สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 31 ภาคอีสานมีขนาดเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย เนื้อที่กว่าร้อยละ 33.17 เทียบได้กับ 1 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย จึงจัดได้ว่า ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่ใหญ ่ที่สุดในประเทศไทย มีเทือกเขาที่สูงที่สุดใน ภาคอีสาน คือ ยอดภูลมโล ภูหลวงและภูกระดึงซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดเลย 1.2.2 ลักษณะทางประชากรจังหวัดในภาคอีสานมีจ�ำนวนประชากร 21,826,920 คน เป็นประชากรผู้สูงอายุจ�ำนวน 3,827,823 คน (ร้อยละ 17.53 ) ประชากรวัยท�ำงาน จ�ำนวน 14,429,543 คน จากจ�ำนวนประชากรไทยรวมทั้ง สิ้น 66,171,439 คน เป็นชาย 32,339,118 คน เป็นหญิง 33,960,884 คน ประชากรวัยท�ำงาน จ�ำนวน 42,428,971 คน ลักษณะประชากรของวัย ผู้สูงอายุดังตารางที่1 ตารางที่ 1จ�ำนวนและร้อยละของประชากรภาคอีสานจ�ำแนกรายจังวัด จังหวัด ประชากรทั้งหมด ประชากรสูงอายุ จ�ำนวน ประชากร วัยท�ำงาน (คน) อัตราการ พึ่งพิงวัยสูง อายุ (ร้อยละ) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ (ของ ประชากร ทั้ง ประเทศ) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ (ของ ประชากร ทั้ง จังหวัด) กาฬสินธุ์ 975,570 1.47 170,862 17.51 653,068 26.16 ขอนแก่น 1,790,863 2.71 338,318 18.89 1,176,520 28.75 ชัยภูมิ 1,122,265 1.70 219,508 19.56 725,654 30.25 นครพนม 717,040 1.08 113,529 15.83 481,516 23.58 นครราชสีมา 2,634,154 3.98 492,729 18.70 1,720,218 24.98 บึงกาฬ 421,995 0.64 62,461 14.80 282,020 22.15 บุรีรัมย์ 1,579,805 2.39 270,902 17.15 1,038,457 26.07
32 บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุ จังหวัด ประชากรทั้งหมด ประชากรสูงอายุ จ�ำนวน ประชากร วัยท�ำงาน (คน) อัตราการ พึ่งพิงวัยสูง อายุ (ร้อยละ) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ (ของ ประชากร ทั้ง ประเทศ) จ�ำนวน (คน) ร้อยละ (ของ ประชากร ทั้ง จังหวัด) มหาสารคาม 948,310 1.43 177,246 18.69 631,019 28.09 มุกดาหาร 351,484 0.53 54,874 15.61 234,416 23.41 ยโสธร 533,394 0.81 98,323 27.66 354,153 27.76 ร้อยเอ็ด 1,296,013 1.96 240,592 18.56 861,418 27.93 เลย 638,732 0.96 120,876 18.92 409,303 29.53 ศรีสะเกษ 1,457,556 2.20 251,661 17.26 964,894 26.08 สกลนคร 1,146,286 1.73 179,711 15.68 772,568 23.26 สุรินทร์ 1,376,230 2.08 242,114 17.59 901,082 26.87 หนองคาย 516,843 0.78 88,388 17.10 341,077 25.91 หนองบัวล�ำภู 509,001 0.77 83,949 16.49 340,940 24.62 อ�ำนาจเจริญ 376,350 0.57 65,086 17.29 250,224 26.01 อุดรธานี 1,566,510 2.37 256,015 16.34 1,051,195 24.35 อุบลราชธานี 1,868,519 2.82 300,679 16.09 1,239,801 24.25 ภาพรวม ภาค 21,826,920 32.98 3,827,823 17.53 14,429,543 26.53 ที่มา: ส�ำนักสถิติแห่งชาติ(2564) จากตารางที่1เห็นได้ชัดเจนว่าทุกจังหวัดในภาคอีสานได้เข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Aging Society) โดยเฉพาะจังหวัดยโสธร ชัยภูมิและเลย พบว่า มีสัดส ่วนประชากรผู้สูงอายุสูงสุดถึงร้อยละ 27.66 19.56 และ 18.92 ตามล�ำดับ ขณะที่อัตราการพึ่งพิงของผู้สูงอายุอยู่ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 33 สัดส่วนระดับประเทศ (ร้อยละ28.45) โดยจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดยโสธร มีอัตราการพึ่งพิงของผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 29.53 และร้อยละ 27.76 นั่นหมายถึงวัยแรงงาน จ�ำนวน 100 คน ต้องแบกรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุ สูงถึง 29 คน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นจากสึนามิประชากรรุ่นเกิดล้านและ อายุขัยโดยเฉลี่ยที่เพิ่มมากขึ้น 1.2.3 สภาพเศรษฐกิจและรายได้ พบว่า เศรษฐกิจครัวเรือนมี รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนในภาคอีสานต�่ำเป็นอันดับสองของประเทศ โดยในปี 2558 ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ย 21,093 บาทต่อเดือน ต�่ำกว่ารายได้เฉลี่ยต่อครัว เรือนทั้งประเทศที่จ�ำนวนเฉลี่ย 26,915 บาทต่อเดือน ครัวเรือนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายได้ไม่แน่นอน ตลอดช่วงระยะที่ผ่านมาครัว เรือนมักประสบปัญหาน�้ำท ่วมและหนี้สินในครัวเรือน โดยหนี้สินเฉลี่ยต ่อ ครัวเรือนของภาคอีสานสูงกว่าระดับประเทศ แต่มีแนวโน้มชะลอตัวลง โดย ในปี2558 มีจ�ำนวนครัวเรือนที่เป็นหนี้สินมากถึง 3.5 ล้านครัวเรือน และ มากกว ่าทุกภูมิภาคหรือมีสัดส ่วน ร้อยละ 33.8 ของครัวเรือนที่มีหนี้สิน ทั้งประเทศ และหนี้สินครัวเรือนของภาคอีสานโดยเฉลี่ย 160,675 บาท ซึ่งเพิ่มขึ้น จากจ�ำนวนเฉลี่ย 137,663 บาท ในปี2554 และสูงกว่าหนี้สินต่อครัวเรือนเฉลี่ย ทั้งประเทศที่ 156,770 บาท โดยหนี้สินสูงขึ้นมีสาเหตุมาจากราคาสินค้า ทางการเกษตรตกต�่ำ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ท�ำให้รายได้ไม่สมดุลกับรายจ่าย ครัวเรือนส่วนใหญ่กู้ยืมเพื่อใช้จ่ายในการอุปโภคและบริโภค เพื่อท�ำการเกษตร และน�ำไปใช้ลงทุนในสินทรัพย์เช่น เกี่ยวกับบ้าน รถยนต์มากกว่าการกู้ยืม เพื่อการศึกษา 1.2.4 ด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาในภาคอีสานมีทุกระดับ โดยมีระดับอุดมศึกษาถึง 53 แห่ง ครอบคลุมเกือบทุกจังหวัด จ�ำแนกเป็น มหาวิทยาลัยของรัฐ 36 แห่ง มหาวิทยาลัยของเอกชน 10 แห่ง และสถาบัน หรือวิทยาลัยชุมชน 7 แห่ง ในจ�ำนวนนี้เป็นสถาบันวิจัย 12 แห่ง ซึ่งมากที่สุด
34 บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุ ในประเทศ ในปี 2559 พบว่า ประชาชนในภาคอีสานมีจ�ำนวนปีการศึกษา เฉลี่ย 8.5 ปีซึ่งต�่ำกว่าระดับประเทศที่มีปีการศึกษาเฉลี่ย 9.4 ปีโดยจังหวัด ขอนแก่นมีจ�ำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยสูงสุด คือ 9.1 ปีรองลงมา ได้แก่จังหวัด นครราชสีมาอุดรธานีและมหาสารคาม มีจ�ำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย 8.9 และ 8.8 ปีตามล�ำดับ ขณะที่จังหวัดเลยและจังหวัดสกลนคร มีจ�ำนวนปีการศึกษา เฉลี่ยต�่ำสุด คือ7.9 ปี 1.2.5 ด้านสาธารณสุข ในภาคอีสานมีสถานบริการสาธารณสุข ให้บริการครอบคลุมทั่วถึงทุกพื้นที่ มีจ�ำนวนโรงพยาบาลรัฐ324 แห่งจ�ำแนก เป็นโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 293 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.) 24 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์(รพศ.)7 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) 3,471 แห่ง บริการสาธารณสุขในภาคอีสานมีการพัฒนาดีขึ้นตามล�ำดับ และ มีแพทย์เฉพาะทางที่เชี่ยวชาญด้านโรคประจ�ำถิ่น โดยสัดส ่วนแพทย์ต ่อ ประชากรมีแนวโน้มดีขึ้น คือ จ�ำนวนแพทย์1 คนต่อจ�ำนวนประชากร 4,332 คน ในปี2554 และปรับเป็น 3,207 คน ในปี2560 และมีแพทย์เฉพาะทางที่ เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคไต โรคหัวใจ โรคมะเร็งท่อน�้ำดีและการผ่าตัดนิ่ว ในถุงน�้ำดีอย่างไรก็ตาม บุคลากรทางการแพทย์ยังกระจุกตัวอยู่ในเมืองหลัก ของภูมิภาค จังหวัดที่มีสัดส่วนแพทย์ต่อประชากรมากล�ำดับแรก ได้แก่จังหวัด อุบลราชธานีนครราชสีมาและขอนแก่น โดยมีจ�ำนวน 2,9602,814 และ1,265 คนตามล�ำดับ ปัญหาการขาดแคลนและการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะวิชาชีพแพทย์และพยาบาลเป็นปัญหาที่ถูกมองว่าเป็นการแก้ปัญหา ที่ปลายเหตุตลอดเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง แท้จริง จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุในภาคอีสาน ปัญหา ที่โดดเด่นมีทั้งขนาดและอัตราความชุกของโรคสูงสุด คือ โรคพยาธิใบไม้ตับ และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งท ่อน�้ำดี
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 35 ในกลุ่มผู้สูงอายุอัตราของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งท่อน�้ำดีในภาคอีสานเพิ่มขึ้น จาก 84.5 ต่อประชากรแสนคน ในปี2555 และเพิ่มเป็น 100.9 ต่อประชากร แสนคน ในปี2560 โดยจังหวัดขอนแก่นมีอัตราของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็ง ท่อน�้ำดีสูงสุดถึง179.2 ต่อประชากรแสนคน รองลงมา คือจังหวัดร้อยเอ็ดและ อุดรธานี167.8 และ 156.5 ต่อประชากรแสนคนตามล�ำดับ ทั้งนี้มีสาเหตุ มาจากค ่านิยม ความเชื่อและพฤติกรรมการบริโภคอาหารจากปลาน�้ำจืด ที่มีเกล็ดแบบดิบหรือแบบสุก ๆ ดิบ ๆ ที่มีตัวอ่อนพยาธิใบไม้ตับอาศัยอยู่ ซึ่งนิยมบริโภคในภาคอีสานมากกว่าภาคอื่น ๆ 1.2.6 ด้านวิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น ชาวอีสานมีการบูรณาการ วัฒนธรรมและประเพณีที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อน�ำมาใช้ในการ ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในด้านสุขภาพจิต ซึ่งช่วยสร้างคุณค่า สร้างขวัญและสร้างก�ำลังใจ ลดความวิตกกังวล ท�ำให้สบายใจ มีความมั่นใจ ในการด�ำเนินชีวิตและมีความสุข ซึ่งสุขภาพจิตดีย่อมส่งผลต่อสุขภาพกาย ที่ดีด้วย (มะยุรีวงค์กวานกลม,2561) ได้แก่ 1. การผูกเสี่ยว ถือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม เป็นการ น�ำประเพณีผูกมิตรของชาวอีสานมาใช้ในการส ่งเสริมและป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ท�ำให้ผู้สูงอายุมีแหล่งสนับสนุนทางสังคม มีที่ปรึกษา สามารถ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุและมีความสุขในการด�ำรงชีวิต 2. การเหยา ถือเป็นการเยียวยาจิตใจโดยการประยุกต์ใช้พิธีกรรม พื้นบ้านมาใช้ในการบ�ำบัดและรักษาปัญหาสุขภาพจิต ช่วยผ่อนคลาย ความเครียด ลดความวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า ท�ำให้รู้สึกปลอดภัย มีจิตใจ ที่มั่นคง มีความหวังและมีพลังในชีวิต 3. การบายศรีสู่ขวัญ เป็นการน�ำพิธีกรรมพื้นบ้านมาใช้ในการ ฟื้นฟูสุขภาพจิตช ่วยให้มีขวัญก�ำลังใจให้มีคุณค ่าในตนเอง มีความหวัง สบายใจและมีความมั่นใจในการด�ำเนินชีวิต โดยได้สะท้อนให้เห็นถึงความ
36 บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุ ส�ำคัญของการน�ำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพจิต ให้กับผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของผู้สูงอายุ ชาวอีสานในอดีตจนถึงปัจจุบัน 4. การคะลํา เป็นความเชื่อว่าหากกระท�ำในสิ่งที่ไม่ดีหรือไม่เป็น มงคล จะเป็นข้อคะล�ำ เช่น การคะล�ำ การรับประทานอาหารที่เป็นของแสลง เช่น อาหารทะเล ของหวาน เป็นต้น การปฏิบัติตามข้อคะล�ำจึงช่วยควบคุม หรือเป็นข้อห้ามในการประพฤติปฏิบัติในบางเรื่องที่อาจส ่งผลไม ่ดีให้กับ ผู้สูงอายุ 5. การสู่ขวัญเป็นการสร้างสุขภาวะทั้งในระดับบุคคลและชุมชน ในสภาวะต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะหรือสถานะเดิม เช่น การแต่งงาน การบวช การเจ็บป่วย การเก็บเกี่ยว การเพาะปลูก เป็นต้น เพื่อช่วยให้บุคคล มีสุขภาวะที่ดีขึ้นในทางจิตใจ การสู ่ขวัญถือเป็นวัฒนธรรมที่มีกิจกรรม ตอบสนองต่อการดูแลทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน และดูแลใน ทุกมิติของสุขภาวะเช่น มิติด้านสังคม การสู่ขวัญเป็นกิจกรรมที่บุคคลใกล้ชิด หรือเกี่ยวพันกันในครอบครัวหรือในชุมชนมารวมตัวกันเพื่อร่วมใจท�ำพิธีกรรม จึงเป็นการแสดงออกถึงความรัก ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการอยู ่ ร่วมกัน มิติด้านจิตวิญญาณเป็นมิติที่ส�ำคัญเกิดจากความเชื่อมั่น มีก�ำลังใจ การรวมญาติพี่น้อง ผู้ที่รักใคร่มาร่วมพิธีกรรมสู่ขวัญจึงท�ำให้เกิดความอบอุ่น ใจ และข้ามผ่านสภาวะที่ยากล�ำบาก หรือสร้างความมั่นใจ ความรู้สึกปลอดภัย ต่อการปรับตัวกับสภาวะใหม่ที่ต้องเผชิญ 6. โอลม้วน เป็นพิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์เขมร เป็นการเข้าทรง เพื่อรักษาโรคที่เชื่อว่าเกิดจากการกระท�ำของผีบรรพบุรุษฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่ หรือเป็นพิธีเลี้ยงขอบคุณผีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ช่วยรักษาโรคให้หาย จากการ บนบานไว้ถือเป็นเครื่องมือสร้างก�ำลังใจให้เชื่อมั่นว่าตนจะหายป่วย
