The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปเนื้อหา_หัวใจ_62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฆนรส อภิญญาลังกร, 2020-04-09 19:37:09

สรุปเนื้อหา_หัวใจ_62

สรุปเนื้อหา_หัวใจ_62

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
สรา้ งคนจากชมุ ชนเพื่อตอบสนองระบบสขุ ภาพของชุมชน

….. การพยาบาลเดก็ และวัยรุ่นทม่ี ี

ภาวะผิดปกตขิ อง
หวั ใจและหลอดเลอื ด
ในระยะเฉียบพลัน วกิ ฤติ และเรือ้ รัง…

อ.ฆนรส อภญิ ญาลังกร

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
สร้างคนจากชุมชนเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพของชุมชน

*** การไหลเวยี นเลอื ด*** Normal Cardiac Pressures

 จะไหลจากท่ีท่ีมีความดนั สูงไปยงั
ที่ท่ีมีความดันต่าหรื อแรงต้านทาน
นอ้ ย

 ความดันเลือดในหัวใจด้านซ้าย <8
และหลอดเลือดแดงเอออร์ตา้ จะสูง
กว่าหัวใจด้านด้านขวาและหลอด <5
เลือดแดงพลั โมนารี่ 120

25/<
5



การไหลเวยี นเลอื ดทารกในครรภ์ การไหลเวยี นเลอื ด

ปอดมแี รงตา้ นทางหลอด ทารกแรกเกดิ
เลอื ดสูง
• สายสะดือถกู ตดั และเม่ือ
ทารกรอ้ ง ปอดขยายตวั แรง
ตา้ นทาน เลือดไหลเขา้ ปอด
และกลบั เขา้ หอ้ งหวั ใจซา้ ย
ความดนั หอ้ งหวั ใจซา้ ย ทา
ใหท้ อ่ ทางลดั ไมไ่ ดใ้ ช้

foramen ovale จงึ ถกู
ปิดลง

• Prostaglandin E ถกู
สรา้ งจากรกและทาลายท่ีปอด

มีคณุ สมบตั ทิ าให้ Ductus
ateriosus ขยายตวั เม่ือ
ทารกเกิดจงึ หดเลก็ ลงและปิด

ชนิดของโรคหัวใจพกิ ารแต่กาเนิด

Cyanotic

A Cyanotic

Increased in Obstruction of Decreased Mixed blood flow /
pulmonary blood pulmonary Increased
blood flow/ blood flow
flow form ventricle pulmonary blood
left to right shunt 1. Pulmonary flow
1. ASD stenosis
2. VSD TOF, PA ,TA TGA, Truncus
3. PDA 2. Aortic stenosis ateriosus, TAPVR
3.Coarctation of the

Aorta

VSD …30% of CHD
85% spontaneous closed

120/<8
25/<5

ในผปู้ ่วย VSD มภี าวะ Left to Right shunt ปริมาณเลอื ดจะไปทีป่ อดมากขึน้ ส่งผลให้เกดิ
Pulmonary Hypertension ทาให้เกดิ การไหลกลับ เป็น Right to Left shunt ผู้ปว่ ยจะมี

อาการเขียว เรยี กว่า Eisenmenger’s syndrome

อาการ

ข้ึนกบั การเปล่ียนแปลงทิศทางการไหลเวยี นเลือด ขนาดของ VSD ตาแหน่งความพิการ

และแรงตา้ นของหลอดเลือดในปอด ภาวะแทรกซอ้ น : เย่ือบหุ วั ใจ และ ปอดอกั เสบ

VAD ขนาด ลักษณะอาการ

ขนาดเลก็ มีรูร่ัว มกั ไม่มีอาการผดิ ปกติ อาจฟังได้ pansystolic murmur อาจปิ ดไดเ้ อง
เลก็ กวา่ 0.5 ซม. ภายในอายุ 6-12 เดือน ใหภ้ ูมิคุม้ กนั ป้องกนั การติดเช้ือที่เยอ่ื บุหวั ใจ

(ดูแลช่องปาก) และ ป้องกนั การติดเช้ือทางเดินหายใจ

ขนาดกลาง มีรูร่ัว มีอาการเหน่ือยง่าย ตวั เลก็ ติดเช้ือทางเดินหายใจบ่อย ตรวจร่างกาย พบ
เลก็ กวา่ 0.5-1 ซม. หวั ใจอาจโตเลก็ นอ้ ย คลาได้ systolic thrill ฟังได้ pansystolic murmur

ขนาดใหญ่ มีรูร่ัว อาการโรคชดั เจนเมื่อ 1-2 เดือน มีน้าหนกั ข้ึนชา้ ตวั เลก็ ติดเช้ือทางเดิน
ใหญ่กวา่ 1 ซม. หายใจบ่อย เริ่มมีอาการเหนื่อยหอบง่าย เหง่ือออกมากโดยเฉพาะเวลา

