The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patom22, 2019-09-21 03:31:37

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

คำภำษำตำ่ งประเทศทีม่ ใี ชใ้ นภำษำไทย

โดยธรรมชาติ ภาษาทกุ ภาษายอ่ มมีคาภาษาอน่ื ปะปน เพราะภาษาเป็นเครอ่ื งมอื ในการ
สือ่ สาร ส่ือความคิดของมนุษย์และเปน็ วัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซง่ึ ยอ่ มมี การถา่ ยทอดหยิบยืมกนั ได้ ทา
ให้มีคาในภาษาใช้มากข้นึ สะดวกต่อการสื่อความหมายกนั ทั้งทาใหภ้ าษามคี วามเจรญิ งอกงามข้ึนอีกด้วย

สำเหตทุ ่ภี ำษำต่ำงประเทศเข้ำมำปะปนในภำษำไทย
สภาพภมู ิศาสตร์
อทิ ธภิ าพทางประวตั ิศาสตร์
อทิ ธิพลของศาสนา
อิทธิพลทางการศึกษา

สำเหตุ การตดิ ต่อสรา้ งสมั พันธไมตรีและคมนาคม
อิทธิพลทางภาษาและวรรณคดี
การแลกเปลยี่ นวฒั นธรรม
อิทธพิ ลทางการค้าขาย
อิทธิพลทางธุรกิจส่วนตัว

ภำษำตำ่ งประเทศท่มี ีใชใ้ นภำษำไทย

เขมร จนี ชวำ
บำลี
องั กฤษ ภำษำตำ่ งประเทศ สนั สกฤต
ฝรง่ั เศส

ญวน ญ่ีปุน่ มลำยู

ภาษาทม่ี ีใชใ้ นภาษาไทยเปน็ จานวนมาก คือ ภาษาบาลี สนั สกฤต จนี
อังกฤษ ชวา นอกจากนีแ้ ล้วยงั มภี าษาอน่ื ๆ อีก เชน่ พม่า ตะเลง
เบงกาลี ละติน โปรตุเกส เปอรเ์ ซยี อาหรับ และในปัจจุบันกจ็ ะมีภาษาเกาหลี
ภาษาเวยี ดนาม ภาษารสั เซยี เขา้ มาตามกระแสความนิยมในดา้ นการแสดง
การแตง่ กาย วฒั นธรรม และอ่ืน ๆ บา้ ง ภาษาตา่ งประเทศเหล่าน้ี

จะมรี ปู ลกั ษณะทแี่ ตกต่างไปจากภาษาไทยทง้ั สิน้

ลักษณะและคำภำษำตำ่ งประเทศในภำษำไทย

ภำษำสันสกฤต

ภำษำสนั สกฤต เปน็ ภาษาตระกูลวภิ ัตตปิ จั จยั มรี ปู คาสละสลวย ไพเราะ นยิ มใช้เปน็
คาราชาศัพท์ ภาษาในวรรณคดี ช่ือบคุ คล และสถานท่ี เป็นตน้

ใช้ ฑ

มี ร หนั

นยิ มมอี ักษรควบกลำ

ขอ้ สงั เกต ใช้ ศ ษ ประสมคำเป็นส่วนมำก

ใช้ ส นำหน้ำพยญั ชนะวรรค ตะ

ประสมด้วยสระ ไอ เอำ ฤ ฤ ๅ ฦ ฦ ๅ

มหี ลักเกณฑ์ตวั สะกด ตัวตำมไมแ่ น่นอน

หมำยเหตุ คาบางคาทีเ่ ขา้ หลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึง่ ดังกล่าวน้ี อาจจะเป็นคาภาษาอนื่ กไ็ ด้
เช่น ศอก ศกึ เศกิ กระดาษ ดาษ ฝดี าษ ฝรัง่ เศส เปน็ คาไทยแท้ เป็นต้น

ตัวอย่ำงคำภำษำสนั สกฤต

นิยมใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ ไพฑูรย์ วิฑาร เป็นตน้
นิยมใช้ ร หัน เชน่ กรรณ กรรม ขรรค์ ครรภ์ ครรชิต ธรรม พรรษา บรรพต วรรค วรรณะ