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 37 ดังนั้น การประกอบพิธีกรรมเหล่านี้ล้วนสัมพันธ์กับการสร้างสุขภาวะ บุคคล ครอบครัวและชุมชน คนอีสาน ตั้งแต่เกิดจนถึงภาวะที่มีการเจ็บป่วย ของผู้สูงอายุในกรณีเฉพาะ จะเกิดขึ้นเมื่อผู้สูงอายุประสบภาวะเจ็บป ่วย หรือภายหลังจากหายเจ็บป่วยเพื่อสร้างขวัญก�ำลังใจ เป็นการสร้างทัศนคติ ต่อตนเองและความผูกพันกันของชาวบ้านในชุมชน และสร้างรูปแบบความ สัมพันธ์ผ ่านพิธีกรรมในท้องถิ่น ในฐานะทุนทางสังคมและวัฒนธรรมกับ การพัฒนาชุมชน เกิดคุณค่าจากพิธีกรรมของชุมชน ประกอบด้วย 1. คุณค่าในตัวพิธีกรรม หมายถึง คุณค ่าในองค์ประกอบของ พิธีกรรม ได้แก่ ผู้น�ำพิธีกรรม ผู้ร่วมพิธีกรรม วัสดุสิ่งของหรือเครื่องสังเวย เวลาและสถานที่ในฐานะที่เป็นกลไกในการสื่อความหมายแห่งความดีงาม ความเชื่อมั่นศรัทธาและความปรารถนาดีระหว่างเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน 2. คุณค่าของพิธีกรรมที่เกิดขึ้นต่อบุคคล ได้แก่ สมาธิความ สบายใจ ความกตัญญูกตเวทีความอ่อนน้อมถ่อมตน การมีสัมมาคารวะ และความมีน�้ำใจต่อกัน 3. คุณค่าของพิธีกรรมที่เกิดขึ้นต่อชุมชน ประกอบด้วย คุณค่าใน ฐานะที่เป็นกระจกสะท้อนวัฒนธรรมทางภาษาและให้ความบันเทิงแก่ชุมชน เกิดทัศนคติต่อตนเองในเชิงบวก และเมื่อชุมชนเกิดความคุ้นเคยกับแบบแผน ทางสังคมของชุมชนจะก่อให้เกิดความเชื่อมั่น การยอมรับ การปรับตัวต่อ พฤติกรรมภายในชุมชนได้เกิดความรู้สึกพึงพอใจ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรรมท้องถิ่นในฐานะทุนทางสังคม และวัฒนธรรมจึงเป็นเครื่องมือที่คนในชุมชนใช้เป็นทุนในการสร้างสัมพันธภาพ ที่ถูกต้อง สร้างสรรค์และสอดคล้องกัน ระหว่างมนุษย์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์กับมนุษย์ที่ช่วยสร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเองและ ผู้อื่น พร้อมกับความผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับชุมชน ซึ่งเป็นการสร้าง พลังชุมชนในการพัฒนาให้เกิดดุลยภาพ
38 บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุ 1.3 สภาพปัญหาและผลกระทบจากการเข้าสู่สังคมสูงวัย 1.3.1 สถานการณ์ปัญหาภาพรวมการเข้าสู ่สังคมสูงวัยของไทย ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทยในระยะยาว ทั้งด้านงบประมาณและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยรวม ปัจจุบันภาครัฐใช้งบประมาณดูแลผู้สูงอายุเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งงบประมาณส�ำหรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและงบประมาณด้านสุขภาพ โดยมี แนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปีตามสัดส่วนของผู้สูงอายุการจัดสรรงบประมาณ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ตั้งแต ่ปี2552 รัฐบาลจัดสรรงบประมาณจ�ำนวน 21,963,075,000 บาท จนถึงปี2560ใช้งบประมาณแล้วกว่า66,359,650,800 บาท งบประมาณด้านสุขภาพ ผลการศึกษาการประมาณการค ่าใช้จ ่าย ด้านสุขภาพโดยสะท้อนผ ่านผลของการสร้างเสริมสุขภาพ สนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่า ค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพของประเทศไทยในอดีตถึงปัจจุบันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สัดส ่วนค ่าใช้จ ่ายด้านสุขภาพต ่อค ่าใช้จ ่ายทั้งหมดของรัฐบาลมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น ประมาณการค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของไทยในอีก 15 ปีข้างหน้าตาม หลัก OECD พบว่าจะมีค่าใช้จ่ายประมาณ4.8-6.3 แสนล้านบาท เมื่อผนวก กับปัจจัยสังคมสูงวัยส่งผลให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นไปถึง 1.4 - 1.8 ล้านล้านบาท ซึ่งหากในปี2575 รัฐบาลยังไม่ออกมาตรการควบคุมพฤติกรรมการใช้ชีวิต ของผู้สูงอายุคาดว่าจะท�ำให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพ สูงขึ้นไปถึง 2.2 ล้านล้านบาท (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2560) ส่วนผลกระทบจากสถานการณ์ผู้สูงอายุโดยวิเคราะห์จากข้อมูลระดับ ชุมชนและท้องถิ่น และจากพื้นที่รูปธรรมทั้ง8 กรณีศึกษา และจากการพูดคุย แลกเปลี่ยนในเวทีเสวนาอย่างต่อเนื่องในบริบทภาคอีสาน ในเบื้องต้นสามารถ สรุปผลกระทบครอบคลุม 4 มิติดังนี้
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 39 มิติที่ 1 ด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 1. ปัญหาสุขภาพและสาเหตุส�ำคัญของการเกิดโรค พบว่า ผู้สูงอายุป ่วยและเสียชีวิตจากโรคไร้เชื้อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะโรค ความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน บางรายเกิดภาวะแทรกซ้อนถึงขั้นวิกฤต และฉุกเฉินรุนแรง ท�ำให้ผู้สูงอายุเสียชีวิตหรือเกิดภาวะทุพพลภาพตามมาจาก ภาวะหลอดเลือดสมองหรือภาวะไตวายเรื้อรัง เป็นต้น 2. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ได้แก่การบริโภค อาหาร การออกก�ำลังกาย การจัดการความเครียด อนามัยสิ่งแวดล้อมและ การดูแลตนเองในยามเจ็บป่วย เป็นต้น 3. ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพิง ทั้งในระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ภายใต้กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพหรือผู้สูงอายุที่อยู่นอกระบบ เป็น ผู้ป่วยติดบ้าน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาศัยในครอบครัวเดี่ยวมักประสบปัญหา มากกว่าครอบครัวขยาย ท�ำให้ผู้สูงอายุบางรายขาดคนดูแลอย่างต่อเนื่อง ในการเอื้ออ�ำนวยต่อการด�ำรงชีวิต การเข้าถึงบริการที่จ�ำเป็น แม้ผลการส�ำรวจ บางครอบครัวมีผู้ดูแล แต ่มีผู้ดูแลหลักเพียงคนเดียว ท�ำให้ผู้ดูแลเกิด ความเหนื่อยล้าเกิดภาวะเครียดและเกิดการเจ็บป่วยทางด้านร่างกายตามมา เนื่องจากไม่มีคนสลับหรือเปลี่ยนการท�ำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเอง ได้น้อย 4. ระบบการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลระยะยาวส�ำหรับ ผู้สูงอายุกลุ่มภาวะพึ่งพิง ซึ่งได้รับการดูแลตาม Care Plan ของเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องระดับวิชาชีพที่ท�ำงานร่วมกับอาสาสมัครในชุมชน ซึ่งมีภาระงาน มาก ท�ำให้การบันทึกข้อมูลขาดความต่อเนื่องและข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน
40 บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุ มิติที่ 2 ด้านสังคม ประกอบด้วย 1. อัตราการพึ่งพิงวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะการ ดูแลระยะยาวที่เพิ่มมากขึ้น ในขณะที่อัตราการเข้าสู่แรงงานลดลงอัตราส่วน การเกื้อหนุนหรือดูแลผู้สูงอายุลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง 2. การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุมีข้อจ�ำกัด จากสภาวะความ เสื่อมถอย โรคและการเจ็บป่วยที่เป็นอยู่รวมถึงขาดคนน�ำพาเข้าร่วมกิจกรรม ในชุมชน ผู้สูงอายุบางคนขาดความมั่นใจในการเข้าร่วม ไม่อยากเป็นภาระ ลูกหลาน จึงต้องเก็บตัวในบ้าน ขณะที่บางกลุ่มต้องการเข้าร่วมกิจกรรมสังคม แต ่ขาดเวทีหรือโอกาสในการใช้ศักยภาพในตัวเอง ประกอบกับพื้นที่ ท�ำกิจกรรมร่วมกันห่างไกลที่อยู่อาศัย 3. การจัดสวัสดิการพื้นฐานตามความจ�ำเป็นภาครัฐยังไม่พอ เพียงและครอบคลุม ซึ่งเกี่ยวข้องหลายมิติและหลายระดับ ได้แก่ตามสภาพ ปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ หรือครอบครัว โดยเฉพาะครอบครัว ผู้สูงอายุที่มีฐานะยากจน ไม่มีที่ดินท�ำกินเป็นของตนเอง ซึ่งกลุ่มนี้มักตกเป็น กลุ่มคนชายขอบที่ไม่ได้รับความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในการเข้าถึง สิทธิสวัสดิการของภาครัฐ 4. ขาดการจัดท�ำฐานข้อมูลและการพัฒนาฐานข้อมูลพร้อมใช้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในแต่ละด้าน แต่ไม่สามารถ ได้รับความช่วยเหลือได้เนื่องจากฐานข้อมูลไม่มีการปรับปรุงและพัฒนา ให้เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน 5. ขาดการเชื่อมประสานแบบบูรณาการ ทั้งการบูรณาการงาน ก�ำลังคน ทรัพยากรในการดูแลผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 41 มิติที่ 3 ด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย 1. ครอบครัวผู้สูงอายุในชนบท ภาคอีสานส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีรายได้ไม่แน่นอน เนื่องจากส่วนใหญ่ท�ำอาชีพเกษตรกรหรือรับจ้างทั่วไป ซึ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ไม่แน่นอน ขาดความต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังพบว่า ครอบครัวผู้สูงอายุมีหนี้สินหมุนเวียนจึงอยู่ในสภาวะยากจนเรื้อรัง 2. ผู้สูงอายุตอนต้น (อายุระหว่าง 60-69 ปี) ยังต้องการมีงานท�ำ สร้างรายได้ แต่ไม่มีแหล่งจ้าง ส�ำหรับงานที่เหมาะสมหรือสอดคล้องกับ ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุตอนต้นที่เป็นอยู่ ประกอบกับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่ได้รับภาครัฐให้การสนับสนุนยังไม่เพียงพอ และไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ หรือสภาวะเศรษฐกิจข้าวยากหมากแพงในปัจจุบัน จึงยังต้องการมีงานท�ำ และมีรายได้เสริม 3. โครงการสร้างงานสร้างอาชีพส�ำหรับผู้สูงอายุไม่สอดคล้องกับ ความต้องการ และกิจกรรมสร้างเสริมอาชีพในชุมชนขาดความยั่งยืน รวมถึง การกระจายงานลงพื้นที่ยังไม่เท่าเทียม มิติที่ 4 ด้านสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 1. ที่อยู่อาศัยทรุดโทรมและเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุโดยเฉพาะ การพลัดตกหรือหกล้ม เนื่องจากสภาพบ้านเรือนหรือสภาพแวดล้อมภายนอก ที่ไม่เหมาะสม เช่น พื้นและบันไดลื่น พื้นต่างระดับ แสงสว่างไม่เพียงพอ หรือไม่มีราวจับในห้องน�้ำ เป็นต้น 2. บางพื้นที่ขาดกายอุปกรณ์หรือไม่เพียงพอต่อความต้องการ ควรมีการจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการกายอุปกรณ์เพื่อหมุนเวียนการใช้กายอุปกรณ์ หรือจัดหาแหล่งสนับสนุนเพิ่มเติม 3. การพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ในสถานบริการภาครัฐยังไม่ ครอบคลุม รวมถึงแหล่งสาธารณประโยชน์ศูนย์รวมกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุ ที่เป็นมิตรและปลอดภัย
