หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Òª¹Ô¹·Ã à©ÅÔÁÊØ¢ ¹ÒÂÍÀÔªÒµÔ ¤íÒ»ÅÔÇ ¼ÙŒµÃǨ ¹Ò§ÊÒÇÍÒÃÕÂÒ ÈÃÕ»ÃÐàÊÃÔ° ¹ÒÂàÍÔÞ ÊØÃÔÂЩÒ ¹Ò§ÊÒÇÊØ»ÃÒ³Õ Ç§Éáʧ¨Ñ¹·Ã ¹ÒÂູÂÒÁÔ¹ ǧɻÃÐàÊÃÔ° ºÃóҸԡÒà ´Ã.©Ñ··ÇØ²Ô ¾Õª¼Å µÒÁÁҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵÃáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (©ºÑº»ÃѺ»Ãا ¾.È. 2560) µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ม.3 ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 3 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ปที่พิมพ 2563 พิมพครั้งที่ 1 จํานวนพิมพ 30,000 เลม ISBN : 978-616-203-955-3 รหัสสินคา 2318010
ค�ำถำมประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ ค�ำถำมที่ช่วยกระตุ้นควำมคิดก่อน เข้ำสู่เนื้อหำในแต่ละหัวข้อ Summary สรุปเนื้อหำเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวน สำระส�ำคัญประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ Self Check สรุปค�ำถำมเพื่อให้ผู้เรียนตรวจสอบ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจด้วยตนเอง Unit Question แบบฝึกหัดประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ เพื่อใช้ประเมินผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน เนื้อหำ ครบตำมหลักสูตรแกนกลำง พุทธศักรำช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) น�ำเสนอโดยใช้ภำษำที่ เข้ำใจง่ำย มีรูปภำพ แผนภำพ และตำรำงประกอบ เหมำะสมกับกำรเรียนกำรสอน 1 การใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology: IT) เป็นการน�าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในกระบวนการ ท�างานต่าง ๆ เพื่อใช้จัดการข้อมูลที่เกิดขึ้นในการท�างานของบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กร เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่น�าไปใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนาอย ่างรวดเร็ว ประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงต่อระบบทางสังคมและองค์กรต่าง ๆ โดยมีการน�าเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในระดับประเทศ ระดับองค์กรหรือหน่วยงาน และระดับบุคคล ดังนี้ 1. ระดับประเทศ รัฐบาลได้มีนโยบาย น�าเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเข้ามาใช้ ในทุกภาคส ่วนของหน ่วยงานรัฐและหน ่วย งานเอกชน ทั้งการด�าเนินงานและกิจกรรม ต ่าง ๆ ซึ่งมีส ่วนช ่วยให้การท�างานและการ ด�าเนินกิจกรรมต ่าง ๆ ของภาครัฐมีความ สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังก ่อให้เกิด ความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจที่สามารถแข่งขัน ได้ในเวทีระดับโลก และเป็นการเสริมสร้างความ มั่นคงให้กับประเทศด้วย 2. ระดับองค์กรหรือหน่วยงาน การ ท�างานต่าง ๆ ของแต่ละองค์กรหรือหน่วยงาน สามารถท�างาน ควบคุมการท�างาน ติดตามงาน หรือดูผลการท�างานได้จากทุกที่ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งการท�างานขององค์กรหรือหน่วยงานจะต้อง พบกับข้อมูลจ�านวนมากอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น การด�าเนินงานในองค์กรจึงต้องน�า เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือ ช ่วยในการปฏิบัติงานที่รวดเร็ว หรือใช้เป็น กลยุทธ์เพื่อความได้เปรียบในการแข่งขัน การใชงานเทคโนโลยี สารสนเทศอยางปลอดภัย ควรปฏิบัติอยางไร ภาพที่ 3.2 การน�าเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรจะช่วยให้ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ภาพที่ 3.1 การน�าเทคโนโลยีมาใช้ทางการแพทย์ เป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของคนในประเทศ 61 เทคโนโลยีสารสนเทศ Summary การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการน�าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในกระบวนการท�างานต่าง ๆ เพื่อใช้ในการจัดการ ข้อมูลที่เกิดขึ้นในการท�างาน เพื่อให้ได้มาซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถน�าไปใช้งานได้ตาม วัตถุประสงค์ โดยในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้ถูกน�ามาใช้ในการท�างานในหลายระดับ ได้แก่ ระดับประเทศ ระดับองค์กรหรือหน่วยงาน และระดับบุคคล ซึ่งผู้ที่ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกระดับจะต้องรู้จักการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น การท�าธุรกรรมออนไลน์ การซื้อสินค้าออนไลน์อย่างปลอดภัย อีกทั้งผู้ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยังจะใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบอีกด้วย กฎหมายคอมพิวเตอร ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ โดยพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันมี 2 ฉบับ คือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 โดย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ทั้ง 2 ฉบับ จะมุ่งเน้นในการลงโทษผู้ที่กระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ลิขสิทธิ์ เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความอุตสาหะพยายาม ในการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งถือว่า เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่กฎหมายให้ความคุ้มครอง โดยเจ้าของลิขสิทธิ์จะเป็นผู้เดียวที่จะกระท�าการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่สร้างสรรค์ได้ เช่น สิทธิที่จะ ท�าซ�้า ดัดแปลง หรือน�าออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งการอนุญาต ให้ผู้อื่นน�าผลงานนั้นไปกระท�าการใด ๆ ได้ด้วย 74 ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความส�าคัญอย่างไร การแสดงถึงความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศควรปฏิบัติอย่างไร การน�ารหัสผ่านเข้าสู่คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นทราบเป็นการกระท�าความผิด เกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์อย่างไร พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. 2537 ให้ความคุ้มครองกับผลงานใดบ้าง ยกตัวอย่างเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ว่ามีลักษณะอย่างไร 1 2 3 4 5 Unit Question 3 ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้องให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้ ถูก/ผิด ทบทวนหัวข้อ 1. การใช้งานธุรกรรมออนไลน์จะต้องค�านึงถึงความปลอดภัยของทรัพย์สินเป็นอันดับแรก 1.1 2. การเผยแพร่ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะต้องตรวจสอบ ความถูกต้องแม่นย�าของข้อมูลก่อนการน�าเสนอข้อมูล 1.2 3. