The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณแม่ต้องแม่น27-5-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noornee1888, 2022-05-28 06:15:57

คุณแม่ต้องแม่น27-5-65

คุณแม่ต้องแม่น27-5-65

คู่มอื “คุณแม่ตอ้ งแม่น”

ขอ้ ควรรูเ้ พอื่ ประโยชนข์ องคุณแม่และลูกนอ้ ย

กล่มุ งานสงั คมสงเคราะหท์ างการแพทย์

โรงพยาบาลราชวิถี

เจ้านกกาเหว่าเอย ไข่ไว้ให้แม่กาฟัก
แม่กากห็ ลงรัก คิดว่าลกู ในอทุ ร…….

คานา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เร่ือง คู่มือ “คุณแม่ต้ องแม่น”
(ข้อควรรู้เพ่ือประโยชน์ของคุณแม่และลูกน้อย) เป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา 444-403
Flied Work III (การฝึกภาคปฏิบัติ 3) เป็นการจัดทานวัตกรรมสงั คม ท่มี ี
การนาเสนอข้อมูลต่างๆ ท่ีคุณแม่ควรรู้ ได้แก่ การแจ้งเกิดให้แก่ลูกน้อย, การ
วางแผนเล้ียงดูลูกน้อย, การรับมือกับสภาวะร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของคุณแม่
หลังคลอด, การคุมกาเนิด, สทิ ธิประโยชน์/สวัสดิการท่ไี ด้รับ (โครงการเงินอุดหนุน
เพ่ือการ เล้ียงดูเดก็ แรกเกดิ , สทิ ธิหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ, สทิ ธิประกนั สงั คม)
และหน่วยงานท่ใี ห้ความช่วยเหลือคุณแม่และลูกน้อย

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่คุณแม่ท่ีมา
รับบริการในโรงพยาบาลราชวิถี เพ่ือให้คุณแม่ได้มีความรู้ ความเข้าใ จเก่ียวกับ
การปฏิบัติตนท่ีถูกต้อง เหมาะสม ตลอดจนทราบส่ิงท่ีมารดาต้องดาเนินการ
หลังคลอดบุตร อีกท้ัง ก่อให้ เกิดประโยชน์แก่ผู้ท่ีมีความสนใจในคู่ มือ
“คุณแม่ต้ องแม่น” (ข้ อควรรู้เพ่ือประโยชน์ของคุณแม่และลูกน้ อย) อีกด้ วย
หากหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ฉบบั น้ผี ดิ พลาดประการใดกข็ ออภัยมา ณ ท่นี ้ี

นูรณี มรรคาเขต
นักศกึ ษาฝึกภาคปฏบิ ัติ 3
หลกั สตู รสงั คมสงเคราะห์ศาสาตร์บณั ฑติ
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ผู้จดั ทา

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

(1) ความหมายของการคลอด 2

(2) การแจง้ เกิดใหแ้ ก่ลูกนอ้ ย 4

(3) การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย 6-8

❑ ของใช้สาหรับลูกน้อย 6
❑ การส่งเสริมความรัก ความผูกพันระหว่างคุณแม่และลกู น้อย 7
❑ ประโยชนข์ องการสมั ผสั แบบเน้อื แนบเน้อื ระหว่าง 7

คุณแม่กบั ลูกน้อยหลงั คลอด 8
❑ ประโยชน์ของนมแม่ต่อลกู น้อย 8
❑ ประโยชน์ของการให้นมแม่ต่อคุณแม่

(4) การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย อารมณ์ และจิตใจของคณุ แม่หลงั คลอด 10-15

❑ การเปล่ียนแปลงของฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอร์โรน 10

ในร่างกายของคุณแม่หลังคลอด 11
❑ สภาวะทางด้านร่างกายของคุณแม่หลงั คลอด 12-15
❑ สภาวะทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจของคุณแม่หลังคลอด

(5) การคุมกาเนดิ 17-25

❑ ความร้เู ก่ยี วกบั การคุมกาเนดิ 17
❑ การคุมกาเนิดท่คี ุณแม่สามารถใช้ได้ด้วยตนเอง 18-21
❑ การคุมกาเนิดท่คี ุณแม่ต้องพบแพทย์ 22-25

(6) สิทธิประโยชน/์ สวสั ดิการทีไ่ ดร้ บั 27-34
❑ โครงการเงินอดุ หนุนเพ่ือการเล้ยี งดเู ดก็ แรกเกดิ
28-29
❑ สทิ ธหิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ 30
❑ สทิ ธปิ ระกนั สงั คม
31-34

(7) หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลอื คุณแม่และลูกนอ้ ย 36-44

❑ สภาวะท่คี ุณแม่อาจต้องการความช่วยเหลอื 36
❑ หน่วยงานภาครัฐ 37-39
❑ องค์กรเอกชน 40-44

บรรณานุกรม 45-48

ความหมายของการคลอด

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 1

1. ก า ร ค ล อ ด

หมายถึง การให้กาเนิดของส่ิงมีชีวิตที่เล้ ียงลูกด้วยนม
หลังจากการตั้งครรภ์ ซึ่งเปลี่ยนสภาวะจากตัวอ่อนในครรภ์
ออกมาเผชิญส่งิ แวดลอ้ มภายนอก

การคลอดโดยธรรมชาติลกู น้อยจะออกทางช่องคลอด

กรณีท่คี ลอดธรรมชาติไม่ได้ แพทย์จะทาการผ่าตัด
หน้าท้องเพ่ือนาลูกน้อยออกมา

หลงั จากทีค่ ุณแม่คลอดลูกนอ้ ย
คุณแม่ คุณพอ่ หรือครอบครวั ตอ้ งดาเนินการต่างๆ

เพอื่ ใหค้ ุณแม่ละลูกนอ้ ยไดร้ บั สทิ ธิ
พรอ้ มกบั คุณแม่กต็ อ้ งมีการดูแลตนเอง
และวางแผนการดูแลลูกนอ้ ยร่วมกบั ครอบครวั

สิง่ ทีค่ ุณแม่ควรรู้

1) การแจง้ เกิดใหแ้ ก่ลูกนอ้ ย
2) การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
3) การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย อารมณ์ และจิตใจหลงั คลอด
4) การคุมกาเนดิ
5) สิทธิ สวสั ดิการสงั คม

❑ เงนิ อดุ หนุนเด็กแรกเกิด
❑ สิทธิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ
❑ สทิ ธิประกนั สงั คม
6) หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลอื คุณแม่และลูกนอ้ ย

คุณแม่ตอ้ งแม่น 2

การแจง้ เกิดใหแ้ ก่ลูกนอ้ ย

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 3

2. การแจง้ เกิดใหแ้ ก่ลูกนอ้ ย

การแจง้

ต้องดาเนินการแจ้งเกดิ ภายใน 15 วัน
นับต้งั แต่วันท่เี ดก็ เกดิ

สถานที่แจง้

❖ กรงุ เทพมหานคร : แจ้งเกดิ ท่สี านกั งานเขต
❖ เมืองพัทยา : แจ้งเกดิ ท่ศี าลาว่าการเมืองพัทยา
❖ ส่วนภมู ิภาค : แจ้งเกดิ ท่อี งคก์ ารบริหาร
สว่ นตาบล, ท่วี ่าการอาเภอ หรือเทศบาล

หากแจง้ เกิดภายหลงั จาก 15 วนั
มโี ทษปรบั 1,000 บาท

เอกสาร/หลกั ฐานที่ตอ้ งใช้

1) บตั รประจาตัวประชาชนของบดิ ามารดา
2) บัตรประจาตวั ประชาชนของผู้แจ้งเกดิ
3) หนังสอื รับรองการเกดิ (ท.ร.1/1) ออกโดยโรงพยาบาล
4) สาเนาทะเบียนบ้าน (ฉบบั เจ้าบ้าน) ท่ตี ้องการย้ายช่ือเดก็ เข้า

คุณแม่ตอ้ งแม่น 4

การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 5

3. การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย

ของใชส้ าหรบั ลูกนอ้ ย

ผา้ ห่อเด็ก

ผา้ ออ้ มสาหรบั เด็กแรกเกิด นม, ขวดนม

เส้ ือผา้ สาหรบั ใส่ออกจากโรงพยาบาล ผา้ ก็อชเช็ดล้ นิ
รวมถงึ ถงุ เทา้ ถุงมือ และหมวกกนั ลม

ผา้ เปี ยกไวเ้ ช็ดทาความสะอาด

โลชนั่ หรือออยลท์ าตวั สาหรบั เด็ก

แอลกอฮอลแ์ ละ
สาลีสาหรบั เช็ดสะดือ

อปุ กรณอ์ าบน้า เช่น เจลอาบน้า แชมพูสาหรบั
เด็กทารก ฟองน้า อ่างอาบน้า และผา้ ขนหนู

Car seat ประเภท
Infant Seat

สาหรบั เด็กแรกเกิด

คุณแม่ตอ้ งแม่น 6

3. การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย (ต่อ)

การส่งเสริมความรัก ความผูกพัน

ระหว่างคุณแม่และลูกน้อย

เกิดข้ ึนท้งั ระหว่างการต้งั ครรภแ์ ละระยะหลงั การคลอด
ซึ่งจะพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งและมนั่ คงระหว่างคุณแม่และลูกนอ้ ย
❑ คุณแม่สามารถสมั ผสั ไดถ้ งึ ความผูกพนั เมือ่ ลูกนอ้ ยในครรภด์ ้ นิ
❑ คุณแม่ไดย้ นิ เสยี งหวั ใจและการเคลือ่ นไหวของลูกนอ้ ยขณะทาอลั ตรา้ ซาวด์

ประโยชนข์ องการสมั ผสั แบบเน้อื แนบเน้ือ

ระหว่างคุณแม่กบั ลูกน้อยหลงั คลอด

❑ ลูกนอ้ ยทีไ่ ดร้ บั การกอด การสมั ผสั จากคณุ แม่ จะเริม่ ตน้ ดูดนมแม่ไดเ้ ร็ว
❑ ช่วยรกั ษาความอบอุ่นของร่างกายลูกนอ้ ยดว้ ยไออุ่นจากคุณแม่
❑ ช่วยป้ องกนั การติดเช้ ือ ทาใหล้ ูกนอ้ ยไดส้ มั ผสั กบั เช้ ือแบคทีเรียที่มีประโยชนข์ องคุณแม่