ดูดนม หนา้ อกซา้ ยโป่ งนูนข้ึน (อายมุ ากกวา่ 6 เดือน) อาการค่อยๆ
รุนแรงข้ึน เกิดภาวะหวั ใจซีกซา้ ยวายและมีความดนั เลือดใน pulmonary

artery สูงข้ึน ส่วนมาก Surgery อายมุ ากกวา่ 2 ปี

Atrial Septal Defect

Clinical Signs & Symptoms

• อเดาก็ กาAรSD อายตุ ่ากวา่ 5 ปี มกั ไม่มี

• แต่ถา้ ความดนั เลือดในปอดสูง
งหปท่าากรยงือตเเดิหAินงS่ือหDอาขยอนใกจามดนาใก้าหหมญนีก่ กัาจรนะตอ้เิดหยเกนชว่ื้ืออา่ย
• Enlargement of the
• Cyanosis does not occur unless right ventricle
pulmonary HTN is present.
• Enlargement of atrium

Patent Ductus Arteriosus

• พบมากเป็นอนั ดบั 2
• พบในทารกเกิดก่อนกาหนด

(ปอดเจรญิ ไม่เตม็ ท่ี ไมส่ ามารถ
ขจดั prostaglandin ได)้
• พบในทารกท่ีมีความผดิ ปกติ
ในระบบหายใจหลงั คลอด
• พบในมารดาท่ีติดเชือ้ หดั
เยอรมนั ในชว่ ง 3 เดอื นแรก
ของการตงั้ ครรภ์
• ทาใหเ้ อเตรยี มซา้ ยความดนั สงู
และสง่ ผลยอ้ นกลบั ใหเ้ กิด
เลอื ดค่งั ในปอดหรอื ปอดบวม
นา้ ได้

Patent Ductus Arteriosus

• อาการและอาการแสดง ขนึ้ อย่กู ับขนาดของ PDA
• 1. PDA ขนาดเล็ก ผปู้ ่ วยมกั ไม่มีอาการ ตรวจรา่ งกายพบหวั ใจไมโ่ ตหรือโต

เลก็ นอ้ ย ภาพรงั สีทรวงอก ขนาดหวั ใจปกติ หรอื อาจมีหวั ใจหอ้ งลา่ งซา้ ยโตเล็กนอ้ ย

• 2. PDA ขนาดปานกลาง ผปู้ ่วยอาจมีอาการเหน่ือยง่ายเลก็ นอ้ ย มีการติดเชือ้ ท่ี
ทางเดนิ หายใจบอ่ ย ๆ ภาพรงั สที รวงอก ขนาดหวั ใจโตปานกลาง หวั ใจหอ้ งลา่ งซา้ ยโต

• 3. PDA ขนาดใหญ่ผปู้ ่ วยจะมีอาการมากตงั้ แตว่ ยั ทารก โดยเฉพาะในรายท่ี
เกิดกอ่ นกาหนด จะมีอาการของหวั ใจวาย (Left heart failure) คือ เหน่ือยหอบ
หายใจเร็ว เหง่ือออกมากเหน่ือยขณะดดู นม นา้ หนกั ตวั ไม่เพ่ิมขึน้ การตรวจร่างกาย
จะพบการเตน้ ของหวั ใจผิดปกติ มีเสียงฟ่ ู (Machinery murmur) ท่ีเป็น
ลกั ษณะเฉพาะของ PDA คือ ความดนั ชีพจร (Pulse pressure) กวา้ ง ชีพจร
เตน้ แรง และมี Thrill ภาพรงั สีทรวงอก พบหวั ใจโตทงั้ สองขา้ ง
ดดู นมครงั้ ละนอ้ ย แตบ่ อ่ ยครงั้ และหยดุ พกั ระหวา่ งมือ้

การรักษา

 รักษาทางยา ใหย้ า Indomethacin ibuprofen ซ่ึงมีฤทธ์ิยบั ย้งั การสร้าง
สร้างพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandin inhibitor) เพอ่ื ให้ PDA ปิ ด ซ่ึง
ทาใหห้ ลอดเลือดductus arterosus ปิด และทาใหห้ ลอดเลือดฝอยบีบรัดตวั ทา
ใหห้ ลอดเลือดฝอยที่ไตหดตวั ดว้ ยทาใหเ้ ลือดไปกรองท่ีไตไม่ดี (ติดตาม urine
output > 1cc/kg/hr ทารกเกิดก่อนกาหนด > 0.5cc/kg/hr ) จึงทาให้
มีโอกาสไตวาย ร่วมกบั มีอาการซึม และมีอาการขา้ งเคียงทาใหเ้ กิดภาวะเกร็ดเลือดต่า
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่ายหยดุ ยาก