มหศั จรรย์ สรรพ สวรรค์ สวุ รรณ อศั จรรย์ เปน็ ต้น
นิยมมีอักษรควบกลำ เชน่ กษัตริย์ เกษตร นักษัตร ตรุษ บุตร ปราชญ์ ปรารถนา พฤกษ์

เนตร มนตรี ไมตรี ศาสตรา อาทติ ย์ เป็นต้น
ใช้ ศ ษ ประสมคำเป็นส่วนมำก เชน่ กษัย เกษม เกษียณ เกษียร เกษตร ทฤษฎี ทักษิณ ทศั นีย์

บษุ กร บษุ บา บุรุษ เพศ ภักษา ภิกษุ มนุษย์ วเิ ศษ ศิลปะ ศิษย์ ศกึ ษา ศกุ ร์ ศนู ย์ เศยี ร
อักษร อธั ยาศัย เปน็ ตน้
ใช้ ส นำหนำ้ พยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เช่น พัสดุ พสิ ดาร สตรี สถาน สถติ สถิติ
สถาปนา สนธยา สตั ย์ สันโดษ อัสดง เป็นต้น
ประสมด้วยสระ ไอ เอำ ฤ ฤ ๅ ฦ ฦ ๅ เชน่ ไศล ไศวะ ไวทย์ ไวษณพ ไวยากรณ์ ไวศฺย
ไหรณย์ (น. เงิน ว. ทาดว้ ยเงิน เปน็ ทอง ทาดว้ ยทอง) ไอราวัณ ไอยรา เกาศยั เอารส
ฤดี ฤทัย ฤทธิ์ ฤๅษี กฤษณา พฤตกิ รรม พฤษภาคม พฤศจิกายน ทฤษฎี นฤคหติ นฤมล
มฤตยู ฦๅชา ฦๅสาย เป็นตน้
มีหลักเกณฑต์ ัวสะกด ตัวตำมไมแ่ นน่ อน กัลป์ การบูร กีรติ โกรธ จักร จักรวาล จนั ทรา
ดัสกร ทรมาน ทรัพย์ ทหาร นติ ยา บุษกร บุรษุ ประพันธ์ ประพฤติ พยายาม ลกั ษณะ วิทยุ
มนตรี มตั สยา มัธยม ศัพท์ ศาสนา ศาสตรา อาชญา อาตมา อาจารย์ อุทยาน เป็นต้น

ภำษำบำลี

ภำษำบำลี เป็นภาษาตระกูลเดยี วกบั ภาษาสันสกฤต คือ ภาษาตระกลู วิภัตตปิ จั จัย จึงมีลักษณะ
คลา้ ยคลงึ กนั มาก เปน็ ภาษาทใ่ี ชใ้ นพทุ ธศาสนาเป็นสาคัญ

นยิ มใช้ ฬ

ข้อสงั เกต ประสมดว้ ยสระ อะ อิ อุ
แทน ฤ ในภาษาสันสกฤต

มีหลักตัวสะกดตัวตามท่ีแน่นอน

นยิ มใช้พยัญชนะ ๒ ตัวซ้อนกนั

ตัวอย่ำงคำภำษำบำลี

นิยมใช้ ฬ เชน่ กฬี า จุฬา ครุฬนาฬกิ า วฬิ าร์ อาสาฬห เป็นต้น
ประสมด้วยสระ อะ อิ อุ แทน ฤ ในภาษาสนั สกฤต เชน่
นยิ มใชพ้ ยญั ชนะ ๒ ตัวซอ้ นกัน กติ ติ ทัพพี นพิ พาน ปัญญา ปจั จัย บคุ คล บลั ลังก์ ภัตตา

มัจจุราช เมตตา วญิ ญาณ สญั ญาณ อคั คี อนจิ จา
มหี ลกั ตัวสะกดตัวตำมทแ่ี น่นอน ดงั นี

พยญั ชนะวรรคของภำษำบำลี

วรรค แถวที่ ๑ แถวท่ี ๒ แถวที่ ๓ แถวท่ี ๔ แถวท่ี ๕ เศษวรรค
วรรค กะ ก ข ค ฆ ง ยรลว
ฐานคอ (กัณฐชะ) สห ฬ
วรรค จะ จ ฉ ช ฌ ญ ๐ (องั )
ฐานเพดาน (ตาลุชะ)
วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑฒณ
ฐานปมุ่ เหงือก
(มุทธชะ) ตถทธน
วรรค ตะ ป ผ พภม
ฐานฟัน (ทันตชะ)
วรรค ปะ
ฐานริมฝีปาก
(โอฐชะ)