คือ เช้ ือนอร์มอลฟลอร่า ซึ่งจะขยายพนั ธุ์ในทางเดินอาหารและผิวหนงั ของลูก นอ้ ย
และต่อสูก้ บั เช้ ือแบคทีเรียทีเ่ ป็ นอนั ตรายต่อลูกนอ้ ย
❑ ลดการรอ้ งของลูกนอ้ ย ซึ่งจะลดความเครียดและการใชพ้ ลงั งานของลูกนอ้ ยดว้ ย
❑ ช่วยส่งเสริมการสรา้ งสมั พนั ธภาพระหว่างคุณแม่และลูกนอ้ ย เกิดความรกั ใคร่ ผูกพนั กนั
มากข้ ึนส่งผลใหก้ ารท้ ิงลูกนอ้ ยลดลง
❑ กระตุน้ การหลงั่ ฮอรโ์ มนออกซิโตซินของคุณแม่ ซึ่งจะทาใหม้ ดลูกหดรดั ตวั ป้ องกนั การตก
เลือดหลงั คลอด กระตุน้ การหลงั่ น้านม ทาใหค้ ุณแม่รูส้ ึกผ่อนคลาย สงบ แ ละกระตุน้
สญั ชาตญาณความเป็ นแม่
❑ คุณแม่และลูกนอ้ ยรูส้ งบ และช่วยให้จังหวะการหายใจและการเต้นของหัวใจทารก
สมา่ เสมอ
❑ ช่วยลดความเจ็บปวดของลูกนอ้ ยจากการเจาะเลือดทีป่ ลายเทา้ ได้
❑ ให้โอกาสลูกนอ้ ยไดเ้ ขา้ หาเตา้ นมและดูดนมดว้ ยตนเอง ซึ่งลูกนอ้ ยจะสามารถเข้าหา
เตา้ นมไดจ้ ากสขี องหวั นมและกลิน่ ของน้านม

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 7

3. การวางแผนเล้ ียงดูลูกนอ้ ย (ต่อ)

ประโยชนข์ องนมแม่ต่อลูกน้อย

1) มสี ารอาหารครบถว้ นและมฮี อรโ์ มนทีจ่ าเป็ นต่อการเจริญเติบโตของลูกนอ้ ย
2) ยอ่ ยและดูดซึมง่าย ช่วยระบบขบั ถา่ ย ลดอาการทอ้ งอืด และช่วยใหท้ ารกอุจจาระง่าย
3) มภี ูมคิ ุม้ กนั ตา้ นทานโรค โดยเฉพาะน้านมช่วงแรกหลงั คลอด
4) ช่วยป้ องกันการแพโ้ ปรตีนและป้ องกันโรคภูมิแพ้ รวมถึงลดอาการผิวหนังอัก เสบ

จากภูมิแพแ้ ละโรคหืดหอบ โดยเฉพาะในเด็กทีม่ ปี ระวตั ิภูมแิ พใ้ นครอบครวั
5) มีกรดไขมนั จาเป็ น ช่วยใหส้ มองและระบบประสาทของลูกเจริญเติบโต พฒั นาการดี

และเฉลยี วฉลาด มีระดบั เชาวป์ ัญญาสูงกว่าลูกนอ้ ยทีก่ ินนมผสม
6) ลูกนอ้ ยที่กินนมจากเตา้ นมคุณแม่ จะไดร้ บั ความอบอุ่นทางจิตใจ ส่งผลใหม้ ี สุขภาวะ

ทางจิตดี และมกี ารปรบั ตวั เขา้ กบั สงั คมไดด้ ีเมอื่ โตข้ ึน
7) ลูกนอ้ ยที่กินนมคุณแม่จะช่วยลดอตั ราการเกิดโรคอว้ น โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ ง

เมด็ เลอื ดขาวในระยะยาวได้

ประโยชนข์ องการให้นมแม่ต่อคุณแม่

1) ช่วยใหม้ ดลูกของคณุ แม่หดตวั คืนสภาพเร็ว
2) สะดวก ประหยดั รายจ่าย
3) ช่ วยให้น้ าหนักของคุณแม่ลดได้เร็ว เนื่องจากมีกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนที่

ลดการสะสมไขมนั ทาใหค้ ุณแม่มรี ูปร่างดี
4) เป็ นการคมุ กาเนดิ ตามธรรมชาติไดป้ ระมาณ 70 วนั นบั จากหลงั คลอด
5) ช่วยใหค้ ุณแม่ไม่ขาดธาตุเหลก็ เพราะมีระยะปลอดประจาเดือนนานข้ ึน
6) ลดความเสยี่ งการเป็ นมะเร็งเตา้ นมและมะเร็งรงั ไข่
7) เกิดความรกั ความผูกพนั ระหว่างคุณแม่และลูกนอ้ ย
8) ช่วยลดภาวะซึมเศรา้ หลงั คลอดใหก้ บั คุณแม่ได้

คุณแม่ตอ้ งแม่น 8

การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย
อารมณ์ และจิตใจของคณุ แม่หลงั คลอด

คุณแม่ตอ้ งแม่น 9

4. การรบั มือกบั สภาวะร่างกาย
อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด

ความเปล่ียนแปลงท้งั ทางร่างกายและสภาพจิตใจสาหรับคุณแม่ไม่ได้เกดิ
ในขณะต้ังครรภ์เพียงอย่างเดียว แต่เกิดกับภาวะหลังคลอดด้วย ซ่ึงหน่ึงใน
สาเหตหุ ลัก ๆ คอื “ การเปลยี่ นแปลงของฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจส
เตอร์โรน ” ในร่างกายของคุณแม่ลดต่าลงหลังคลอดบุตร
ช่วงหลังคลอดบางคร้ังคุณแม่อาจจะไม่รู้ตัวถงึ ความเปล่ียนแปลงบางอย่าง

❑ ต้องอาศัยคนรอบข้างคอยบอก คอยเตอื น
❑ แนะนาให้คุณแม่ควรบอกคนรอบข้างไว้ไม่ว่าจะสามี พ่อแม่ ตายาย

หรือเพ่ือนๆ จะได้มคี นช่วยเตือนสติ
❑ ในช่วงระยะเวลาพักฟ้ื นราว 5-6 สัปดาห์หลังคลอด คุณแม่ควร

ทาความเข้ าใจและเตรียมพร้ อมรับมือกับความเปล่ียนแปลง
เพ่ือให้ร่างกายและสภาพจิตใจค่อยๆ กลับคืนส่สู ภาพปกติ

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 10

4. การรบั มือกบั สภาวะร่างกาย
อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด (ต่อ)

หลังจากคลอดบุตรประมาณ 6 สัปดาห์ สภาวะทางดา้ น
แรก จะเป็นช่วงภาวะหลังคลอดท่รี ่างกาย
ของคุณแม่เกิดความเปล่ียนแปลง และ ร่างกายของคุณแม่
กาลังปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ โดยความ
เปล่ียนแปลงท่มี ักเกดิ ข้นึ ในช่วงน้ี ได้แก่ หลงั คลอด

❑น้าคาวปลา ❑ทอ้ งผูก

จะถูกขับออกมาจากมดลูกโดย 3-4 วันแรก อาจเกิดจากภาวะริดสีดวงทวาร หรืออาการ
ห ลั ง ค ล อ ด คุ ณ แ ม่ ต้ อ ง ใ ส่ ผ้ า อ น า มั ย แ ล ะ เจ็บแผลจากการคลอดบุตร จนทาให้ คุณแม่
เปล่ียนบ่อยๆ (การมีน้าคาวปลาจะแตกต่างกันไป ไม่อยากถ่ายอุจจาระ จึงควรเน้ นกินอาหาร
ต้ังแต่ 2-6 สัปดาห์ โดยท่ัวไปจะประมาณ ท่ีมีเส้นใยสูง เช่น ผลไม้หรือธัญพืช และด่ืมน้า
3 สปั ดาห์) เยอะๆ

❑เตา้ นมคดั ตึง บวม ❑กล้นั ปัสสาวะไม่ได้

คุณแม่อาจมีอาการเจ็บเต้ านม เต้ านมแข็ง ตึ ง การคลอดอาจทาให้ กล้ ามเน้ืออุ้งเชิงกราน
ป ว ด ล า น น ม ตึ ง แ ข็ง แ ล ะ ค ร่ั น เ น้ื อ ค ร่ั น ตั ว ของคุณแม่ยืดออก จะเกิดภาวะน้ีสูงเม่ือมีการไอ
เหมือนไม่สบาย แนะนาให้ ประคบอุ่นประมาณ จาม หรือหัวเราะ จะทาให้ เกิดปัสสาวะเล็ด
10 นาที นวดคลึงหัวนม พร้ อมท้ังให้ ลูกน้ อ ย ออกมาได้ ภาวะน้ีจะค่อยๆหายและกลับมา
ดูดนมบ่อยๆ ทุก 2-3 ช่ัวโมง เพ่ือให้ น้านม เป็นปกติได้ประมาณ 3 สปั ดาห์ แนะนาให้คุณแม่
ระบายออกได้มากท่สี ดุ ใ ส่ ผ้ า อ น า มั ย แ ล ะ ห ม่ั น บ ริ ห า ร ก ล้ า ม เ น้ื อ
อ้งุ เชิงกรานเป็นประจา
❑ผมร่วงหลงั คลอด
❑ผิวแตกลาย
เกิดจากระดับฮอร์โมนเกิดการเปล่ียนแปลง ทาให้
ผมร่วงมากกว่าปกติ อาการน้ีจะหายไปเองภายใน คุณแม่หลังคลอด 90 % จะมีผิวหน้าท้องแตกลาย
6-12 เดือน เม่ือฮอร์โมนกลับสู่ระดับปกติ กจ็ ะมี
ผมข้ึนใหม่ดีเหมือนเดิม ในช่วงท่ีผมร่วงคุณแม่ เกิดจากการขยายขนาดของผิวหนังอย่างรวดเร็ว
อาจตัดผมส้ันเพ่ือให้ ง่ายต่อการดูแล พร้ อมกับ
รับประทานอาหารท่ีมีธาตุเหล็กให้ เพียงพอ เช่น ข ณ ะ ต้ั ง ค ร ร ภ์ พ อ ห ลั ง จ า ก ค ล อ ด แ ล้ ว
ไข่แดง ผกั ท่มี ีสเี ขยี วเข้ม อาหารทะเลท่มี ีสงั กะสสี งู
ร้ิวรอยก็ยังคงอยู่ แต่จะค่อยๆ จางลงเม่ือเวลา

ผ่านไป หรือจะใช้ ครีมทาผิว ทาแก้ ท้ องลาย

นวดบริเวณหน้ าท้ องท่ีแตกลายจะช่ วยลดเลือ น

ร้ิวรอยได้

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 11

4. การรบั มือกบั สภาวะร่างกาย

อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด (ต่อ)

สภาวะทางดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด

ภาวะเศรา้ หลงั คลอด

เกดิ จากการเปล่ียนแปลงของระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะคุณแม่มอื ใหม่
ท่ยี ังปรับตวั หลังคลอดไม่ค่อยได้ ภาวะน้ีจะมอี าการดังน้ี