 การสวนหวั ใจเพอ่ื ปิ ด PDA ไม่นิยมทาในเดก็ เลก็ เนื่องจากหลอดเลือดท่ีขาหนีบมี
ขนาดเลก็

 การผา่ ตดั ทาไดท้ ุกอายถุ า้ มีอาการหวั ใจวายที่ควบคุมอาการไม่ไดอ้ าจจะพจิ ารณาทา
ผา่ ตดั เร็วข้ึน โดยการผา่ ตดั ปิ ด PDA ดว้ ยการผกู ปิ ด (Coil embolization)

การพยาบาลกลุ่ม Increased in pulmonary blood flow/ left to right shunt

เพ่มิ ประสิทธิภาพการทางานของหวั ใจ

1. ใหย้ าดิจิทาลิส (Digitalis) ตามแผนการรักษา เพื่อทาใหห้ วั ใจบีบตวั ชา้ ลงแต่แรงข้ึน จึงทาใหป้ ริมาณ
เลือดท่ีสูบฉีดไปเล้ียงร่างกายมากข้ึน สิ่งสาคญั คือตอ้ งนับชีพจรก่อนให้ยาทุกคร้ัง ต่ากวา่ 100 คร้ัง/นาที
ในเดก็ อายนุ อ้ ยกวา่ 1 ปี หรือต่ากวา่ 80 คร้ัง/นาที ในเดก็ อายมุ ากกวา่ 1 ปี หรือต่ากวา่ 60 คร้ัง/นาที ใน
เดก็ โต ให้งดยามือ้ น้ันไว้ก่อน

2. ใหย้ าขบั ปัสสาวะเพื่อใหไ้ ตขบั น้าออกจากร่างกายมากข้ึน ทาใหห้ วั ใจทางานนอ้ ยลงและลดภาวะน้าคงั่
ในปอด (Lung congestion) ในรายท่ีเลือดไปปอดมาก ทาใหก้ ารแลกเปล่ียนก๊าซขาดประสิทธิภาพ

เทคนิคในการให้นม ดงั นี้
• จุกนมควรนุ่มและมีรูขนาดใหญ่กวา่ ปกติ เพื่อลดแรงในการดูดของเดก็
• ใหด้ ูดทีละนอ้ ยๆแต่บ่อยคร้ัง ถา้ ดูดนานอาจทาใหเ้ ดก็ มีอาการเหน่ือย
• ในรายที่ดูดแลว้ มีอาการเหนื่อย ควรใชช้ อ้ นป้อนหรือใช้ medicine dropper หรือ syringe ใหน้ มทางปาก

ส่วนในรายท่ีมีอาการหายใจเร็ว 80-100 คร้ัง/นาที หรือ มีอาการเหนื่อยหอบมาก ดูดนมแลว้ เขียวไม่ควร
ใหเ้ ดก็ ดูดนม ตอ้ งใหน้ มทาง nasogastric tube

Obstruction of blood flow form
ventricle

1.Pulmonary stenosis

2.Aortic stenosis

3.Coarctation of the Aorta

Pulmonic/ Aortic Stenosis

เลอื ดไปเลยี้ ง ความดนั ใน pulmonary vein
รา่ งกายนอ้ ยลง สงู ขนึ้ เกิดภาวะปอดบวมนา้
สมองไดร้ บั
ออกซเิ จนไม่
เพียงพอ ผปู้ ่ วย
จงึ มีอาการเป็น
ลมหมดสติ

การรักษา
•ผ่าตดั
•ใช้สายสวนเพื่อ
รกั ษา ขยายล้ินเอ
ออรต์ กิ ด้วย
balloon catheter

assessment ความดนั สว่ นบนเหนือรอยตบี เพมิ่ ขนึ้
- high BP in upper มีโอกาสเกิดการแตกของ
body part in the arm หลอดเลือดสมองจากการมี
20mmhg more than cerebral aneurysm
leg,
- headache, Coarctation of the Aorta
- vertigo, การตบี แคบของหลอดเลือดแดงเอออร์ต้า
- epistaxis.
- ชีพจรขาท้งั 2 ขา้ งเบา
กวา่ ท่ีแขน
จ- ะOแ2sตaกtuตr่าaงtiกoนัnตแ้งัขแนตข่ า
3-5% ข้ึนไป

Cyanotic Heart Defect

Cyanotic

Decreased pulmonary Mixed blood flow
blood flow

TOF, PS ,TA TGA, Truncus
ateriosus, TAPVR

3. ลนิ้ เอออรต์ คิ เล่อื นไปทางขวา

(overriding of the
Aorta )

