความเขม้ ขน้ ในกระบวนการทบทวน
ความรู้โดยเฉพาะการให้ผเู้ รยี นได้ทดสอบความร้โู ดยใช้แบบทดสอบท่ีมคี ุณภาพอยา่ งสม่าเสมอและทดสอบเปน็
ระยะ ครูควรใช้ผลการทดสอบของแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรูเ้ ป็นเครอ่ื งมือในการพฒั นาความรู้ของผเู้ รียนให้
เต็มศักยภาพ ครคู วรได้รับการพัฒนาให้มีความรตู้ ามเน้ือหารสาระและเทคนคิ การสอนโดยการอบรม นเิ ทศ
กากับ ให้ครจู ัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั
1.2) สถานศกึ ษาควรดาเนินการตามแผนทกี่ าหนดไวแ้ ละใหม้ ผี ลพฒั นาการของผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนสงู ข้ึนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู ายใน 2 ปกี ารศึกษา
2. ดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษา
2.1) สถานศึกษาควรสง่ เสริมให้ทกุ ฝ่ายร่วมระดมทรัพยากรทกุ ด้านเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐานควรมีทปี่ รกึ ษาหรือนกุ รรมการเพ่ือการสร้างเครือขา่ ยรว่ มพัฒนา
สถานศกึ ษา
2.2) สถานศึกษาควรจดั แหล่งเรยี นรู้ให้หลากหลายท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาและ
แสวงหาวทิ ยากรภายนอกช่วยเหลอื เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใหส้ ูงย่งิ ขนึ้

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

3. ด้านการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
ครูควรพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งเป็นระบบ และปรับปรงุ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยการใช้

ผลทดสอบหรอื ผลประเมนิ มากาหนดประเดน็ ปญั หาเพื่อทาวจิ ยั ในช้ันเรยี นหรอื เพือ่ พฒั นาสอื่ และกระบวนการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครูแตล่ ะคนโดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่ีมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (O-NET) ตา่
กวา่ ระดับประเทศ
4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน

สถานศึกษาควรกาหนดทศิ ทางการพฒั นาโดยสง่ เสรมิ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานตามระบบ
ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาใหย้ ่ังยนื และต่อเน่ืองต่อไปในอนาคต

ควำมต้องกำรช่วยเหลือ / สนับสนุน
 ระดับปฐมวยั

การจดั การศึกษาระดับปฐมวัยยังขาดโตะ๊ และเก้าอี้ ขาดชั้นวางสอ่ื และกระดานดาหรือ
กระดานไวทบ์ อร์ด อาคารปฐมวัยคบั แคบ
 ระดบั ขัน้ พ้นื ฐาน

ขาดแคลนครผู ูส้ อนทาใหเ้ กิดขอ้ จากัดในการเรียนการสอน

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ภำคผนวก

ประกาศการใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา

ประกาศการกาหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

คาส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของโรงเรียน
คาสงั่ แต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ การตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ปีการศึกษา 2562
คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

เพอ่ื จดั ทารายงานประจาปีของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 2562
ภาพกจิ กรรม/โครงการดาเนินงานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ประกำศโรงเรียนบ้ำนแกง้ ยำง
เรอื่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

เพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา

โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.
2553 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศ
คณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เร่ือง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เกยี่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันท่ี 11 ตุลาคม
2559 โรงเรยี นบ้านแก้งยาง จึงขอยกเลิกประกาศโรงเรียน เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี 17 กุมภาพันธ์ 2562 และปรับมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและการมี
ส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชน ให้เหมาะสมและ
สอดคล้องกัน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายใน
และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกโรงเรียนบ้านแก้งยาง จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

ประกาศ ณ วันที่ 17 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562

(นางสาวอริสรา ชดั เจน)
ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านแกง้ ยาง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

ประกำศโรงเรยี นบ้ำนแกง้ ยำง
เร่ือง กาหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.
2553นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองท่ีกาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศ
คณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 17 กุมภาพันธ์
2562 โรงเรียนบ้านแก้งยาง จึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้อง ท้ังบุคลากรทุกคน
ในโรงเรียน ผู้ปกครองและประชาชนในชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกเพ่ือให้
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้งยาง มีคุณภาพและมาตรฐานโรงเรียนบ้าน
แก้งยาง จึงได้กาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน และการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ประกาศ ณ วนั ท่ี 17 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562

(นางสาวอรสิ รา ชดั เจน)
ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นแกง้ ยาง

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า S A R 2 5 6 2
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น แ ก้ ง ย า ง |

คำส่งั โรงเรียนบำ้ นแกง้ ยำง
ท่ี 9 / 2562

เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นแก้งยาง
ปีการศึกษา 2562 ระดบั ปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
…………………………………………..

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศึกษามาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุก
ระดับประกอบด้วยระบบประกันภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการ
ประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษา จัดให้มรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ ือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วน
หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง และตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 หมวด 2 การประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาท่ีกาหนดให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เป็นกลไกหลักในการ
ขับเคล่ือน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีการจดั ทารายงานประจาปี เสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั หน่วยงานที่เก่ียวข้อง
และเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับการประกัน
คุณภาพภายนอกโรงเรียนบ้ำนแก้งยำงจึงแต่งตั้งบุคคลในท้ายคาส่ังน้ีเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา เพื่อทาการประเมินมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แล้ว
เสรจ็ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบด้วย

1.1 นางสาวอรสิ รา ชดั เจน ผอู้ านวยการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นายโทน สายคา ผใู้ หญ่บา้ นบา้ นแก้งยาง กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ

1.3 นายคา กุหลาบ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

1.4 นายสมบูรณ์ กุหลาบ กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.5 นางฉววี รรณ ไชยรถ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ที่ ให้คาแนะนา ปรกึ ษา อานวยความสะดวก แกไ้ ขปญั หาในการดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษา แกค่ ณะกรรมการดาเนินงาน เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานเปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและมปี ระสิทธภิ าพ


Click to View FlipBook Version