The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้หน้าที่พลเมือง (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suchada-ice, 2022-04-14 08:47:37

ใบความรู้หน้าที่พลเมือง (2)

ใบความรู้หน้าที่พลเมือง (2)

ใบความรู้

เรื่อง สถานภาพ บทบาท

สิทธิ เสรีภาพ

และหน้ าที่ของพลเมืองดี
วันแนะแนวอาชีพ พบปะและพูดคุย
ตามวิถีประชาธิปไตย

ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 2

และหน้สาถที่าขนอภงาพพลเบมืทอบง
ดา

ีทตาสมิทวิธถิีปเสรระีภชาาพธิปไตย

1.ความหมายและความสำคัญของสถานภาพ บทบาท สิทธิ

เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชนชาวไทย

1. สถานภาพ
หมายถึง ตำแหน่งทางสังคมที่บุคคลได้รับจากการเป็น


สมาชิกของสังคม สถานภาพแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
1.สถานภาพที่ติดตัวมาแต่กำเนิด เช่น เป็นชาย หญิง พ่อ


แม่ ลูก หลาน คนไทย เป็นต้น
2.สถานภาพที่ได้มาด้วยการใช้ความรู้ความสามารถของ


บุคคล เช่น เป็นครู นักเรียน แพทย์ เป็นต้น

2. บทบาท
หมายถึง การปฏิบัติตนตามสถานภาพของตนเอง

ซึ่งในแต่ละคนก็มีบทบาทที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันไป

และในตัวบุคคลหนึ่งอาจมีบทบาทหลายบทบาท เช่น พ่อ

ต้องดำเนินบทบาทในการให้การอบรมเลี้ยงดูสั่งสอนบุตร

ให้เป็นคนดี ส่งเสียบุตรให้ได้รับการศึกษาที่สมควร ตามวัย

3. สิทธิ
หมายถึง ประโยชน์ของบุคคลที่กฎหมายให้การรับรอง

และความคุ้มครอง เช่น บุคคลผู้มีสัญชาติไทยมีสิทธิได้รับการ
ส่งเสริม สนับสนุน และได้รับการช่วยเหลือจากรัฐตาบทบัญญัติ

แห่งรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิที่ได้รับบริการสาธารณสุขแลสวัสดิการ

จากรัฐการได้รับตำแหน่งต่าง ๆ ที่สูงขึ้น

4. เสรีภาพ

หมายถึง ความมีอิสระในการกระทำของบุคคลที่อยู่ใน

ขอบเขตของกฎหมาย เช่น เสรีภาพในการพูด การเขียน

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เป็นต้น สิทธิเสรีภาพเป็น

สิ่งที่รัฐธรรมนูญให้การรับรองและคุ้มครองไว้อย่างหลาก

หลาย ตราบเท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่ น

หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน รวมทั้งไม่กระทบ

ต่อความมั่นคงของรัฐและกระทบต่อความสงบเรียบร้อย

5. หน้าที่
หมายถึง ภาระหรือความรับผิดชอบของบุคคลที่จะต้อง


ปฏิบัติตามสถานะของแต่ละบุคคล เช่น หน้าที่ของบิดาที่มีต่อ

บุตร หน้าที่ของชนชาวไทยที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น

บุคคลมีหน้าที่ในการเสียภาษีบำรุงประเทศ หรือชายไทยทุก

คนมีหน้าที่ในการเกณฑ์ทหาร บคคลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่งชาติ

บำรุงประเทศ หรือชายไทยทุกคนมีหน้าที่ในการเกณฑ์ทหาร

บุคคลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่งชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ บุคคล
มีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

2.ความหมายของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย





ความหมายของ “พลเมือง” ในวิถีชีวิต ประชาธิปไตย
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้
ความหมายของคําต่างๆดังนี้

พลเมือง หมายถึง ชาวเมือง ชาวประเทศ ประชาชน
วิถี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน
ประชาธิปไตย หมายถึง แบบการปกครองที่ถือมติ ปวงชน

เป็นใหญ่

ดังนั้นคําว่า
“พลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย” จึง หมายถึง

พลเมืองที่มีแนวทางการปกครองที่ถือปวงชนเป็นใหญ่

3. แนวทางการปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีชีวิต

ประชาธิปไตย

1.การทำกิจกรรมร่วมกันในกระบวนการทางประชาธิปไตย
แม้ว่ากระบวนการทางประชาธิปไตยเป็นกระบวนการที่ให้


ความสำคัญกับความเสมอภาคสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของ

บุคคลเป็นอย่างมาก เช่น ให้ชาวไทยทุกคน ทุกเพศ ทุกฐานะ
ที่มี อายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผู้แทนใน