1. pulmonary 2.VSD
stenosis
4. Rt. Ventricular hypertrophy

Tetralogy of Fallot

Most Common cause of cyanotic heart disease beyond neonatal period

Degree of Pulmonary stenosis and size of VSD determine presentation

Variable degree of Cyanosis (PS+VSD ทาใหค้ วามดนั ventricle ขวาสงู เลือดไหลลดั วงจร right to left

shunt

ภาวะเขียวที่เร้ือรัง จะกระตุน้ ใหไ้ ต
สร้าง erythropoietin ทาใหม้ ีการ
สร้างเมด็ เลือดแดงมากข้ึน เพ่ือเพม่ิ

ตวั นาออกซิเจน ทาใหก้ าร
ไหลเวยี นเลือดหนืดข้ึน อาจเกิดการ
อุดตนั embolism : ตอ้ งติดตาม Hct

ทา Blood exchang

Tetralogy of Fallot- Clinical Findings

 แรกเกิดไมพ่ บอาการเขียว แตจ่ ะเขียวภายหลงั อายุ 1 ปี ซง่ึ จะเขียวเวลามีกิจกรรม เช่นดดู นม
รอ้ งไห้ เดก็ ท่ีเดนิ ได้ มกั ใหป้ ระวตั ิชอบน่งั ยองๆ

 Squatting หรอื knee chest position น่งั ยอง ๆ เวลาเหน่ือย หรอื ทา่ นอนเข่าชิดอก
ซง่ึ เป็นวิธีท่ีจะชว่ ยเพ่ิมแรงตา้ นทานของหลอดเลอื ดสว่ นปลาย ทาใหแ้ รงดนั ในหวั ใจหอ้ งลา่ งซา้ ย
เพ่ิมขนึ้ ลดการไหลของเลอื ดจากหอ้ งลา่ งขวาไปซา้ ย ทาใหเ้ ลือดจากหวั ใจหอ้ งลา่ งขวาไปปอด
ไดม้ ากขนึ้

 “Tet spells”(หรอื anoxic หรอื hypoxic spell) มกั มีอาการหลงั ต่นื นอนตอนเชา้
เม่ือรอ้ งไหน้ าน ออกแรงมาก หรอื เหน่ือยเกิน

 เจรญิ เตบิ โตชา้ กวา่ ปกติ รมิ ฝีปากและเลบ็ เขียว นิว้ มือนิว้ เทา้ ปมุ้ (clubbing finger)

central cyanosis

เป็นการพยายามเพ่มิ ปรมิ าณ
ออกซิเจนในเลือด ทาใหห้ ลอด
เลอื ดฝอยสว่ นปลาย ๆ ของรา่ งกาย
(ซง่ึ ก็คือปลายนิว้ มือนิว้ เทา้ ) เกิด
การขยายตวั และเพ่มิ จานวน ทาให้
มีลกั ษณะคลา้ ยชอ้ นและมสี คี ลา้

การวนิ ิจฉัย Tetralogy of Fallot: Tx
“Boot Shaped Heart”
 เดก็ ท่ีมีอาการไม่มาก ควรรกั ษาใหม้ ีค่า Hct รอ้ ยละ
50-60

 Squatting/knee chest position
relieves tet spells– venous return,
systemic resistance

 Surgical repair performed during
first 3 to 5 years old

 VSD closed with a patch,
pulmonary stenosis opened up
with balloon

mixed blood flow/ Increased
pulmonary blood flow

1. Transposition of the great Arteries

2. Total pulmonary venous return

3. Truncus Arteriosus



Kawasaki disease

• เป็นการอกั เสบเฉียบพลนั ของ • ไม่ทราบสาเหตทุ ่ีแทจ้ รงิ เช่ือวา่
หลอดเลือดแดง ทาใหม้ ีการ เป็นผลจากการตดิ เชือ้ และตาม
ดว้ ยระบบการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ถกู
เปล่ยี นแปลงใน mucous
membrane ทาใหเ้ กิด รบกวน เกิด Ag-Ab
ความผดิ ปกตหิ ลายอวยั วะทงั้ complex ทาใหห้ ลอดเลือด
ระบบผวิ หนงั ตอ่ มนา้ เหลือง อกั เสบ เป็นสาเหตใุ หเ้ กิด หลอด
ผนงั หลอดเลือดโดยเฉพาะ เลือดหวั ใจโป่งพอง
หวั ใจ

Kawasaki disease - AHA diagnostic criteria

Fever of  5 days duration + four of five criteria

1. Oropharyngeal 3. Bilateral non-purulent
changes conjunctival injection
ลิน้ จะแดง มปี ่ ุมรับรสใหญ่กว่า
(90%+ of cases)
ปกตคิ ล้ายผลสตอเบอรี่
Polymorphous
(90%+ of cases) rash มีผ่ืนไดห้ ลายแบบ
มักเป็ นท่วั ลาตัว
2. 4.
(95%+ of cases)
Changes in
Cervical
peripheral lymphadenopathy
extremities บวม มักเป็ นข้างเดยี ว ค่อนข้าง
แข็งและกดไม่เจบ็
แดง wkท่ี 2-3 ผิวหนัง
จะลอก เร่ิมลอกทเี่ ล็บมือ

เล็บเท้า 5.

