The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patom22, 2019-09-21 03:24:44

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างคำไทย

คำประสม ซ้อน ซ้ำ...

ใบความรู้
เรื่อง การสร้างคาไทย
..................................................................................................................
คาประสม
คาประสม คือคำท่ีเกิดจำกกำรเอำคำมูลท่ีมีควำมหมำยตำ่ งกนั ต้งั แต่ ๒ คำข้ึนไปมำรวมกนั ซ้ำเป็นคำ
เดียว กลำยเป็นคำใหม่ มีควำมหมำยใหม่ แต่ยงั มีเคำ้ ควำมหมำยเดิมอยู่

การเกดิ คาประสมในภาษาไทย

คำประสมในภำษำไทยเกิดข้ึนไดห้ ลำยกรณี ดงั น้ี
๑. เกิดจำกคำไทยประสมกบั คำไทย เช่น ไฟ + ฟ้ำ = ไฟฟ้ำ
๒. เกิดจำกคำไทยประสมกบั คำต่ำงประเทศ เช่น

หลกั (ไทย) + ฐำน(บำลี) = หลกั ฐำน
ทุน(ไทย) + ทรัพย(์ สันสกฤต) = ทนุ ทรัพย์
นำ(ไทย) + ดำ(เขมร) = นำดำ
ผำ้ (ไทย) + ผวย (จีน) = ผำ้ ผวย
๓. เกิดจำกคำตำ่ งประเทศประสมกบั คำต่ำงประเทศ เช่น
รถ (บำลี) + เก๋ง(จีน) = รถเก๋ง
กิตติ(บำลี) + ศพั ท(์ สันสกฤต) = กิตติศพั ท์

ชนดิ ของคาที่เอามาประสมกนั

๑. คำนำมประสมกบั คำนำม เช่น พอ่ ตำ แม่ยำย ลูกนอ้ ง
๒. คำนำมประสมกบั กริยำ เช่น นกั ร้อง หมอดู บำ้ นพกั เรือบิน
๓. คำนำมประสมกบั คำวิเศษณ์ เช่น น้ำแขง็ เบ้ียลำ่ ง หวั ใส หวั หอม
๔. คำนำมประสมกบั ลกั ษณนำม เช่น วงแขน ดวงหนำ้ ลกู ชิ้น
๕. คำนำมประสมกบั สรรพนำม เช่น คุณนำย คุณหลวง
๖. คำกริยำประสมกบั คำกริยำ เช่น ตีพมิ พ์ เรียงพมิ พ์ พมิ พด์ ีด นอนกิน
๗. คำกริยำประสมกบั คำวเิ ศษณ์ เช่น ลงแดง ยนิ ดี ถือดี ยมิ้ หวำน
๘. คำวเิ ศษณ์ประสมกบั คำวิเศษณ์ เช่น หวำนเยน็ เขยี วหวำน
การพจิ ารณาคาประสม

คำประสมมีลกั ษณะเป็นกลมุ่ คำหรือวลี กำรพิจำรณำกลุ่มคำใด ๆ วำ่ เป็นคำประสมหรือไมน่ ้นั
สำมำรถพจิ ำรณำไดจ้ ำกลกั ษณะตอ่ ไปน้ี

๑. พิจำรณำลกั ษณะกำรเรียงคำและควำมหมำย คำประสมจะเรียงคำหลกั ไวข้ ำ้ หนำ้ คำที่เป็นเชิง

ขยำยจะเรียงไวข้ ำ้ งหลงั ควำมหมำยที่เกิดข้นึ จะเป็นควำมหมำยใหม่โดยมีเคำ้ ควำมหมำยเดิม

อยู่ เช่น

ลกู นำ้ หมำยถึง ลูกยงุ ไฟฟ้ำ หมำยถึง พลงั งำนชนิดหน่ึง

เบยี้ ล่ำง หมำยถึง เสียเปรียบ ยงิ ฟัน หมำยถึง กำรเผยอริมฝีปำกใหเ้ ห็นฟัน

(เป็ นคำประสม)

เวน้ จงั หวะ หมำยถึง กำรหยดุ ไวร้ ะยะ ไม่เป็นคำประสม

คนหน่ึง หมำยถึง คนเดียว ไม่เป็ นคำประสม

๒. พจิ ำรณำจำกลกั ษณนำม ท่ีใชก้ บั คำท่ีสงสัยวำ่ จะเป็นคำประสมหรือไม่โดยลองแยกดูวำ่ คำ

