The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best-Practices กศน.ตำบลคอหงส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jariya1646, 2021-04-28 05:28:35

Best-Practices กศน.ตำบลคอหงส์

Best-Practices กศน.ตำบลคอหงส์

Best Practice : การจดั ดอกไม้ในงานพิธี

กศน.ตำบลคอหงส์

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอหาดใหญ่

บันทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอหาดใหญ่

ที่ ศธ.0210.7216/ วันท่ี ๙ เดอื นเมษายน พ.ศ. 256๔

เร่อื ง รายงานการทำ Best Practice : การจัดดอกไม้ในงานพธิ ี

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เรียน ผ้อู ำนวยการ กศน. อำเภอหาดใหญ่

ตามท่ีกศน.อำเภอหาดใหญ่ได้ให้ ครู กศน.ตำบลคอหงส์ ทำ Best Practice ที่คิดว่าเด่นใน

ตำบล ซ่ึงครูกศน.ตำบลคอหงส์ คิดแล้วว่า Best Practice เร่ือง การจัดดอกไม้ในงานพิธี ซึ่งเป็นกลุ่มท่ี

ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอน และสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ เหมาะสมที่จะเป็น

ตัวอย่างเพื่อใหน้ ักศกึ ษาและประชาชนทว่ั ไปนำไปใช้ประโยชน์ได้

บัดนก้ี ิจกรรมดังกลา่ วได้ดำเนินการเรียบร้อยแลว้

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ

(นางสาวกัญญา คงประมลู ) (นางสาวจารยิ า หมดั หมาน) (นายสถริ ภทั ร ลมิ่ เซง่ )
ครอู าสาฯครู ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล

❑ ทราบ

(นายไพโรจน์ คเชนทองสุวรรณ์)
ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหาดใหญ่

นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice)

1. ชือ่ ผลงาน การจัดดอกไม้ในงานพิธี
2. ชอ่ื ผเู้ สนอผลงาน คณะครูกศน.ตำบลคอหงส์
กศน.ตำบลคอหงส์ สงั กัดกศน.อำเภอหาดใหญ่
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3. ความเปน็ มาและความสำคญั

การจัดดอกไม้ ที่มีการ บันทึกไว้เร่ิมตั้งแต่สมัยสุโขทัยทั้งนี้ได้มีการจัดในราชสำนักเป็นส่วนใหญ่
โดยเฉพาะราชสำนักฝ่ายในเพื่อ จัดดอกไม้ แบบไทยประณีตใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ ประวัติการจัดดอกไม้
แบบไทยประณีตสามารถแบ่งออกเป็นประเภทได้ 6 ประเภทคือ งานมาลัยงานใบตอง งานแกะสลักผักผลไม้
งานฉลุสลกั หยวก งานเคร่ืองแขวน ไทยและงานพุ่ม-พานดอกไม้สด ตอ่ มาได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการ
จัดดอกไม้สดไปตามยุคสมัยโดยเฉพาะใน ช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ได้มีการเปล่ียนแปลง
รูปแบบของการจัดดอกไม้โดยได้รับวัฒนธรรม ประวัติการจัดดอกไม้ การจัดดอกไม้ของชาวตะวันตกมา
ปรับปรุงรูปแบบ กับการจัดดอกไม้ในแบบตะวันออก ลักษณะของการจัดดอกไม้นี้เรียกว่าการจัดดอกไม้แบบ
สากล ประวัติการจัดดอกไม้ มีลักษณะของการจัดที่ต้องอาศัยกระบวนการจัดท่ีประกอบด้วย ทฤษฎีการ
ออกแบบลกั ษณะรูปทรง เทคนิค และรูปแบบตา่ ง ๆ ตามหลกั ทฤษฎขี องการออกแบบ ส่วนประกอบของกรจัด
ดอกไม้แบบสากลสามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ แบ่งตามองค์ประกอบในการจัด แบ่งตามลักษณะของ
ภาชนะในการจัด และสุดท้ายเป็นการแบ่งตามลักษณะของการใช้งาน ประวัติการจัดดอกไม้ ใน สมัย
รัตนโกสินทร์เริ่มต้นรัชกาลสืบมา งานฝีมือด้านประดิษฐ์ดอกไม้สดเป็นที่ยอมรับในฝีมือและมีชื่อเสียงมาก
ประวัติการจัดดอกไม้ เป็นที่นิยมประดิษฐ์ จัดดอกไม้สดในงานต่างๆ ทั่วไป โดยเฉพาะในพระราชพิธีต่างๆ ใน
สมัยรัชกาลที่ 5ทรงมีพระราชนิยมการทำดอกไม้มากมาย ประวัติการจัดดอกไม้ จัดดอกไม้มากมาย จัดถวาย
ให้ทรงใช้ในงานนั้นๆ เสมอ พระมเหสีเทวีทุกตำหนกั ประวัตกิ ารจดั ดอกไม้ ใฝ่พระทัยในการจดั ดอกไม้ไปตามๆ
กัน แต่ละพระองค์ต่างก็มีชือ่ เสียงในด้านต่างๆ ตามๆกัน สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทรา พระบรมราชินีนาถ (พระพัน
ปีหลวง) ครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นพระบรมราชินีนาถ ได้โปรดเกล้าฯให้ฝึกอบรมข้าหลวงและครูโรงเรียน
ราชินีให้รู้จักทำดอกไม้แห้ง แทนดอกไม้สดด้วย ทรงส่งเสริมฟ้ืนฟูการทำดอกไม้เป็นอันมาก ประวัติการจัด
ดอกไม้ พระองค์เองก็ใช้เวลาว่างประดิษฐ์ดัดแปลงการทำดอกไม้แบบเก่าๆ ให้แปลกพิสดารไปอีกมีพระนาม
เลื่องลอื ในการร้อยมาลัยมะลิเป็นมาลัยสีขาวกลม ซึง่ เป็นมาลัยธรรมดาไมม่ ีลวดลายและต่อมาได้พลิกแพลงมา
เปน็ มาลัยสลบั สีเป็น มาลัยเกลียว ซ่งึ มคี วามสวยงามและเปน็ ลวดลายสีสนั ข้นึ