หลักตัวสะกดตัวตำมภำษำบำลี

๑. คาบาลี เม่อื มตี วั สะกดต้องมตี วั ตาม
๒. พยญั ชนะท่เี ปน็ ตวั สะกดได้ คือ พยัญชนะแถวท่ี ๑, ๓, ๕
๓. พยญั ชนะแถวท่ี ๑ สะกด พยัญชนะแถวท่ี ๑, ๒ ในวรรคเดียวกนั ตาม เชน่ สักกะ ทกุ ข์
สจั จะ มัจฉา อิตถี หตั ถ์ บุปผา เป็นตน้
๔. พยญั ชนะแถวที่ ๓ สะกด พยัญชนะแถวท่ี ๓, ๔ ในวรรคเดยี วกนั เป็นตวั ตาม เช่น พยคั ฆ์
พทุ ธ สิทธิ อคั คี อัชฌาสัย อวิชชาเปน็ ต้น
๕. พยัญชนะแถวท่ี ๕ สะกด พยญั ชนะทุกตวั ในวรรคเดียวกันตามได้ เชน่ องก์ สังข์ องค์ สงฆ์
สญั จร สญั ชาติ สัณฐาน สนั ดาป สันธาน สัมผัส สัมพนั ธ์ คัมภีร์ อมั พร
เปน็ ต้น

๖. พยัญชนะเศษวรรค เปน็ ตัวสะกดไดบ้ างตวั เชน่ อัยกา มลั ลกิ า วริ ฬุ ห์ ชิวหา เป็นต้น

ขอ้ แตกตำ่ งของภำษำบำลีและสันสกฤต

สนั สกฤตเขาน้นั มี สามสบิ หา้ กเ็ พยี งพอ
ทีม่ ากกว่าบาลี ศ ษ น้เี ข้าใจหนอ
เราเออออเอามาใช้
บาลีนยิ ม ฬ จุฬา ครฬุ ทมฬิ ไซร้
กีฬา นาฬิกา นยิ ม ฑ มหี ลายคา
ไพฑรู ยห์ นาควรจดจา
สันสกฤตแตกต่างไป หลกั บาลเี สยี กอ่ นหนา
จุฑา ครุฑ กรีฑา อวั ไมม่ ีหลอกหนจู า๋
อะ เอ โอ ไม่การนั ต์
ตอ่ ไปจะขอย้า ชมชนื่ ชอบตัวซอ้ นกนั
สระมแี ปดตวั มปี ญั ญำไร้อวชิ ชำ
หนึง่ สามห้าสะกดนา
อิ อี อุ อู อำ ตามตอ่ ถา้ วรรคเดยี วกนั
ร หนั ไมน่ ิยม บุปผำพา ปจั ฉมิ พลนั
อัชฌำสัย พทุ ธ พยคั ฆำ
บคุ คลปัจจบุ ัน เขากาหนดหนึ่งถงึ ห้า
มสี ะกดต้องมตี าม สัณฐำนวา่ สญั จรไป
สมั พนั ธ์ญาติมีน้าใจ
หนึ่งสะกดหนง่ึ สองมา ตรีอมั พรทาสัญญำ
ทกุ ขงั หัตถ์ มัจฉำ เหลา่ มวลมิตรคนุ้ เคยตา
เพิม่ ฤ ฤๅ ไอ เอา ฦ ฦๅ
สามสต่ี ามสามนั้น อัศจรรย์ บรรพต บรรพชำ
แถวห้าต้องสะกด วรรณำธรรมละกรรมเวร
ฤทยั นีรักหลานเหลน
ตามได้ไม่กังขำ กฤษณำพฤกษ์ไมเ้ น้ือหอม
องค์สงฆท์ ุกสญั ชำติ เนตรมนตรหี ญิงยลยอม
บตุ รปรำชญพ์ ร้อมรีบเร่งเรยี น
สนั ธำนสัมผัสไม-
ต่อไปสันสกฤต