บทที่ 2 กระบวนการขับเคลื่อนงาน และนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงวัย ในบทนี้มีประเด็นส�ำคัญ ประกอบด้วย ผลการสังเคราะห์งานและ นวัตกรรมโดยน�ำเสนอในรูปแบบเรื่องเล่า (Story Telling) จากพื้นที่รูปธรรม 8 พื้นที่ และน�ำเสนอผลในส่วนกระบวนการด�ำเนินงานจากพื้นที่เพื่อสะท้อน กลไกหลัก วิธีการด�ำเนินงานและกิจกรรม หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมดังกล่าว ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในภาพรวม จากการวิเคราะห์เรื่องเล่าการด�ำเนินงานและนวัตกรรมโดดเด่นจาก พื้นที่รูปธรรม 8 พื้นที่ของนักวิชาการและนักปฏิบัติการ ซึ่งมีประสบการณ์ ด้านผู้สูงอายุในแต่ละพื้นที่ ประกอบด้วย 1) จุดเริ่มต้นการจัดตั้งศูนย์ดูแล กลางวันส�ำหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ต�ำบลบ้านค้อ อ�ำเภอ โพนสวรรค์จังหวัดนครพนม 2) ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาที่แสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม 3) บัดดี้ต่างวัย สองหัวใจสู่หนึ่งเดียวกัน ต�ำบลนาเลียง อ�ำเภอนาแก จังหวัด นครพนม 4) ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง ต�ำบล บ้านกง อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก ่น 5) สูงวัยสร้างเมืองบนพื้นที่ ลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบล นาอ้ออ�ำเภอเมืองจังหวัดเลย 6) เราจะไม่ทิ้งแม้แต่ชีวิตเดี่ยวให้อยู่โดดเดี่ยว เพียงล�ำพังเทศบาลต�ำบลสูงเนิน อ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา7) มั่นคง ทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้แห่งเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร และ 8) นวัตกรรมกองร้อยเบิ่งแยง ไทนาป่าแซงบ่ถิ่มกัน ต�ำบลนาป่าแซง อ�ำเภอ
44 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เมื่อน�ำมาจัดหมวดหมู่ได้5 ประเภท ดังภาพที่ 3 ซึ่งผู้เขียนและคณะได้น�ำสาระส�ำคัญเพื่อเป็นข้อมูลน�ำเข้าสู ่ กระบวนการสังเคราะห์งานในแต่ละนวัตกรรม ดังนี้ ภาพที่ 3 ประเภทนวัตกรรมเกี่ยวกับระบบการพัฒนาและดูแลผู้สูงอายุ บทที กระบวนการขับเคลือนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผ้สู ูงวัย ในบทนี มีประเด็นสําคัญ ประกอบด้วย ผลการสังเคราะห์งานและนวัตกรรมโดยนําเสนอในรูปแบบ เรืองเล่า (Story Telling) จากพื นทีรูปธรรม 8 พื นที และนําเสนอผลในส่วนกระบวนการดําเนินงานจากพื นที เพือสะท้อนกลไกหลัก วิธีการดําเนินงานและกิจกรรม หน่วยงานและองค์กรทีเกียวข้อง รวมถึงกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียจากการขับเคลือนงานและนวัตกรรมดังกล่าว ผลผลิตและผลลัพธ์ทีเกิดขึ นในภาพรวม จากการวิเคราะห์เรืองเล่าการดําเนินงานและนวัตกรรมโดดเด่นจากพื นทีรูปธรรม 8 พื นทีของ นักวิชาการและนักปฏิบัติการ ซึงมีประสบการณ์ด้านผู้สูงอายุในแต่ละพื นที ประกอบด้วย 1) จุดเริมต้นการ จัดตังศูนย์ดูแลกลางวันสําหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตําบลบ้านค้อ อําเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม ) ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาทีแสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม ตําบล มหาชัย อําเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ) บัดดี ต่างวัย สองหัวใจสู่หนึงเดียวกัน ตําบลนาเลียง อําเภอนา แก จังหวัดนครพนม ) ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง ตําบลบ้านกง อําเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น ) สูงวัยสร้างเมืองบนพื นทีลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ตําบลนาอ้อ อําเภอเมือง จังหวัดเลย ) เราจะไม่ทิ งแม้แต่ชีวิตเดียว ให้อยู่โดดเดียวเพียงลําพัง เทศบาลตําบลสูงเนิน อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ) มันคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้ แห่ง เมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร และ ) นวัตกรรมกองร้อยเบิงแยง ไทนาป่ าแซงบ่ถิมกัน ตําบลนาป่ าแซง อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ เมือนํามาจัดหมวดหมู่ได้ 5 ประเภท ดังภาพที 3 ซึงผู้เขียนและ คณะได้นําสาระสําคัญเพือเป็นข้อมูลนําเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์งานในแต่ละนวัตกรรม ดังนี ภาพที 3 ประเภทนวัตกรรมเกียวกับการระบบการพัฒนาและดูแลผู้สูงอายุ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 45ตารางที่ 2การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตารางที 2 การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลือนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรม ูพืนทีที 1 พืนทีที 2 พืนทีที 3 พืนทีที 4 พืนทีที 5 พืนทีที 6 พืนทีที 7 พืนทีที 8 . หลักการ แนวคิดและจุดเริมต้นการพัฒนา . สถานการณ์ปัญหาและเหตุปัจจัย . ความต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิต . ศักยภาพพื นที (พลังบวก) คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา/กองทุนเดิม . นโยบายรัฐ ข้อตกลง นโยบาย ธรรมนูญสุขภาพ . พื นฐานจากงานวิจัย/ความสนใจสร้างความรู้ใหม่ (Quasi-Ex/PAR) . สืบสานประเพณีวัฒนธรรมท้องถินและสถานทีถ่ายทอดวัฒนธรรมพื นบ้าน เพือสร้างอาชีพเสริมและเพิมรายได้ . ดํารงไว้ซึงศาสตร์พระราชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง . การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและหลักการธรรมาภิบาล . การเห็นต่างแนวคิดกระแสหลักกับการสร้ างบ้านพักคนชรา ยุติภาระสังคม ต้นกําเนิดสังคมอ่อนแอและล้มเหลว . วัตถุประสงค์ . จัดตั ง ศูนย์รวมผู้สูงอายุ คลายเหงาด้วยกิจกรรม . สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ . เสริมสร้าง กลุ่มจิตอาสาและเป็นผู้นําในชุมชน . สร้างความเท่าเทียม . ส่งเสริมให้ชุมชนดูแลซึงกันและกันด้วยการแลกเปลียนทักษะ ประสบการณ์และบริการขั นพื นฐาน
46 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตารางที่ 2การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ(ต่อ)ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรมูพืนทีที 1พืนทีที 2พืนทีที 3พืนทีที 4พืนทีที 5พืนทีที 6พืนทีที 7พืนทีที 8 . นําใช้แหล่งประโยชน์และทุนทางสังคมเพือพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ . กลไกขับเคลือน . ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรชุมชน (อสม. ครูอาสา ชมรมผู้สูงอายุ สภาเด็กและเยาวชนตําบล ผู้นําชุมชน) . ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรท้องถิน . ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรรัฐ(รพ.สต. รพช.พม.) . ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรวิชาการ/สถาบันการศึกษา . ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรพัฒนาเอกชน(NGOs) . คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการสนับสนุนการทํางานผู้สูงอายุ (การจัดบริการ LTC / คณะกรรมการกองทุนฯ) . การประชาสัมพันธ์ผ่านระบบสือออนไลน์ . วิธีการดําเนินงานส่ความสําเร็จ ู . องค์กรปกครองส่วนท้องถิน (อปท.)เป็นหน่วยงานหลัก เจ้าภาพในการรวมงาน รวมคนทํางาน . มุ่งสร้างชุมชนพึงตนเอง . สร้างการมีส่วนร่วมทุกมิติ . การระดมทุน และทรัพยากรเพือการใช้แหล่งประโยชน์ในชุมชน ท้องถิน จิตอาสาและเชือมประสานช่วงวัย . จัดทําและนําใช้ชุดกิจกรรมบริการในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ . ใช้ความสําเร็จเป็นบันไดต่อยอดและขยายพื นทีอืนๆ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 47ตารางที่ 2การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ(ต่อ)ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรม ูพืนทีที 1 พืนทีที 2 พืนทีที 3 พืนทีที 4 พืนทีที 5 พืนทีที 6 พืนทีที 7 พืนทีที 8 . การพัฒนาและนําใช้ ฐานข้ อมูลในการออกแบบวางแผนกิจกรรม (กลุ่มเป้าหมาย สถานะสุขภาพ กายอุปกรณ์ ฯลฯ) . การติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ทบทวนและปรับปรุง (Formative & Summative Evaluation) . ระบุองค์กรหลักในการขับเคลือนชัดเจนอย่างน้อย 4 องค์กร . มีการกําหนดแผนงานทีชัดเจน โดยวิชาชีพดูแลกลุ่มเป้าหมายทีต้องการความช่วยเหลือ 2-4 ครั งต่อเดือน . ออกแบบวิธีการออกกําลังกายทีง่าย เหมาะสมกับช่วงวัย สนุก รวมกลุ่ม ร่วมการถ่ายทอดความรู้หลักการเคลือนไหวทีถูกต้อง . ภาคีเครือข่ายทีมีส่วนร่วม . สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) . องค์กรปกครองส่วนท้องถิน (อปท.) . หน่วยบริการสุขภาพ (รพ.สต. รพช.) . หน่วยงานภาคเอกชน (กฟผ.) . กลุ่มแกนนํา/กลุ่มจิตอาสา (อสม. อสค. CG) . กระทรวงพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ (โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย) . ผู้นําท้องที (กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน) . วัด . ศาลากลางหมู่บ้าน
48 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตารางที่ 2การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ(ต่อ)ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรมูพืนทีที 1พืนทีที 2พืนทีที 3พืนทีที 4พืนทีที 5พืนทีที 6พืนทีที 7พืนทีที 8 . ครัวเรือน ชุมชน . สถานศึกษา (มัธยม มหาวิทยาลัย) . สถานีตํารวจ . ผลผลิต . จํานวนสมาชิกผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมโครงการเพิมขึ นระบุจํานวนได้ชัดเจน . นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ลดเสียงอุบัติเหตุในวัยสูงอายุ/การปรับสภาพบ้าน . จํานวนผู้สูงอายุทีได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวม . หลักสูตรในโรงเรียนส่งเสริมจิตอาสาดูแลผู้สูงวัย/คู่มือ/แนวปฏิบัติทีดี . นักวิจัยชุมชน/ยุววิจัย . ศพอส./โรงเรียนผู้สูงอายุ . ขยายจํานวนจิตอาสา/ขยายผลงานตําบลข้างเคียงจากพื นทีต้นแบบ . จํานวนผู้สูงอายุได้รับการพิทักษ์สิทธิอันพึงมีพึงได้ตามกฎหมาย . จํานวนแหล่ง/พื นทีสาธารณะร่วมกิจกรรมผู้สูงอายุ . จํานวนผู้ป่ วยติดเตียงลดลง . จํานวนผู้สูงอายุ/กลุ่มอาชีพ/มีรายได้และมีการจัดสวัสดิการ . ผลลัพธ์ . สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ผู้สูงอายุมีความสุข เกื อกูลสุขภาพจิตดี ภาคภูมิใจ เอื ออาทรต่อกัน . ผู้สูงอายุกล้าแสดงออก . ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเฉพาะโรคตนเอง