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ 2 4. ชาวต่างชาติที่กระท�าความผิดในประเทศไทยจะต้องกลับไปรับโทษที่ประเทศบ้านเกิดของตนเอง 2 5. การคุ้มครองลิขสิทธิ์จะคุ้มครองเมื่อเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตแล้ว เท่านั้น 3.1 Self Check บัน ทึกลงในสมุด 75 ͧ¤»ÃСͺµ‹Ò§æ ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการ คํานวณ) ม.3 จัดทําขึ้นสําหรับใชประกอบการเรียนการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดย ดําเนินการจัดทําใหสอดคลองตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกประการ สงเสริมทักษะที่จําเปนสําหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ทั้งทักษะดานการคิด วิเคราะห การคิดอยางมีวิจารณญาณ การแกปญหา การคิดสรางสรรค การใชเทคโนโลยี การสื่อสาร และการรวมมือ เพื่อใหผูเรียนรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดลอม สามารถแขงขันและอยูรวมกับประชาคมโลกได คําแนะนําในการใช้สื่อ หนวยการเรียนรูที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/4 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอย ้ างปลอดภัย ่ และมีความรับผิดชอบตอสังคม ่ ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูใชจะตองรูจัก การใชงานอยางปลอดภัย และเรียนรูเกี่ยวกับกฎหมาย คอมพิวเตอร เพื่อการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง ถูกตองเหมาะสม 3 Com Sci Activity in Real Life Com Sci Com Sci Focus เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับ เนื้อหา โดยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการเชื่อมโยงความรู้ทาง วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ คํานวณ) สู่ชีวิตประจําวัน ความรู้เสริมจากเนื้อหา เพื่อขยายความรู้ของผู้เรียน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเนื้อหา ในหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูใชจะตองรูจัก การใชงานอยางปลอดภัย และเรียนรูเกี่ยวกับกฎหมาย คอมพิวเตอร เพื่อการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง ถูกตองเหมาะสม 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/1 พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ 4 แอปพลิเคชัน ในปจจุบันแอปพลิเคชันไดเขามีบทบาทกับคนในสังคม เปนอยางมาก ทั้งทางดานการศึกษา การสาธารณสุข หรือความบันเทิง ซึ่งในการพัฒนาแอปพลิเคชันนั้น จะตองมีการออกแบบแอปพลิเคชันกอน เพื่อใหได แอปพลิเคชันที่ตรงตามความตองการของผูใชงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แอปพลิเคชัน 76-107 1. เทคโนโลยี IoT 77 1.1 องค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT 78 1.2 ตัวอย่างอุปกรณ์สําหรับเทคโนโลยี IoT 79 1.3 ข้อดี-ข้อเสียของเทคโนโลยี IoT 81 1.4 ตัวอย่างการนําเทคโนโลยี IoT มาใช้งาน 81 2. การพัฒนาแอปพลิเคชัน 83 2.1 ขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน 85 2.2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน 89 Summary 106 Self Check 107 Unit Question 4 107 บรรณานุกรม 108 76-107 เทคโนโลยีสารสนเทศ 60-75 1. การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 61 1.1 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย 62 1.2 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ 66 2. กฎหมายคอมพิวเตอร์ 68 3. ลิขสิทธิ์ 71 3.1 การคุ้มครองลิขสิทธิ์ 71 3.2 การใช้สิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม (Fair Use) 73 Summary 74 Self Check 75 Unit Question 3 75 60-75 หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูใชจะตองรูจัก การใชงานอยางปลอดภัย และเรียนรูเกี่ยวกับกฎหมาย คอมพิวเตอร เพื่อการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง ถูกตองเหมาะสม 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/1 พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ 4 แอปพลิเคชัน ในปจจุบันแอปพลิเคชันไดเขามีบทบาทกับคนในสังคม เปนอยางมาก ทั้งทางดานการศึกษา การสาธารณสุข หรือความบันเทิง ซึ่งในการพัฒนาแอปพลิเคชันนั้น จะตองมีการออกแบบแอปพลิเคชันกอน เพื่อใหได แอปพลิเคชันที่ตรงตามความตองการของผูใชงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ สารบัญ เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) Á.3 ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล น�าเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ บริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย 1 สารสนเทศเกิดจากการนําขอมูลมาประมวลผล ดวยวิธีการที่หลากหลายโดยใชคอมพิวเตอร จะทําให การประมวลผลขอมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น พรอมที่จะ นําเสนอ การจัดการขอมูล และสารสนเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การจัดการข้อมูล และสารสนเทศ 2-23 1. การรวบรวมข้อมูล 3 1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ 3 1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ 6 2. การประมวลผลข้อมูล 7 2.1 การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ 7 2.2 การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล 7 2.3 การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 8 3. การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูล และสารสนเทศ 18 3.1 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล 18 3.2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับประมวลผลข้อมูล 19 3.3 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับสร้างและน�าเสนอข้อมูล 19 Summary 22 Self Check 23 Unit Question 1 23 2-23 หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2ม.3/3 ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน ความนาเชื่อถือของขอมูล ปจจุบันขอมูลตาง ๆ มาจากหลากหลายแหลง โดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน หากผูรับขอมูลหลงเชื่อและ สนับสนุนขอมูลนั้น โดยไมผานการไตรตรองและประเมิน ความนาเชื่อถือของขอมูล อาจสงผลกระทบตอตนเอง หรือสังคมได 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล 24-59 1. การสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูล 25 1.1 ตัวอย่างการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต 26 1.2 ขั้นตอนการสืบค้นเพื่อหาแหล่งข้อมูลด้วยอินเทอร์เน็ต 33 2. การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล 37 2.1 หลักการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล 37 2.2 การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล 41 2.3 การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT 44 2.4 เหตุผลวิบัติ 46 3. การรู้เท่าทันสื่อ 48 3.1 องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อ 50 3.2 การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ 52 3.3 การใช้สื่อและปญหาที่พบในสื่อปจจุบัน 55 3.4 ผลกระทบของข้อมูลที่ผิดพลาด 56 Summary 58 Self Check 59 Unit Question 2 59 24-59