สระ สิบสห่ี นา
นิยมคา ร หนั

ครรชติ แก่พรรษำ
ตัว ฤ เช่นฤดี

นฤมลกลัวโลเ่ ขน
ตัวกลา้ ใชม้ ากมี

ศำสตร์ศลิ ป์ปรำโมทย์น้อม

ศ ษ ดจู งดี ศกั ดิศ์ รีศำลศำสตร์ศนู ย์เศียร
อักษรศกึ ษำเพยี ร วิเศษสดุ สุขเกษม
ต ถ ท ธ น เอม
ส เสือ นาวรรค ต สถติ ถา้ ย่าสนธยำ
พิสดำรสถำนเหม รขู้ ้นั เทพต้องศกึ ษา
จากตาราอาจารยค์ รู
จบความพอสงั เขป สังเกตแปลกแจ้งชัดหู
เพ่มิ เติมเสรมิ วิชา เปน็ กรู ภู าษาไทย

รหู้ ลกั จกั จาแนก
มุง่ มน่ั ตัง้ ใจรู้

ภำษำเขมร

ภาษาเขมร เป็นภาษาตระกลู เดยี วกบั ภาษาไทย แตม่ กี ารสร้างคาแบบภาษาคาติดตอ่
คอื การเติมหนา้ เชน่ บังคม เตมิ กลาง เช่น อานวย เป็นต้น และมคี าแผลง คาควบกล้ามากมาย ภาษา
เขมรนยิ มใช้เปน็ คาราชาศัพท์

ขอ้ สังเกต

ส่วนใหญ่มีพยำงคเ์ ดยี ว นิยมคำควบกลำและอักษรนำ เช่น
เช่น แข ไข แด โดม เพญ็ กระบือ ขลงั ไถง สลา เขนย
เจมิ เนา โสม เปน็ ต้น

สะกดดว้ ย ตวั ร ล ญ จ เป็น มี คำ บัง บนั บรร บำ กำ คำ
ส่วนมาก เช่น ขจร ระเมียร จำ ทำ ดำ ตำ นำหน้ำ เช่น
ควร กงั วล เมิล บันดาล เจร บาเพ็ญ บาบดั บาบวง บงั ควร
เพญ็ เผชิญ เผดจ็ เสดจ็ บงั อาจ บังคบั บนั ดาล ประจุ
ประชุม ประจบ ดาริ ดาเนนิ

นิยมกำรแผลงคำ เช่น กาเนิด กาลงั นิยมใช้เป็นรำชำศัพท์
แผนก ระบา ตารวจ ดาริ กาเดา เช่น เสวย เขนย เสด็จ ทรง

ประทบั ตรัส โปรด

ตัวอย่ำงคำภำษำเขมร

กงั วล กระแส กระทรวง กระบือ กาจาย กาจัด กาเดา กาธร
กานล ขจัด โขมด (ผชี นดิ หนึง่ ) โขลนทวาร ขลงั ขมีขมัน เขลา
ขยม (ขา้ พเจ้า) ขลาด แข (ดวงจนั ทร์) ขจร ขจาย ขนบ ขจัดขจาย ขนอง
ขนาน ขมัง (พรานธน)ู ควาญ คานวณ จานรรจา จาเนียร เจริญ ฉงาย
เฉพาะ ฉะเชงิ เทรา ฉลอง ฉลาด เฉลย ฉนา (ปี) โฉด ชะเอม (ชื่อผลไม้)
เชลย ดล ดาริ ดาเนนิ โดยสาร ตารา ตารวจ ตรัส ทูล ถวาย ไถง (วนั )
เลศิ บังเกิด บงั คม บงั คลั บังเอญิ บังเหียน บรรจง บรรทกุ บรรทม
บันดาล บนั เทิง บาเพ็ญ บาบวง บานาญ บาเหน็จ ประกาย ประจญ
ประทับ ประสม ประสาน เพญ็ เพลงิ ผกา ผจญ ผสม ไผท ผลาญ
เผอญิ เผดจ็ เผดมิ ลออ สบง สดับ สดา (ขวา) สราญ สาราญ เสร็จ
สาเร็จ เสนง่ (เขาสัตว์) มขุ เนา (อยู่) แสวง สาเนา เรยี ม ระเบยี บ
ลบอง รัญจวน อาจ อานาจ อญั ขยม (ขา้ พเจ้า)