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 49ตารางที่ 2 การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ (ต่อ) ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรมูพืนทีที 1พืนทีที 2พืนทีที 3พืนทีที 4พืนทีที 5พืนทีที 6พืนทีที 7พืนทีที 8 . ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมและให้ความร่วมมือกับชุมชนท้องถิน . ครอบครัว/ชุมชนอุ่นใจในการดูแลผู้สูงอายุของโครงการ ลดค่าใช้จ่ายดูแลเมือเจ็บป่ วยเรื อรัง หรือเกิดภาวะแทรกซ้อน . พัฒนาเทคโนโลยีทีเหมาะสมสําหรับวัยผู้สูงอายุ (ประเด็นพัฒนาเพิม) . มีการเชือมงานข้ามประเด็น(เด็กและเยาวชน เกษตรอินทรีย์ อาชีพ) . ชือเสียง ความภาคภูมิใจในผลงานระดับชาติหรือนานาชาติ . ภูมิปัญญาท้องถินถูกส่งต่อรุ่นต่อรุ่น อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถินอีสานและนําสู่บทเรียนสร้างนวัตกรรมรายวิชาในโรงเรียน . สุขกาย สุขใจ สุขภาพแข็งแรง เห็นคุณค่าในตนเอง ไม่เป็นภาระลูกหลาน . เกิดเครือข่ายสุขภาพทีเข้มแข็งในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน . ผ้ได้รับประโยชน์ ู. ครัวเรือนทีมีผู้สูงอายุทีเข้าร่วมโครงการได้รับการสร้ างเสริมสุขภาพ และลดภาระการดูแลผู้สูงอายุช่วงกลางวัน . ผู้สูงอายุ (เพือนเยียมบ้านแบ่งเวลาจากธนาคาร) . กลุ่มเด็กและเยาวชนคิดริเริมสร้ างสรรค์ สํานึกรักษ์บ้านเกิด ปลูกฝังความมี จิตอาสา เป็นบุคคลต้นแบบ กระเพือมความเป็นพลเมืองคนรุ่นใหม่ . ประโยชน์ต่อโรงเรียน สังคม ประเทศชาติ 9.ปัจจัยเงือนไขความสําเร็จ . สร้างการเรียนรู้และความเข้าใจปัญหาและความต้องการของชุมชน
50 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุตารางที่ 2การสังเคราะห์ผลของกระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ(ต่อ)ประเด็นทีเกียวข้อง นวัตกรรมพืนทีรปธรรมูพืนทีที 1พืนทีที 2พืนทีที 3พืนทีที 4พืนทีที 5พืนทีที 6พืนทีที 7พืนทีที 8 . สร้างคนให้จัดการตนเองได้/ความครอบคลุมอาสาสมัครในพื นที และการติดอาวุธทางปัญญาแก่อาสาสมัครก่อนปฏิบัติงาน . สร้างการมีส่วนร่วม . ระดมทุนและทรัพยากรเพือการใช้แหล่งประโยชน์ . กําหนดชุดกิจกรรมเพือการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม . กติกา ข้อตกลงของพื นที ธรรมนูญ นโยบาย เป้าหมาย แผนงาน . ความสามารถในการจัดการความร่วมมือระหว่างองค์กรต่างๆ . วิสัยทัศน์ผู้บริหารในการขับเคลือนงานผู้สูงอายุ ผู้นําชุมชน ชมรม . ถ่ายทอด สืบสานวัฒนธรรมท้องถินและภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น . ทุนสนับสนุนจากภายนอก หน่วยงานทีเกียวข้อง
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 51 จากตารางที่ 2 การสังเคราะห์นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ จากเรื่องเล่าในพื้นที่รูปธรรม ทั้ง 8 พื้นที่ และผลของกระบวนการขับเคลื่อน งานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุในบริบทที่แตกต ่างกันใน บางประเด็น และมีประเด็นร่วมของการพัฒนานวัตกรรมดังกล่าว ผู้เขียนและ คณะจึงน�ำเสนอผลการสังเคราะห์ประเด็นส�ำคัญเพื่อการเรียนรู้และสะท้อน ภาพรวมส�ำหรับการต่อยอดการพัฒนา ประกอบด้วย 1) หลักการ แนวคิดและ จุดเริ่มต้นการพัฒนา2)วัตถุประสงค์หลักของนวัตกรรมในภาพรวม 3) กลไก ซึ่งเป็นกลุ่มองค์กรที่ขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงวัย ทั้งทางตรงและทางอ้อม 4) วิธีการหรือกระบวนการด�ำเนินงานสู่ความส�ำเร็จ 5) ภาคีเครือข ่ายที่เข้ามามีส ่วนร ่วมในการพัฒนา 6) ผลผลิตที่เกิดขึ้น 7) ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 8) ผลกระทบต่อกลุ่มคนหรือผู้ได้รับผลประโยชน์จาก การด�ำเนินงานด้วยนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุและ9) ปัจจัยเงื่อนไข ที่ส่งผลต่อความส�ำเร็จ มีรายละเอียดดังนี้ 2.1 จุดเริ่มต้นของการพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรมสร้างเสริมสุข ภาวะผู้สูงอายุทั้ง8 พื้นที่พบว่า7 พื้นที่มีจุดเริ่มต้นนวัตกรรมจากภาพสะท้อน สถานการณ์ปัญหาผู้สูงอายุที่พบในแต่ละพื้นที่แต่เป็นสถานการณ์เดียวกัน โดยเฉพาะปัญหาเชิงสังคมที่มักพบเสมอว ่าผู้สูงอายุอาศัยเพียงล�ำพัง ขาดผู้ดูแล ทั้งช่วงกลางวันและกลางคืน โดยเฉพาะครอบครัวที่ยากจน รวมถึง ปัญหาสุขภาพ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต้องได้รับการดูแลระยะยาวและ ต ่อเนื่อง จึงเกิดนวัตกรรมศูนย์ดูแลกลางวัน ธนาคารเวลา บัดดี้ต ่างวัย ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลระยะยาว รวมถึงนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ด้วยการออกก�ำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ มีเพียงพื้นที่ที่ 5 คือ สูงวัย สร้างเมือง บนพื้นที่ลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย ที่มีจุดเริ่มต้นการ ขับเคลื่อนนวัตกรรมภายใต้กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยการบูรณาการ
52 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ วัฒนธรรมท้องถิ่นในสถานที่ลานวัฒนธรรม ซึ่งถูกปรับเป็นแหล่งสร้างอาชีพ เสริม เพิ่มรายได้ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ผู้สูงอายุผนวกกับ นโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวและวิสัยทัศน์ผู้น�ำที่เห็นความส�ำคัญของการ เรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ซึ่งประเด็นการพัฒนา คุณภาพชีวิตยังพบในพื้นที่รูปธรรมที่ 1 และ 8 ในกลุ่มที่ด�ำเนินกิจกรรมศูนย์ ดูแลกลางวันและกลุ ่มเปราะบางที่ชุมชนอาสาร ่วมกันดูแล โดยร่วมสร้าง นวัตกรรมกองร้อยเบิ่งแยง นอกจากนี้จุดร ่วมเหล ่านี้ยังพบว ่ามีพื้นที่ที่ 2 ที่ขับเคลื่อนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะไปพร้อมกับการสร้างองค์ความรู้ โดยการท�ำวิจัยในลักษณะกึ่งทดลองและวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) เพื่อน�ำไปสู ่การพัฒนาระบบการดูแลที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ของกลุ่มผู้สูงอายุอย่างแท้จริง ส่วนหลักการอื่น ๆ ที่สนับสนุนจุดเริ่มต้นของ การพัฒนานวัตกรรม ได้แก่ นโยบายรัฐส่วนกลางและนโยบายระดับท้องถิ่น ที่น�ำไปสู ่การปฏิบัติได้อย ่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการเล็งเห็นศักยภาพทุน ทางสังคมของพื้นที่ในการหนุนเสริมให้เกิดการขับเคลื่อนงานดังกล่าว ได้แก่ ประเด็นธนาคารเวลาของผู้สูงอายุที่มีนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้น�ำนโยบายสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ ผลการสังเคราะห์ยังพบว่ามีประเด็นที่น่าสนใจที่มีส่วนก่อให้เกิดนวัตกรรม คือ “บ้านกลางส�ำหรับผู้สูงอายุ” ซึ่งเป็นแนวคิดการท�ำงานและมุมมองของ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่แตกต่างจากหลักการหรือ นโยบายรัฐหรือแนวทางกระแสหลัก แทนการใช้แนวคิด “บ้านพักคนชรา” ของผู้สูงอายุในชุมชน 2.2 เป้าหมายหลักของนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ นวัตกรรมจากเรื่องเล ่าที่น�ำมาสังเคราะห์ส ่วนใหญ ่มุ ่งเน้นการด�ำเนินงาน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนดูแลผู้สูงอายุด้วยกันเองในรูปแบบจิตอาสามีการแลกเปลี่ยน ทักษะ ประสบการณ์และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐาน
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 53 อย ่างเท ่าเทียม ด้วยการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุทุกสถานะสุขภาพ มีการจัดตั้งสถานที่ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน และมีการน�ำใช้แหล่งประโยชน์ แหล่งทุนทางสังคมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเช่น ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว หรือนวัตกรรมกองร้อยเบิ่งแยงไทนาป่าแซงบ่ถิ่มกัน เป็นต้น 2.3 กลไกขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ พบว่า กลไกที่ส�ำคัญในการขับเคลื่อนนวัตกรรมดังกล่าวได้แก่กลุ่มหรือองค์กร ชุมชนซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่มีศักยภาพ ได้แก่ Caregiver อสม. ครูอาสา ชมรมผู้สูงอายุสภาเด็กและเยาวชน ผู้น�ำชุมชน ซึ่งแต่ละกลุ่มมีความโดดเด่น ในกิจกรรมของแต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการดูแลและส่งเสริม คุณภาพชีวิตประชาชนซึ่งเป็นความรับผิดชอบหลัก นับเป็นหน่วยงานส�ำคัญ ที่มีความพร้อมทั้งบุคลากร งบประมาณ รวมถึงการประสานความช่วยเหลือ จากหน ่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังพบว่ากลุ่มองค์กรภาครัฐ เช่น รพ.สต. รพช. พมจ. กลุ่มองค์กรวิชาการ สถาบันการศึกษาและกลุ่มนักพัฒนาองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) เช่น กลุ ่มสักลาย รวมถึงคณะอนุกรรมการสนับสนุนการท�ำงาน ผู้สูงอายุ ถือเป็นกลุ่มองค์กรในระดับปฏิบัติการที่มีส่วนในการขับเคลื่อนงาน ในระดับพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม และเครื่องมือที่ส�ำคัญในยุคดิจิทัลของ กลุ ่มเด็กและเยาวชนที่เป็นกลไกหลักในการท�ำงานเชื่อมประสานระหว่าง ประเด็นในบางพื้นที่โดยเฉพาะในการระบบสื่อออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์ งานและกิจกรรม รวมถึงผลงานเชิงประจักษ์ให้คนทั่วไปในสังคมสาธารณะ ได้รับรู้และร่วมสนับสนุนการด�ำเนินงาน เป็นต้น
54 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ 2.4 วิธีการด�ำเนินงานสู่ความส�ำเร็จ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ ผู้สูงอายุหลายนวัตกรรมมีกระบวนการด�ำเนินงานไปในแนวทางเดียวกัน ประกอบด้วย 1) มุ ่งสร้างกิจกรรมที่สะท้อนภาพชุมชนพึ่งตนเองที่ปรากฏ เป็นพื้นฐานในทุกกิจกรรม โดยใช้กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกมิติ ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการจัดการสิ่งแวดล้อม 2) การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุที่เน้นการฟื้นฟูสภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ ทั้งการดูแลระยะยาว ที่บ้าน การดูแลในศูนย์ดูแลกลางวัน บ้านกลางของผู้สูงอายุ การดูแลด้วย กลุ ่มจิตอาสา กลุ ่มเด็กและเยาวชน 3) การออมเวลาเพื่อการแบ ่งปัน การจัดตั้งกองร้อยเบิ่งแยงกันเองของชุมชน โดยการระดมทุนและทรัพยากร เพื่อน�ำใช้แหล ่งที่สร้างประโยชน์ในชุมชนและท้องถิ่นอย ่างเต็มศักยภาพ 4) การพัฒนาระบบและน�ำใช้ฐานข้อมูลในการออกแบบและวางแผนกิจกรรม ทั้งการระบุกลุ่มเป้าหมาย สถานะสุขภาพ ข้อมูลสนับสนุนและกายอุปกรณ์ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลักที่ส�ำคัญ ในการรวมงาน รวมคนท�ำงาน จัดท�ำและน�ำใช้ฐานข้อมูล ท�ำให้การตอบสนอง ต ่อความต้องการของผู้สูงอายุและชุมชนได้อย ่างแท้จริง 5) การจัดท�ำ ชุดกิจกรรมบริการในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุและการใช้ประโยชน์ ความส�ำเร็จจากผลผลิตและผลลัพธ์เป็นบันไดต่อยอดและขยายผลไปยังพื้นที่ อื่น ๆ 6) การออกแบบและวางแผนติดตามกิจกรรม การทบทวนปัญหา อุปสรรค และประเมินผล เพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานอย ่างต ่อเนื่อง (Formative & Summative Evaluation) 7) การระบุองค์กรหลักในการ ขับเคลื่อนชัดเจนอย ่างน้อย 4 องค์กร และก�ำหนดแผนงานที่ชัดเจน โดยวิชาชีพเพื่อออกแบบและวางแผนการดูแลกลุ ่มเป้าหมายที่ต้องการ ความช่วยเหลือ2-4 ครั้งต่อเดือน และการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ เช่น วิธีการออกก�ำลังกายที่ง่าย เหมาะสมกับช่วงวัย เสริมสร้างความสนุกสนาน จากการรวมกลุ่มท�ำกิจกรรม ร่วมกับการถ่ายทอดความรู้หลักการเคลื่อนไหว ที่ถูกต้อง เป็นต้น