✓รู้สกึ เศร้า เสยี ใจ หมดหวัง
✓อารมณแ์ ปรปรวน หงุดหงดิ โกรธง่าย หรืออยู่ไม่สขุ

✓วติ กกงั วลมากผดิ ปกติ
✓นอนหลับมากผิดปกติ นอนไม่หลับ
✓ร้องไห้มากกว่าปกติ หรือร้องไห้อย่างไม่มีเหตุผล
✓มีปัญหาเร่ืองสมาธิ การจดจารายละเอยี ด หรือการตดั สนิ ใจ
✓หมดความสนใจในส่งิ ท่ชี อบหรืองานอดเิ รก
✓รับประทานอาหารน้อยลง หรือรับประทานมากข้ึนอย่างผิดปกติ
✓ปวดศรี ษะบ่อย ปวดกล้ามเน้ือ หรือมปี ัญหาเก่ยี วกบั ทางเดินอาหาร
✓เกบ็ ตัว หรือหลีกเล่ียงการพบเจอเพ่ือนและคนในครอบครัว
✓มปี ัญหาในการสร้างความผูกพันระหว่างแม่ลูก
✓กงั วลไปว่าตนเองไม่มคี วามสามารถในการดูแลลูกอยู่บ่อย ๆ
✓มคี วามคดิ ทาร้ายร่างกายตัวเองหรือลูกน้อย

อาการน้ อี าจอยู่ประมาณ 5 วนั หลงั คลอด และจะหายไปเองภายใน 2 สปั ดาห์
อาศยั กาลงั ใจและการดูแลเอาใจใส่อยา่ งใกลช้ ิดจากคนรอบขา้ ง
ก็จะช่วยใหอ้ าการดีข้ ึนโดยไมต่ อ้ งทาการรกั ษา

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 12

4. การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย
อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด (ต่อ)

ในฐานะที่เป็ นคุณแม่อาจมีภาวะความเครียด ความกงั วลใจ เช่น

➢ มีหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบเพ่ิมข้ึน
➢ การเล้ียงดูลูกน้อย
➢ การเปล่ียนแปลงของการใช้ชีวิต
➢ อสิ รภาพท่ขี าดหายไป

สงิ่ ทีค่ ณุ แม่ควรปฏิบตั ิเป็ นอย่างยงิ่

❖ เล่าส่งิ ท่อี ยู่ในใจให้กบั คนท่คี ุณแม่ใกล้ชิดท่สี ดุ ฟังว่าร้สู กึ อย่างไร
❖ พยายามอย่าแยกตัวอยู่คนเดียวหรือเก็บความรู้สึกของตัวเองไว้เด็ดขาด

เพราะจะรู้สกึ ซมึ เศร้าหนักกว่าเดมิ
❖ ถ้ ารู้ว่าตัวเองมีอาการซึมเศร้ ายาวนานข้ึน อย่าคิดว่าเดี๋ยวหายเอง

ให้ขอความช่วยเหลือจากแพทย์จะดีท่ีสุด เพราะถ้าคุณหาหมอเร็วจะทาให้
ฟ้ื นตวั ได้เรว็
❖ หากจิ กรรมทาหรือการออกกาลังกาย เพ่ือการบาบัดอาการซมึ เศร้า

จากการศึกษาวจิ ยั พบว่า

“ การออกกาลงั กายเป็ นประจา
จะช่วยบาบดั โรคน้ ไี ดด้ ี ”

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 13

4. การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย

อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด (ต่อ)

สภาวะทางดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจของคณุ แม่หลงั คลอด

โรคซึมเศรา้ หลงั คลอด

➢ มีความรุนแรงของอาการมากกว่าอาการซมึ เศร้าหลงั คลอด
เน่ืองจากอาการซมึ เศร้าหลังคลอดจะอยู่กบั คุณแม่ประมาณ 5 วันหลงั คลอด

และจะหายไปเองภายใน 2 สปั ดาห์
➢ โรคซมึ เศร้าหลังคลอดจะอยู่กบั คุณแม่ต้งั แต่ 2 สปั ดาห์ข้นึ ไป

จนถงึ หลายเดอื นหรือเป็นปี ซ่ึงไม่ได้เป็นส่งิ ท่นี ่าวิตกกงั วล
แต่คุณแม่ต้องได้รับการรักษาท่ถี ูกต้อง จนสามารถหายเป็นปกตไิ ด้

มุมเนน้ ไปยงั คุณแม่ที่……

❖เป็นคนอารมณอ์ ่อนไหวง่าย
❖มคี นในครอบครัวป่ วยเป็นโรคซมึ เศร้า
❖ต้องเผชิญกบั ความเครียด
❖เคยมปี ระวตั คิ วามผดิ ปกติทางอารมณม์ าก่อน

• คุณแม่ควรสงั เกตความผดิ ปกติทีเ่ กิดข้ ึนกบั ตนเองอยู่เสมอ ท้งั ทางร่างกายและอารมณ์
• หากคุณแม่หลงั คลอดคนใดมอี าการผดิ ปกติหรือเป็ นนานเกินไป ควรปรึกษาแพทยท์ นั ที

คาแนะนาใหแ้ ก่คุณแม่

▪ เข้ ารับการบาบัดโดยจิตแพทย์ เพ่ือทาความเข้ าใจ
กบั อาการต่างๆ ท่คี ุณแม่กาลังพบเจออยู่

▪ การได้รับแรงสนบั สนุนและการดแู ลเอาใจใส่จากครอบครัว

คุณแม่ตอ้ งแม่น 14

4. การรบั มอื กบั สภาวะร่างกาย
อารมณแ์ ละจิตใจของคุณแม่หลงั คลอด (ต่อ)

จ า ก ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นั ก วิ จั ย ช่ื อ ว่ า
โ ร ซ่ี เ พ อ ร์ กิ น ส์ ใ น ก รุ ง ล อ น ด อ น พ บ ว่ า
“ ก า ร ร้ อ ง เ พ ล ง ก ล่ อ ม ลู ก ข อ ง แ ม่
กั บ ภ า ว ะ ซึ ม เ ศ ร้ า มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั น ”

ซึ่ ง ห ม า ย ค ว า ม ว่ า :

เวลาทีค่ ณุ แม่รอ้ งเพลงใหล้ กู นอ้ ยฟัง
จะชว่ ยลดอาการซึมเศรา้ หลงั คลอดของคณุ แม่ได้

แถมยงั ชว่ ยใหล้ กู มีพฒั นาการทีร่ วดเรว็ ข้ึน
นอกจากน้ียงั พบอีกวา่

ผหู้ ญิงทีม่ ีอาการซึมเศรา้ หลงั คลอดแลว้ รอ้ งเพลงใหล้ ูกฟัง
จะสามารถลดอาการซึมเศรา้ หลงั คลอดไดเ้ รว็ กวา่
ผทู้ ีไ่ ม่ไดร้ อ้ งเพลงกลอ่ มลกู ถึงรอ้ ยละ 35

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 15

การคมุ กาเนดิ

คุณแม่ตอ้ งแม่น 16

5. การคุมกาเนดิ

ความรูเ้ กยี่ วกบั การคุมกาเนดิ

การคมุ กาเนดิ มีผลป้ องกนั การต้งั ครรภข์ ณะที่ใชอ้ ยู่เท่าน้นั
แบบชวั่ คราว
ถา้ เลกิ ใชจ้ ะต้งั ครรภไ์ ดป้ กติ

วิธีทีน่ ยิ มใชก้ นั มาก คือ
• ถุงยางอนามัย
• ยาเมด็ คุมกาเนดิ ชนิดแผง
• แผ่นแปะผิวหนงั คุมกาเนิด
• วงแหวนคุมกาเนิด
• ยาคุมฉุกเฉิน
• ยาฉีดคุมกาเนิด
• การใส่ห่วงอนามยั
• ยาฝงั คุมกาเนดิ

เป็ นวิธีการคุมกาเนดิ เพอื่ หยุดการมีบุตรอยา่ งถาวร

เหมาะสาหรบั ผูท้ ีต่ อ้ งการมบี ุตรจานวนจากดั

การคมุ กาเนิด และผูท้ ีม่ โี รครา้ ยแรงบางอยา่ ง
แบบถาวร
วิธีการมี 2 แบบ คือ
• การทาหมันเพศชาย
• การทาหมันเพศหญิง

คุณแม่ตอ้ งแม่น 17

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คณุ แม่สามารถใชไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง o หาซ้ือไดจ้ ากรา้ นขายยา
o ขอรบั บริการทีค่ ลินิกเอกชน

(1) ถุงยางอนามยั ชาย

เป็นวิธีท่มี ีประสทิ ธิภาพมาก ถุงยางป้ องกนั ไม่ให้อสจุ ิเข้าไปผสมกบั ไข่
ของผู้หญิง ยงั ช่วยป้ องกนั โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ เอดส์ และยงั เป็น
วธิ ที ่แี สดงถงึ ความรับผดิ ชอบของผู้ชายต่อฝ่ ายหญิงด้วย

(2) ถงุ ยางอนามยั ผูห้ ญงิ

มีประสิทธิภาพท้ังการป้ องกันการท้อง โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
และเอดส์เช่นเดียวกับถุงยางอนามัยชาย แต่หาซ้ือได้ค่อนข้ างยาก
ในประเทศไทย เพราะไม่มีวางขายท่วั ไปในท้องตลาด

(3) ยาเม็ดคมุ กาเนิดชนิดแผง

เป็ นวิธีคุมกาเนิดท่ีมีประสิทธิภาพ ถ้ากินอย่างถูกต้องและสม่าเสมอ
ปัจจุบนั มสี องแบบ คอื “ชนดิ 28 เมด็ และชนดิ 21 เมด็ ”

❑ ยาคุมชนดิ 28 เม็ด จะมวี ิตามนิ เพมิ่ ข้ ึนมา 7 เมด็

เพ่ือให้ผู้หญิงกนิ ยาได้ต่อเน่อื งโดยไม่ลืม ข้อสาคัญ คือ

✓ ต้องรับประทานยาอย่างสม่าเสมอ
✓ ควรกนิ ในเวลาเดยี วกนั ทุกวัน

❑ การกินยาคุมแผงแรกท้งั ชนดิ 28 เม็ด และ 21 เม็ด

✓ ให้กนิ ยาเมด็ แรกภายใน 5 วันแรกของการมปี ระจาเดือน
✓ กนิ ติดต่อกนั ทุกวัน วันละ 1 เมด็ จนหมดแผง

❑ การกินยาคุมแผงต่อไป

✓ ยาคุมชนิด 28 เมด็ สามารถเร่ิมกนิ แผงใหม่ได้เลย
✓ ยาคุมชนิด 21 เม็ด ต้ องเว้ นไป 7 วัน เพ่ือให้ ประจาเดือนมา

แล้วค่อยเร่ิมกนิ แผงใหม่

❑ ขอ้ ปฏิบตั ิเมอื่ ลืมกินยา

1) ลืมกินยา 1 วนั ใหร้ ีบกนิ ยาทนั ทีทีน่ ึกได้

2) ลืมกินยา 2 วนั ใหร้ ีบกินยา 2 เมด็ ทนั ทีทีน่ ึกได้ และใหก้ ินอีก 2 เมด็

ในวนั ต่อไป และระหว่างน้ีใหใ้ ชถ้ ุงยางอนามัยไปดว้ ยจนกว่าจะเร่ิม

ยาแผงใหม่

3) ลืมกินยามากกว่า 2 วัน ให้เลิกกินยาแผงนั้นไปเลย ระหว่างน้ี

ใหใ้ ชถ้ งุ ยางอนามยั แลว้ เร่ิมยาแผงใหม่ในรอบประจาเดือนต่อไป

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 18

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คุณแม่สามารถใชไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง o หาซ้ือไดจ้ ากรา้ นขายยา
o ขอรบั บริการทีค่ ลินิกเอกชน