ลกั ษณนำมน้นั เป็นลกั ษณนำมของท้งั สองคำร่วมกนั หรือเป็นของคำใดคำหน่ึงโดยเฉพำะ ถำ้ เป็นลกั ษณนำม

ของท้งั สองคำร่วมกนั กลุม่ คำน้นั เป็นคำประสม แต่ถำ้ เป็นคำหน่ึงคำใดโดยเฉพำะ กล่มุ คำน้นั ก็ไมเ่ ป็นคำ

ประสม เช่น

ลกู ตำ คน น้ีเสียแลว้ คำวำ่ ลกู ตำ ไมเ่ ป็นคำประสม พิจำรณำจำกลกั ษณนำม “คน” เป็นลกั ษณ

นำมของตำ ซ่ึงเป็นคน

ลูกตำขำ้ งน้ีเสียแลว้ คำวำ่ ลูกตำ เป็นคำประสม พจิ ำรณำจำกลกั ษณนำม “ขำ้ ง” เป็นลกั ษณนำม

ของลูกตำ(อวยั วะ)

รถเจ๊กคนน้ีเก่ำมำก คำวำ่ รถเจก๊ ไม่เป็นคำประสม

รถเจ๊กคนั น้ีเก่ำมำก คำวำ่ รถเจ๊ก เป็นคำประสม

๓. พิจำรณำจำกควำมหมำยในประโยค หรือดูจำกขอ้ ควำมที่แวดลอ้ มคำซ่ึงเรำสงสัย ในประโยคบำ

ประโยค หรือในขอ้ ควำมบำงขอ้ ควำม เรำไม่สำมำรถบ่งออกไปไดท้ นั ทีวำ่ คำใดเป็นคำประสม จนกวำ่ เรำจะ

ไดพ้ ิจำรณำควำมหมำยของคำน้นั ใหช้ ดั เจนเสียก่อน เช่น

ก. นนั่ ลูกเลยี้ งใคร (เป็นไดท้ ้งั คำประสมและไม่ใช่คำประสม)

ข. นนั่ ลูกเลยี้ งของใคร ( เป็นคำประสม)

ค. นนั่ ลูกเลยี้ งใครไว้ ( ไม่เป็นคำประสม)

ประโยชน์ของคาประสม

๑. ทำใหม้ ีคำใชใ้ นภำษำมำกข้นึ โดยใชค้ ำที่มีอยแู่ ลว้ เอำมำรวมกนั ทำใหเ้ กิดคำใหม่ ไดค้ วำมหมำย
ใหม่

๒. ช่วยยอ่ ควำมยำว ๆ ใหส้ ้นั เขำ้ เป็นควำมสะดวกท้งั ในกำรพูดและกำรเขยี น
เช่น นกั ร้อง = ผทู้ ่ีชำนำญในกำรร้องเพลง

ชำวนำ = ผทู้ ี่มีชีวติ อยใู่ นผนื นำ

หมอนวด = ผทู้ ่ีชำนำญในกำรนวด

๓. ช่วยใหก้ ำรใชค้ ำไทยท่ีมำจำกภำษำตำ่ งประเทศ ประสมกลมกลืนกบั คำไทยแทไ้ ดส้ นิท เช่น

พลเมือง = พล(บำลี)+ เมือง(ไทย), เส้ือ(ไทย)+เชิ้ต(องั กฤษ), รถ(บำลี)+เก๋ง(จีน)

คาซ้อน คือ คำท่ีเกิดจำกกำรเอำคำมลู ที่มีควำมหมำยเหมือนกนั หรือคลำ้ ยคลึงกนั เป็นประเภท

เดียวกนั ต้งั แต่ ๒ คำข้ึนไป มำเรียงซอ้ นกนั เพอ่ื ใหค้ วำมหมำยชดั เจนข้ึน เช่น เสื่อสำด อว้ นพี ใหญโ่ ต

สาเหตุการเกดิ และประโยชน์ของคาซ้อน

๑. คำไทย คำเดียวน้นั อำจมีควำมหมำยไดห้ ลำยอยำ่ ง หำกพดู เพียงคำเดียวอำจทำใหเ้ ขำ้ ใจ
ควำมหมำยผดิ พลำดได้ จึงตอ้ งซอ้ นคำเพ่ือบอกควำมหมำยใหช้ ดั เจน เช่น
ตำ (อวยั วะ) ใชซ้ อ้ นกบั นยั น์ เป็น นยั น์ตำ