(90%+ of cases)

(~75% of cases)



ชกั จากKไขส้ aงู wasaki disease

ไมส่ ขุ สบาย

โภชนาการบกพรอ่ ง
ลิ่มเลือดอดุ ตนั หลอดเลือดหวั ใจ

ผลตรวจเลอื ด พบเม็ดเลือดขาวอาจปกตหิ รอื เพม่ิ มากกวา่ 15,000 ESR > 40 CRP>3, Plt

Treatment of KD
Intravenous Immune Globulin (IVIG)

• เพ่ือลดปฏิกิรยิ าการสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั (Ag-Ab)
• Dosing: 2 g/kg in a single infusion over 8-12H
• Adverse reactions: chills, rash, aseptic meningitis,

anaphylaxis, heart failure secondary to fluid overload
• ถา้ มีความดนั ลดต่าลง ควรลดอตั ราการให้ หรอื หยดุ ช่วั คราว
• เฝา้ ระวงั การร่วั ออกหลอดเลอื ด

Treatment of KD
Aspirin

Rheumatic fever

• เป็นกลมุ่ อาการท่ีเกิดจากปฏกิ ิรยิ าทาง
ภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย เกิดตามหลงั การ
ติดเชือ้ beta-hemolytic
streptococcus group A ใน
เดินหายใจสว่ นบน ทาใหเ้ กิดปฏกิ ิรยิ า
ทางภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย เป็นสาเหตุ
ชกั นาใหม้ ี fibrin เกาะบรเิ วณเย่ือบุ
หวั ใจ ลนิ้ หวั ใจ และบรเิ วณขอ้ ใหญ่ๆเกิด
การอกั เสบของเนือ้ เย่ือเก่ียวพนั ของ
อวยั วะหลายระบบ

เกิดภาวะแทรกซอ้ นเป็นโรคหวั ใจรูหม์ าตคิ

การดูแลทสี่ าคญั ลดการอกั เสบของหวั ใจ โดยใหย้ า aspirin และ prednisolone การจากดั
กิจกรรมเดก็ ตามความรุนแรงของการอกั เสบ

การป้องกันไม่ใหเ้ กดิ โรค ในคนทไี่ ม่เคยเป็ นมาก่อน (primary
prevention) การรบั ยาปฏิชีวนะจนครบ เม่ือมีการตดิ เชือ้ ทางเดนิ หายใจ
สว่ นบน โดยเฉพาะ pharynxgitis

ประเภทผู้ป่ วย การป้องกนั ทุติยภูมิ การให้ยาปฏิชีวนะอย่างต่อเน่ือง
(benzathine penicilline vein หรือ penicilline oral )

ไม่มีอาการหวั ใจอกั เสบ อยา่ งนอ้ ย 5 ปี หลงั การเกิดโรคไขร้ ูห์มาติกและไม่หยดุ
การป้องกนั ก่อนอายุ 21 ปี

มีอาการหวั ใจอกั เสบที่ไม่รุนแรง อยา่ งนอ้ ย 10 ปี หลงั การเกิดโรคไขร้ ูห์มาติกและไม่หยดุ
(ไม่มีcardiomegaly)หรือไม่มีลิ้น การป้องกนั ก่อนอายุ 21 ปี
หวั ใจร่ัวหลงเหลือ

มีอาการหวั ใจอกั เสบท่ีรุนแรง (มี อยา่ งนอ้ ย 10 ปี หลงั การเกิดโรคไขร้ ูห์มาติกและไม่หยดุ
CHF or cardiomegaly)หรือยงั มี การป้องกนั ก่อนอายุ 40 ปี หรือบางรายตลอดชีวติ

ลิ้นหวั ใจรั่ว

หลงั การผา่ ตดั โรคลิ้นหวั ใจรูห์มาติก ตลอดชีวติ

Mitral stenosis and aortic regurgitation

การตดิ เชอื้ ทเ่ี ยอ่ื บุหัวใจ เป็นการอกั เสบซง่ึ เกิดจากการตดิ เชือ้ ของ
เย่ือบหุ วั ใจชนั้ ในสดุ หรอื เย่ือบผุ วิ ภายใน
หวั ใจ หรอื ลนิ้ หวั ใจ หรอื เนือ้ เย่ือขา้ งเคียง
หรอื หลอดเลอื ดแดงของหวั ใจ