ประวตั ิการจดั ดอกไม้ ท่มี ีการ บันทึกไว้เร่ิมตง้ั แต่สมยั สุโขทยั ท้งั น้ีได้มกี ารจัดในราชสำนักเปน็ ส่วนใหญ่
โดยเฉพาะราชสำนักฝ่ายในเพื่อ จัดดอกไม้ แบบไทยประณีตใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ ประวัติการจัดดอกไม้
แบบไทยประณีตสามารถแบ่งออกเป็นประเภทได้ 6 ประเภทคือ งานมาลัยงานใบตอง งานแกะสลักผักผลไม้
งานฉลุสลักหยวก งานเครื่องแขวน ไทยและงานพุ่ม-พานดอกไม้สด ต่อมาไดม้ ีการเปลย่ี นแปลงรูปแบบของการ
จัดดอกไม้สดไปตามยุคสมัยโดยเฉพาะใน ช่วงรัชสมัยของรัชกาลท่ี 4 และรัชกาลท่ี 5 ได้มีการเปลี่ยนแปลง
รูปแบบของการจัดดอกไม้โดยได้รับวัฒนธรรม ประวัติการจัดดอกไม้ การจัดดอกไม้ของชาวตะวันตกมา
ปรับปรุงรูปแบบ กับการจัดดอกไม้ในแบบตะวันออก ลักษณะของการจัดดอกไม้น้ีเรียกว่าการจัดดอกไม้แบบ
สากล ประวัติการจัดดอกไม้ มีลักษณะของการจัดท่ีต้องอาศัยกระบวนการจัดท่ีประกอบด้วย ทฤษฎีการ
ออกแบบลกั ษณะรปู ทรง เทคนิค และรูปแบบต่าง ๆ ตามหลกั ทฤษฎีของการออกแบบ ส่วนประกอบของกรจัด

ดอกไม้แบบสากลสามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ แบ่งตามองค์ประกอบในการจัด แบ่งตามลักษณะของ
ภาชนะในการจดั และสุดท้ายเปน็ การแบง่ ตามลักษณะของการใช้งาน

ประวัติการจดั ดอกไม้ ใน สมัยรัตนโกสนิ ทร์เริม่ ต้นรชั กาลสืบมา งานฝีมอื ดา้ นประดิษฐด์ อกไม้สดเป็นท่ี
ยอมรับในฝีมือและมีชื่อเสียงมาก ประวัติการจัดดอกไม้ เป็นท่ีนิยมประดิษฐ์ จัดดอกไม้สดในงานต่างๆ ท่ัวไป
โดยเฉพาะในพระราชพิธีต่างๆ ในสมัยรัชกาลท่ี 5ทรงมีพระราชนิยมการทำดอกไม้มากมาย ประวัติการจัด
ดอกไม้ จัดดอกไม้มากมาย จัดถวายให้ทรงใช้ในงานน้ันๆ เสมอ พระมเหสีเทวีทุกตำหนัก ประวัติการจัด
ดอกไม้ ใฝ่พระทัยในการจัดดอกไม้ไปตามๆกัน แต่ละพระองค์ต่างก็มีช่ือเสียงในด้านต่างๆ ตามๆกัน สมเด็จ
พระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถ (พระพันปีหลวง) ครั้งดำรงพระอิสริยยศเปน็ พระบรมราชินนี าถ ได้โปรด
เกล้าฯให้ฝึกอบรมข้าหลวงและครูโรงเรียนราชินีให้รู้จักทำดอกไม้แห้ง แทนดอกไม้สดด้วย ทรงส่งเสริมฟื้นฟู
การทำดอกไม้เป็นอันมาก ประวัตกิ ารจดั ดอกไม้ พระองคเ์ องก็ใช้เวลาว่างประดษิ ฐ์ดดั แปลงการทำดอกไมแ้ บบ
เก่าๆ ให้แปลกพิสดารไปอีกมีพระนามเล่ืองลือในการร้อยมาลัยมะลิเป็นมาลัยสีขาวกลม ซ่ึงเป็นมาลัยธรรมดา
ไม่มีลวดลายและต่อมาได้พลิกแพลงมาเป็นมาลัยสลับสีเป็น มาลัยเกลียว ซึ่งมีความสวยงามและเป็นลวดลาย
สีสันขึ้น