(4) แผ่นแปะผวิ หนงั คุมกาเนิด

เป็ นการคุมกาเนิดท่ีออกฤทธ์ิเช่นเดียวกับยาคุมกาเนิดชนิดเมด็ แต่
ใช้สะดวกกว่า คุณแม่สามารถแน่ใจได้ว่ากาลังคุมกาเนิด เน่ืองจาก
ส า ม า ร ถ ค ล า ไ ด้ ว่ า แ ผ่ น แ ป ะ ยั ง ค ง อ ยู่ ซ่ึ ง แ ผ่ น แ ป ะ มี ข น า ด
4.5x4.5 ซม. โดยประมาณ แปะไว้ท่ผี วิ หนงั บริเวณ

• สะโพก
• หน้าท้อง
• ต้นแขนด้านนอก
• แผ่นหลงั ด้านบน
โดยตัวยาจะซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่กระแสเลือด เร่ิมติดในวันแรก
ของประจาเดือน แปะไว้ 7 วัน แล้วเปล่ียนแผ่นใหม่ พอครบ 3 แผ่น
ใน 3 สัปดาห์ ให้เว้นไม่ต้องแปะหน่ึงสัปดาห์ (เช่นเดียวกับการกิน
ยาคุมแบบ 21 เมด็ ) ประจาเดือนกจ็ ะมาในช่วงท่ไี ม่ได้แปะแผ่นยา

❑ คาแนะนาในการแปะยา

(1) ห้ามใช้เคร่ืองสาอาง โลช่ัน หรือครีม บนผวิ หนงั บริเวณท่จี ะแปะ
(2) ไม่ควรแปะแผ่นยาบนผวิ หนงั ท่ยี งั แห้งไม่สนทิ
(3) ไม่ควรตัดแต่งแผ่นแปะเป็ นรูปต่าง ๆ เช่น ตัดเป็ นรูปดาว

เพราะจะทาให้ประสทิ ธภิ าพลดลง
(4) สามารถอาบน้า ว่ ายน้า และอ อก กาลังก ายได้ ต าม ปก ติ

โดยไม่ต้องแกะแผ่นออก
(5) กรณีแผ่นลอกหลุด ถ้ายังพอใช้ได้กใ็ ห้ใช้ต่อ แต่ถ้าติดไม่ได้จริงๆ

ให้ ใช้ แผ่นใหม่ แต่แปะเท่ากับเวลาท่ีเหลือ เช่น เหลือ 3 วัน
เม่อื เปล่ยี นแผ่นใหม่กใ็ ห้ใช้แค่ 3 วันแล้วจึงเปล่ียน

❑ ขอ้ ควรปฏิบตั ิเมอื่ ลมื แปะยา

(1) ไม่เกนิ 2 วันให้เร่ิมแปะทนั ทที ่นี ึกได้
(2) หากเกิน 2 วัน ให้คุมกาเนิดด้วยถุงยางอนามัย แล้วเร่ิมแปะยา

ในรอบประจาเดอื นต่อไป

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 19

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คณุ แม่สามารถใชไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง o หาซ้ือไดจ้ ากรา้ นขายยา
o ขอรบั บริการทีค่ ลินิกเอกชน

(5) วงแหวนคุมกาเนดิ

➢ เป็ นนวัตกรรมการคุมกาเนิดแบบใหม่ มีลักษณะเป็ นวงแหวนพลาสติกนุ่ม ใส

ไม่มีสี ยืดหยุ่นได้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5.4 ซม. ใส่ในช่องคลอด

โดยการบีบวงแหวนด้วยน้ิวหัวแม่มือและน้ิวช้ี และค่อยๆ สอดเข้าไปในช่อง

คลอดให้ครอบปากมดลกู ไว้
➢ ใส่วงแหวนคุมกาเนิดในวันแรกของการมีประจาเดือนหรือหลังจากประจาเดือน

วันแรกมาแล้ว 1 สัปดาห์ ใส่ไว้ 3 สัปดาห์แล้วจึงถอดออก โดยใช้น้ิวมือ

สอดเข้าไปในช่องคลอด เก่ียวรอบๆวงแหวนและดึงออกมา วงแหวนคุมกาเนิด

จะมีฮอร์โมนเช่นเดียวกับยาเมด็ คุมกาเนิด ปล่อยมาอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ

และดูดซึมเข้าส่กู ระแสเลือดได้ทนั ที วธิ นี ้จี ะแก้ปัญหาการลืมกินยา

❑ ขอ้ ปฏิบตั ิเมอื่ ลมื ใส่วงแหวน คุณแม่ตอ้ งแม่น 20

(1) ถ้ าลืมไม่เกิน 24 ช่ัวโมง หลังจากท่ีครบกาหนดใส่วงแหวน
ให้ ใส่เข้าไปทันทีท่ีนึกได้ โดยระหว่างน้ันให้ ใช้ ถุงยางอนามัย
เป็นเวลา 7 วนั

(2) ถ้าลมื เกนิ กว่า 24 ช่วั โมง ไม่ต้องใส่แต่ให้รอจนกว่าประจาเดือนมา
จึ ง เ ร่ิ ม ใ ส่ ห่ ว ง อี ก ค ร้ั ง ร ะ ห ว่ า ง น้ั น เ ม่ื อ มี เ พ ศ สั ม พั น ธ์
ให้ใช้ถุงยางอนามยั ทกุ คร้ัง

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คณุ แม่สามารถใชไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง o หาซ้อื ได้จากร้านขายยา
o ขอรับบริการท่คี ลินิกเอกชน

(6) ยาคุมฉุกเฉิน

เป็ นวิธีการคุมกาเนิดฉุกเฉินท่ีใช้ หลังมีเพศสัมพันธ์ เพ่ือลดโอกาสการต้ังครรภ์ เช่น
การมีเพศสัมพันธ์คร้ังน้ันไม่ได้ใช้วิธีคุมกาเนิดใดๆ หรือเกิดการผิดพลาดในการคุมกาเนิดปกติ
เช่น ถุงยางแตก ลมื กนิ ยาคุมกาเนิด ลมื ใส่วงแหวน หรือแผ่นแปะตามกาหนด

ปัจจุบนั องคก์ ารอนามยั โลก
• แนะนาให้ รับประทานภายใน 5 วัน หรือ

1 2 0 ช่ั ว โ ม ง ห ลั ง จ า ก มี เ พ ศ สั ม พั น ธ์

ท่ีไม่ได้ป้ องกัน โดยรับประทานภายในคร้ัง

เดียว 1.5 มิลลิกรัม หรือแบ่งรับประทาน

2 คร้ัง คร้ังละ 1 เมด็ ห่างกนั 12 ช่ัวโมง
• ประสิทธิภาพการคุมกาเนิดตามท่ีองค์การ

อนามัยโลกได้ศึกษาพบว่า อยู่ท่ี 52-94 %

แ ล ะ ย่ิ ง รั บ ป ร ะ ท า น เ ร็ว ป ร ะ สิท ธิภ า พ

การคุมกาเนดิ กด็ ีย่งิ ข้นึ

ขอ้ ควรระวงั
• ไม่ควรนายาคุมกาเนิดฉุกเฉินมาใช้แทนท่ี

วิ ธีก า ร คุ ม ก า เ นิ ด ป ก ติ เ พ ร า ะ วิ ธีน้ี

มีประสิทธิภาพต่ากว่าและทาให้ มี โอกาส

ต้งั ครรภส์ งู หากใช้ต่อเน่อื งเป็นเวลานาน
• ก า ร กิ น ย า คุ ม ฉุ ก เ ฉิ น ล่ ว ง ห น้ า

ก่อนมีเพศสัมพันธ์ไม่สามารถป้ องกัน

การต้งั ครรภ์ได้

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 21

5. การคมุ กาเนดิ (ต่อ)

คุณแม่ตอ้ งพบแพทย์ o รบั บรกิ ารไดท้ ่ ีโรงพยาบาลของรฐั และเอกชน
o คลินิกเอกชนบางแหง่

(1) ยาฉีดคุมกาเนดิ

มี 2 ชนิด คือ ฉีดแล้วคุมได้ 3 เดือน และ 1 เดือน โดยฉีดท่ีกล้ามเน้ือต้นแขนหรือสะโพก

หลังฉีดอาจมีอาการปวดตึง ๆ ในบริเวณท่ีฉีดยาประมาณ 1 วัน แล้ วจะหายไปเอง

ท่ีสาคัญคือ หลังฉีดยาอย่าไปคลึงบริเวณท่ีฉีดยา เพราะจะทาให้ยาถูกดูดซึมเร็วเกินไป

ให้รับบริการฉีดยาใน 5 วันแรกของการมีประจาเดือน เม่ือครบกาหนดฉีดยากไ็ ปฉีดยา

ตามกาหนดนดั หมาย โดยไม่ต้องรอให้ประจาเดอื นมา
❑ ยาฉีดคุมกาเนิดชนิด 3 เดือน (มีค่อนข้างหลากหลาย) มักจะทาให้ ประจาเดือน

มากะปริบกะปรอยหรือไม่มา บางรายอาจมีนา้ หนกั ตัวเพ่ิมมากกวาปกติ
❑ ย า ฉี ด คุ ม ก า เ นิ ด ช นิ ด 1 เ ดื อ น ป ร ะ จ า เ ดื อ น จ ะ ม า ทุ ก เ ดื อ น เ ช่ น เ ดี ย ว กับ

การกนิ ยาเมด็ คุมกาเนดิ

(2) ห่วงอนามยั คุมกาเนิด

มีลักษณะเป็นเหมือนรูปตัว T หรือรปู สมอเรือ ขดไปมาใส่ใน
โพรงมดลูก เพ่ือป้ องกันการฝังตัวของไข่ การใส่ห่วงอนามัย
จะไปรับบริการใส่เม่ือใดก็ได้ (หากแน่ใจว่าไม่ต้ังครรภ์)
ระยะจากวันแรกท่ีมีประจาเดือน สามารถคุมกาเนิดได้
นานถึง 5 และ 10 ปี ข้ึนอยู่กับชนิดของห่วงอนามัย
หลังใส่ห่วงอนามัย แพทย์จะนัดตรวจเป็ นระยะ ๆ ควรไป
ตามนดั หมายจนกว่าจะครบกาหนดถอดห่วงอนามัย

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 22

5. การคมุ กาเนดิ (ต่อ)

คุณแม่ตอ้ งพบแพทย์ o รบั บรกิ ารไดท้ ่ ีโรงพยาบาลของรฐั และเอกชน
o คลนิ ิกเอกชนบางแหง่

(3) ยาฝังคุมกาเนิด

เป็นวธิ คี ุมกาเนิดได้นานถงึ 3 และ 5 ปี ตามชนิดของยา
❑ ชนิดหลอดเดยี ว ใช้ได้นาน 3 ปี
❑ ชนิด 2 หลอด ใช้ได้นาน 5 ปี
❑ สามารถรับบริการได้ในช่วง 5 วันแรกของประจาเดือน โดยแพทย์จะฝังฮอร์โมน