เป็นภาวะแทรกซ้อนทีเ่ กดิ ตามหลงั โรคหัวใจหรอื
ภายหลังไดร้ บั การผา่ ตดั หวั ใจ เชอื้ ทพ่ี บบอ่ ยว่า

เป็นสาเหตุ คือ streptococcus viridans
strapphylococcus aureus

การหมนุ วนของการไหลเวียน การตดิ เชือ้ เม่ือมีเชือ้ โรคในกระแสเลือด จาก
เลอื ดเฉพาะท่ี ผา่ นท่ีท่ีมีความ การตดิ เช่ือเฉพาะท่ี เชน่ ตดิ เชือ้ ในช่องปาก
แตกต่างของความดนั (เชือ้ streptococcus viridans) หรอื
แบคทเี รยี แกรมลบในทางเดนิ ปัสสาวะจากการ
เย่ือบผุ นงั หวั ใจถกู ทาลาย ใสส่ ายสวน การติดเชือ้ ท่ีหวั ใจจากการผ่าตดั
จากแรงดนั เลอื ดท่ีมาพงุ่ ชน
กรณีท่ีเย่ือบหุ วั ใจผิดปกติ เชือ้ โรคจะมา
Fibrint plt มาเกาะ เกาะ แบง่ ตวั เป็น vegetation
รวมกนั เป็น vegetation

ตดิ เชือ้ ลกุ ลามสอู่ วยั วะใกลเ้ คียง เช่น ลนิ้ หวั ใจ

Vegetation อาจหลดุ ไปในกระแสโลหติ สอู่ วยั วะตา่ งๆ vegetation อาจหลดุ
ไปอดุ ตนั ตามหลอดเลือด (embolism) (เชน่ ไต มา้ ม สมอง)

การสวนหวั ใจเพอ่ื การรักษา

แบ่งเป็ น
การสวนหวั ใจเพ่ือเปิดทางติดตอ่ ระหวา่ งหวั ใจหอ้ งบน การขยายรอยตีบ การปิดรอยร่วั
การพยาบาลก่อนสวนหัวใจ (เป้าหมาย คอื ค้นหาปัจจัยเสย่ี ง ดแู ลความพร้อม

ร่างกาย จติ ใจ)
- ประเมนิ ผปู้ ่วย (ซกั ประวตั ิ การใชย้ า การแพ้ โรคประจาตวั การสอบถามประวตั ิ การ

แพย้ าปฏชิ ีวนะ ประวตั ิการแพไ้ อโอดีน อาหารทะเล หรอื ประวตั กิ ารสวนหวั ใจครงั้ ท่ี

แลว้ วา่ มีการแพส้ ารทบึ รงั สีหรอื Latex หรอื ไม่ ถา้ พบวา่ ผปู้ ่วยเกิดการแพส้ ารทบึ
รงั สีใหร้ บี แจง้ แพทยท์ ราบ
- ประเมนิ สภาพผปู้ ่วยโดยมีการตรวจรา่ งกาย มีขอ้ มลู สาคญั ไดแ้ ก่ ประเมนิ ความแรง
ของชีพจรท่ีปลายเทา้ ทงั้ 2 ขา้ งพรอ้ มทงั้ ทาเคร่อื งหมายกากบั ตรวจสภาวะพืน้ ฐาน

ของชีพจรท่ีหลงั เทา้ บรเิ วณ dorsalis pedis และposterior tibial เพ่ือ
ตรวจวา่ ชีพจรชดั เจนดีหรอื ไมแ่ ละไวเ้ ปรยี บเทียบกบั หลงั ทา)
- เตรยี มก่อนการรกั ษา ความสะอาดรา่ งกาย งดนา้ งดอาหาร การบอกระดบั ความปวด
- การดแู ลดา้ นจิตใจ

การสวนหวั ใจเพอื่ การรักษา

การพยาบาลหลังสวนหวั ใจ (เป้าหมาย ค้นหาปัจจัยเสยี่ ง ป้องกันภาวะแทรกซอ้ น)
- ประเมนิ สภาพแรกรบั vital signs ทกุ 15 นาที × 1 ช่วั โมง ทกุ 30 นาที × 1 ช่วั โมง,
ทกุ ช่วั โมงจน stable หลงั จากนนั้ ทกุ 4 ช่วั โมง, ติดตาม (O2 saturation) เพ่ือ
ประเมนิ ภาวะพรอ่ งออกซเิ จน (Hypoxia), สีผวิ และการไหลเวียนของอวยั วะสว่ นปลาย
ตรวจสอบและประเมนิ การไหลเวียนของเลอื ดไปยงั อวยั วะสว่ นปลาย ความแรงของชีพจร