ขบั (ไล)่ ใชซ้ อ้ นกบั ไล่ เป็น ขบั ไล่

ขบั (ร้องเพลง) ใชซ้ อ้ นกบั กลอ่ ม เป็น ขบั กลอ่ ม

ขดั (ทำใหส้ ะอำด) ใชซ้ อ้ นกบั ถู เป็น ขดั ถู

ขดั (ไม่สะดวก) ใชซ้ อ้ นกบั ขวำง เป็น ขดั ขวำง

๒. คำไทยมีคำพอ้ งเสียงมำก ถำ้ พดู เพยี งคำเดียวก็ยำกที่จะเขำ้ ใจควำมหมำยได้ จึงตอ้ งใชค้ ำที่มี
ควำมหมำยเหมือนกนั หรือคลำ้ ยคลึงเป็นประเภทเดียวกนั มำซอ้ นไว้ เพื่อบอกควำมหมำยให้
ชดั เจน
ค่ำ ใชซ้ อ้ นกบั งวด เป็น ค่ำงวด

ฆ่ำ ใชซ้ อ้ นกบั ฟัน เป็น ฆ่ำฟัน

ขำ้ ใชซ้ อ้ นกบั ทำส เป็น ขำ้ ทำส

๓. ภำษำไทยเป็นภำษำวรรณยกุ ต์ คำไทยท่ีมีสระและพยญั ชนะเดียวกนั ถำ้ เสียงวรรณยกุ ตต์ ำ่ งกนั
เพียงเลก็ นอ้ ย ควำมหมำยของคำกจ็ ะแตกต่ำงกนั ไปดว้ ย ถำ้ ฟังผิดเพ้ยี นไป หรือฟังไมถ่ นดั ก็จะ
ทำใหเ้ ขำ้ ใจควำมหมำยผิดพลำดได้ ดงั น้นั จึงตอ้ งมีกำรซอ้ นคำข้ึน เพ่ือกำกบั ควำมหมำยให้
ชดั เจน เช่น
เสือ ใชซ้ อ้ นกบั สำง เป็น เสือสำง

เสื่อ ใชซ้ อ้ นกบั สำด เป็น เสื่อสำด

เส้ือ ใชซ้ อ้ นกบั ผำ้ เป็น เส้ือผำ้

คำ ใชซ้ อ้ นกบั ถอ้ ย เป็น คำถอ้ ย

ค่ำ ใชซ้ อ้ นกบั คืน เป็น คืน

ค้ำ ใชซ้ อ้ นกบั จุน เป็น ค้ำจุน

๔. คำไทยส่วนมำกเป็นคำพยำงคเ์ ดียว เวลำพูดอำจฟังไมท่ นั หรือฟังไมถ่ นดั ก็จะทำใหเ้ ขำ้ ใจ
ควำมหมำยผดิ พลำดได้ เรำจึงซอ้ นคำข้ึนเพื่อบอกควำมหมำยไดช้ ดั เจน เช่น
ปัด ใชซ้ อ้ นกบั กวำด เป็น ปัดกวำด

ขดั ใชซ้ อ้ นกบั ขวำง เป็น ขดั ขวำง

เช็ด ใชซ้ อ้ นกบั ถู เป็น เช็ดถู

๕. ภำษำไทยเรำมีคำที่มำจำกภำษำตำ่ งประเทศปะปนอยมู่ ำก เช่น บำลีสนั สกฤต เขมร เป็นตน้
ในระยะแรก ๆ กย็ งั ไม่เป็นท่ีเขำ้ ใจควำมหมำยของคำกนั อยำ่ งแพร่หลำย จึงตอ้ งนำคำไทยท่ีมี
ควำมหมำยเหมือนกนั หรือคลำ้ ยคลึงเป็นประเภทเดียวกนั มำเรียงซอ้ นกนั ไวเ้ พ่อื ขยำย
ควำมหมำยใหช้ ดั เจน เช่น
ทรัพย์ ใชซ้ อ้ นกบั สิน เป็น ทรัพยส์ ิน