ระดับประเทศและระดับท้องถิ่นในเขตเลือกตั้งของตนได้ 1 เสียง

เท่าเทียมกัน เป็นต้น

2. กเาพิร่มมีขส้่อวคนวร่าวมมในแสล่วะนรัเบนื้ผอิดหชาเอล็บกใน้นอกยิจกรรมทางสังคม
พ ล เ มื อ ง ดี ใ น สั ง ค ม ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย จ ะ ต้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม


และรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคมอย่างต่อเนื่ องจึงจะ

ทำ ใ ห้ ส ม า ชิ ก ใ น สั ง ค ม ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อ ยู่ ร่ ว ม กั น ด้ ว ย ค ว า ม รั ก

และสามัคคี และพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้ามากขึ้นเรื่ อย

ๆ กิจกรรมทางสังคมที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาสังคม
ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ที่ พ ล เ มื อ ง ดี จ ะ ต้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม แ ล ะ รั บ ผิ ด ช อ บ

ในการปฏิบัติให้เป็นผลสำเร็จ มีดังนี้

1. การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. การรับฟังข้อคิดเห็นของผู้อื่ น
3. การยอมรับเมื่ อผู้อื่ นมีเหตุผลที่ดีกว่า
4. การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
5. การเคารพระเบียบของสังคม
6. การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวม

แ ล ะ รั ก ษ า ส า ธ า ร ณ ส ม บั ติ
5. การร่วมมือกันในการป้องกันสาธารณภัยต่างๆ มิให้

เ กิ ด ขึ้ น กั บ ชุ ม ช น

3. การดูแลรักษาสาธารณประโยชน์และสิงแวดล้อมของชุมชน

และประเทศ

พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยจะต้องดูแลรักษา

สาธารณประโยชน์และสิ่งแวดล้อมของชุมชนและประเทศ ทั้งนี้

เพราะสาธารณสถานสร้างไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันของสังคมและสิ่ง

แวดล้อมที่ดีเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้สังคมมีความสะดวกสบายและมี

คุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติตนเพื่อวัตถุประสงค์ดัง

กล่าวหลายแนวทาง ดังนี้

1. ช่วยดูแลรักษาและบำรุงถนนหนทางให้อยู่ในสภาพดี
2. ป้องกันมิให้บุคคลใดทำลายสาธารณสถานที่ประชาชนใช้
ประโยชน์ร่วมกัน เช่นที่พักริมทางหรือที่พักรอรถประจำทาง สวน

สาธารณะ เป็นต้น
3. คุ้มดรองส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ใน

สภาพดีตลอดไป
4. ป้องกันมิให้บุคคลใดทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม ช่น จะต้องมี

มาตรการในการควบคุมไม่ให้บุคคลใดทิ้งขยะลงไปในแม่น้ำลำคลอง
5. ช่วยดูแลรักษาทางน้ำสาธารณะมิให้มีสิ่งกีดขวางและตื้นเขิน

และต้องไม่รุกล้ำทางสาธารณะจนไม่สามารถใช้สัญจรไปมาได้

พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยควรมีแนวทางการ

ปฏิบัติตนดังนี้

1. การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. การรับฟั งข้อคิดเห็นของผู้อื่ น
3. การยอมรับเมื่ อผู้อื่ นมีเหตุผลที่ดีกว่า
4. การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
5. การเคารพระเบียบของสังคม
6. การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนร่วม

และรักษาสาธารณสมบัติ

พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยควรมีแนวทางการ
ปฏิบัติตนดังนี้

ด้านสังคม ได้แก่
1. การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
2. การรับฟั งข้อคิดเห็นของผู้อื่ น
3. การยอมรับเมื่ อผู้อื่ นมีเหตุผลที่ดีกว่า
4. การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
5. การเคารพระเบียบของสังคม
6. การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวม
และรักษาสาธารณสมบัติ

ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่
1. การประหยัดและอดออมในครอบครัว
2. การซื่ อสัตย์สุจริตต่ออาชีพที่ทำ
3. การพัฒนางานอาชีพให้ก้าวหน้ า
4. การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
5. การสร้างงานและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
เพื่ อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมไทยและสังคมโลก
6. การเป็ นผู้ผลิตและผู้บริโภคที่ดี มีความซื่ อสัตย์ฅ ยึดมั่น
ในอุดมการณ์ที่ดีต่อชาติเป็ นสำคัญ

ด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่
1. การเคารพกฎหมาย
2. การรับฟั งข้อคิดเห็นของทุกคนโดยอดทนต่อความขัดแย้ง

ที่ เ กิ ด ขึ้ น
3. การยอมรับในเหตุผลที่ดีกว่า
4. การซื่ อสัตย์ต่อหน้ าที่โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
5. การกล้าเสนอความคิดเห็นต่อส่วนรวมกล้าเสนอตนเองใน

การทำหน้ าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา
6. การทำงานอย่างเต็มความสามารถ เต็มเวลา

ห น้ า ที่ พ ล เ มื อ ง มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2


Click to View FlipBook Version