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 55 2.5 ภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วม การสังเคราะห์งานกิจกรรมของ นวัตกรรมทั้ง 8 พื้นที่ พบหน่วยงานที่มีส่วนร่วมหรือภาคีเครือข่ายที่มีส่วน ในการขับเคลื่อนกิจกรรมด�ำเนินงาน ได้แก่ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก 3)ซึ่งเป็น หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณให้แก่ 4 นวัตกรรม (ดังตารางที่ 2) โดยให้ การสนับสนุนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะสถาบันวิชาการและความร่วมมือ ในโครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังมีหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาด้านผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์(พม.) และหน่วยงานภาคเอกชน เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ.) โดยเน้นการปรับปรุงที่อยู่อาศัยและช่วยเหลือครอบครัวผู้สูงอายุที่ยากจน ถึงแม้การจัดสรรงบประมาณจ�ำกัดหรือไม ่เพียงพอกับความจ�ำเป็นและ ความต้องการของผู้ต้องการความช่วยเหลือก็ตาม ในขณะที่หน่วยงานและ กลุ่มหรือองค์กรชุมชนที่เป็นระดับผู้ร่วมด�ำเนินการได้แก่หน่วยบริการสุขภาพ ระดับปฐมภูมิเช่น รพ.สต. รพช. ครอบครัวผู้สูงอายุชุมชน สถานศึกษาระดับ มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัย สภาเด็กและเยาวชน กลุ่มแกนน�ำหมู่บ้าน กลุ่มจิตอาสาอสม.อสค. CG ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน พระสงฆ์ศาลากลางหมู่บ้าน และสถานีต�ำรวจที่ส่งก�ำลังเจ้าหน้าที่คอยสอดส่องดูแลความปลอดภัยบริเวณ สถานที่ที่มีการด�ำเนินกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุในชุมชน 2.6 ผลผลิต ที่เกิดขึ้นจากการท�ำกิจกรรมนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ ผู้สูงอายุ โดยภาพรวมที่เกิดจาก 8 พื้นที่ ได้แก่ 1) จ�ำนวนสมาชิกผู้สูงอายุที่ เข้าร่วมกิจกรรมโครงการเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน 2) เกิดหลักสูตรในโรงเรียน ส ่งเสริมจิตอาสาดูแลผู้สูงวัย มีคู ่มือและแนวปฏิบัติที่ดีส�ำหรับจิตอาสา 3)จ�ำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวมเพิ่มขึ้น 4) เกิดนวัตกรรม และการน�ำใช้กายอุปกรณ์ที่ช ่วยลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ
56 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ 5)จ�ำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มอาชีพ มีรายได้และมีการจัดสวัสดิการ เพิ่มขึ้น 6) มีการขยายจ�ำนวนจิตอาสาขยายผลงานสู่พื้นที่ข้างเคียงจากพื้นที่ ต้นแบบเพิ่มมากขึ้น 7) เกิดนักวิจัยชุมชนและยุววิจัยในระบบการดูแลผู้สูงอายุ โดยชุมชน 8) ผู้สูงอายุได้รับการพิทักษ์สิทธิอันพึงมีพึงได้ตามกฎหมาย 9) มีพื้นที่สาธารณะให้ผู้สูงอายุร่วมกิจกรรมผู้สูงอายุ10)จ�ำนวนผู้ป่วยติดเตียง ลดลง 2.7 ผลลัพธ์ ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นซึ่งถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงหลัง การแก้ไขปัญหา หรือผลที่เกิดขึ้นโดยไม ่ใช ่เป้าหมายหลักของนวัตกรรม ที่น�ำไปด�ำเนินการ จากการสังเคราะห์นวัตกรรมเชิงพื้นที่ 8 พื้นที่ พบว่า ผลที่เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ ได้แก่1) ผู้สูงอายุมีความสุข ภาคภูมิใจ รู้สึกมีคุณค่า ในตนเอง สุขภาพจิตดีส่งผลต่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข เกื้อกูลกัน เอื้ออาทร ต่อกัน 2) ระดับครอบครัว ชุมชน สมาชิกครอบครัวรู้สึกอุ่นใจในการดูแล ผู้สูงอายุ3) ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุเมื่อเจ็บป่วยเรื้อรังหรือเกิดภาวะ แทรกซ้อน 4) ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าและประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรมและ ให้ความร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่น ท�ำให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ เฉพาะโรคของตนเอง 5) ผู้สูงอายุกล้าแสดงออก มีการเชื่อมประสาน การท�ำงานแบบข้ามประเด็น เช่น เด็กและเยาวชนกับผู้สูงอายุเกษตรอินทรีย์ กับผู้สูงอายุการสร้างอาชีพกับผู้สูงอายุเป็นต้น 6) สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ประเทศชาติและความภาคภูมิใจในผลงานระดับชาติและระดับนานาชาติ 7) ภูมิปัญญาท้องถิ่นถูกส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน และน�ำสู่บทเรียนการสร้างนวัตกรรมรายวิชาในโรงเรียนส�ำหรับนักเรียนบาง โรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม 8) ผู้สูงอายุมีความสุขกาย สุขใจ สุขภาพแข็งแรง เห็นคุณค่าในตนเอง ไม่เป็นภาระลูกหลาน เกิดเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็ง ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 57 2.8 ผู้ได้รับประโยชน์ ผู้มีส่วนร่วมและเกี่ยวข้องกับกระบวนการ ขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ ทั้งผู้ปฏิบัติผู้ลงมือท�ำหรือผู้สูงอายุเอง พบว่า การด�ำเนินกิจกรรมเกิดกลุ่มบุคคลและหน่วยงานได้รับประโยชน์ทั้งโดยตรง และโดยอ้อม ได้แก่ ครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุได้รับการสร้างเสริมสุขภาพ มี ศักยภาพในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และ เป็นการลดภาระการดูแลผู้สูงอายุช่วงกลางวัน (เพื่อนเยี่ยมบ้านแบ่งเวลาจาก ธนาคาร) กลุ่มเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนากระบวนการ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ส�ำนึกรักษ์บ้านเกิด ได้รับการปลูกฝังเรื่องจิตอาสา เป็นบุคคลต้นแบบ ที่สร้างแรงกระเพื่อมความเป็นพลเมืองรุ่นใหม่ เป็นผลดี ที่สร้างชื่อเสียงให้โรงเรียน สังคมและประเทศชาติ 2.9 ปัจจัยเงื่อนไขความส�ำเร็จ การสังเคราะห์ผลของกระบวนการ ขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุพบว่า ปัจจัยเงื่อนไข ที่เป็นจุดร ่วมและจุดต ่างตามเป้าหมายและกระบวนการของแต ่ละพื้นที่ มีปัจจัยเงื่อนไขความส�ำเร็จเรียงล�ำดับตามความส�ำคัญได้10 ปัจจัย ดังนี้ 2.9.1 สร้างการมีส่วนร่วม ทุกพื้นที่มีการน�ำแนวคิดและ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างชัดเจน หลายพื้นที่ระบุได้ถึงความยั่งยืน ของการท�ำงาน การต่อยอดและขยายผล การเชื่อมประเด็นที่สนับสนุนงาน ด้านผู้สูงอายุในการพัฒนาระบบการดูแลอย่างเป็นองค์รวม 2.9.2 สร้างคนให้จัดการตนเองได้ภายใต้แนวคิดคนเป็น ศูนย์กลางในการพัฒนา รูปธรรมที่ปรากฏในทุกนวัตกรรม คือ รูปแบบของ จิตอาสา ตัวบ่งชี้ความส�ำเร็จที่ส�ำคัญ คือ ความครอบคลุมของอาสาสมัคร ในพื้นที่เพื่อดูแลผู้สูงอายุและพัฒนาศักยภาพแก่อาสาสมัครก่อนปฏิบัติงาน
58 กระบวนการขับเคลื่อนงานและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ 2.9.3 สร้างการเรียนรู้และความเข้าใจปัญหาและ ความต้องการของชุมชนในประเด็นผู้สูงอายุ นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการ ขับเคลื่อนงานและกิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์ที่ระบุปัญหาและความ รุนแรงที่สอดคล้องสังคมผู้สูงอายุมีแนวโน้มทวีคูณ หากคนในชุมชนและ ท้องถิ่นซึ่งเป็นบุคคลหรือหน ่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่โดยตรงตระหนัก ในประเด็นปัญหาเข้าใจและเข้าถึงจนสามารถน�ำไปสู่การออกแบบการดูแล ผู้สูงอายุได้สอดคล้องกับความต้องการอย ่างแท้จริง ดังเช ่นหลายพื้นที่ ที่ได้ด�ำเนินงานโดยการท�ำประชาคม การท�ำวิจัย การถอดบทเรียน การจัดท�ำ และน�ำใช้ฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเฉพาะด้านผู้สูงอายุและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลจากการส�ำรวจ RECAP TCNAP+ เป็นต้น 2.9.4 ระดมทุนและทรัพยากรเพื่อการใช้แหล่งประโยชน์ โดยเฉพาะการน�ำใช้ทุนทางสังคม ทั้งทุนบุคคล กลุ่มและองค์กรจิตอาสา และ แหล ่งทรัพยากรที่ครอบคลุมทั้งในระดับชุมชน ต�ำบลและระดับจังหวัด ในรูปแบบของความรู้เชิงวิชาการ การใช้สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ พื้นที่ ลานวัฒนธรรม สร้างอาชีพ สร้างรายได้มีส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนงาน ที่ตอกย�้ำการมีส่วนร่วมและความยั่งยืน 2.9.5 ก�ำหนดชุดกิจกรรม เพื่อการดูแลผู้สูงอายุแบบ องค์รวม ถือเป็นเครื่องมือที่มีการออกแบบกิจกรรม เพื่อน�ำไปปฏิบัติได้อย่าง ครบถ้วนและประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ได้ตามเป้าหมายที่ก�ำหนด เป็นทาง เลือกในบางพื้นที่ที่สามารถน�ำใช้และพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุทั้งในศูนย์ ดูแลกลางวัน การดูแลระยะยาว เพื่อการจัดบริการที่ครอบคลุมการดูแล แบบองค์รวมและแบบผสมผสาน 2.9.6 งบประมาณสนับสนุนจากภายนอกหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องงบประมาณสนับสนุนการด�ำเนินงานนับเป็นปัจจัยส�ำคัญในบาง กิจกรรม ในบางพื้นที่ แม้ไม่ส�ำคัญที่สุดแต่หากได้รับการสนับสนุนกิจกรรม ที่ท�ำให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ผลส�ำเร็จภายใต้การใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 59 2.9.7 ก�ำหนดกติกา ข้อตกลง ธรรมนูญ นโยบาย เป้าหมาย และแผนงาน โดยเฉพาะนวัตกรรมส่งเสริมการออม ทั้งในรูปแบบออมเวลา หรือการออมเงินเพื่อใช้ประโยชน์โดยรวม 2.9.8 ความสามารถในการจัดการความร่วมมือระหว่าง องค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะการสื่อสาร การประสานงาน การเจรจาต่อรอง รวมถึงการใช้แนวคิดด้านการบริหารงาน เช่น หลักการ 4 M (Man Money Material Method)ของผู้ประสานงานเพื่อประโยชน์ในการท�ำงานสูงสุด 2.9.9 วิสัยทัศน์ผู้บริหารในการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ ผู้บริหารทุกระดับที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ทั้งระดับชุมชน ระดับท้องถิ่น ระดับ นโยบาย ประธานกลุ่ม/องค์กรชุมชน/ชมรมต่าง ๆ นับเป็นการก�ำหนดทิศทาง หรือจุดเน้นส�ำคัญในการด�ำเนินงานเพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จ 2.9.10 การถ่ายทอดและสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย เฉพาะการใช้ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมมาใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ จากรุ่นสู่รุ่นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน
บทที่ 3 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย ภายใต้บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุของภาคอีสาน การเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ ปัญหาและความต้องการทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและ สภาพแวดล้อม ที่ท้าทายการจัดการของบุคคลในครอบครัวชุมชน หน่วยงาน ภาครัฐในพื้นที่และระดับชาติจากบทเรียนรูปธรรมนวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุ จากพื้นที่รูปธรรม 8 พื้นที่พบบทเรียนส�ำคัญอันจะน�ำมาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย ในภาพรวมทั้งระดับท้องถิ่นและนโยบายเสนอต่อส่วนกลางหรือหน่วยงาน เกี่ยวข้อง มีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 บทเรียน 3.1.1 ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแลกลางวันส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ พบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ การท�ำ ความเข้าใจ การเข้าถึงสถานการณ์ปัญหาผู้สูงอายุในเขตบริการสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านค้อ ต�ำบลบ้านค้อ อ�ำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนม ในประเด็นหลักต่างๆ ดังนี้ 1. ปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่ ฟันผุความจ�ำเสื่อม โรคเรื้อรัง ไขมันสูง ปัญหาทางสายตา 2. ปัญหาด้านสังคม ได้แก่ ขาดผู้ดูแล การมีส่วนร่วมในชุมชนน้อย เข้าร่วมกลุ่มอาชีพน้อย 3. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ขาดการประเมินสภาพแวดล้อมและ ความเสี่ยงผู้สูงอายุ