ซำก ใชซ้ อ้ นกบั ศพ เป็น ซำกศพ

เขยี ว ใชซ้ อ้ นกบั ขจี เป็น เขยี วขจี

ลกั ษณะของคาซ้อนในภาษาไทย

คำซอ้ นมีหลำยลกั ษณะ ดงั น้ี

๑. คำไทยกลำงซอ้ นกบั คำไทยกลำง เช่น
หวั หู แขง้ ขำ เกอ้ เขิน แกไ้ ข ใหญโ่ ต หนำ้ ตำ บำ้ นเรือน ดินฟ้ำ

๒. คำไทยกลำงซอ้ นกบั คำไทยถ่ิน เช่น พดั วี - วี ภำษำถิ่นใต้ หมำยถึง พดั
อิดโรย - อิด ภำษำถิ่นเหนือ หมำยถึง เหนื่อย
บำดแผล - บำด ภำษำถ่ินอีสำน หมำยถึง แผล

๓. คำไทยกลำงซอ้ นกบั ภำษำตำ่ งประเทศ เช่น
ขำ้ ทำส - ทำส ภำษำบำลี สันสกฤต

จิตใจ - จิต ภำษำบำลี

โง่เขลำ - เขลำ ภำษำเขมร

แบบแปลน - แปลน ภำษำองั กฤษ

๔. คำต่ำงประเทศซอ้ นกบั คำตำ่ งประเทศ เช่น
สรงสนำน - สรง ภำษำเขมร

สนำน ภำษำสันสกฤต

ทรัพยส์ มบตั ิ - ทรัพย์ ภำษำสนั สกฤต

- สมบตั ิ ภำษำบำลี

๕. คำซอ้ นท่ีซอ้ นกนั ๒ คู่ จะปรำกฏในลกั ษณะดงั น้ี
ก. มีสมั ผสั ที่ค่กู ลำง เช่น อปุ ถมั ภค์ ้ำชู ลม้ หำยตำยจำก ไฟไหมไ้ ตล้ น ยำกเยน็
เขญ็ ใจ
ข. มีพยำงคห์ นำ้ ซ้ำกนั เช่น ปำกเปี ยกปำกแฉะ ชวั่ ค่ชู ว่ั ยำม ถึงพริกถึงขิง

ลกั ษณะของความหมายท่ีเกดิ จากคาซ้อน
๑. ควำมหมำยคงเดิม เช่น ซำกศพ อว้ นพี โตแ้ ยง้ สูญหำย
๒. ควำมหมำยกวำ้ งออก เช่น
ตบั ไตไสพ้ ุง หมำยถึง อวยั วะภำยในอะไรกไ็ ด้ ไม่ไดห้ มำยเฉพำะอวยั วะ ๔อยำ่ งน้ี
ไฟไหมไ้ ตล้ น หมำยถึง ร้อนอกร้อนใจ
หมเู ห็ดเป็ดไก่ หมำยถึง อำหำรหลำยชนิด
กินขำ้ วกินปลำ หมำยถึง กินอำหำร
๓. ควำมหมำยยำ้ ยที่ คอื ควำมหมำยจะเป็นอยำ่ งอื่นซ่ึงไม่ตรงกบั ควำมหมำยของคำเดิมเช่น
ขมขืน่ หมำยถึง ควำมรู้สึกเป็นทุกข์ มิไดห้ มำยถึงรสขมและขนื่
เหลียวแล หมำยถึง กำรเอำใจใส่เป็นธุระ
เดือดร้อน หมำยถึง ควำมลำบำกใจ
๔. ควำมหมำยอยทู่ ่ีคำหนำ้ เช่น
เป็นลมเป็นแลง้ ขนั หมำกรำกพลู ใตถ้ นุ รุนช่อง อำยอุ ำนำม ควำมคดิ ควำมอ่ำน
๕. ควำมหมำยอยทู่ ่ีคำหลงั เช่น
เสียอกเสียใจ วำ่ นอนสอนง่ำย ต้งั เน้ือต้งั ตวั หูตำ
๖. ควำมหมำยอยทู่ ่ีคำตน้ และคำทำ้ ย เช่น
ผลหมำกรำกไม้ อดตำหลบั ขบั ตำนอน ตกไร้ไดย้ ำก ติดสอยหอ้ ยตำม
๗. ไดค้ วำมหมำยท้งั สองคำ เช่น
ดินฟ้ำอำกำศ เอวบำงร่ำงนอ้ ย ยศถำบรรดำศกั ด์ิ อำนำจวำสนำ
๘. ควำมหมำยของคำคูห่ นำ้ กบั คู่หลงั ตรงกนั ขำ้ ม เช่น
หนำ้ ไหวห้ ลงั หลอก ปำกหวำนกน้ เปร้ียว หนำ้ เน้ือใจเสือ หนำ้ ช่ืนอกตรม
๙. คำ ๆ เดียวกนั เมื่อนำคำตำ่ งกนั มำซอ้ น จะทำใหไ้ ดค้ วำมหมำยต่ำง ๆ กนั ไป เช่น
แน่น - แน่นหนำ แน่นแฟ้น
กีด - กีดขวำง กีดกนั
หลอก - หลอกลวง หลอกล่อ หลอกหลอน
แอบ - แอบอิง แอบอำ้ ง แอบแฝง