ภำษำชวำ

ภำษำชวำ เป็นภาษาตระกูลเดยี วกับภาษามลายู อยูใ่ นตระกลู ภาษา
คาติดต่อ คาส่วนใหญ่มสี องพยางค์ การท่ีคาภาษาชวาเขา้ มาปะปนในภาษาไทยน้ัน เป็นเพราะวา่ ไทยกับ
ชวามคี วามสมั พันธ์ฉันมิตรกนั มาแต่โบราณ นอกจากน้นั เม่ือวรรณคดเี รื่องอิเหนาอันเป็นบทพระราช
นพิ นธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั เป็นทีร่ ู้จักและชืน่ ชอบกันอย่างแพร่หลาย คนไทยจงึ
คนุ้ เคยและรับคาภาษาชวามาใชใ้ นภาษาไทยมากข้ึน

ตัวอยำ่ งคำภำษำชวำ

กระยาหงัน (สวรรค)์ กริช กดิ าหยัน (มหาดเล็ก) กหุ นงุ (เขาสูง) การะบหุ นงิ (ดอกแกว้ )
กลั ปงั หา กญุ แจ กระดงั งา อิเหนา องั กะลุง อสัญแดหวา (เทวดา) ตุนาหงนั (คู่หมั้น) ยิหวา ดวงใจ)
บหุ รง (นกยูง) บหุ ลนั (ดวงจันทร์) บุหงา (ดอกไม้) อุรงั อุตัง สะตาหมัน (สวน) บหุ งาราไป ปาหนนั
(ดอกลาเจยี ก) รามะนา การะบหุ นิง (ดอกแกว้ ) กดิ าหยัน (มหาดเลก็ ) ซ่าโบะ (ผ้าห่ม) ซา่ หริ่ม
ดาหงนั (สงคราม) ปันหยี ปน้ั เหน่ง ประทดั บษุ บามินตรา (ดอกพทุ ธรกั ษา) มาลาตี (ดอกมะลิ)
มินตรา (ต้นกระถนิ ) มริ นั ตี (ดาวเรอื ง) สะการะตาหรา (ดอกกรรณิการ์) ตันหยง (ดอกพิกลุ ) กาหลา
(ช่อื ดอกไม้) ประไหมสุหรี มะเดหวี ระตู (เจ้าเมอื ง)

ภำษำจีน

ภำษำจีน เปน็ ภาษาตระกลู ภาษาคาโดดเชน่ เดียวกับภาษาไทย มรี ะดับเสยี งวรรณยุกต์ ส่วน
ใหญ่เปน็ คาพยางค์เดยี ว คาภาษาจีนเขา้ มาปะปนในภาษาไทยเพราะมคี วามสมั พนั ธก์ นั มาช้านาน ทัง้ ใน
ด้านถน่ิ ฐาน เช้อื ชาติ การค้าขาย

ตัวอย่ำงคำภำษำจนี

กงสี กงฉิน กงไฉ่ กงเต็ก ก๋วยเต๋ยี ว ก๋วยจั๊บ เกาหลา กยุ๊ เก๊ เกก๊ เก้ยี ว
เกยี๊ ว เกีย๊ ะ กุยเฮง เก๊ก กง๋ เก้าอ้ี ขาก๊วย เขง่ จบั กัง จบั ฉา่ ย จับยีก่ ี จันอับ
เจง๊ เจ๋ยี น เจ เฉาก๊วย เซ้ง เซยี น แซ่ แซยิด เซ็งลี้ ซาลาเปา ซ้ิม ตะหลิว
เตา๋ ตนุ ตนุ๋ แตะ๊ เอีย เตา้ หู้ เตา้ ฮวย เตา้ เจ้ยี ว โตะ๊ ไตก้ ง๋ ตงั เก เถ้าแก่ บ๊วย
บะฉ่อ บะหมี่ บู๊ ปุ้งกี๋ ปอเปยี๊ ะ แปะ๊ เจยี๊ ะ พะโล้ เยน็ ตาโฟ หวย ยห่ี ้อ
ลนิ้ จ่ี หา้ ง หนุ้ เอ๊ยี ม โสห้ยุ เฮงซวย ฮวงซยุ้ ฮ่องเต้ อ้งั โล่