62 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย 4. ปัญหาด้านเศรษฐกิจได้แก่รายได้ของผู้สูงอายุไม่เพียงพอ ผู้ดูแล ไม่มีรายได้ จากสถานการณ์ข้างต้นจึงเกิดการแก้ไขปัญหาภายใต้ความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย โดยการจัดตั้งศูนย์ดูแลกลางวันส�ำหรับผู้สูงอายุขึ้นอย่าง เป็นรูปธรรม ด้วยกลไก 4 ส่วน คือ 1) ชมรมผู้สูงอายุต�ำบล 2) โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 3)อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) และ 4) ครูอาสา โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาผ ่านกระบวนการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส ่วนร ่วม (PAR) เพื่อให้เป็นศูนย์ส�ำหรับจัดกิจกรรม ที่ครอบคลุมบริการด้านสุขภาพ บริการสังคม บริการด้านเศรษฐกิจและบริการ ด้านสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ มีกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของ ผู้สูงอายุ มีสถานที่ท�ำกิจกรรมและสามารถท�ำกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุ ได้ทุกวัน มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับกิจกรรมของผู้สูงอายุ และกิจกรรม ที่ท�ำให้ผู้สูงอายุสนุกสนาน มีความร ่าเริง แจ ่มใสและเป็นกิจกรรมที่ช ่วย ผ่อนคลายความเครียด 3.1.2 ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาที่แสนวิเศษ เติมเต็มพลัง แสงสีขาวในสังคม จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุพบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ จุดเริ่มต้น ของปัญหาผู้สูงอายุในพื้นที่ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุอยู่อาศัยในภาวะโดดเดี่ยว ขาดคนพึ่งพา แต่ด้วยพื้นฐาน ของคนในชุมชนที่อาศัยอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความเอื้ออาทรจึงก่อให้เกิดพลัง จากชาวบ้าน ชุมชนและท้องถิ่นในการบูรณาการจัดการปัญหาภายในชุมชน จนเกิดความเข้มแข็งซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการ “ธนาคารเวลา”ซึ่งมีที่มา จากนโยบายรัฐผ ่านกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์(พม.)ในชื่อว่า“โครงการธนาคารเวลา” (Time Bank)
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 63 มติที่ประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2561 ก�ำหนดให้ธนาคารเวลาเป็น 1 ใน 10 ประเด็นเร ่งด ่วนด้านผู้สูงอายุเพื่อ เตรียมความพร้อมรองรับสังคมผู้สูงอายุที่มีเป้าหมายหลัก คือ ผู้สูงอายุไทย เป็น Active Ageing : Healthy Security and Participation และควรมีภาคี เครือข่ายต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุนให้การช่วยเหลือ โดยกระบวนการบริหาร จัดการด้วยหลักการ4 M ดังนี้ 1. Man (คน) ได้แก่ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีระบบกรรมการที่มาจากโรงเรียนและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล มหาชัยร่วมด�ำเนินการ 2. Material (สิ่งสนับสนุน) ได้แก่ สถานที่โดยใช้อาคารของโรงเรียน ผู้สูงอายุและมีระบบการจัดเก็บแบบบันทึกเวลาในช่วงแรก 3. Management (การจัดการ) ได้แก่ การก�ำหนดคณะกรรมการ บริหารธนาคารเวลา ประกอบด้วย ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลมหาชัย ผู้แทนครูในพื้นที่มีการก�ำหนดข้อตกลงเพื่อเป็นแนวปฏิบัติ คือ การเข้าร่วมกิจกรรมส่วนร่วมระยะเวลา1ชั่วโมงเท่ากับการสะสมคะแนน 1 คะแนน ลงในสมุดธนาคารของผู้สูงอายุแต ่ละคน และการให้ความรู้ หนุนเสริมจากส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(พมจ.) จังหวัดนครพนม 4. Money (เงิน) ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) จังหวัดนครพนม หนุนเสริมและจัดการระบบการจัดการการเงินและ บัญชีระบบการเบิกจ่ายต่าง ๆ ให้กับเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล มหาชัยให้การสนับสนุนก�ำลังคน อาคารสถานที่และภาคีเครือข่าย
64 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย 3.1.3 บัดดี้ต่างวัย สองหัวใจสู่หนึ่งเดียวกัน ต�ำบลนาเลียง อ�ำเภอ นาแก จังหวัดนครพนม จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ พบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ ผู้สูงอายุ ถือเป็นกลุ่มที่มีความเปราะบางทางด้านจิตใจเป็นอย่างมาก ผู้สูงอายุของ ชนบทอีสานอยู ่บ้านเรือนที่เงียบเหงา ลูกหลานวัยแรงงานย้ายถิ่นออกไป ท�ำงานนอกครัวเรือนและชุมชน แบกความฝันไปค้าแรงงานแลกเม็ดเงิน ในเมืองใหญ่ความห่างไกลนี้ส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องอาศัยอยู่ตามล�ำพัง หรือ บางครอบครัวอาจจะมีผู้สูงอายุเลี้ยงหลานวัยเรียนอยู่บ้านตามล�ำพัง ผู้สูงอายุ หลายคนใช้การไปวัดในยามเช้าเพื่อคลายความเหงากับเพื่อนผู้สูงอายุ ด้วยกันเอง “น้องแมน” หรือนายพนมพร พรมพ่อ เด็กหนุ่มวัย 19 ปีผู้รัก ในบ้านเกิดและท�ำหน้าที่เป็นประธานสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลนาเลียง ได้มีการส�ำรวจข้อมูลผู้สูงอายุและพบว ่ามีแนวโน้มจ�ำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่ม มากขึ้นในทุก ๆ ปีและผู้สูงอายุกว่าร้อยละ 80อาศัยอยู่ตามล�ำพังจึงได้ลอง ออกแบบกิจกรรมโดยมีการ“จับคู่บัดดี้” เพื่อดูแลกันระหว่างเด็กและเยาวชน กับผู้สูงอายุจากการด�ำเนินกิจกรรมจึงเกิดความประทับใจระหว่างวัย ถือเป็น รูปแบบที่ดีและเกิดผลลัพธ์ที่ดีตามมาอีกด้วย เกิดเป็นความร ่วมมือของ กิจกรรมที่ให้ผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงอย่างมากระหว่างเด็กและเยาวชนกับ ผู้สูงอายุ 3.1.4 ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง ต�ำบลบ้านกง อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ พบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ จากสถานการณ์จ�ำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้นในพื้นที่ต�ำบลบ้านกง พบว่า ผู้สูงอายุมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 813 คน (ร้อยละ16.79)จากจ�ำนวนประชากรทั้งหมด ของต�ำบล จ�ำแนกเป็นผู้สูงอายุติดสังคม 764 คน (ร้อยละ 90.63) ผู้สูงอายุ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 65 ติดบ้าน 72 คน (ร้อยละ 8.54) ผู้สูงอายุติดเตียง 7 คน (ร้อยละ 0.83) นั่นหมายถึงต�ำบลบ้านกงได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว (Ageing Society) และ แนวโน้มมีจ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย ่างต ่อเนื่อง พบปัญหาด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดกับกลุ ่มผู้สูงอายุทั่วไป ได้แก่ ผู้สูงอายุป ่วยเรื้อรังและ ติดบ้าน ผู้สูงอายุมีความพิการ ผู้สูงอายุที่ไม่มีและไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการ ขั้นพื้นฐานและจ�ำเป็นจากภาครัฐ จากปัญหาดังกล่าวในปี2559 องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านกง ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก 3)ได้จัดตั้งโรงเรียน ผู้สูงอายุขึ้น เพื่อเป็นพื้นที่การเรียนรู้และนวัตกรรมต�ำบลบ้านกง โรงเรียน แห ่งนี้นับเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาต ่อยอด รูปธรรมของกิจกรรมดีๆ ที่เกิดตามมา เพื่อการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดีและต่อมาปี2560 องค์การบริหารส ่วนต�ำบลบ้านกงได้เข้ารับการพัฒนาและยกระดับเป็น ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่น ภายใต้ โครงการชุมชนท้องถิ่นร่วมใจเพื่อสุขภาวะผู้สูงวัยอย่างยั่นยืน เพื่อพัฒนาระบบ การดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชนท้องถิ่นอย ่างต ่อเนื่องและดูแลแบบองค์รวม (Holistic Care) ร่วมกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น 3.1.5 สูงวัยสร้างเมืองบนพื้นที่ลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์ พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต�ำบลนาอ้อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุพบว่า บทเรียนส�ำคัญคือ การบริหาร จัดการแบบมีส ่วนร ่วมของประชาชนที่ให้ความร ่วมมือในการด�ำเนินงาน กับชุมชนและท้องถิ่น ซึ่งได้รับการจัดสรรทรัพยากรสวัสดิการอย่างเหมาะสม
66 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย เข้าร่วมในกิจกรรมและแสดงความคิดเห็นค่อนข้างดีได้รับการดูแลอย่าง เสมอภาคและทั่วถึง ภายใต้แนวคิดและการด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงได้ท�ำให้เกิดแหล ่งเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการแบบมี ส่วนร่วม ประยุกต์ใช้หลักความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณขับเคลื่อนงาน มีประสิทธิภาพตรงต ่อความต้องการของประชาชน และประชาชนร่วม รับประโยชน์จากการด�ำเนินงาน เกิดความเชื่อมั่นศรัทธาในการท�ำงาน ของบุคลากรชุมชนท้องถิ่น ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีเกิดความ สามัคคีในชุมชน เป็นชุมชนจัดการตนเอง หรือ“ชุมชนเข้มแข็ง” บนพื้นที่ลาน วัฒนธรรมจ�ำนวน 8 ไร่ ภายใต้การดูแลและสนับสนุนของเทศบาล ต�ำบลนาอ้ออ�ำเภอเมืองจังหวัดเลย 3.1.6 เราจะไม่ทิ้งแม้แต่ชีวิตเดี่ยว ให้อยู่โดดเดี่ยวเพียงล�ำพัง เทศบาลต�ำบลสูงเนิน อ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ พบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ การดูแล ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต�ำบลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้วิสัยทัศน์ของ ผู้บริหารท้องถิ่นที่ไม่เห็นด้วยในการจัดตั้ง “บ้านพักคนชราต�ำบลสูงเนิน” ในขณะนั้น นายนคร กิติพูลธนากร นายกเทศมนตรีต�ำบลสูงเนิน ได้ประชุม หารือกับคณะกรรมการจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์(พม.) และเสนอความเห็นว่า “ถ้าสร้างบ้านพักคนชราในพื้นที่ ก็เท่ากับว่าเราก�ำลังสนับสนุนให้ลูกหลานทิ้งพ่อแม่ ไม่เลี้ยงดูพ่อแม่ ปล่อยให้เป็นภาระสังคมและสังคมยิ่งจะล้มเหลว” นายกเทศมนตรีจึงมี วิสัยทัศน์ที่แน่วแน่ที่ต้องการสร้างงาน สร้างคน สร้างความสุขโดยให้ผู้สูงอายุ ได้อยู ่ในบ้านกับลูกหลานและสมาชิกในครอบครัวเช ่นเดิม และได้ริเริ่ม “บ้านกลางผู้สูงอายุเทศบาลต�ำบลสูงเนิน” โดยเป็นลักษณะของการท�ำ กิจกรรมส่วนรวมในพื้นที่สาธารณะที่ผู้สูงอายุมาท�ำกิจกรรมร่วมกันได้เช่น