คาซ้า

คาซ้า คอื คำท่ีเกิดจำกกำรซ้ำเสียงคำเดียวกนั ต้งั แต่ ๒ คำข้ึนไปเพ่ือทำใหเ้ กิดคำใหมไ่ ดค้ วำมหมำย
ใหม่

ลกั ษณะของคาซ้าในภาษาไทย

๑. ซ้ำคำเดียวกนั ๒ หน ระดบั เสียงวรรณยกุ ตค์ งเดิม เช่น เร็ว ๆ หนุ่ม ๆ หนกั ๆ
๒. ซ้ำคำเดียวกนั ๒ หน โดยเนน้ ระดบั เสียงวรรณยกุ ตท์ ่ีคำหนำ้ เช่น วำ้ น หวำน นกั หนกั
๓. ซ้ำคำเดียวกนั ๓ หน โดยเนน้ ระดบั เสียงวรรณยกุ ตท์ ี่คำกลำง เช่น ดีด๊ีดี คมคม้ คม
๔. ซ้ำคำประสม ๒ พยำงค์ ๒ หน โดยเนน้ ระดบั เสียงวรรณยกุ ตท์ ่ีพยำงคห์ ลงั ของคำหนำ้ เช่น เจ็บ

ใจเ๊ จบ็ ใจ ดีใจ๊ดีใจ

๕. ซ้ำคำเดียวกนั ๒ หน ระดบั เสียงวรรณยกุ ตค์ งเดิมแตเ่ กิดกำรกร่อนเสียงข้ึน เช่น ล่ิว ๆ เป็น ละ
ล่ิว ครืน ๆ เป็น คระครืน

ลกั ษณะความหมายของคาซ้า

๑. บอกควำมหมำยเป็นพหูพจน์ มกั เป็นคำนำมและคำสรรพนำม เช่น เด็ก ๆ พี่ ๆ
๒. บอกควำมหมำยเป็นเอกพจน์ แยกจำนวนออกเป็นส่วน ๆ มกั เป็นคำลกั ษณนำม เช่น ลำ้ งชำมให้

สะอำดเป็นใบ ๆ อำ่ นหนงั สือเป็นเร่ือง ๆ
๓. เนน้ ควำมหมำยของคำเดิม มกั เป็นคำวิเศษณ์ เช่น พูดดงั ๆ ฟังดี ๆ นงั่ น่ิง ๆ
๔. ลดควำมหมำยของคำเดิม มกั เป็นคำวเิ ศษณ์บอกสี เช่น สีแดง ๆ สีดำ ๆ
๕. บอกควำมหมำยโดยประมำณท้งั ที่เกี่ยวกบั เวลำและสถำนที่ เช่น เวลำเยน็ ๆ ตื่นเชำ้ ๆ

แถว ๆ ส่ีแยก กลำง ๆ สะพำน

๖. บอกควำมหมำยสลบั กนั เช่น เดินเขำ้ ๆ ออก ๆ หลบั ๆ ตื่น ๆ

๗. บอกควำมหมำยเป็นสำนวน เช่น งู ๆ ปลำ ๆ ดี ๆ ชว่ั ๆ ไป ๆ มำ ๆ

๘. บอกควำมหมำยแสดงกำรเปรียบเทียบข้นั ปกติ ข้นั กวำ่ ข้นั สุด เช่น

ข้นั ปกติ ข้นั กวำ่ ข้นั สุด

เชย ๆ เชย เชย้ เชย

หลวม ๆ หลวม ลว้ มหลวม

...............................................................


Click to View FlipBook Version