ซ่ึงบรรจุในหลอดพลาสติกเล็กๆ ไว้ใต้ผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านใน มีผล

การคุมกาเนิดหลังจากฝังยา 24 ช่ัวโมง การฝังยาอาจมีผลทาให้ประจาเดือน

มาไม่ปกติ กะปริบกะปรอย
❑ ข้อดี คือ ช่วยลดปัญหาเร่ืองลืมกินยาหรือลืมฉีดยา และเม่ือครบกา หนด

ให้ไปรับบริการท่สี ถานบริการสขุ ภาพเพ่ือนาหลอดยาออก

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 23

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คณุ แม่ตอ้ งพบแพทย์ o รบั บรกิ ารไดท้ ่ ีโรงพยาบาลของรฐั และเอกชน
o คลนิ ิกเอกชนบางแหง่

(4) การทาหมนั

ก่อนการทาหมนั แพทยจ์ ะพูดคยุ และสอบถามเพอื่ ใหม้ นั่ ใจว่าผูร้ บั
การทาหมนั ไม่ตอ้ งการมบี ุตรอีกต่อไป เพราะแมจ้ ะสามารถผ่าตดั

แกห้ มนั ไดใ้ นอนาคต แต่วิธีการทาค่อนขา้ งย่งุ ยากซบั ซอ้ น
มคี ่าใชจ้ ่ายสูงและอาจไม่ไดผ้ ลตามทีค่ าดหวงั

❑ การทาหมนั เพศชาย
แพทย์จะทาความสะอาด และเตรียมบริเวณหนังหุ้มอณั ฑะสาหรับการผ่าตัดแบบเจาะ

จากน้ันแพทย์จะฉีดยาชาเฉพาะท่บี ริเวณท่อนาอสุจิท่คี ลาพบ ซ่ึงจะอยู่เหนืออัณฑะเลก็ น้อย
เม่ือยาชาออกฤทธ์จิ ึงใช้เคร่ืองมือเจาะรูเลก็ ๆ ท่หี นังหุ้มอณั ฑะเพ่ือเก่ยี วท่อนาอสจุ ิข้ึนมาแล้ว
จึงตัดท่อออกส่วนหน่ึงประมาณ 1 ซม. แล้วผูกปลายท่อท้ังสองข้างให้ ปิ ดสนิทก่อน
ปล่อยกลับลงไปใต้ผิวหนังเช่นเดิม แพทย์จะทาเช่นน้ีกับท่อนาอสุจิอีกข้ างหน่ึงโดยไม่ต้อง
เจาะผิวหนังอีก หลังจากเสร็จเรียบร้อย แพทย์จะปิ ดแผลด้วยพลาสเตอร์ยาแผ่นเล็ ก
และให้กลับบ้านได้ รวมระยะเวลาในการผ่าตัดท้งั หมดประมาณ 30 นาที

คุณแม่ตอ้ งแม่น 24

5. การคุมกาเนดิ (ต่อ)

คณุ แม่ตอ้ งพบแพทย์ o รบั บรกิ ารไดท้ ่ ีโรงพยาบาลของรฐั และเอกชน
o คลินิกเอกชนบางแหง่

❑ การทาหมนั เพศหญงิ

มีหลายวิธี เช่น การผูก รัด หนีบ หรือทาลายส่วนใดส่วนหน่ึงของท่อนาไข่
การผ่าตัดทาหมันหญิงทาได้ 2 ระยะ คือ
1) ระยะหลงั คลอดใหม่ๆ
ในระยะน้ีเหมาะในการทาหมัน เน่ืองจากมดลูกอยู่สูง ทาการผ่าตัดเปิ ด
หน้าท้องเพียงเล็กน้อย ประมาณ 2.5 ซม. เพ่ือผูกและตัดท่อนาไข่
ท้ัง 2 ข้าง ใช้ เวลาในการทาผ่าตัดประมาณ 10-15 นาที นิยมทา
ภายใน 24-48 ช่วั โมงหลงั คลอดหรือทาร่วมกบั การผ่าตัดคลอด
2) ระยะปกติ (หมนั แหง้ )
คุณแม่ต้องผ่านการตรวจสุขภาพก่อน และแพทย์จะนัดผ่าตัดทาหมัน
วธิ กี ารผ่าตดั เหมอื นกบั การทาหมนั หลงั คลอด

คาแนะนา

การผ่าตัดทาหมันหญิงจะไม่ทาให้ร่างกายมีการเปล่ียนแปลงใดๆ เช่น
ความร้สู กึ ทางเพศ การมีประจาเดือน

หลงั การผ่าตดั

1) ห้ามเปิ ดแผลและระวังไม่ให้แผลผ่าตัดถูกน้า เพราะจะทาให้ แผล
มีการติดเช้ือและเกิดอักเสบได้ เช่น การงดการอาบน้า และ
ให้เชด็ ตัวแทนจนกว่าจะตัดไหม

2) ตัดไหมหลังทาผ่าตัดหมัน 7 วนั
3) งดอยู่ร่วมกับสามี 1 เดือนคร่ึงถึงสองเดือน เพ่ือป้ องกันการติดเช้ือ

ภายในโพรงมดลกู
4) มาตรวจตามแพทยน์ ัดหมาย

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 25

สทิ ธิ สวสั ดิการที่ไดร้ บั

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 26

6. สทิ ธิ สวสั ดิการที่ไดร้ บั

โครงการเงินอดุ หนุนเพอื่ การเล้ ียงดูเดก็ แรกเกดิ
สิทธิหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
สิทธิประกนั สงั คม

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 27

การลงทะเบยี นเงินอดุ หนุนเด็กแรกเกิด

สถานที่แจง้

❑ กรุงเทพมหานคร : ลงทะเบยี นท่สี านักงานเขต
❑ มอื งพทั ยา : ลงทะเบยี นท่ศี าลาว่าการเมืองพัทยา
❑ ส่วนภูมิภาค : ลงทะเบยี นท่อี งคก์ ารบริหารส่วนตาบล ท่วี ่าการอาเภอ หรือเทศบาล

สิทธิของเด็กแรกเกิด

1) มีสัญชาติไทย (คุณพ่อและคุณแม่มีสัญชาติไทย หรือคนใด
คนหน่ึงมีสญั ชาตไิ ทย)

2) ได้รับเงินอดุ หนุนฯต้ังแต่แรกเกดิ จนมอี ายุครบ 6 ปี
3) อาศัยอยู่กับผู้ปกครองท่ีอยู่ในครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อย คือ

สมาชิกครัวเรือนมีรายได้เฉล่ียไม่เกนิ 100,000 บาทต่อคนต่อปี
4) ไม่อยู่ในสถานสงเคราะห์ของหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน

ผูป้ กครองทีม่ สี ิทธิลงทะเบยี น

1) มีสญั ชาติไทย
2) เป็นบุคคลท่รี ับเดก็ แรกเกดิ ไว้ในความอปุ การะ
3) เดก็ แรกเกดิ ต้องอาศัยรวมอยู่ด้วย
4) อยู่ในครัวเรือนท่มี ีรายได้น้อย คือ สมาชิกครัวเรือนมีรายได้

เฉล่ียไม่เกนิ 100,000 บาทต่อคนต่อปี

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 28

การลงทะเบยี นเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด (ต่อ)

เอกสารประกอบการลงทะเบียน

❑ แบบคาร้องขอลงทะเบยี น (ดร.01)
❑ แบบรับรองสถานะของครัวเรือน (ดร.02)
❑ บตั รประจาตวั ประชาชนของผู้ปกครอง
❑ สตู บิ ตั รเดก็ แรกเกดิ
❑ สมุดบัญชีเงินฝากของผู้ปกครอง (บัญชีออมทรัพย์ธนาคารกรุงไทย บัญชีเงินฝาก

เผ่อื เรียกธนาคารออมสนิ หรือบญั ชีเงินฝากออมทรัพยธ์ นาคารธกส. อย่างใดอย่างหน่ึง
เท่าน้นั )
❑ สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กเฉพาะหน้าท่ี 1 ท่ีมีช่ือของหญิงต้ังครรภ์ (กรณีท่ี
สมุดสูญหายให้ใช้เฉพาะสาเนาหน้าท่ี 1 พร้อมให้เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขบันทึกข้อมูล
และรับรองสาเนา)
❑ กรณีท่ผี ู้ย่ืนคาร้องขอลงทะเบียนและสมาชิกในครัวเรือนของผู้ย่ืนคาร้องขอลงทะเบียน
เป็นเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกจิ หรือพนักงานบริษัท ต้องมีเอกสารใบรับรอง
เงินเดือนหรือหนังสือรับรองรายได้ของทุกคนท่ีมีรายได้ประจา (สลิปเงินเดือนหรือ
เอกสารหลักฐานท่นี ายจ้างลงนาม)
❑ สาเนาเอกสาร บัตรข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ บัตรแสดงสถานะหรือตาแหน่ง
หรือเอกสารอ่นื ใดท่แี สดงตนของผู้รับรองคนท่ี 1 และผู้รับรองคนท่ี 2

เงินอุดหนุนเดก็ แรกเกิด
600 บาท!

คุณแม่ตอ้ งแม่น 29

สิทธิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ

บตั รทอง

ขยายสทิ ธปิ ระโยชนก์ ารฝากครรภ์จากเดิม 5 คร้ัง
เป็นไม่จากดั จานวนคร้ัง ข้นึ อยู่กบั แพทย์ท่ดี ูแลพิจารณาแล้วว่ามีความจาเป็น

เข้ารับบริการได้ทุกท่เี พ่ือให้คุณแม่ต้งั ครรภท์ กุ คน ทุกสทิ ธิ
สามารถนัดตรวจติดตามเพ่ือดแู ลเพ่ิมเตมิ ได้ โดยคุณแม่จะได้รับบริการ เช่น
การซกั ประวตั ิ วัดสญั ญาณชีพ ตรวจร่างกาย ตรวจครรภ์ ประเมนิ ความเส่ยี ง ประเมินสขุ ภาพจิต
วคั ซนี ป้ องกนั บาดทะยกั ยาเสริมธาตเุ หลก็ ไอโอดนี และโฟลกิ ตรวจปัสสาวะ เป็นต้น

คุณแม่สามารถคลอดบุตรด้วยวิธธี รรมชาติได้หรือผ่าคลอดได้
ในกรณที ่มี ีข้อบ่งช้ีทางการแพทย์

คุณแม่ได้พักฟ้ื นในห้องปกติ ได้อย่างน้อย 48 ช่ัวโมงหลงั คลอด
ตลอดจนรับยาบารงุ ข้นั พ้ืนฐาน

และรับการช่วยเหลอื กรณมี ีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะคลอด

หากคุณแม่ต้องการรับบริการท่มี ากกว่ากาหนด
ถอื ว่าเป็นการตัดสนิ ใจเลือกท่จี ะจ่ายค่าบริการด้วยตนเอง เช่น
❖ ต้องการรับบริการท่สี ถานพยาบาลเอกชน
❖ ต้องการพักฟ้ื นในห้องพิเศษ
❖ ต้องการเลอื กท่จี ะคลอดด้วยวธิ กี ารผ่าท้องโดยไม่มขี ้อบ่งช้วี ่าจาเป็น

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 30

สิทธิประกนั สงั คม

➢ คุณแม่สามารถขอรบั ผลประโยชนต์ อบทดแทนได้
➢ คุณแม่หรือคุณพ่อ สามารถยนื่ เอกสารขอรบั ประโยชนท์ ดแทน
ไดท้ ีส่ านกั งานประกนั สงั คมในพ้ นื ที่ หรือสานกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั

ยกเวน้ สาขาสานกั งานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข
และสามารถยนื่ ขอรบั ไดท้ างไปรษณียโ์ ดยมีหลกั ฐานครบถว้ น
➢ คุณแม่จะสามารถขอรบั สิทธิและเบกิ ได้ ผูจ้ ดั ทาคู่มือไดร้ วบรวมขอ้ มูล

มาแบ่งปันคุณแม่ ดงั น้ ี

เบกิ เงินสงเคราะหก์ ารหยดุ งานเพอื่ การคลอดบตุ ร

เบกิ ค่าคลอดบุตร

เบกิ เงินสงเคราะห์
เพอื่ เล้ ียงดูบุตร

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 31

สิทธิประกนั สงั คม (ต่อ)

เบกิ ค่าคลอดบุตร

❖ คุณแม่ท่มี ีสทิ ธ์ิในการเบิก จะต้องจ่ายเงินสมทบประกนั สงั คมมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 5 เดือนและภายใน 15 เดือนก่อนการคลอดบุตร
โดยประกันสังคมจะจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ เหมาจ่าย
ในกรณีคลอดบุตร ในอตั รา 15,000 บาท

❖ มีสทิ ธไิ ด้รับค่าคลอดบตุ รโดยไม่จากดั จานวนคร้ัง
❖ หากคุณแม่และคุณพ่อเป็ นผู้ประกันตนประกันสังคมท้ังคู่ ให้ใช้

สิทธิการเบิกค่าคลอดบุตรของฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง โดยไม่จากั ด
จานวนบุตรและจานวนคร้ัง

โอนเขา้ บญั ชีกีว่ นั ?

• เม่ือดาเนินการเบิกคลอดเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว เงินค่าคลอดบุตร
จ ะ ถู ก โ อ น เ ข้ า บั ญ ชี ภ า ย ใ น 5 - 7 วั น นั บ จ า ก วั น ท่ีเ อ ก ส า ร
ได้รับการอนุมตั ิแล้ว

• สามารถสอบถามเพ่ิมเตมิ กบั ประกนั สงั คมได้ท่ี โทร : 1506

เบกิ ค่าคลอดภายในกีว่ นั ?

• สามารถทาได้เลยนับต้ังแต่วันท่ีคลอด และหากผู้ขอรับประโยชน์ทดแทน
ไม่เห็นด้วยกับการส่ังจ่ายประโยชน์ทดแทน สามารถย่ืนอุทธรณ์ได้ ภายใน
30 วนั นับแต่วนั ท่ไี ด้รับแจ้งคาส่งั

• ส า ม า ร ถ ย่ื น ไ ด้ ท่ีส า นั ก ง า น ป ร ะ กัน สัง ค ม ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร พ้ื น ท่ี/
สานักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขาท่ีสะดวก (ยกเว้นสานักงานใหญ่
ในบริเวณกระทรวงสาธารณสขุ )

• สามารถสอบถามเพ่ิมเตมิ กบั ประกนั สงั คมได้ท่ี โทร : 1506

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 32

สิทธิประกนั สงั คม (ต่อ)

เบกิ เงินสงเคราะห์
การหยุดงานเพือ่ การคลอดบุตร

❖ คุ ณแม่ จ่ ายค่ าประกันสังคมมาแล้ วไม่ น้ อยกว่ า 5 เดือน
ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนคลอดบุตร

❖ ค่าสิทธิการลาคลอดใช้ ได้ เฉพาะฝ่ ายหญิงเท่าน้ัน ฝ่ ายชา ย
ไม่สามารถเบิกใช้ได้

❖ จ่ายให้ ไม่เกินฐานเงินเดือน 15,000 บาท หากเงินเดือน
มากกว่ากาหนด จะคดิ แค่ 15,000 บาท

❖ มี ร ะ ย ะ เ ว ล า จ่ า ย เ งิ น ใ ห้ ท้ัง ห ม ด 9 0 วั น ห รื อ 3 เ ดื อ น
นบั รวมวันหยุดราชการ

❖ ก ร ณี ก ลั บ ม า ท า ง า น ก่ อ น ถึ ง 9 0 วั น คุ ณ แ ม่ ยั ง ค ง ไ ด้ รั บ
เงนิ สงเคราะห์ตามปกติ

คุณแม่ตอ้ งแม่น 33

สิทธิประกนั สงั คม (ต่อ)

เบิกเงินสงเคราะห์
เพอื่ การเล้ ียงดูบุตร

❖ คุณแม่ต้องเป็นผู้ประกนั สงั คม ตามมาตรา 33 หรือมาตรา 39
❖ ต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และภายในระยะเวลา

36 เดอื น ก่อนเดือนท่มี ีสทิ ธไิ ด้รับประโยชน์ทดแทน
❖ ประกันสังคมจะจ่ายเงินสงเคราะห์บุตรเดือนละ 800 บาท

ต่อบุตรหน่ึงคน จะต้ องเป็ นบุตรท่ีชอบด้ วยกฎหมาย ยกเว้ น
บุตรบญุ ธรรม หรือบุตรซ่ึงยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอ่นื
❖ บุตรมีอายุต้ังแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี บริบูรณ์ จานวนคราวละไม่เกิน
3 คน เว้นแต่ผู้ประกันตนเป็ นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแต่ความตาย
ใ น ข ณ ะ ท่ีบุ ต ร มี อ า ยุ แ ร ก เ กิด จ น ถึง 6 ปี บ ริ บู ร ณ์ จะ มี สิท ธิ
ได้รับประโยชนท์ ดแทนต่อจนอายุ 6 ปี บริบูรณ์

คุณแม่ตอ้ งแม่น 34

หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลอื คุณแม่และลูกนอ้ ย

คุณแม่ตอ้ งแม่น 35

7. หน่วยงานที่ใหค้ วามช่วยเหลือคุณแม่และลูกนอ้ ย

เม่ือมสี มาชิกในครอบครัวเพ่ิมข้นึ หลังจากการคลอด คุณแม่ คุณพ่อ
หรือครอบครัวอาจมีสภาวะท่ตี ้องการคาปรึกษา คาแนะนา

เพ่ือบรรเทาความทุกขใ์ จ ต้องการหาแนวทางในการวางแผนครอบครัว
หรือการเล้ียงดูบุตร เช่น

❑ คุณแม่มีขอ้ จากดั ในการเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
❑ คณุ แม่ไม่ค่อยมีความพรอ้ มในการเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
❑ คุณแม่มขี อ้ จากดั การเงนิ ในการเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
❑ คณุ แม่มีขอ้ จากดั ดา้ นการทางาน
❑ คณุ แม่ตอ้ งการไปเรียนต่อ
❑ คุณแม่ไม่มอี าชีพ ไม่มีรายไดเ้ พยี งพอในการเล้ ียงดู
❑ คุณแม่อยู่ในสภาวะยากลาบาก
❑ คุณแม่ตอ้ งการนมผงในการเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
❑ คณุ แม่ตอ้ งการฝากเล้ ียงดูลูกนอ้ ย
❑ คุณแม่ตอ้ งการทีพ่ กั ชวั่ คราว
❑ คณุ แม่มคี วามจาเป็ นบางประการ
❑ คณุ แม่มีความไม่สบายใจ กงั วล เครียด

คุณแม่ คุณพ่อ หรือครอบครวั สามารถ
o ติดต่อ
o สอบถาม
o พูดคุย
o ขอคาปรึกษา
o ขอคาแนะนา
o หน่วยงานภาครฐั
o องคก์ รเอกชน

คุณแม่ตอ้ งแม่น 36

7. หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

หนว่ ยงานภาครฐั

1. ศูนยช์ ่วยเหลือสงั คม (สายด่วน 1300)
กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์

o เป็นศูนย์กลางการให้คาแนะนา ปรึกษาปัญหาสงั คมทุกประเภท (สามารถแนะนาทางโทรศัพทอ์ ย่างมีมาตรฐาน
โดยนกั สงั คมสงเคราะห์และนักจิตวทิ ยา)

o ให้บริการท่วั ประเทศไทยและผู้ประสบปัญหาสงั คมชาวไทยในต่างประเทศ
o ให้บริการรับแจ้งและช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสงั คมเบ้อื งต้น
o ประสานต่อความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องท้งั ภาครัฐ เอกชน และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

❑ คุณแม่สามารถตดิ ต่อขอรับการสงเคราะห์เงนิ ช่วยเหลอื ค่าเล้ยี งดูเดก็ 2,000 บาท/เดือน
หรือช่วยเหลือเคร่ืองอปุ โภค บริโภคแก่เดก็ เดอื นละไม่เกนิ 500 บาท
• ข้อจากดั : เงนิ สงเคราะห์ขอได้ไม่เกนิ 3 คร้ัง/ปี

❑ คุณแม่สามารถขอนมผงเดก็ อ่อน หรือขอความช่วยเหลือด้านการฝึกอาชีพจากฝ่ ายงาน/
กลุ่มงานสงั คมสงเคราะห์
• ข้อจากดั : ให้สงเคราะห์ประมาณ 3-6 เดือน

❑ กรณเี หน็ สมควรให้ความช่วยเหลือครอบครัวท่อี ปุ การะเดก็ มากกว่า 1 คน ช่วยเหลือเงิน
ค่าเล้ียงดูเดือนละไม่เกิน 4,000 บาท หรือช่วยเหลือเป็ นเคร่ืองอุปโภคบริโภค
เดอื นละไม่เกนิ 1,000 บาท

❑ คุณแม่สามารถขอความช่วยเหลือกรณีท่ีครอบครัวมีความยากจน อยู่ในสภาวะ
ยากลาบาก เป็นเดก็ กาพร้า คุณพ่อคณุ แม่ไม่สามารถให้การดูแลลกู น้อยได้

❖ กรณที ่คี ุณแม่ต้องการการฝึกอาชีพ สามารถตดิ ต่อสอบถามข้อมูลได้ท่ี
ศูนยเ์ รียนรูก้ ารพฒั นาสตรีและครอบครวั
กรมกิจการสตรีและครอบครวั ภาคกลาง จงั หวดั นนทบุรี
กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์
เบอรโ์ ทรศพั ทต์ ิดต่อ 02 583 8350