1 การรวบรวมข้อมูล ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตและในปัจจุบัน ซึ่งอาจจะเป็นข้อมูล ตัวเลข ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลเสียง หรือ สัญลักษณ์ต่าง ๆ ซึ่งเมื่อได้รับข้อมูลมาแล้วจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ มีความถูกต้อง เหมาะสม และมีความน่าเชื่อถือ การรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนส�าคัญที่สุดของการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ดังนั้น ผู้ใช้งานข้อมูลจึงควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและประเภทของข้อมูล ตลอดจนวิธีการรวบรวมข้อมูล โดยเมื่อพิจารณาถึงประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มา สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ 1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้เก็บรวบรวมด้วยตนเอง ท�าให้ได้ข้อมูลที่ ตรงตามความต้องการมากที่สุด เพราะสามารถควบคุมลักษณะการเก็บข้อมูลและรายละเอียดอื่น ๆ ได้ตามที่ต้องการ ในการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เวลา และก�าลังคนมากกว่า การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ โดยการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ สามารถท�าได้ ดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล เป็นการสื่อสารต่อหน้า (Face-to-Face) และเป็นการสื่อสาร แบบสองทาง (Two-way Conversation) ระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ตอบค�าถามซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูล โดยที่ผู้สัมภาษณ์จะเป็นผู้ถามค�าถามและควบคุมรูปแบบของการสัมภาษณ์ ซึ่งโดยปกติผู้ตอบ มักไม่ให้ความสนใจในการตอบ หากรู้สึกว่า ตนเองไม่ได้ประโยชน์อะไรจากการให้ความ ร่วมมือในการสัมภาษณ์นั้น ดังนั้น จึงเป็น หน้าที่ของผู้สัมภาษณ์ที่ต้องสร้างบรรยากาศ และกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกที่ดีในระหว่าง การสัมภาษณ์ ถ้อยค�าที่ใช้ วิธีการพูด บุคลิก การแต่งกาย และมารยาทที่แสดงออกของ ผู้สัมภาษณ์ ล้วนมีส่วนส�าคัญกับค�าตอบที่จะ ได้รับ วิธีการนี้ถือเป็นวิธีการที่ดีที่สุดส�าหรับ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เพราะนอกจาก ค�าตอบที่ได้รับแล้ว อาจจะสังเกตสิ่งอื่น ๆ จาก ผู้ตอบได้อีกด้วย การรวบรวมขอมูล มีความสําคัญอยางไร ภาพที่ 1.1 การสัมภาษณ์ส่วนบุคคลเป็นการรวบรวม ข้อมูลที่ให้รายละเอียดได้ดีมากวิธีหนึ่ง 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ตัวชี้วัด ว 4.2 ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล น�าเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือ บริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย 1 สารสนเทศเกิดจากการนําขอมูลมาประมวลผล ดวยวิธีการที่หลากหลายโดยใชคอมพิวเตอร จะทําให การประมวลผลขอมูลมีประสิทธิภาพมากขึ้น พรอมที่จะ นําเสนอ การจัดการขอมูล และสารสนเทศ
การใช้แบบสอบถามในการรวบรวม ข้อมูล สามารถแบ่งรูปแบบของแบบสอบถาม ได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) แบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open-ended Form) แบบสอบถามแบบนี้เป็น แบบสอบถามที่ไม่ได้ก�าหนดค�าตอบไว้ ผู้ตอบ แบบสอบถามสามารถเขียนค�าตอบหรือแสดง ความคิดเห็นได้อย่างอิสระด้วยค�าพูดของตนเอง 2) แบบสอบถามแบบปลายปิด (Closed-ended Form) แบบสอบถามแบบนี้ ประกอบด้วยข้อค�าถามและตัวเลือกให้ผู้ตอบ แบบสอบถามเลือกตอบ ซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้น โดยคาดว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกตอบได้ตามความต้องการและมีอย่างเพียงพอ เหมาะสม แบบสอบถามแบบนี้สร้างยากและใช้เวลาในการสร้างมากกว่าแบบสอบถามแบบปลายเปิด แต่ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถตอบได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว 4. การสังเกตเป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นทางเลือกสุดท้ายในกรณีที่ไม่สามารถรวบรวม ข้อมูลด้วยวิธีอื่นได้ เช่น ข้อมูลพฤติกรรมของคนและของสัตว์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัว ทั้งการ สังเกตพฤติกรรมลักษณะต่าง ๆ ของทั้งคน สัตว์ สิ่งของ ภาษาพูด ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และการสังเกตที่ไม่ใช่พฤติกรรม ซึ่งจะเป็นการศึกษาสถิติหรือประวัติต่าง ๆ ที่ผ่านมาในอดีต เช่น การวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน ระบบต่างๆ ที่ใช้ในกระบวนการท�างาน โดยวิธีการสังเกต สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี ดังนี้ 1) การสังเกตโดยตรง ซึ่งผู้สังเกต จะเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ แต่จะไม่มีการ ควบคุมหรือจัดการใด ๆ กับสถานการณ์ที่ ต้องการสังเกต เพียงแต่สังเกตแล้วบันทึก สิ่งที่เกิดขึ้นจริง บางครั้งอาจใช้การสอบถาม เพิ่มเติมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น การสังเกตคุณภาพชีวิตของคนในสังคม สิ่งที่ ต้องระวัง คือ ความล�าเอียงของผู้สังเกต เพราะ ต้องเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ 2) การสังเกตแบบอ้อม เป็นการ สังเกตแบบที่ผู้ถูกสังเกตจะไม่รู้ตัว แม้ว่าจะได้ ข้อมูลที่ถูกต้อง แต่ต้องค�านึงถึงเรื่องจริยธรรม ด้วย ภาพที่ 1.5 การรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต ท�าให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดกว่าวิธีอื่น ภาพที่ 1.4 แบบสอบถามแบบปลายเปิดมักจะพบได้ใน การสอบถามข้อมูลส่วนตัว 5 2. การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เป็นการ รวบรวมข้อมูลที่มีความสะดวกและง่ายต่อ การเข้าถึงผู้ให้ข้อมูล ด้วยเหตุที่ผู้คนในสังคม ปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือติดตัวอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ในบางครั้งอาจเกิดปัญหาการติดต่อกับ ผู้ให้ข้อมูลไม่ได้ หรือได้รับการปฏิเสธจากผู้ให้ ข้อมูล เนื่องจากไม่แน่ใจหรือไม่ไว้วางใจต่อผู้ที่ โทรศัพท์เข้ามา ดังนั้น การใช้โทรศัพท์เพื่อ รวบรวมข้อมูล จ�าเป็นที่จะต้องสร้างความไว้ วางใจและความเชื่อถือกันเสียก่อน ซึ่งสามารถ กระท�าได้หลายวิธี เช่น การส่งอีเมลหรือโทรศัพท์ ขอความร่วมมือไปล่วงหน้า การประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อต่างๆ เพื่อแนะน�าตนเองและอธิบาย วัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์มีข้อดีในเรื่องความสะดวกและรวดเร็ว แต่ก็มีข้อเสีย คือ ระยะเวลาในการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ถ้าใช้เวลาในการสัมภาษณ์นานเกินไป ผู้ให้ข้อมูล อาจจะตัดสายหรือวางสายเมื่อใดก็ได้ หรืออาจจะมีสายเรียกเข้ามาขัดจังหวะขณะการสัมภาษณ์ ซึ่งล้วนเป็นเหตุให้การสัมภาษณ์นั้นไม่สมบูรณ์ และอาจท�าให้ผู้ให้ข้อมูลเลือกปฏิเสธที่จะให้ ข้อมูลในครั้งต่อไปได้ 3. การใช้แบบสอบถาม เป็นการ รวบรวมข้อมูลที่ผู้ตอบกรอกข้อมูลด้วยตนเอง โดยถือเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีความนิยม เป็นที่แพร่หลายในปัจจุบัน ส่วนใหญ่การตอบ แบบสอบถามแบบนี้จะประกอบไปด้วยค�าถาม จ�านวนไม่มากหรือไม่ยาวเกินไป และค�าตอบ มักเป็นค�าตอบที่ไม่ยาวเกินไปเช่นกัน ในบาง ค�าถามมักมีค�าตอบมาให้เลือก เพื่อความ รวดเร็วและสะดวกในการตอบแบบสอบถาม ภาพที่ 1.2 การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เป็นการรวบรวม ข้อมูลที่สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย ภาพที่ 1.3 การรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม ท�าให้ได้ข้อมูลจ�านวนมากในเวลาเดียวกัน 4
2 การประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) หมายถึง วิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการค�านวณหรือ การเปรียบเทียบลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้ข้อมูลนั้นอยู่ใน รูปแบบที่เป็นประโยชน์ หรือตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน โดยการประมวลผล ข้อมูลสามารถแบ่งตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล และการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 2.1 การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) เป็นวิธีการประมวลผลในยุค เริ่มต้นที่ใช้มาตั้งแต่ในอดีต อุปกรณ์ที่ใช้ในการ ประมวลผล ได้แก่ กระดาษ ลูกคิด และเครื่อง คิดเลข การประมวลผลข้อมูลในลักษณะนี้ เหมาะกับข้อมูลที่มีจ�านวนน้อย การค�านวณ ไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความ เร่งด่วนในการประมวลผล 2.2 การประมวลผลข้อมูลด้วย เครื่องจักรกล การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล (Mechanical Data Processing) เป็นวิธีการ ประมวลผลข้อมูลที่อาศัยแรงงานมนุษย์ร่วม กับเครื่องจักรกล เช่น การค�านวณด้านบัญชี ด้วยเครื่องท�าบัญชี (Accounting Machine) นิยมใช้กับข้อมูลที่มีจ�านวนไม่มากและต้องการ ได้ผลลัพธ์ด้วยความเร็วระดับปานกลาง โดย การประมวลผลประเภทนี้จะประมวลผลได้ รวดเร็วและถูกต้องมากกว่าการประมวลผล ด้วยมือ ภาพที่ 1.6 เครื่องคิดเลขมักใช้ในการประมวลผล แบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ภาพที่ 1.7 การค�านวณด้านบัญชีด้วยเครื่องท�าบัญชี ช่วยให้ได้ผลลัพธ์รวดเร็วและถูกต้อง การประมวลผลขอมูล ดวยคอมพิวเตอร มีลักษณะอยางไร 7 1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลที่มีการรวบรวมไว้แล้วโดยผู้อื่น การน�าข้อมูล ทุติยภูมิมาใช้จะต้องตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลก่อน โดยดูว่าใครเป็นผู้รวบรวมไว้ มีวิธีการ อย่างไร และข้อมูลมีข้อดีและข้อเสียอย่างไร เพื่อจะได้น�าข้อมูลไปใช้และอ้างอิงได้อย่างมั่นใจ โดยข้อมูลทุติยภูมิมีข้อดีและข้อเสีย ดังนี้ ข้อดี ข้อเสีย สามารถน�าข้อมูลไปใช้งานได้ง่าย โดยไม่ ต้องเสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง และเป็นการประหยัดงบประมาณอีกด้วย ข้อมูลที่มีการรวบรวมไว้แล้ว อาจไม่ตรงตาม เป้าหมายที่ต้องการ อาจจะท�าให้เสียเวลาใน การหาข้อมูลจากหลายแหล่ง การน�าข้อมูลทุติยภูมิมาใช้เราไม่สามารถควบคุมความถูกต้องของข้อมูลได้ เนื่องจากเรา ไม่สามารถทราบได้ว่า ผู้รวบรวมข้อมูลนั้นรวบรวมข้อมูลมาอย่างไร และใช้วิธีการใดจึงได้ข้อมูลมา ดังนั้น ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิควรมีการตรวจสอบ (Cross Checks) โดยเปรียบเทียบ ข้อมูลชนิดเดียวกันกับแหล่งข้อมูลอื่นด้วย ซึ่งการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ สามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายใน เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้น ภายในหน่วยงานหรือภายในองค์กรของผู้ใช้งาน เช่น ข้อมูล พนักงาน ข้อมูลทางการเงิน โดยข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายใน มีลักษณะเฉพาะตัว ผู้รวบรวมข้อมูลจะต้องรู้ว่าข้อมูลที่ต้องการ เก็บอยู่ที่ใด และอยู่ในรูปแบบใด ทั้งนี้ ผู้รวบรวมข้อมูลต้อง สอบถามบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้รวบรวมข้อมูลได้ถูกแหล่ง 2. ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอก เป็นข้อมูลที่ได้จาก การรวบรวมของบุคคล หน่วยงานหรือองค์กรภายนอก เช่น ข้อมูลทางด้านสถิติต่าง ๆ จากหน่วยงานส�านักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งการใช้งานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอก ควรมีการ ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลโดยการเปรียบเทียบข้อมูล ที่ได้มากับข้อมูลขององค์กรอื่น ๆ ด้วย ซึ่งการตรวจสอบแบบนี้ จะช่วยลดความผิดพลาดในการน�าข้อมูลมาใช้ in Real Life Com Sci Com Sci o_O ปจจุบันอินเทอร์เน็ต ถือเป็นช่องทางส�าคัญในการ รวบรวมข้อมูล โดยในปัจจุบัน มีเว็บไซต์ที่ใช้เพื่อการค้นหา ข้อมูล (Search Engines) ต่าง ๆ เช่น https://www.google.com https://www.bing.com https://www.yahoo.com https://www.yippy.com https://www.webopedia.com https://archiev.org/search.php 6
2. วิธีการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปการน�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์นั้น จ�าเป็นต้องผ่านการประมวลผลให้เป็นสารสนเทศก่อน จึงสามารถน�าสารสนเทศเหล่านั้นไปใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งวิธีการประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 วิธี ดังนี้ 1) การประมวลผลแบบแบตช์ (Batch Processing) เป็นการประมวลผลโดยมีการ รวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งหรือหลายช่วงเวลา ก่อนน�าข้อมูลเหล่านั้นมาประมวลผล โดยการ ประมวลผลจะด�าเนินการตามช่วงเวลาที่ก�าหนด ซึ่งการประมวลผลวิธีนี้จะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การประมวลผลได้มากกว่าการประมวลผลแบบอื่น เช่น ระบบคิดดอกเบี้ยของธนาคารทุก 3 เดือน การคิดค่าน�้าและค่าไฟฟ้าทุกสิ้นเดือน โดยการประมวลผลแบบแบตช์มีข้อดีและข้อเสีย ดังนี้ ข้อดี ข้อเสีย 1. เหมาะส�าหรับองค์กรที่มีขนาดใหญ่ มีปริมาณ ข้อมูลมาก แต่ไม่จ�าเป็นต้องใช้ประโยชน์ จากข้อมูลทันที 2. ง่ายต่อการตรวจสอบ เมื่อเกิดข้อผิดพลาด ท�าให้สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ง่าย 1. ข้อมูลที่ได้ไม่ทันสมัย เนื่องจากมีก�าหนด ระยะเวลาในการประมวลผล 2. จ�าเป็นต้องใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูล การประมวลผลแบบแบตช์ 2) การประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟ (Interactive Processing) เป็นการประมวลผล ที่ไม่ต้องรอเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยคอมพิวเตอร์จะท�าการประมวลผลและให้ผลลัพธ์ ทันทีหลังจากได้รับข้อมูลน�าเข้า โดยการประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟที่พบเห็นได้ในปัจจุบันนี้ มี 2 ประเภท ดังนี้ (1) การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online Processing) เป็นวิธีการน�าข้อมูลที่ รับเข้ามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยข้อมูลที่น�าเข้าไม่จ�าเป็นต้องอยู่ที่เดียวกับ คอมพิวเตอร์ที่ท�าการประมวลผล เช่น การท�า ธุรกรรมทางการเงินด้วยเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (AutomaticTeller Machine: ATM) ซึ่งรายการ ธุรกรรมทางการเงินจะถูกส่งไปประมวลผลยัง คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการประมวลผลข้อมูลที่ อาจอยู่ห่างไกลได้ในทันที และสามารถแสดง ผลลัพธ์ยอดเงินคงเหลือในบัญชีได้ทันทีเช่นกัน ภาพที่ 1.10 การใช้บัตรเครดิตซื้อสินค้าเป็นการ ประมวลผลแบบออนไลน์ 9 2.3 การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) เป็นวิธีการ ประมวลผลข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจาก มีความถูกต้องและรวดเร็วกว่าการประมวลผล ข้อมูลด้วยมือ และเครื่องจักรกล โดยการ ประมวลผลข้อมูลประเภทนี้จะใช้คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์หลัก ซึ่งสามารถรองรับข้อมูลที่มี ปริมาณมากและมีความซับซ้อน อีกทั้งการ ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ยังให้ผลลัพธ์ ที่ถูกต้อง แม่นย�า และรวดเร็ว 1. ล�าดับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การน�าข้อมูลเข้า (Input) เป็นขั้นตอนการรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยผ่าน ทางหน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เช่น การป้อนข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักขระทางแป้นพิมพ์ การรับ ข้อมูลเสียงจากไมโครโฟน 2) การประมวลผล (Process) เป็นขั้นตอนการน�าข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนการน�าเข้ามา จัดการโดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การค�านวณ การเรียงล�าดับข้อมูล การแยกประเภทข้อมูล 3) การแสดงผล (Output) เป็นการน�าสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลไปใช้ประโยชน์ หรือแสดงผล โดยผ่านทางหน่วยแสดงผล (Output Unit) เช่น การแสดงผลทางจอภาพ การแสดง ผลทางกระดาษพิมพ์ ภาพที่ 1.8 การประมวลผลข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับข้อมูลที่มีปริมาณมากและซับซ้อน ภาพที่ 1.9 แผนภาพสรุปขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ Input Output Process 8
1 การค�านวณ (Calculation) เป็นการน�าข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่สามารถค�านวณได้ มาผ่าน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร หาค่าเฉลี่ย การประมวลผล ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบบการค�านวณ เช่น การค�านวณผลการศึกษาของนักเรียน การค�านวณภาษีเงินได้ การค�านวณดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 2 การจัดเรียงข้อมูล (Sorting) เป็นการเรียงข้อมูลตามเงื่อนไขที่ก�าหนด เช่น การจัด เรียงข้อมูลตัวเลข 1 ถึง 100 การเรียงจากน้อยไปมาก หรือการจัดเรียงตัวอักษร จากตัวแรกถึงตัวสุดท้าย ซึ่งการจัดเรียงข้อมูลจะท�าให้ข้อมูลเหล่านั้นสามารถน�าไป ใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น เช่น การเรียงคะแนนสอบจากมากไปน้อย การเรียงชื่อของ นักเรียนตามตัวอักษรภาษาไทยจาก ก ถึง ฮ 3 การจัดกลุ่มข้อมูล(Classifying) เป็นการจัดข้อมูลโดยการแยกออกเป็นกลุ่ม ประเภท หรือตามเงื่อนไขที่ก�าหนด เช่น การจัดกลุ่มนักเรียนตามเพศ การจัดกลุ่มข้อมูล ภาพถ่ายตามวันที่ถ่ายภาพ ซึ่งการจัดกลุ่มข้อมูลจะท�าให้ค้นหาข้อมูลได้ง่ายขึ้น 4 การสืบค้นข้อมูล (Retrieving) เป็นการค้นหาและน�าข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งเก็บ ข้อมูล เพื่อน�าไปใช้ประโยชน์ เช่น การสืบค้นข้อมูลนักเรียนจากรหัสประจ�าตัว การ ค้นหาหนังสือในห้องสมุดจากชื่อผู้แต่ง 5 การรวมข้อมูล (Merging) เป็นการน�าข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป มารวมกันให้เป็น ชุดเดียว เช่น การน�าข้อมูลประวัติส่วนตัวของนักเรียน มารวมกับประวัติการศึกษา เป็นข้อมูลของนักเรียน 1 คน 3. กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 11 ภาพที่ 1.11 การแสดงความรู้สึกบนเฟซบุก เป็นตัวอย่าง ของการประมวลผลแบบทันที (2) การประมวลผลแบบทันที (Real-Time Processing) เป็นการประมวลผล ที่มีวัตถุประสงค์ในการให้ผลลัพธ์ในลักษณะทันทีทันใด นิยมใช้ร่วมกับการประมวลผลแบบ ออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานแสดงความ คิดเห็นได้ และหลังจากแสดงความคิดเห็นแล้ว เว็บไซต์จะแสดงผลลัพธ์ความคิดเห็นนั้น บนหน้าเว็บทันที หรือการน�าคอมพิวเตอร์มา เชื่อมต่อกับเครื่องตรวจจับควันเพื่อป้องกัน ไฟไหม้ (โดยก�าหนดว่า ถ้ามีควันมากและ อุณหภูมิสูงผิดปกติถือว่าเกิดไฟไหม้) ซึ่ง คอมพิวเตอร์จะต้องท�าการประมวลผลอย่าง ต่อเนื่องตลอดเวลา และถ้าประมวลผลแล้ว สรุปได้ว่าเกิดไฟไหม้ คอมพิวเตอร์ก็จะสั่งให้ น�้าส�าหรับดับเพลิงที่ติดตั้งไว้ท�างานทันที ข้อดี ข้อเสีย 1. สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ที่น�าเข้าไปได้ทันที 2. ข้อมูลที่น�าเข้าจะเป็นข้อมูลที่ทันสมัย 1. มีโอกาสเกิดความผิดพลาดได้ 2. การแก้ไขข้อผิดพลาดท�าได้ยากกว่าการ ประมวลผลแบบแบตช์ การประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟ ข้อมูลมีอยู่มากมายหลายชนิด ทั้งข้อมูลที่สามารถน�ามาประมวลผลได้และไม่สามารถน�า มาประมวลผลได้ ซึ่งข้อมูลที่สามารถน�ามาประมวลผลได้ สามารถแบ่งตามลักษณะการ จัดเก็บได้ 3 ชนิด คือ ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลอักขระ และข้อมูลมีเดีย ¢ŒÍÁÙÅ·ÕèÊÒÁÒö¹ÒÁÒ»ÃÐÁÇżÅä´Œ Com Sci Focus การประมวลผลแบบอินเทอรแอ็กทิฟ 10