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 67 ศาลากลางหมู่บ้าน รวมถึงบริเวณบ้านผู้สูงอายุเอง แนวคิดดังกล่าวท�ำให้เกิด ความเข้มแข็งของคนในชุมชน ภายใต้ความร่วมมือของ ผู้สูงอายุ ครอบครัว สูงอายุคนในชุมชน อาสาสมัครชุมชนและจิตอาสาซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนสมาชิก เพิ่มขึ้น 3.1.7 มั่นคงทุกท่วงท่า กับ สว.บ้านนาดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุพบว่า บทเรียนส�ำคัญคือ การรวมกลุ่ม ของผู้สูงอายุในการออกก�ำลังกายอย่างเข้มแข็ง จนท�ำให้ผู้สูงอายุในชุมชน มีการเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วว่องไวมากกว่าผู้สูงอายุในชุมชน อื่น ๆเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สูงสุด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.บรรณสิทธิสิทธิบรรณกุล ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกก�ำลังกาย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญญาภา ศรีปัญญา ผู้เชี่ยวชาญด้านกายภาพบ�ำบัด จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร ซึ่งด�ำเนินการวิจัยด้านสุขภาพได้น�ำพานิสิตในสาขาสาธารณสุขศาสตร์ ลงพื้นที่ชุมชนและเห็นความส�ำคัญจนน�ำสู ่ความสนใจและพัฒนาภาวะ สุขภาพของผู้สูงอายุต่อเนื่อง กระบวนการเข้าไปหนุนเสริมความรู้เกี่ยวกับการออกแบบท ่า กายบริหารเพื่อเสริมสร้างความสมดุลในการเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้น โดยได้เลือก ใช้ตาราง 9 ช่อง ซึ่งพัฒนาโดยศาสตราจารย์เจริญ กระบวนรัตน์การด�ำเนิน โครงการเกิดจากการส�ำรวจหมู่บ้านที่มีปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ รวมถึงวิเคราะห์ปัจจัยร่วมในหลายมิติทั้งครอบครัว วัด ชุมชน ซึ่งได้เล็งเห็น ศักยภาพของชุมชนบ้านนาดอกไม้จังหวัดสกลนคร ให้เป็นชุมชนต้นแบบ ในการส่งเสริมออกก�ำลังกายเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายให้แก่ผู้สูงอายุ โดยได้รับความร ่วมมืออย ่างดีจากผู้น�ำหมู ่บ้านซึ่งช ่วยประสานงานและ
68 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย อ�ำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม และกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความกระตือรือร้น เข้าร ่วมกิจกรรม อีกทั้งยังได้รับการสนับสนุนจากเจ้าอาวาสให้เข้าไปใช้ สถานที่ในบริเวณวัด อีกทั้งยังมีการน�ำองค์ความรู้ที่รองรับด้วยงานวิจัย มาให้ความรู้แก ่ผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุก็ให้ความสนใจและปฏิบัติ ต่อเนื่อง จากผลลัพธ์ที่ได้จากการออกก�ำลังกายแบบตาราง 9 ช่อง สามารถ ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของระบบประสาทสั่งการของผู้สูงอายุอย่างชัดเจน ช่วยฟื้นฟูความแข็งแรงของกล้ามเนื้อรวมถึงสามารถช่วยพัฒนาประสิทธิภาพ ของระบบไหวเวียนโลหิตได้ดีและท�ำให้ผู้สูงอายุชื่นชอบที่จะออกก�ำลังกาย มากขึ้นและเกิดความยั่งยืนในที่สุด 3.1.8 นวัตกรรมกองร้อยเบิ่งแยง ไทนาป่าแซงบ่ถิ่มกัน ต�ำบล นาป่าแซง อ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ จากการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ พบว่า บทเรียนส�ำคัญ คือ การสร้าง การมีส ่วนร ่วมจากทุกภาคส ่วนเพื่อการดูแลและสนับสนุนการด�ำเนินงาน เพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้สูงอายุ และเกิดจากการจัดท�ำระบบฐานข้อมูลต�ำบล (TCNAP) และการวิจัยชุมชน (RECAP) ท�ำให้เกิดกระบวนการสร้างการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วมและสร้างการเปลี่ยนแปลง มีการก�ำหนดแนวทางการ จัดท�ำร่างธรรมนูญสุขภาวะชุมชนให้สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐและ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพ ของคนในต�ำบล มีการก�ำหนดการจัดประชุมประชาคมรับฟังความคิดเห็น ประชาชนในพื้นที่ รับฟังข้อเสนอในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพ ของคนในต�ำบล มีการประสานงานและบูรณาการด�ำเนินงานของทุก หน่วยงานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุให้ ครอบคลุมทุกมิติมีการสร้างทีมงานและก�ำหนดคณะท�ำงานชัดเจน โดยมีการ แต ่งตั้งคณะกรรมการดูแลกลุ ่มผู้สูงอายุ ที่มาจากทุกภาคส ่วนในชุมชน
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 69 โดยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ ภาคประชาชน เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนงาน ตั้งแต ่การวางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบและการด�ำเนินการให้ เหมาะสม มีการพัฒนาระบบข้อมูลโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมจัดท�ำฐานข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการ ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและผู้ด้อยโอกาสให้เป็นปัจจุบัน และน�ำมาใช้ประกอบการวางแผนการดูแล ช่วยเหลือและการรักษาผู้สูงอายุ และมีการด�ำเนินการพัฒนาระบบข้อมูลต�ำบลแบบมีส ่วนร ่วม (TCNAP) และส ่งเสริมการสืบทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุและมีกลุ ่มอาสาสมัครที่ดูแล ผู้สูงอายุที่เป็นรูปธรรม 3.2 ข้อเสนอเชิงนโยบาย จากการวิเคราะห์บริบทและสถานการณ์ผู้สูงอายุภาคอีสานในมิติ ต่าง ๆ และจากการถอดบทเรียนพื้นที่รูปธรรม 8 พื้นที่ ผู้เขียนและคณะ มีข้อเสนอเชิงนโยบายในแต่ละภาคส่วน ดังนี้ 3.2.1 ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) 1. ผลักดันให้มีการน�ำนโยบายการเตรียมความพร้อมเพื่อคุณภาพ ชีวิตที่ดีเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุตามแผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุระยะ3 ปี(ปี2563 – 2565) สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมครอบคลุมมิติทางเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและสภาวะแวดล้อมด้านที่อยู่อาศัย เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วน ร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกช่วงวัยมีการเตรียมความพร้อม สู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต
70 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย 2. สร้างความรอบรู้ทางสุขภาพและระบบการดูแลสุขภาพอย่าง เป็นรูปธรรม จากข้อมูลทางสถิติพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ในประเทศไทยเป็น ผู้สูงอายุวัยต้นและมีสมรรถภาพในการด�ำเนินชีวิตได้ด้วยตนเอง การส่งเสริม ให้ผู้สูงอายุกลุ ่มนี้เป็นผู้สูงอายุที่สามารถรับผิดชอบตนเองได้นานที่สุด การสร้างความรอบรู้และระบบการดูแลสุขภาพ จึงควรได้รับการผลักดัน ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมอย่างเร็วที่สุด 3. เพิ่มโอกาสในการท�ำงานแก่ผู้สูงอายุนอกจากเพิ่มความมั่นคง ทางการเงินและศักยภาพในการดูแลตนเองแล้ว ยังส่งผลดีต่อภาวะสุขภาพ กายและจิตใจของผู้สูงอายุอีกด้วย ผู้สูงอายุจ�ำนวนมากยังต้องการท�ำงาน แต ่ไม ่สามารถหางานที่เหมาะสมกับตนได้รัฐจึงควรเร ่งด�ำเนินการสร้าง มาตรการจูงใจให้ผู้ประกอบการเพิ่มการจ้างงานในกลุ ่มผู้สูงอายุ อีกทั้ง ควรปรับแก้กฎหมายการจ้างงานให้ยืดหยุ่นขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสให้ผู้สูงอายุ ที่ต้องการท�ำงาน แต่ไม่สามารถท�ำงานได้ตามข้อก�ำหนดให้ได้รับการจ้างงาน มากขึ้น 4. การเตรียมการด้านบุคลากรเพื่อรองรับสังคมสูงอายุจ�ำนวน ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น หมายถึงอุปสงค์ต่อการดูแลที่เพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดยเฉพาะ ในผู้สูงอายุที่ต้องการการดูแลระยะยาว(LTC) และการดูแลเฉพาะทางในราย ที่มีปัญหาซับซ้อน ควรมีการจัดท�ำแผนหรือมาตรการเชิงกลยุทธ์ด้านบุคลากร อย่างเป็นรูปธรรม 5. สร้างระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบและบูรณาการ พร้อมน�ำใช้การด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพจ�ำต้องอาศัยข้อมูลที่หลากหลาย ทันสมัยและน ่าเชื่อถือ ที่ผ ่านมาพบว ่าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุใน แต ่ละมิติทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ กระจายอยู ่ตามหน ่วยงาน ต่าง ๆ การจัดท�ำฐานข้อมูลเพื่อรวบรวบข้อมูลและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ผู้สูงอายุที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพื่อประโยชน์ในการ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 71 วางนโยบาย มาตรการและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานด้าน ผู้สูงอายุทุกระดับ และการจัดบริการที่แตกต่างกันต่อไปในอนาคต 3.2.2 ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชนและ ท้องถิ่น ดังนี้ มิติที่ 1 ด้านสุขภาพ 1. สร้างปัจจัยเสริม ลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยการสนับสนุน ให้หน ่วยงานระดับพื้นที่ ได้แก่ องค์กรปกครองส ่วนท้องถิ่น โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ด�ำเนินการ ดังนี้ 1.1 จัดท�ำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุและกลุ่มเตรียม ความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุให้ครอบคลุมสภาพปัญหาและความต้องการ สภาวะสุขภาพและความต้องการการช่วยเหลือ ให้พร้อมใช้และแลกเปลี่ยน หรือกระจายฐานข้อมูลร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อออกแบบชุดกิจกรรม การดูแลและจัดบริการด้านสุขภาพได้สอดคล้องตามบริบทของแต่ละพื้นที่ 1.2 ส่งเสริมกิจกรรมรูปธรรมที่เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสมในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงผ่านวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น พฤติกรรม การบริโภคอาหาร พฤติกรรมการออกก�ำลังกาย หรือพฤติกรรมอื่น ๆ และ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้เท่าทันการหลอกลวงผู้บริโภคในกลุ่มผู้สูงอายุ 1.3 เพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาว (LTC) ภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบล โดยเน้นการบูรณาการ สหสาขาวิชาชีพ เช่น หน ่วยงานด้านสาธารณสุข งานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ส�ำนักงานเกษตรต�ำบล/อ�ำเภอ/จังหวัด และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในรายที่มีปัญหาซับซ้อนและเชื่อมโยงปัญหาด้านสุขภาพ ในรูปแบบการจัดการรายกรณีที่ พัฒนาต่อยอดจากพื้นที่รูปธรรมที่ 4 พื้นที่ ที่7 และพื้นที่ที่8เป็นต้น
72 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย 2. ส ่งเสริมนโยบายหรือแนวทางเพื่อการสร้างสุขภาวะที่ดีแก ่ ผู้สูงวัยในทุกระดับ สนับสนุนให้องค์กรหรือหน่วยงานมีข้อตกลงหรือธรรมนูญ สุขภาพ เป็นนโยบายที่เอื้อต่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ โดยควรประกาศใช้ ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 3. สนับสนุนให้พื้นที่รูปธรรมเป็นพื้นที่ต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เกิดนวัตกรในพื้นที่ ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาระบบการดูแล ผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวมโดยชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วม สอดคล้องกับ บริบทสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่นเพื่อการขยายผล เช่น พื้นที่ รูปธรรมธนาคารเวลา พื้นที่รูปธรรมวัฒนธรรมสูงวัย สร้างเมือง พื้นที่รูปธรรม บัดดี้ต่างวัย พื้นที่รูปธรรมศูนย์ดูแลกลางวัน เป็นต้น มิติที่ 2 ด้านสังคม 1. ลดช ่องว ่างระหว ่างวัย เพิ่มทัศนคติเชิงบวกต ่อผู้สูงอายุ โดยกลุ่มเป้าหมายส�ำคัญ ได้แก่ เด็กและเยาวชน ผู้ดูแลหลักในครอบครัว และคนในชุมชนต่อยอดนวัตกรรมกรณีศึกษา เช่น เปิดช่องทางกิจกรรมแก่ กลุ่มเด็กและเยาวชนทั้งในและนอกระบบโรงเรียน จัดท�ำหลักสูตร หรือก�ำหนด ชั่วโมงกิจกรรมลดช ่องว ่างระหว ่างวัย เพิ่มทัศนคติเชิงบวกต ่อผู้สูงอายุ แก ่เด็กและเยาวชน ในระบบโรงเรียน สนับสนุนจิตอาสาชุมชนร ่วมดูแล ผู้สูงอายุร่วมกับผู้ดูแลหลักในครอบครัวเพื่อแบ่งเบาภาระงาน ลดความเครียด หรือลดความเหนื่อยล้าของผู้ดูแลหลักในครอบครัว เป็นต้น 2. พัฒนาขยายนโยบายเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุเพื่อรองรับ สังคมสูงวัย (Age-Friendly City) เช่น วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ ในการปรับปรุงที่อยู่อาศัยและแหล่งสาธารณประโยชน์จัดท�ำฐานข้อมูลให้ ครอบคลุมทั้งด้านที่อยู่อาศัย การมีส่วนร่วมในสังคม การได้รับการยอมรับ ในสังคม การจ้างงานตามความต้องการ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพในกลุ ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว รวมทั้ง