สว่ นปลาย บรเิ วณ dorsalis pedis artery, popliteal pulses ท่ีปลายขาทงั้
สองขา้ งเปรยี บเทียบกนั หากพบวา่ ชีพจรบรเิ วณสว่ นปลายบรเิ วณท่ีแทงสายสวนหวั ใจชา้
เบา หรอื คลาไมไ่ ดป้ ลายมือปลายเทา้ ซีด, เยน็ และสผี วิ เปล่ยี นไปและใหร้ ายงานแพทย์

ทนั ที อตั ราการเตน้ ของหวั ใจ,จงั หวะและความสม่าเสมอในการเตน้ ของหวั ใจ, ชีพจรทงั้ 4
รยางค์ (ประเมินระบบประสาท ทางเดินหายใจ เฝา้ ระวงั ภาวะเลือดออก hematoma
ดแู ลใหน้ อนพกั บนเตียงและการจากดั การเคล่อื นไหวของแขน/ขาขา้ งท่ีสวนหวั ใจ ประเมิน
และเฝา้ ระวงั อณุ หภมู ทิ งั้ core และ peripheral temperature อณุ หภมู ิท่ี
ปลายขาทงั้ สองขา้ งเปรยี บเทียบกนั ใหน้ อนพกั ผอ่ นบนเตียงและปอ้ งกนั การงอขาขา้ งท่ี
แทงสายสวนหวั ใจเป็นเวลา 6 ช่วั โมง

การผ่าตดั เพื่อบรรเทาอาการชั่วคราว (Palliative surgery)

การผา่ ตดั เพือ่ บรรเทาอาการชวั่ คราว (Palliative surgery)
1. การทาทางเบี่ยงจากระบบเลือดแดงไปยงั ระบบพลุ โมนารี่ (systemic-to-pulmonary

shunt) เป็นการผา่ ตดั เพือ่ แกป้ ัญหาเรื่องภาวะพร่องออกซิเจนในกรณีที่เลือดไปฟอกที่
ปอดนอ้ ย โดยมีเป้าหมายเพือ่ ใหน้ ้าหนกั ตวั เดก็ มีมากข้ึน (ติดตามการเจริญเติบโต
โภชนาการ) พร้อมรับการผา่ ตดั แกไ้ ขความผดิ ปกติของหวั ใจตอ่ ไป

1. Blalock-Taussing shunt (BT shunt) สามารถทาได้ 2 วธิ ีคือ
Classic BT shunt เป็นการผา่ ตดั เชื่อมหลอดเลือดแดงท่ีตน้ แขน

(subclavian artery) เขา้ กบั หลอดเลือดพลุ โมนาร่ี (pulmonary artery)
Modified BT shunt เป็นการผา่ ตดั ทาทางเช่ือม

ระหวา่ งหลอดเลือดแดงที่ตน้ แขนกบั หลอดเลือดพลุ โมนาร่ี
โดยใชห้ ลอดเลือดเทียมท่ีผลิตจากวสั ดุสังเคราะห์ชนิด
polytetrafluoroethylene

การพยาบาลผู้ป่ วยทม่ี ภี าวะหัวใจวาย

สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ ภาวะหัวใจวายในเดก็

• CO = SV * HR

Afterload, preload, contractility
• หวั ในทางาน จากปรมิ าณเลอื ดในหวั ใจ
(จากปรมิ าณเลือดใน ventricle หรอื ปรมิ าณเลือดไปปอด

• กลมุ่ left to right shunt • TGA, truncus atriosus
(VSD, ASD, PDA)

การพยาบาลผู้ป่ วยทม่ี ภี าวะหัวใจวาย

สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ ภาวะหัวใจวายในเดก็

• CO = SV * HR

Afterload, preload, contractility

• หวั ในทางาน จากความดนั ใน ventricle

• การอดุ กนั้ ทางออกของ ventricle • แรงตา้ นทานการไหลออกจาก
ventricle (systemic
เลอื ดไหลออกยาก (AS, PS, COA) hypertension, pulmonary
hypertention)

การพยาบาลผู้ป่ วยทม่ี ภี าวะหัวใจวาย

สาเหตุทท่ี าให้เกดิ ภาวะหัวใจวายในเดก็

• CO = SV * HR

Afterload, preload, contractility

• ความผดิ ปกตขิ องกลา้ มเนือ้ หวั ใจ จากการหดตวั ของกลา้ มเนอื้ หวั

• Myocarditis, infective endocarditis,
rheumatic fever

การพยาบาลผู้ป่ วยทมี่ ภี าวะหัวใจวาย

พยาธิสรีรภาพ การปรบั ตวั รา่ งกายเม่ือ CO ลดลง

• CO = SV * HR

Afterload, preload, contractility

การปรับตวั เริ่มแรก ventricle ขยายตวั รบั เลอื ด (preload)
ผนงั หวั ใจหนาตวั หวั ใจบบี ตวั แรง (contractility) และ HR