ภำษำองั กฤษ

ภำษำองั กฤษ เปน็ ภาษาตระกลู วภิ ตั ติ ปิ จั จยั แตม่ คี าบางคามพี ยางคเ์ ดยี ว
ใกลเ้ คยี งกับคาไทย เชน่ หรีด รมิ ฟลิ ม์ ฟรี บาร์ เบยี ร์ เป็นตน้ สว่ นใหญเ่ ข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยเพราะ ดา้ นการศึกษา ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี วิชาการตา่ ง ๆ ในปัจจุบันไทยรบั
เอาภาษาองั กฤษมาใชเ้ พ่ิมมากข้นึ

ตวั อยำ่ งคำภำษำองั กฤษ

กราฟ การต์ ูน ก๊บิ กลูโคส ก๊อก กอซ ก๊อปป๊ี กปั ตนั แก๊ส กุ๊ก
เกียร์ แกง๊ แกลลอน คริสต์มาส ไดนาโม ไดโนเสาร์ ครีม คลอรีน คอนกรีต คลินิก
คอนเสิรต์ คอมพวิ เตอร์ คุกก้ี เคเบิล เครดติ เคานเ์ ตอร์ แคปซลู แคลอรี โควตา ชอลก์
ช็อกโกเลต เชค็ เช้ติ เชียร์ โชว์ ซลิ ิคอน ซเี มนต์ เซลล์ ไซเรน ดอลลาร์ ดีเซล ดีเปรสชัน่
เต็นท์ ทรานซิสเตอร์ ทอนซิล ทอฟฟ่ี ทิงเจอร์ เทอม แท็กซ่ี แทรกเตอร์ นอต นโิ คตนิ
นวิ เคลยี ร์ นอี อน นวิ เคลยี ส โน้ต ไนลอน บลอ็ ก เบนซิน แบคทีเรยี แบเรียม โบนสั ปลกั๊
ปารเ์ กต์ ปิกนิก เปอร์เซน็ ต์ พลาสติก พีระมดิ ฟลูออรีน ฟอร์มาลนี ฟังกช์ นั ฟารม์ ฟสิ กิ ส์
ฟลุ สแก๊ป แฟลกซ์ มอเตอร์ มมั มี่ มาเลเรยี โมเลกลุ ไมล์ ไมโครโฟน ไมโครเวฟ ยิปซัม
ยีราฟ ริบบ้นิ เรดาร์ ลิกไนต์ ลปิ สติก เลเซอร์ วัคซีน วติ ามิน ไวโอลิน แสตมป์ สวิตซ์
ออฟฟิศ อะลมู เิ นียม อนิ ซูลิน อิเลก็ ทรอนิกส์ เอกซเรย์ แอลกอฮอล์ ไอโอดีน

ภำษำอน่ื

ภำษำทมฬิ เชน่ กะไหล่ กุลี กานพลู กามะหย่ี ตะกวั่ ปะวะหลา่ ยี่หร่า
สาเก อาจาด กะละออม

ภำษำเปอร์เซยี เชน่ กาหลบิ กุหลาบ สหุ ร่าย อง่นุ สกั หลาด ส่าน ตาด
ราชาวดี เยยี รบับ ฝรง่ั

ภำษำอำหรบั เช่น กะลาสี การบรู กั้นหย่นั กะไหล่ ฝ่ิน โก้หรา่ น
ภำษำญ่ปี ุ่น เช่น ยูโด กโิ มโน เทมปรุ ะ ซากรุ ะ ฟจู ิ สกุ ยี้ ากี้ คาราเต้

ซามไู ร ซูโม่
ภำษำโปรตุเกส เช่น สบู่ กมั ปะโด ป่นิ โต กะละแม กะละมงั จบั ป้งิ เลหลงั
ภำษำฝรัง่ เศส เชน่ โกเ้ ก๋ กงสลุ โชเฟอร์ มองสิเออร์ กาสโิ น กิโยติน

คปู อง เปตอง ปารเ์ กต์ คาเฟ่ ครวั ซองท์ บุฟเฟต์
ภำษำฮินดี เชน่ อะไหล่ ปาทาน
ภำษำพมำ่ เชน่ หมอ่ ง กากี กะปิ ส่วย
ภำษำมอญ เชน่ มะ เมย้ เปิงมาง พลาย ประเคน
ภำษำมลำยู เชน่ ยะลา เบตง น้อยหน่า ลมสลาตัน

โจรสลดั


Click to View FlipBook Version