การจัดดอกไม้ จัดว่าเป็นงานศิลปะแขนงหนึ่ง โดยคำว่าศิลปะเป็นคำที่มีความหมายกว้างขวาง ด้วย
เหตุนี้ศิลปะในการจัดดอกไม้ จึงเป็นศิลปะของความงามซ่ึงมีองค์ประกอบทางด้านจิตใจเป็นหลัก อีกทัง้ ยังเป็น
การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันโดดเด่น สามารถแสดงออกให้เห็นถึงความเป็นไทยได้เป็นอย่างดี โดยการจัด
ดอกไม้แบบไทย มีความหมายซ่อนอยู่ในทุกแง่มุม พูดง่ายๆ คือ การนำดอกไม้, ใบไม้หรือส่วนต่างๆ มาจัดให้
เกิดความสวยงามและแลดูเป็นงานศิลป์ เช่น กลีบดอกไม้, เกสรดอกไม้, กลีบเลี้ยง ตลอดจนส่วนอ่ืนๆ อีก
มากมายมาประดิษฐ์ให้เกิดความงาม จากการใช้ทักษะ, ความรู้ความสามารถในเชิงสร้างสรรค์
ดอกไม้ประดับ มีความจำเป็นต่อมนุษย์มาอย่างเป็นเวลาช้านานแล้ว เพราะมนุษย์ไม่ได้ต้องการแค่ปัจจัย 4
เท่าน้ัน หากแต่ยังต้องการจัดสภาพแวดล้อม ถ่ินที่อยู่อาศัยให้เกดิ ความร่มร่ืน เปน็ ระเบียบ ดูแล้วเจริญหูเจริญ
ตา มีความสวยงามน่าอยู่อีกด้วย เชน่ มีการจัดสวน, ตกแต่งอาคาร, สถานที่ต่างๆ ให้เกดิ ความสวยงาม อีกท้ัง
ยังถกู นำมาใช้ในงานมงคลและอวมงคลตา่ งๆ

การจัดดอกไม้ ตอ้ งมีการเลือกพรอ้ มจดั องค์ประกอบของดอกไม้ และ ใบไม้ ให้เป็นไปตามทคี่ ุณ
ออกแบบเอาไว้ก่อนหน้า เพอื่ ใหเ้ กดิ ความน่าสนใจ เพราะงานศลิ ปะช้ินนี้ มนษุ ยเ์ สพย์สมดว้ ยการ ‘มอง’ เป็น
หลกั

4. วัตถปุ ระสงค์
1.เพอื่ ศึกษาอาชพี และการประกอบธรุ กิจการจดั ดอกไม้

2. เพอ่ื ศึกษาวิธีการจดั ดอกไม้ในรปู แบบต่างๆ ในงานพธิ ีต่างๆ

3. เพื่อสบื ทอดศาสตรแ์ ห่งการจดั ดอกไมใ้ นงานพธิ ี

5. กระบวนการหรอื ขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นที่ 1 การวางแผน (P = Plan)
ขน้ั ท่ี 2 ดาเนินการตามแผน (D = Do)
ขั้นท่ี 3 การตรวจสอบประเมินผล (C = Check)
ขั้นท่ี 4 การนาผลการประเมินมาปรบั ปรุงงาน (A = Action)

ขั้นตอนการดาเนินงาน กระบวนการดำเนนิ งาน
ข้ันที่ 1 การวางแผน (P = Plan)
1. วางแผนการปฏิบตั งิ านและศึกษาข้อมลู เกย่ี วกับ
การจดั ดอกไมใ้ นงานพิธี