เม่ือปรบั ตวั เตม็ ท่ีแลว้ CO ยงั ไมพ่ อ ปรับตวั ตอ่ โดย มีการหดตวั ของหลอด
เลือดสว่ นปลาย (afterload) ทาใหค้ วามดนั สงู ขนึ้ และมีการดดู กลบั
ของนา้ และโซเดยี มท่ีไต เลือดในระบบไหลเวยี น (preload) ความ
ดนั เลอื ดในปอดสงู ขนึ้ ความดนั ในหลอดเลอื ดดาท่วั ไปสงู ขนึ้ บวม

พยาธิสรีรภาพของหัวใจวาย

อาการของผู้ป่ วยทม่ี ภี าวะหัวใจวาย

การรักษา

• ใหย้ ากลมุ่ กลยั โคไซด(์ digitalis glycoside)นยิ มใช้ digitalis หรอื มีช่ือการคา้ lanoxin
1. เพ่ิมการบบี ตวั และทาใหห้ วั ใจเตน้ ชา้ ลง CO ลดการค่งั ของหลอดเลือดฝอยท่ีปอด
2. เพ่ิมการขบั ปัสสาวะจากรา่ งกาย ทาใหห้ ลอดแรงตา้ นทานของหลอดเลือดสว่ นปลาย (afterload)
พษิ จาก lanoxin เกิดในระบบทางเดนิ อาหาร (N/V ทอ้ งเสยี เบ่อื อาหาร ปวดทอ้ ง) ระบบประสาท

(เวียน มนึ งง เพลีย ซมึ ฝันรา้ ย ประสาทหลอน ปวดเม่ือยกลา้ มเนือ้ ตาพรา่ มวั เหน็ ภาพซอ้ น) ระบบ
บวั ใจ (เตน้ ชา้ เตน้ ผิดจงั หวะ)
• ยาขยายหลอดเลอื ด ทาใหล้ ด afetrload และ perload และเพ่ิม CO เชน่ hydralazin และ
nitropussside ซง่ึ nitropussside อาจทาใหค้ วามดนั เลอื ดต่า

• ยา ACE inhibitors ยบั ยงั้ การทางานของเอนไซมท์ ่ีทาลายแองจิโอเทนซิน เพ่ือใหห้ ลอดเลือด
ขายตวั และลดแรงตา้ นทานของหลอดเลือดสว่ นปลาย เช่น captopril, enalapril อาการ
ขา้ งเคียงของ captopril คอื ความดนั ต่า ไอ ปวดศีรษะ วิงเวยี น ทอ้ งเสยี ผ่ืนคนั

• ยาขบั ปัสสาวะ ลด pulmonary congestion ลด preload ยาท่ีนิยมใช้ เชน่
forosemide หรอื lasix, thiazides (อาจทาให้ KCL ) spironolactone (KCL )

การรักษา

• ลดอาหารเคม็
• ใหอ้ อกซเิ จน
• ให้ sedation
• รกั ษาสาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดภาวะหวั ใจวาย เชน่ ผา่ ตดั

การพยาบาลผู้ป่ วยเดก็ ทม่ี ภี าวะหัวใจวาย

เสีย่ งตอ่ ปริมาณเลือดออกจากหวั ใจใน 1 นาทีลดลง เน่ืองจากความผิดปกติของ
หัวใจหรอื หลอดเลือด เชน่ VSD, ASD, PDA

(prelode, afterlode, contractility, HR)

• 1. จากดั กจิ กรรมต่างๆของผ้ปู ว่ ย (ความสุขสบาย ส่งิ แวดล้อม ระยะพักระหวา่ งดูดนม)
• 2. ลดการทางานของหัวใจและบรรเทาอาการหายใจลาบาก (จดั ใหน้ อนในทา่ ศีรษะสงู ให้

ออกซเิ จน หลกี เลี่ยงอาการทอ้ งผกู และการเบง่ ถา่ ยอุจจาระ)
• 3. ลดการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยอ่ื ตา่ งๆ (จัดให้เดก็ ได้รับการพกั ผอ่ น จัดส่ิงแวดล้อม)
• 4. เพ่ิมประสิทธิภาพการทางานของหวั ใจ (ให้ยาดิจิทาลิส ให้ยาขบั ปสั สาวะ ยาขยายหลอด

เลือด ACEI )
• 5. ดูแลใหอ้ าหรจดื หรือเคม็ น้อย
• 6. I/O
ผู้ป่ วยมีภาวะนา้ เกนิ เนื่องจากมกี ารค่งั ของน้าในร่างกายเพม่ิ ขนึ้


Click to View FlipBook Version