11 การส�ารองข้อมูล (Backup) เป็นการท�าส�าเนาข้อมูลทั้งหมดหรือบางส่วนลงในสื่อ หรืออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก ตามช่วงเวลาที่ก�าหนด แล้วน�าไปเก็บแยกไว้ เพื่อให้สามารถน�าข้อมูลเหล่านั้นกลับมาใช้ได้ ในกรณีที่ข้อมูล ต้นฉบับเกิดปัญหา สูญหาย หรือถูกท�าลาย เช่น การส�ารองข้อมูลประวัติของนักเรียน ทุกสิ้นเดือน 12 การกู้ข้อมูล (Data Recovery) เป็นกระบวนการในการน�าข้อมูลที่เสียหาย สูญหาย หรือถูกท�าลายจากสาเหตุต่างๆ ให้กลับคืนมาอยู่ในสภาพที่สามารถน�ามาใช้ ประโยชน์ได้ดังเดิม ซึ่งเป็นกระบวนการที่มีความละเอียดอ่อนและซับซ้อน จะต้อง กระท�าด้วยความระมัดระวังโดยบุคคลที่มีความช�านาญ เช่น การกู้ข้อมูลทะเบียน ประวัติของนักเรียนจากปัญหาไฟฟ้าลัดวงจร ท�าให้จานแม่เหล็กส�าหรับเก็บข้อมูล เกิดความเสียหาย 13 การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการ รับ-ส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยผ่านตัวกลางการสื่อสาร เพื่อให้ข้อมูล นั้นสามารถไปยังจุดหมายปลายทางได้ เช่น การสนทนาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Chat) 14 การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) เป็นกระบวนการในการลดขนาดข้อมูล เพื่อให้ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บ หรือเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลต่อไปยังปลายทาง ได้รวดเร็วขึ้น ท�าให้ประหยัดเวลาในการส่งข้อมูลหากัน ตัวอย่างการบีบอัดข้อมูล เช่น การส่งภาพผ่านระบบสนทนาบนอินเทอร์เน็ต ระบบจะท�าการบีบอัดภาพก่อน ส่งไปยังผู้รับ เพื่อให้ผู้รับได้รับข้อมูลภาพได้เร็วขึ้น 13 6 การสรุปผล (Summarizing) เป็นการสรุปส่วนต่างๆ ของข้อมูล เพื่อแสดงเฉพาะ ส่วนที่เป็นสาระส�าคัญ เช่น การสรุปผลการเรียนของนักเรียน การสรุปยอดรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนในแต่ละเดือน 7 การท�ารายงาน (Reporting) เป็นการน�าข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลมาจัดพิมพ์ใน รูปแบบรายงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบกระดาษ เว็บไซต์ หรือสื่อต่างๆ เช่น รายงานผลการตรวจสุขภาพ สมุดรายงานผลการเรียนของนักเรียน หรือรายงาน ผลการเรียนของนักเรียนผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน 8 การบันทึก (Recording) เป็นการจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ลงสื่อหรืออุปกรณ์ ส�าหรับจัดเก็บข้อมูล เช่น การบันทึกประวัติส่วนตัวของนักเรียนแต่ละคนจากการป้อน ข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์ เพื่อบันทึกลงฐานข้อมูล 9 การปรับปรุงข้อมูล (Update) เป็นกระบวนการที่ท�าให้ข้อมูลมีความถูกต้องและมีความ ทันสมัยอยู่เสมอ โดยสามารถท�าการเพิ่ม ลบ และแก้ไข เพื่อให้ข้อมูลถูกต้องมากที่สุด ซึ่งความถูกต้องและทันสมัยนั้นจะขึ้นอยู่กับความถี่ในการปรับปรุง เช่น การปรับปรุง ยอดขายของร้านค้าออนไลน์ทุกสิ้นเดือน เพื่อท�าให้ยอดขายมีความถูกต้อง หรือการ ปรับปรุงยอดเงินฝากทันทีหลังจากการท�าธุรกรรมทางการเงิน 10 การส�าเนาข้อมูล(Duplication) เป็นการคัดลอกข้อมูลจากข้อมูลต้นฉบับ เพื่อไปบันทึก เป็นข้อมูลอีกชุดหนึ่งที่เหมือนกัน โดยการส�าเนาข้อมูลนั้น ต้องค�านึงถึงความถูกต้อง ด้านการละเมิดลิขสิทธิ์ และต้องได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของข้อมูลต้นฉบับด้วย เช่น การท�าส�าเนาข้อมูลประวัติการศึกษาของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนใช้เป็นหลักฐาน ในการศึกษาต่อ 12
ตารางที่ 1.1 การเตรียมข้อมูลผลการเรียนของนักเรียน ตัวอย่าง การประมวลผลข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 3 ห้อง 1. ขั้นตอนการเตรียมเพื่อน�าเข้าข้อมูล เตรียมข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 3 ห้อง โดยการ ลงรหัสข้อมูลของรหัสนักเรียน และจัดกลุ่มนักเรียนตามห้อง ดังนี้ ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 1 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S001 สมชาย 3.50 S002 สมหญิง 3.75 S003 สุรศักดิ์ 2.75 S004 สุพัชรินทร์ 3.00 S005 นิพนธ์ 2.50 ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 2 ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 3 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S006 สุภาวดี 3.00 S007 มงคล 3.25 S008 สมศักดิ์ 2.75 S009 รติรส 3.25 S010 มานะ 2.50 S011 พรสวัสดิ์ 3.00 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S012 วิชัย 2.95 S013 พิมล 3.14 S014 วิภาพร 2.80 S015 เกรียงศักดิ์ 3.25 S016 ทินกร 2.75 S017 มานิตย์ 3.25 ตัวอย่าง 3) ขั้นตอนการน�าไปใช้ประโยชน์และแสดงผลลัพธ์(Output) เป็นการน�าไปใช้ประโยชน์ และการแสดงผลลัพธ์ เป็นขั้นตอนหลังจากผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ซึ่งเป็นขั้นตอนในการ แปลผลลัพธ์ให้ออกมาอยู่ในรูปที่สามารถเข้าใจง่าย หรือสามารถส่งต่อและน�าไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เช่น การน�าเสนอในรูปแบบรายงาน การน�าเสนอในรูปแบบแผนภูมิ เช่น รายงานแสดงยอดขาย รายเดือน รายงานแนวโน้มยอดขายไตรมาสถัดไป รายงานแผนภูมิระดับผลการเรียนเฉลี่ยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง 15 4. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นตอนการเตรียมเพื่อน�าเข้าข้อมูล (Input) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลที่รวบรวม มาแล้วให้อยู่ในลักษณะที่เหมาะสม และสะดวกในการประมวลผล ซึ่งมี 4 ขั้นตอน ดังนี้ การลงรหัส (Coding) เป็นการใช้รหัสแทนข้อมูลจริง ท�าให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบ ที่สะดวก รวดเร็วต่อการประมวลผล ช่วยให้ประหยัดเวลาและพื้นที่ โดยรหัสสามารถเป็นได้ทั้ง ตัวเลขและตัวอักษร เช่น ข้อมูลเพศของนักเรียน ให้รหัส M แทนเพศชาย รหัส F แทนเพศหญิง หรือการใช้รหัสแทนชื่อแผนกในการท�างาน รายการข้อมูลที่น�าเข้า สมชาย ใจดี เพศชาย สังกัดแผนกการเงิน เงินเดือน 20,000 สมชาย ใจดี M D03 เงินเดือน 20,000 การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล(Editing) เป็นกระบวนการที่ท�าให้ข้อมูลมีความถูกต้อง และเหมาะสมที่สุดก่อนน�าไปประมวลผล เช่น การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การปรับปรุง แก้ไขข้อมูลหรือน�าข้อมูลที่ไม่ถูกต้องออกไป เช่น การตรวจสอบความถูกต้องของคะแนนสอบ ของนักเรียนก่อนน�าไปประมวลผล หากพบความผิดพลาดให้ด�าเนินการแก้ไขให้ถูกต้องก่อนน�า คะแนนเหล่านั้นไปค�านวณหาผลการเรียนเฉลี่ยหรือเกรด การแยกประเภทข้อมูล (Classifying) เป็นการแยกประเภทข้อมูลออกตามลักษณะ ข้อมูลหรือตามลักษณะงานที่จะน�าข้อมูลไปใช้ เพื่อความสะดวกในการประมวลผลครั้งต่อไป เช่น การแยกข้อมูลประวัติตามชั้นเรียน การแยกคะแนนสอบตามรายวิชา การแยกสินค้าในร้าน ตามประเภทของสินค้า การบันทึกข้อมูลลงสื่อ (Media) เป็นการจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปของสื่อหรือ อุปกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจและน�าไปประมวลผลได้ เช่น การบันทึก ข้อมูลลงในจานแม่เหล็กหรือเทปแม่เหล็ก เพื่อน�าไปประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ต่อไป 2) ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล (Processing) เป็นกระบวนการจัดการกับข้อมูล เพื่อ ให้ได้เป็นสารสนเทศ โดยน�าข้อมูลที่จัดเตรียมไว้เข้าสู่คอมพิวเตอร์ เพื่อท�าการประมวลผลผ่าน ซอฟต์แวร์ส�าหรับประมวลผลต่างๆ จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ที่เป็นสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงตาม ความต้องการ โดยการประมวลผลนั้น อาจเป็นการค�านวณ การเรียงล�าดับข้อมูล การสืบค้น ข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การสรุปข้อมูล หรือการปรับปรุงข้อมูลก็ได้ 14
3. ขั้นตอนการน�าไปใช้ประโยชน์และแสดงผลลัพธ์ น�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์โดยการแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบของแผนภูมิแท่ง ดังนี้ ห้อง 1 ห้อง 2 ห้อง 3 3.15 3.1 3.05 3 2.95 2.9 2.85 ระดับผลการเรียน จากตัวอย่างการประมวลผลข้อมูลผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ�านวน 3 ห้อง จะเห็นว่า ในขั้นตอนการเตรียมเพื่อน�าเข้าข้อมูลมีการลงรหัสข้อมูลของรหัส นักเรียนด้วยการใช้ตัวอักษร S แล้วตามด้วยล�าดับของนักเรียน พร้อมทั้งแยกกลุ่มนักเรียนตาม ห้องก่อนที่จะน�าข้อมูลไปประมวลผล เพื่อหาค่าผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนในแต่ละห้อง แล้วจึงแสดงผลออกมาในรูปแบบแผนภูมิแท่ง Com Sci Focus á¼¹ÀÙÁÔá·‹§ แผนภูมิแท่ง เป็นแผนภูมิที่ประกอบด้วยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีลักษณะคล้ายกับแผนภูมิ คอลัมน์ โดยแผนภูมิแท่งมีข้อดี คือ สามารถแสดงการเปรียบเทียบข้อมูลที่มีหลาย ตัวแปรได้ สามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลได้ อีกทั้งยังสามารถแสดงค่าข้อมูล ต�่าสุดและค่าข้อมูลสูงสุดได้ นอกจากแผนภูมิแท่งจะมีข้อดีแล้ว การใช้แผนภูมิแท่งยังมี ข้อเสีย คือ ไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีตัวแปรยาวเกินไป และข้อมูลที่มีจ�านวนตัวแปรมาก อีกทั้งยังไม่เหมาะกับข้อมูลที่มีค่าความแตกต่างกันมากเกินไปอีกด้วย 17 2. ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประมวลผลข้อมูลโดยการค�านวณหาผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนในแต่ละห้อง ดังนี้ ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 1 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S001 สมชาย 3.50 S002 สมหญิง 3.75 S003 สุรศักดิ์ 2.75 S004 สุพัชรินทร์ 3.00 S005 นิพนธ์ 2.50 ผลการเรียนเฉลี่ย 3.10 ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 2 ผลการเรียนของนักเรียนห้อง 3 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S006 สุภาวดี 3.00 S007 มงคล 3.25 S008 สมศักดิ์ 2.75 S009 รติรส 3.25 S010 มานะ 2.50 S011 พรสวัสดิ์ 3.00 ผลการเรียนเฉลี่ย 2.96 รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน ผลการเรียน S012 วิชัย 2.95 S013 พิมล 3.14 S014 วิภาพร 2.80 S015 เกรียงศักดิ์ 3.25 S016 ทินกร 2.75 S017 มานิตย์ 3.25 ผลการเรียนเฉลี่ย 3.02 16
3.2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูลเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่ต้องเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับประเภท ข้อมูล หรือวัตถุประสงค์ของการประมวลผลข้อมูลนั้น โดยซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับการประมวลผล ข้อมูลนั้น มี 2 ประเภท ดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ส�าเร็จรูป เช่น Microsoft Excel, Google Sheets, SPSS, Power BI 2. ซอฟต์แวร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อประมวลผลข้อมูลโดยเฉพาะ เช่น ซอฟต์แวร์เพื่อ ประมวลผลข้อมูลทางการแพทย์ ซอฟต์แวร์เพื่อประมวลผลข้อมูลทางด้านวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ เพื่อประมวลผลข้อมูลสภาพอากาศ ภาพที่ 1.14 Microsoft Excel เป็นซอฟต์แวร์ส�าเร็จรูป ที่ช่วยในการประมวลผลข้อมูล ภาพที่ 1.15 การใช้ซอฟต์แวร์ในการประมวลผลข้อมูล ทางด้านวิศวกรรม 3.3 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับสร้างและน�าเสนอข้อมูล การน�าเสนอข้อมูลเป็นส่วนที่เข้ามามีบทบาทส�าคัญในทุกหน่วยงานหรือองค์กร เพราะหาก เรามีข้อมูลที่ดีเพียงใด แต่ขาดการน�าเสนอข้อมูลที่ดี ไม่สามารถท�าให้ผู้ที่น�าข้อมูลไปใช้งานเข้าใจ หรือเห็นภาพการน�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ กระบวนการทั้งหมดที่ท�ามาตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ข้อมูลที่ เป็นสารสนเทศก็ไร้ประโยชน์ ดังนั้น การน�าเสนอจึงจ�าเป็นและต้องรู้จักน�าเสนอ เพื่อให้น�าข้อมูล นั้นไปใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยต้องเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ เหมาะสม 19 3 การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูล และสารสนเทศ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศในปัจจุบันมี การน�าซอฟต์แวร์ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการข้อมูล โดย มีทั้งซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล และ ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อการน�าเสนอข้อมูล 3.1 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลถือเป็นต้นทางและเป็นส่วนส�าคัญของการได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ถูกต้องตาม วัตถุประสงค์ ซึ่งซอฟต์แวร์เหล่านี้จะถูกสร้างเป็นแบบฟอร์มต่าง ๆ เพื่อใช้ในการจัดเก็บรวบรวม ข้อมูลตามที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจ มีดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่บนคอมพิวเตอร์ เช่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Access 2. ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น Google Docs, Google Sheets, Google Forms, Microsoft Forms การนําซอฟตแวรมาใช ในการจัดการขอมูล มีประโยชนอยางไร ภาพที่ 1.13 Google Docs เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ภาพที่ 1.12 Microsoft Excel เป็นซอฟต์แวร์หนึ่ง ที่ติดตั้งอยู่บนคอมพิวเตอร์หรือแท็บเล็ต 18