ข้ันที่ 2 ดำเนนิ การตามแผน (D = Do) 1. ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมเปิดกลุม่ อาชีพการจดั
ดอกไมใ้ นงานพิธี ดังน้ี
ขั้นที่ 3 การตรวจสอบประเมินผล (C = Check) 1.1 ครตู ิดตอ่ หาวทิ ยากรเพอ่ื ให้ความรใู้ ห้กับ
ข้ันท่ี 4 การนำผลการประเมินมาปรบั ปรงุ งาน (A ประชาชน
= Action) 1.2 รวมกลมุ่ ประชาชนหรือนกั ศึกษาทใ่ี ห้ความสนใจ
และตอ้ งการเรยี นรู้
1.3 ขออนุมตั ิจดั ต้ังกลมุ่ และดำเนินการใหค้ วามรู้
เก่ียวกับการจัดดอกไม้ในงานพิธี

1.การตดิ ตามของประชาชนและนักศึกษาจากการ
ปฏบิ ัติจรงิ และความรู้ความเข้าใจ
2.การตดิ ตามความพงึ พอใจ

1. ประเมนิ ผลการดำเนินงาน
2. ตรวจสอบตดิ ตามปญั หาอุปสรรคจากการทำ
กิจกรรมการปฏิบัติกจิ กรรมข้อเสนอแนะมาวิเคราะห์
หาสาเหตุและดำเนินการแก้ปัญหาตลอดจนวางแผน
พัฒนางานอย่างต่อเน่ืองสคู่ วามยั่งยนื
3. สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งาน
4. เผยแพรผ่ ลงาน

6.ผลสำเรจ็

6.1 ผลที่เกดิ ขน้ึ กับครู
1. ครมู ีความรคู้ วามเข้าใจและตระหนักในการพฒั นาคุณภาพของนกั ศึกษาและประชาชน

ตามมาตรฐานและพัฒนาตนเองสู่ครูมืออาชีพดา้ นการส่งเสริมอาชพี ให้กับชมุ ชน
2. ครูไดพ้ ัฒนาความร้แู ละทักษะการจดั การเรียนการสอนเกย่ี วกบั การสง่ เสริมอาชีพ

6.2 ผลทีเ่ กดิ ข้นึ กบั กศน.ตำบล
1. กศน.ตำบลคอหงส์เป็นแหล่งเรียนรเู้ กี่ยวกบั การสง่ เสริมอาชีพ
2. บูรณาการจดั กจิ กรรมเกีย่ วกบั อาชีพโดยให้นักศึกษาและประชาชนได้ลงมอื ปฏิบัติจริง

ท่ีกศน.ตำบลและนำไปปฏิบตั ิทบ่ี ้าน
6.3 ผลทเ่ี กิดขึ้นกับชมุ ชน
1. ชุมชนมีความม่ันใจในการจดั กิจกรรมการส่งเสรมิ อาชพี ของกศน.ตำบล
2. ชุมชนมคี วามภาคภมู ิใจศรัทธาตอ่ สถานศึกษาและชว่ ยกันพัฒนาสถานศึกษา
3. ชมุ ชนสามารถเข้ารว่ มการทำกจิ กรรมและนำไปปฏบิ ตั ิได้

6.4 ปัจจัยความสำเรจ็ กับนกั ศกึ ษา
1. นกั ศกึ ษา ทุกคนมคี วามเข้าใจเก่ียวกบั หลักการสง่ เสรมิ อาชีพของกศน.ตำบล
2. กศน.ตำบลคอหงส์ไดเ้ ป็นแบบอยา่ งให้กบั นักศกึ ษาและชุมชน
3. นักศกึ ษามีแรงจงู ใจในการฝกึ อาชีพเพื่อเพ่ิมรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครวั

7. ผลการได้รับการยอมรับ
การเผยแพร่
1. เผยแพร่ผลงานทางเวบ็ ไซต์ของกศน.ตำบลคอหงส์ และแฟนเพจกศน.ตำบลคอหงส์
2. เผยแพร่ข่าวสารการส่งเสรมิ อาชพี ของกศน.ตำบลให้กบั ประชาชนผา่ นทางผู้นำชุมชน วทิ ยากรและ

นกั ศกึ ษาเพ่อื ไปเผยแพรต่ อ่ ให้กบั คนในชมุ ชนต่อไป

การจัดดอกไม้ในงานพธิ ี
กศน.ตำบลคอหงส์

จัดดอกไมง้ านแตง่ งาน

การจัดดอกไมใ้ นงานพธิ ี
กศน.ตำบลคอหงส์

จดั ดอกไมใ้ ห้กบั สรรพากร
อำเภอหาดใหญ่

การจัดดอกไมใ้ นงานพธิ ี
กศน.ตำบลคอหงส์

จดั ดอกไมง้ านศพ ณ วัดคอหงส์

การจัดดอกไม้ในงานพิธี
กศน.ตำบลคอหงส์

จดั ชอ่ บูเกใ้ ห้กบั กศน.อำเภอหาดใหญ่

การจดั ดอกไม้ในงานพธิ ี
กศน.ตำบลคอหงส์

จัดต้ังกลุ่มงานดอกไม้


Click to View FlipBook Version