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 73 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ควรเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุน และการบริหารจัดการด้านสภาพพื้นที่ภายนอกและตัวอาคาร และระบบขนส่ง มวลชนที่เอื้อต่อสุขภาพและการเข้าถึงบริการพื้นฐานของภาครัฐ 3. พัฒนาระบบบริการพื้นฐานที่เอื้อต่อการด�ำรงชีวิตของผู้สูงอายุ เช่น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายในการสื่อสาร การให้บริการรับส่ง เพื่อเข้าถึงบริการตามความจ�ำเป็น และรณรงค์สร้างกลุ่มจิตอาสาให้พอเพียง ในภาวะปกติภาวะวิกฤตหรือฉุกเฉิน พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการให้ทันต่อ ความรู้เพื่อการน�ำใช้อย่างรู้เท่าทัน มิติที่ 3 ด้านเศรษฐกิจ 1. น�ำใช้นโยบายการออมแห่งชาติส่งเสริมการออมในระดับชุมชน ท้องถิ่น และสนับสนุนให้เกิดบ�ำนาญแห่งชาติโดยเฉพาะหน่วยงานหรือองค์กร ควรมีการประชาสัมพันธ์นโยบายกองทุนการออมที่รัฐเอื้อให้ทั่วถึง(กอช.) และ สนับสนุนให้มีการออมก่อนวัยสูงอายุในรูปแบบกลุ่มต่างๆ ที่หลากหลาย เช่น ออมเงิน ออมเวลา ออมต้นไม้ออมผักปลอดสารพิษ การซื้อขายโอโซนต้นไม้ ร่วมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรหรือส�ำนักงานเกษตร อ�ำเภอ/จังหวัด ต่อยอดจากพื้นที่รูปธรรมธนาคารเวลาโดยการขยายกิจกรรม ที่สอดคล้องบริบทแต่ละพื้นที่ ตลอดจนประกาศนโยบายประชาชนร่วมออม อย่างน้อย 1 กลุ ่ม และติดตามให้การช ่วยเหลือกลุ ่มที่ด้อยโอกาสเข้าถึง การออมแห่งชาติ 2. สร้างศักยภาพ สร้างงานและสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุโดยการ ส�ำรวจความต้องการการท�ำงานของผู้สูงอายุจัดท�ำฐานข้อมูลและประสาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การรวมกลุ่มสร้างอาชีพ สร้างรายได้เช่น พื้นที่รูปธรรมที่8 สูงวัย สร้างเมือง บนพื้นที่ลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น
74 บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย มิติที่ 4 ด้านสภาพแวดล้อม 1. ประกาศนโยบายเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุเพื่อรองรับสังคม สูงวัย (Age-Friendly City) สอดคล้องกับพื้นที่รูปธรรมที่1 ก้าวของการพัฒนา ศูนย์ดูแลกลางวันส�ำหรับผู้สูงอายุโดยการมีส ่วนร ่วมของชุมชน หรือพื้นที่ รูปธรรมที่6 บ้านกลางส�ำหรับผู้สูงอายุ 2. หน ่วยงานภาครัฐด�ำเนินโครงการปรับสภาพแวดล้อมและ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้เหมาะสมและปลอดภัยส�ำหรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพิการ รวมทั้ง การจัดหาสถานที่ดูแลผู้สูงอายุในตอนกลางวันและ กรณีขาดคนดูแล 3. จัดตั้งศูนย์ประสานกายอุปกรณ์ให้พอเพียงและพร้อมใช้ตาม ความต้องการของชุมชน 4. สร้างพื้นที่สาธารณะให้ผู้สูงอายุท�ำกิจกรรมร่วมกัน เช่น ศาลา กลางบ้าน ป่าชุมชน วัด 5. ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายผู้สูงอายุท�ำงานบูรณาการกิจกรรม กลุ่มจิตอาสา
บรรณานุกรม กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2552). แผนผู้สูงอายุ แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย์. มะยุรีวงค์กวานกลม. (2561). ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพจิตของ ผู้สูงอายุในสังคมวัฒนธรรมอีสาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, ฉบับพิเศษ. ในการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 25 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นครพนม, หน้า140-148. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2559. (ปราโมทย์ประสาทกุล, (บรรณาธิการ)) นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2564). สังคม สูงอายุ....แบบสมบูรณ์ คนไทยพร้อม แล้วหรือยัง ?. สืบค้นเมื่อ12 กันยายน 2564.จาก:https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/ Pages/Aging-societyFB-.21-04-30aspx. สุรีย์ธรรมิกบวร สุรสม กฤษณะจูฑะ และปิ ่นวดีศรีสุพรรณ. (2561). วัฒนธรรมอีสานกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). จ�ำนวนและสัดส่วนประชากรจากการ ทะเบียนจ�ำแนกตามกลุ่ม อายุ (วัยเด็ก วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) เพศ ภาค และจังหวัด พ.ศ. 2554-2563. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564จาก:http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01. aspx
76 บรรณานุกรม ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ส�ำนักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564.จาก:http://social.nesdb.go.th. United Nations (2019). World Mortality 2019. United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division. New York. ST/ESA/SER.A.
ภาคผนวก QR Code เพื่อเข้าถึงเรื่องเล่าพื้นที่รูปธรรมฉบับเต็ม 8 พื้นที่ต้นแบบ
สุขภาวะผู้สูงอายุภาคอีสาน : บทเรียนและประสบการณ์จากการปฏิบัติ 79 เรืองเล่าที ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแลกลางวัน สําหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เรืองเล่าที ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาทีแสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม เรืองเล่าที “บัดดี ต่างวัย” สองหัวใจสู่หนึงเดียวกัน เรืองเล่าที ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง (BanKong Long Term Care Center = BKLTC) เรืองเล่าที ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแลกลางวัน สําหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เรืองเล่าที ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาทีแสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม เรืองเล่าที “บัดดี ต่างวัย” สองหัวใจสู่หนึงเดียวกัน เรืองเล่าที ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง (BanKong Long Term Care Center = BKLTC) เรืองเล่าที ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแลกลางวัน สําหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เรืองเล่าที ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาทีแสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม เรืองเล่าที “บัดดี ต่างวัย” สองหัวใจสู่หนึงเดียวกัน เรืองเล่าที ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง (BanKong Long Term Care Center = BKLTC) เรืองเล่าที ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแลกลางวัน สําหรับผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เรืองเล่าที ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ : เวลาทีแสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม เรืองเล่าที “บัดดี ต่างวัย” สองหัวใจสู่หนึงเดียวกัน เรืองเล่าที ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวบ้านกง (BanKong Long Term Care Center = BKLTC) เรื่องเล่าที่ 1 ก้าวของการพัฒนาศูนย์ดูแล กลางวันส�ำหรับผู้สูงอายุโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เรื่องเล่าที่ 3 “บัดดี้ต่างวัย” สองหัวใจสู่หนึ่งเดียวกัน เรื่องเล่าที่ 4 ศูนย์เรียนรู้ระบบการดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาวบ้านกง (BanKong Long Term Care Center = BKLTC) เรื่องเล่าที่ 2 ธนาคารเวลากับผู้สูงอายุ: เวลาที่แสนวิเศษ เติมเต็มพลังแสงสีขาวในสังคม
80 ภาคผนวก เรื่องเล่าที่ 5 สูงวัย สร้างเมือง “บนพื้นที่ลาน วัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เรื่องเล่าที่ 7 มั่นคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนา ดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร เรื่องเล่าที่ 8 นวัตกรรมกองร้อยเบิ่งแยง ไทนาป่าแซงบ่ถิ่มกัน ต�ำบลนาป่าแซงอ�ำเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ เรื่องเล่าที่ 6 “เราจะไม่ทิ้งแม้แต่ชีวิตเดี่ยว ให้อยู่โดดเดี่ยวเพียงล�ำพัง” เทศบาลต�ำบลสูงเนิน อ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา เรืองเล่าที สูงวัย สร้างเมือง “บนพื นทีลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เรืองเล่าที “เราจะไม่ทิ งแม้แต่ชีวิตเดียว ให้อยู่โดดเดียวเพียง ลําพัง” เทศบาลตําบลสูงเนิน อําเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา เรืองเล่าที มันคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร เรืองเล่าที นวัตกรรมกองร้อยเบิงแยง ไทนาป่ าแซงบ่ถิมกัน ตําบลนาป่ าแซง อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ เรืองเล่าที สูงวัย สร้างเมือง “บนพื นทีลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เรืองเล่าที “เราจะไม่ทิ งแม้แต่ชีวิตเดียว ให้อยู่โดดเดียวเพียง ลําพัง” เทศบาลตําบลสูงเนิน อําเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา เรืองเล่าที มันคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร เรืองเล่าที นวัตกรรมกองร้อยเบิงแยง ไทนาป่ าแซงบ่ถิมกัน ตําบลนาป่ าแซง อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ เรืองเล่าที สูงวัย สร้างเมือง “บนพื นทีลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เรืองเล่าที “เราจะไม่ทิ งแม้แต่ชีวิตเดียว ให้อยู่โดดเดียวเพียง ลําพัง” เทศบาลตําบลสูงเนิน อําเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา เรืองเล่าที มันคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร เรืองเล่าที นวัตกรรมกองร้อยเบิงแยง ไทนาป่ าแซงบ่ถิมกัน ตําบลนาป่ าแซง อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ เรืองเล่าที สูงวัย สร้างเมือง “บนพื นทีลานวัฒนธรรมไทเลย ศาสตร์พระราชา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เรืองเล่าที “เราจะไม่ทิ งแม้แต่ชีวิตเดียว ให้อยู่โดดเดียวเพียง ลําพัง” เทศบาลตําบลสูงเนิน อําเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา เรืองเล่าที มันคงทุกท่วงท่า กับ สว. บ้านนาดอกไม้ แห่งเมืองสกลนคร เรืองเล่าที นวัตกรรมกองร้อยเบิงแยง ไทนาป่ าแซงบ่ถิมกัน ตําบลนาป่ าแซง อําเภอปทุมราชวงศา จังหวัดอํานาจเจริญ