บทบาทหนา้ ที่
▪ จัดบริการสวัสดกิ ารสงั คม ช่วยเหลือคุ้มครอง และพัฒนาคุณภาพชีวติ แก่สตรี และครอบครัวผู้ประสบปัญหา
▪ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ สร้างทางเลือกในการประกอบอาชีพควบคู่กบั การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 37

7. หน่วยงานที่ใหค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

หน่วยงานภาครฐั

2. โรงพยาบาลที่คุณแม่คลอด

ในโรงพยาบาลจะมกี ล่มุ งาน คุณแม่สามารถติดต่อขอคาปรึกษา
สงั คมสงเคราะหท์ างการแพทย์ คาแนะนา หรือขอความช่วยเหลือจาก
ทีค่ อยใหค้ าปรึกษา คาแนะนา แพทย์ พยาบาล นกั สงั คมสงเคราะห์

หรือใหค้ วามช่วยเหลอื ของโรงพยาบาลทีค่ ลอดบุตรได้
คุณแม่ไดโ้ ดยตรง

กล่มุ งานสงั คมสงเคราะห์ทางการแพทย์

❑ ให้คาแนะนา และปรึกษาปัญหาต่างๆ เช่น ทางด้านเศรษฐกิจ ครอบครัว จิตใจ

รวมท้งั ระเบยี บ และกฎเกณฑใ์ นการให้บริการของโรงพยาบาล
❑ ให้ความช่วยเหลือในด้านการรักษาพยาบาล เช่น ค่ายา ค่าเดินทาง อุปกรณ์

ทางการแพทย์ รวมท้ังค่ารักษาพยาบาล สาหรับผู้ป่ วยในและผู้ป่ วยนอ ก

จะพิจารณาตามฐานะทางด้านเศรษฐกจิ และครอบครัวของผู้ป่ วยเป็นหลกั
❑ นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์หาทุนประกอบอาชีพ ถุงยังชีพ สงเคราะห์ค่า

พาหนะ เส้อื ผ้า อาหารกระป๋ อง แป้ ง นม ตลอดจนทรัพยากรท่เี หมาะสมกบั ปัญหา

และความต้องการของผู้ป่ วย
❑ นักสงั คมสงเคราะห์ทางการแพทย์ติดต่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอก

ท้งั หน่วยงานรัฐและองคก์ รเอกชน

คุณแม่ตอ้ งแม่น 38

7. หนว่ ยงานที่ใหค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

หน่วยงานภาครฐั

3. บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั

❑ เป็นสถานท่แี รกรับหรือสถานพักพิงช่ัวคราว ท่ดี าเนินการช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชนในด้านปัจจัย 4
❑ ให้ความช่วยเหลือเด็กและเยาวชนกลุ่มเส่ียง ท่ีกาลังประสบปัญหาในทุกมิติ ให้การการฟ้ื นฟู เยียวยา

พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต เพ่ือส่งต่อให้กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหรือส่งคืนสู่สังคม
ตามกระบวนการสงั คมสงเคราะห์ให้กลุ่มท่ตี ้องการเล้ยี งดูในรปู แบบต่างๆ
❑ ให้การคุ้มครองกล่มุ เป้ าหมาย ดังน้ี

• เดก็ อายุแรกเกดิ - ต่ากว่า 18 ปี
• เยาวชนอายุ 18 - 25 ปี
• ครอบครัว
• ในกรณีเป็นเดก็ แรกเกิด - อายุ 2 ปี และเดก็ ชาย อายุ 13 ปี ข้ึนไป หรือมีนา้ หนัก 45 กิโลกรัม

หรือมีส่วนสงู 150 เซนตเิ มตร พิจารณาส่งเข้าสถานสงเคราะห์โดยเร่งด่วน

❑ คุณแม่สามารถขอความช่วยเหลือเพ่ือเป็นบ้านพักหลังคลอดได้ เช่น
• ยังพ่ึงพาตนเองไม่ได้
• ขาดคนดูแล
• ไม่มีท่พี ัก/ท่พี ักไม่มคี วามพร้อม
• คุณแม่สามารถพักอาศัยจนกว่าจะมีความพร้ อมมากพอ
ในการดูแลตนเอง

❑ คุณแม่สามารถฝากลูกน้อยในการอุปการะเล้ียงดูเป็ นการช่ัวคราวได้
โดยท่ีบ้านพักเด็กและครอบครัวหาแนวทาง ในการสงเคราะห์และ
คุ้มครองสวัสดภิ าพท่เี หมาะสมแก่เดก็

❑ บ้านพักเดก็ และครอบครัวมีในทุกจงั หวัด คุณแม่สามารถขอคาปรึกษา
คาแนะนา หรือความช่วยเหลือในจังหวัดท่ตี นเองอาศยั อยู่ได้

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 39

7. หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

องคก์ รเอกชน

1. สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ในพระอุปถมั ภ์
พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี กรมหมนื่ สุทธนารีนาถ

(บา้ นพกั ฉุกเฉินดอนเมอื ง)

ทีต่ งั้ : 501/1 ถ.เดชะตงุ คะ แขวงสีกนั ดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210
การติดต่อ : 02 929 2222

เวบ็ ไซต์ : https://www.facebook.com/apswthailand.org
การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ

❑ ให้การปรึกษาตลอด 24 ชม. โดยนักจิตวทิ ยาและนักสงั คมสงเคราะห์
❑ เป็ นท่ีพักพิงช่ัวคราว (บ้านพักรอคลอด) ท้ังทางกายและใจให้แก่ผู้หญิง และเด็กท่ีเดือดร้อน

ซ่ึงประสบปัญหาครอบครัว ท้องเม่ือไม่พร้อม ถูกข่มขืน ติดเช้ือ HIV/AIDS สามีท้ิงหรือ
ทาร้ายร่างกายและจิตใจ ขัด แย้งภายในครอบครัว ถูกทอดท้ิง ถูกกระทาความรุนแรง ไม่มี
งานทาและไม่มีท่พี ัก
❑ ให้ความช่วยเหลือด้านท่ีอยู่อาศัย อาหาร ดูแล สุขภาพอนามัย รวมท้ังให้คาปรึกษาแนะนา
การให้ทกั ษะชีวติ และกาลังใจ จัดกลุ่มบาบดั ทางจิต

2. สถานสงเคราะหบ์ า้ นเด็กพระคุณ

ทีต่ งั้ : 47 ม.1 ต. เขาววั อ. ท่าใหม่ จ. จนั ทบุรี 22120
การติดต่อ : 039 494 126

เวบ็ ไซต์ : http://www.cmadong.com/board/index.php/topic,17676.new.html#top
การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ

❑ จดั หาท่พี ักให้แก่เดก็ ท่ไี ม่มีผู้อปุ การะอนั เน่ืองจากพ่อแม่ของเดก็ เสยี ชีวิตด้วยโรคเอดส์
❑ สนับสนุนให้เด็กได้รับการศึกษาอย่างต่าข้ันพ้ืนฐานตามท่ีกฎหมายกาหนด หรือในระดับท่ีสูงข้ึน

ตามความสามารถและความถนัดของเดก็ โดยจดั หาทุนการศกึ ษา อปุ กรณก์ ารเรียนท่จี าเป็น
❑ จัดให้เดก็ ได้รับการดูแลด้านสขุ ภาพอนามัยและอาหารท่เี หมาะสม บริโภค อาหารให้ครบท้งั 5 หมู่

มีนา้ ด่ืมท่ีสะอาด อยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีถูกสุขลักษณะ และโดยเฉพาะอย่างย่ิงเดก็ ท่ีติดเช้ือ HIV
โดยผลักดนั ให้เดก็ ให้เข้าถงึ บริการด้านสขุ ภาพจากรัฐ ให้ได้รับการรักษาและการให้ยาอย่างต่อเน่ือง
❑ รณรงค์ให้ ความรู้เร่ืองโรคเอดส์แก่เยาวชนในสถานศึกษา มุ่งให้ เด็กมีความรู้ ความเข้ าใจ
เร่ืองโรคเอดส์ เพ่ือป้ องกันตนเองให้ ปลอดภัยจากโรคเอดส์ สามารถยอมรับและอยู่ร่วม
กบั ผู้ตดิ เช้ือในครอบครัว ชุมชน สงั คมได้

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 40

7. หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

องคก์ รเอกชน

3. มูลนธิ ิสงเคราะหเ์ ด็กพทั ยา 4. มูลนธิ ิปราถนาสมบูรณ์

ทีต่ งั้ : 384 หมู่ 6 ถนนสขุ มุ วทิ กม. 144 ต.นาเกลือ ทีต่ งั้ : 187 หมู่ 1 ต.บา้ นปึก อ.เมือง จ.ชลบุรี

อ.บางละมงุ จ.ชลบุรี 20150 การติดต่อ : 089 400 8815 , 083 117 9010

อีเมล : [email protected] อีเมล : [email protected]

เวบ็ ไซต์ : http://www.thepattayaorphanage.org/ การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ ใ ห้ ก า ร เ ล้ี ย ง ดู เ ด็ก แ ร ก เ กิ ด 0 - 1 1 ปี
การติดต่อ : 038 423 468 , 038 416 426
ให้ เจริ ญเติบ โตตา มวัย พร้ อมส่ งเสริ ม
การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ ใ ห้ ก า ร เ ล้ี ย ง ดู เ ด็ ก แ ร ก เ กิ ด 0 - 6 ปี พัฒนาการอย่างเหมาะสม
❑ ให้ท่ีพักกับผู้หญิงท่ีท้องไม่พร้อม (พิจารณา
ให้เจริญเติบโตตามวัย พร้อมส่งเสริมพัฒนาการ
เป็ นรายกรณีตามความเหมาะสม ท้ังก่อน
อย่างเหมาะสม
❑ ให้การศกึ ษากบั เดก็ ตามระบบ และหลังคลอด)
❑ บ ริ ก า ร จั ด ห า ค ร อ บ ค รั ว บุ ญ ธ ร ร ม ❑ ให้การศกึ ษากบั เดก็ ตามระบบ
❑ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ มู ล นิ ธิ มิ ต ร ม ว ล เ ด็ ก
โดยประสานงานกับกระทรวงพัฒนาสังคม
เพ่ือดาเนนิ การเร่ืองบุตรบญุ ธรรม
และความม่นั คงของมนุษย์

5. ศูนยค์ ามลิ เลียน โซเชียลเซ็นเตอร์ 6. บา้ นทานตะวนั มูลนธิ ิเด็ก

ทีต่ งั้ : 1/1 ซอยคีรี ต.หว้ ยโป่ ง อ.เมือง จ.ระยอง ทีต่ งั้ : 95/24 หม่ทู ี่ 6 ซ.กระท่มุ ลม้ อ.สามพราน