ตัวอย่าง ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา 3. ทักษะการสื่อสาร ให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ช่วยกันรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสาขาและสถาบันการศึกษาที่เพื่อน ๆ ในชั้นเรียนอยากศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือระดับอาชีวศึกษา แล้วน�าข้อมูลนั้น มาประมวลผลโดยใช้ซอฟต์แวร์ต่างๆ เพื่อสรุปข้อมูลว่า มีสาขาและสถาบันการศึกษาใดบ้างที่เพื่อน ๆ ในชั้นเรียนสนใจศึกษาต่อมากที่สุด พร้อมทั้งให้นักเรียนเตรียมออกมาน�าเสนอหน้าชั้นเรียน การประมวลผลข้อมูล Com Sci activity ภาพที่ 1.17 การน�าเสนอข้อมูลสามารถท�าได้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของข้อมูลได้ชัดเจน การเลือกใช้งานซอฟต์แวร์ โรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการน�าเสนอข้อมูลดัชนีมวลกายของนักเรียนแต่ละห้องทุกระดับชั้น ตั้งแต่ ม.1 - ม.6 จากผลที่ได้ในการค�านวณน�้าหนักและส่วนสูงของนักเรียน โดยจะต้องน�าเสนอ ค่าดัชนีมวลกายที่ค�านวณได้ในรูปแบบแผนภูมิดัชนีมวลกายเฉลี่ยเปรียบเทียบแต่ละห้องใน ทุกระดับชั้น โดยจะเลือกใช้งานซอฟต์แวร์ MicrosoftExcel ในการประมวลผลข้อมูลและสร้าง แผนภูมิ และใช้ซอฟต์แวร์ Microsoft PowerPoint ในการน�าเสนอข้อมูล 21 ในปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและน�าเสนอข้อมูลมีให้เลือกใช้จ�านวนมาก ซึ่ง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและน�าเสนอข้อมูลไม่ใช่มีเพียงแค่ซอฟต์แวร์ในการท�า Slide Presentation เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและน�าเสนอข้อมูลในปัจจุบันนี้ มีหลายประเภท ดังนี้ 1 ซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการสร้างและน�าเสนอข้อมูลแบบ Slide Presentation เช่น Microsoft PowerPoint, Keynote, SlideDog, OpenOffice Impress, Kingsoft Presentation ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งลงบนคอมพิวเตอร์ หรือจะใช้ซอฟต์แวร์ที่เป็นแบบออนไลน์ผ่าน อินเทอร์เน็ต เช่น Visme, Prezi Next, Haiku Deck, Emaze, Google Slide 2 ซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการสร้างภาพการน�าเสนอข้อมูลในรูปแบบกราฟ เช่น Microsoft Excel, SPSS, Power BI 3 ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างภาพอินโฟกราฟิก เช่น Photoshop, Illustrator 4 ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างและน�าเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR) เช่น Unity, HP Reveal, Blippar, Artivive 5 ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างและน�าเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีความจริงเสมือน (VR) เช่น Unity, LiveTour, Cupix, BRIOVR, IrisVR Suite 6 ซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการสร้างภาพ 3 มิติ เช่น Autodesk, 3ds Max, SketchUp, Blender ภาพที่ 1.16 ซอฟต์แวร์ช่วยให้การสร้างและน�าเสนอข้อมูลท�าได้ง่ายและมีความน่าสนใจ 20
การรวบรวมข้อมูลสามารถแบ่งตามประเภทของข้อมูลได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิเพียงอย่างเดียว เพียงพอต่อการน�าข้อมูลมา ประมวลผลเพื่อการน�าเสนอหรือไม่ เพราะเหตุใด การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนในการประมวลผลอย่างไร ซอฟต์แวร์สามารถน�ามาช่วยในการประมวลผลข้อมูลได้อย่างไร ซอฟต์แวร์สามารถน�ามาช่วยในการสร้างและน�าเสนอข้อมูลได้อย่างไร 1 2 3 4 5 Unit Question 1 ให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจ โดยพิจารณาข้อความว่าถูกหรือผิด แล้วบันทึกลงในสมุด หากพิจารณาข้อความไม่ถูกต้อง ให้กลับไปทบทวนเนื้อหาตามหัวข้อที่ก�าหนดให้ ถูก/ผิด ทบทวนหัวข้อ 1. การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เป็นการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 1.1 2. ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิควรมีการตรวจสอบ (Cross Checks) โดยเปรียบเทียบข้อมูลชนิดเดียวกันกับแหล่ง ข้อมูลอื่นด้วย 1.2 3. การประมวลผลข้อมูลสามารถท�าได้ด้วยการค�านวณเพียงอย่างเดียว เท่านั้น 2 4. การจัดกลุ่มไม่จัดเป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 2.3 5. การน�าเสนอข้อมูลแบบ Slide Presentation เป็นการน�าเสนอที่ ได้รับความนิยมมากที่สุด 3.3 Self Check บั น ทึ ก ล ง ใ น ส มุ ด 23 การจัดการข้อมูล และสารสนเทศ Summary การรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อน�าข้อมูลไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับงาน โดยทั่วไปวิธีการรวบรวมข้อมูลและประเภทของข้อมูลที่รวบรวมจะขึ้น อยู่กับวัตถุประสงค์ของงานที่ก�าลังท�าอยู่ การรวบรวมข้อมูลจะมีวิธีการและแหล่งที่มาแตกต่าง กันไป หากพิจารณาถึงประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ข้อมูล ปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ การประมวลผลข้อมูล เป็นวิธีการจัดการกับข้อมูล ซึ่งอาจเป็นการค�านวณหรือการเปรียบเทียบลักษณะต่าง ๆ เพื่อ ให้ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์หรือตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน โดยการประมวลผล ข้อมูลสามารถแบ่งตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผล ข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล และการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การจัดการข้อมูลและสารสนเทศในปัจจุบันมีการน�าซอฟต์แวร์ต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการ ข้อมูล โดยมีทั้งซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล และ ซอฟต์แวร์ที่ใช้เพื่อการน�าเสนอข้อมูล 22