21150 จ.นครปฐม 73220

การติดต่อ : 0 3868 5480 การติดต่อ : 02 814 1481

การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ อีเมล : [email protected]
❑ ให้ การเล้ียงดูเด็กให้ เจริญเติบโตตามวัย
เวบ็ ไซต์ : http://www.ffc.or.th/btw
พร้อมส่งเสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม
❑ ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า / ช่ ว ย เ ห ลื อ ค ร อ บ ค รั ว การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ ให้ บริการสาหรับเด็กแรกเกิด 0 - 4 ปี
เพ่ือสนับสนุนให้ ครอบครัวมีศักยภา พ
ส า ห รั บ เ ด็ก ด้ อ ย โ อ ก า ส เ ด็ก ก า พ ร้ า
ในการดูแลเดก็
❑ ให้การศึกษากบั เดก็ ตามระบบ ถูกทอดท้งิ ขาดสารอาหาร ครอบครัวยากจน
❑ ส่งเสริมพัฒนาการให้เตบิ โตสมวยั
❑ ทางานสนับสนุนครอบครัวให้มีศักยภาพ

ในการเล้ียงดูเดก็

คุณแม่ตอ้ งแม่น 41

7. หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

องคก์ รเอกชน

7. มูลนธิ ิเด็กโสสะแห่งประเทศไทยฯ

ทีต่ งั้ : 18 หมู่ 3 ซอยบุญศิริ ถนนสขุ มุ วทิ ต. บางเมือง อ. เมือง สมทุ รปราการ 10270
การติดต่อ : 02 380 1177
อีเมล : [email protected]
➢ หม่บู า้ นเด็กโสสะบางปู สมทุ รปราการ

ทีต่ งั้ : 383 ม. 2 ถ. สขุ มุ วทิ ต. บางปูใหม่ อ. เมือง จ. สมุทรปราการ 10280
การติดต่อ : 0 2323 9553
➢ บา้ นโสสะ สงขลา
ทีต่ งั้ : 1 ถ. เทศบาล 73 ต. พะตง อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา 90230
การติดต่อ : 074 291 652
➢ หม่บู า้ นเด็กโสสะ “เฉลมิ นารินทร์” หนองคาย
ทีต่ งั้ : 185 ม. 3 ต. โพธ์ิชยั อ. เมือง จ. หนองคาย 43000
การติดต่อ : 042 990 528
เวบ็ ไซต์ : www.sosthailand.org
อีเมล : [email protected]
➢ หม่บู า้ นเด็กโสสะ “สริ ิเมตตา 72 พรรษา เฉลมิ พระเกียรต”ิ เชยี งราย
ทีต่ งั้ : 236 ม. 5 ถ. พหลโยธิน ต. ท่าสดุ อ. เมือง จ. เชยี งราย 57100
การติดต่อ : 053 772 590
เวบ็ ไซต์ : www.sosthailand.org
➢ หม่บู า้ นเด็กโสสะภเู ก็ต “เฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550”
ทีต่ งั้ : 90 ม. 2 ต. เกาะแกว้ อ. เมือง จ. ภเู กต็ 83000
การตดิ ต่อ : 076 615 169

การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ สถานรับเล้ียงเดก็ ท่เี ป็นครอบครัวทดแทน ดูแลในระยะยาวตามพัฒนาการของเดก็ ส่งผลต่อคณุ ภาพชีวิต

ของเด็กในการเติบโตข้ึนเป็ นผู้ใหญ่ ตามเป้ าหมายคือ เพ่ือให้ เด็กสามารถประกอบอาชีพและ
เล้ียงดูตัวเองได้ไม่เป็นภาระต่อสงั คม
❑ รับอปุ การะเดก็ บุญธรรมไม่ส่งหรือคนื เดก็ ให้หน่วยงานอ่นื หรือครอบครัวเดมิ
❑ หมายเหตุ : ญาติหรือพ่อแม่ท่ีมีชีวิตอยู่ต้ องไม่มายุ่งเก่ียวกับการดูแลเด็ก และไม่มาพบเด็ก
จนเกดิ ปัญหา หรือเดก็ เกดิ ความเดอื ดร้อน
❑ ผู้ปกครองสามารถมาเย่ียมได้ปี ละ 2 คร้ัง

คุณแม่ตอ้ งแม่น 42

7. หน่วยงานทีใ่ หค้ วามช่วยเหลือคุณแม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

องคก์ รเอกชน

8. มูลนธิ ิมติ รมวลเด็ก (กทม)

ทีต่ งั้ : 104/8 ซอยรณชยั 2 ถนนเศรษฐศิริ แขวงสามเสน
ใน เขตพญาไท กทม 10400
การติดต่อ : 0 2279 1058 9

การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ รั บ ดู แ ล เ ด็ก ต้ั งแ ต่ แ ร ก เกิด จ น กว่ า จะ ด า เ นิ น

การยกบุตรบญุ ธรรมเสรจ็ ส้นิ
❑ ก ร ณี ท่ีแ ม่ ยิ น ย อ ม ย ก บุ ต ร ใ ห้ ถ า ว ร จ ะ ด า เ นิ น

หาครอบครัวอปุ ถมั ภ์ให้แก่เดก็ ทนั ที
❑ กรณีท่ีแม่ฝากเล้ียงช่ัวคราวจะต้ องมาทาข้อตกลง

กาหนดระยะเวลาร่วมกบั มูลนิธกิ ่อน

9. มูลนธิ ิเด็กอ่อนในสลมั ฯ ใหบ้ ริการเปิ ดบา้ นรบั เล้ ียงเด็กอ่อน 4 หลงั

ทีต่ งั้ : 100-771-5 ลอ็ ค 6 ถ.อาจณรงค์ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
การติดต่อ : 02 541 7991 , 02 541 6092 5
อีเมล : [email protected]

➢ บ้านสมวยั (ชุมชนคลองเตย) จานวนเดก็ 90 คน/วัน
➢ บ้านศรีครินทร์ (ชุมชนกองขยะหนองแขม) จานวนเดก็ 50 คน/วัน
➢ บ้านแห่งความรัก (ชุมชนกองขยะอ่อนนุช) จานวนเดก็ 30 คน/วัน
➢ บ้านเสอื ใหญ่ (ชุมชนเสอื ใหญ่ประชาอทุ ศิ ) จานวนเดก็ 30 คน/วนั

การใหบ้ ริการ/เงือ่ นไขการรบั บริการ
❑ ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีชุมชนแออัดกับครอบครัวท่ีมีลูกวัยแรกเกิด 0-5 ปี เพ่ือส่งเสริม

ให้ครอบครัวทาหน้าท่ใี นการดูแลเดก็ ให้มีคุณภาพ
❑ ในกลุ่มหญิงต้งั ครรภ์ จะส่งเสริมให้แม่เล้ียงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อยแรกเกดิ 0-6 เดือน
❑ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ แ ม่ เ ล้ี ย ง ลู ก ใ ห้ ดี เ ป็ น อ า ส า ส มั ค ร แ ม่ ช่ ว ย แ ม่ เ พ่ื อ ใ ห้ ค า แ น ะ น า

และช่วยเหลือหญิงต้งั ครรภ์
❑ ส่งเสริมให้มอี าสาสมัครชุมชนปกป้ องเดก็ อย่างน้อย 2 คน/ชุมชน ทาหน้าท่ปี กป้ อง คุ้มครอง

ช่วยเหลือเดก็ ในชุมชนของตนเอง

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 43

7. หนว่ ยงานที่ใหค้ วามช่วยเหลือคณุ แม่และลูกนอ้ ย (ต่อ)

องคก์ รเอกชน

10. สหทยั มูลนธิ ิ

สานกั งานกลาง
850/33 ซอย ปรีดีพนมยงค์ 36 ถนน สขุ มุ วทิ 71 แขวงคลองตนั เหนือ
เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10110
การติดต่อ : 02 381 8834 6
อีเมล : [email protected]

สานกั งานภาคใต้
193 ถนน ศรีธรรมราช อ. เมือง จ. นครศรีธรรมราช 80000
การติดต่อ : 075 356 524
อีเมล : [email protected]
การใหบ้ ริการ

o พิทกั ษ์และคุ้มครองเดก็ ท่คี รอบครัวต้องการความช่วยเหลือ พร้อมท้งั ฟ้ื นฟู
และเสริมกาลงั ครอบครัว ให้สามารถทาหน้าท่ไี ด้อย่างสมบรู ณ์

o เช่ือม่ันว่า เดก็ ทุกคนต้องมีชีวิตอยู่ในครอบครัวอย่างม่ันคงผาสุก ไม่ว่าจะ
เป็นครอบครัวทดแทนช่วั คราวหรือถาวร

o ให้บริการด้านสวัสดิการเดก็ และครอบครัวตามหลกั วิชาการสงั คมสงเคราะห์

คุณแม่ตอ้ งแม่น 44

บรรณานุกรม

คณุ แม่ตอ้ งแม่น 45

บรรณานุกรม

กรมสขุ ภาพจติ . 2561. อาการซึมเศรา้ หลงั คลอดเป็ นยงั ไง มวี ิธีรบั มือกบั อาการซึมเศรา้
บา้ งไหม?(ออนไลน์). สบื ค้นจาก : https://www.dmh.go.th/news สบื ค้นเม่อื [4
พฤษภาคม 2565]

ฝ่ ายระบบอนิ เทอร์เนต็ กล่มุ เทคโนโลยสี ารสนเทศการทะเบยี น ส่วนบริหารและพัฒนา
เทคโนโลยีการทะเบยี นการให้บริการ 1548. 2565. การเกิด (ออนไลน)์ . สบื ค้น
จาก : https://www.bumrungrad.com/th/treatments/normal-vaginal-delivery
สบื ค้นเม่อื [7 เมษายน 2565]

นางนภิ า เพียรพิจารย.์ 2558. คู่มือการพยาบาล การส่งเสริมสายสมั พนั ธแ์ ม่-ลูก
(ออนไลน)์ สบื ค้นจาก : https://www2.si.mahidol.ac.th สบื ค้นเม่อื [7 เมษายน
2565]

บ้านพักเดก็ และครอบครัว. 2561. ภารกิจของบา้ นพกั เด็กและครอบครวั (ออนไลน)์ .
สบื ค้นจาก : https://surinshelter.dcy.go.th/role.php สบื ค้นเม่อื [15 เมษายน
2565]

พิมพ์วดี โรจนเ์ รืองนนท.์ 2559. ปัจจยั ทีม่ ีความสมั พนั ธก์ บั พฤติกรรมป้ องกนั การ
ต้งั ครรภไ์ ม่พึงประสงคข์ องนกั ศึกษาหญงิ ระดบั อุดมศึกษาแห่งหนงึ่ (ออนไลน)์ .
สบื ค้นจาก :
https://mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Pimwadee_%20%20Rojruang
สบื ค้นเม่อื [8 เมษายน 2565]

มูลนธิ สิ ยามกมั มาจล. 2558. สหทยั มูลนธิ ิ (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก :
https://www.scbfoundation.com/corporate/292/ สบื ค้นเม่อื [11 เมษายน
2565]

โรงพยาบาลระนอง. 2559. ศูนยบ์ ริการช่วยเหลือเด็กและสตรีทีถ่ ูกกระทารุนแรง (One
Stop Crisis Center, OSCC) หรือ ศูนยพ์ งึ่ ได”้ (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก :

https://www.rnh.go.th/main/index.php/oscc สบื ค้นเม่อื [12 เมษายน 2565]

คุณแม่ตอ้ งแม่น 46


Click to View FlipBook Version