นางสาวสจุ รี า วชิ าชาติ
กลุม่ ที่ 17 เลขท่ี 8
การฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา แห่งที่ 1
วทิ ยาลัยการอาชีพวารินชาราบ อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี
ใบงานที่ 1 ใหน, ำเสนอผลการวเิ คราะห9 บรบิ ทสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
ช่ือ-สกลุ วิทยากรพเี่ ล้ยี ง ผอ. เสรมิ ศกั ดิ์ นิลวิลัย กลRุมท่ี๑๗
ช่อื นางสาวสจุ รี า วชิ าชาติ เลขที่ ๘
………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1.ข,อมูลพ้นื ฐาน
วทิ ยาลยั การอาชพี วารนิ ชำราบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
วิทยาลัยการอาชีพวารินชำราบ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ณ บริเวณที่ดินปNาสาธารณะ
ประโยชนRในชุมชนบTานกUอ ตำบลแสนสุข อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่ ๔๔ ไรU ๕๑ ตารางวา
เปZนสถานศึกษาในเครือขUายสถาบันการอาชีวศึกษาอุบลราชธานี การคมนาคมไป – มา ระหวUางจังหวัด
อำเภอ และวิทยาลัยฯ สะดวก เดินทางโดยรถยนตRและรถโดยสารไดTหลายเสTนทาง นอกจากนี้อำเภอวารินชำราบ
ยงั เปนZ ที่ตง้ั ของสถานีรถไฟอบุ ลราชธานอี ีกดTวย
วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี จงั หวดั อุบลราชธานี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี กUอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2480 มีชื่อวUา “โรงเรียนอุบล
หัตถกิจ” โดยพระปทุมเทวาภิบาล (เยี่ยม เอกสิทธิ์) ผูTวUาราชการจังหวัดในขณะนั้นเปZนผูTคิดกUอตั้งขึ้น และไดTรับ
ความรUวมมือจาก ขุนเยาวเทพจรัญ ศึกษาธิการจังหวัด โรงเรียนจึงสำเร็จขึ้นมาไดTโดยการกูTยืมเงินจากจังหวัดมาทำ
การกUอสราT ง
2. สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคม
สภาพชุมชน เศรษฐกจิ และสงั คมของวิทยาลยั การอาชพี วารินชำราบ
ตั้งอยูUในจังหวัดอุบลราชธานี ประชากรในจังหวัดประกอบอาชีพหลายสาขาอาชีพ สUวนใหญUนับถือศาสนา
พทุ ธ มวี ดั และสำนกั สงฆกR ระจายอยทUู ว่ั ไปในจงั หวดั มวี ดั จำนวน ๑,๒๘๗ แหงU มีสำนักสงฆR จำนวน ๔๓๙ แหUง และ
มีวัดหนองปNาพง ซึ่งมีหลวงปูNชาเปZนอดีตเจTาอาวาสเปZนพุทธสถานที่พุทธศาสนิกชนใหTเคารพ มีผูTเดินทางไปเยี่ยมชม
และสักการบูชาอยUางมากมายทกุ วันอยหUู Uางจากวทิ ยาลัยฯ ประมาณ ๑ กิโลเมตร
สภาพชมุ ชน เศรษฐกิจ และสังคมของวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยูUทางดTานตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอยูUหUาง จาก
กรุงเทพมหานคร ประมาณ ๖๓๐ กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๑๕,๗๔๔,๐๐๐ อาชีพที่สำคัญของชาวอุบลราชธานี
คือเกษตรกรรม แบUงการปกครองเปZน ๒๕ อำเภอ
3. บริบทสถานศกึ ษา
วิทยาลยั การอาชีพวารินชำราบ
จุดเดRนในการพัฒนาสถานศกึ ษา
1. นกั เรยี นนกั ศกึ ษามีผลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี รอบแรกผาU นคดิ เปZนรอT ยละ 96.80
2. สำเร็จการศึกษามีงานทำในหนวU ยงานภาครฐั และเอกชน สามารถประกอบอาชพี อิสระและศึกษาตอU
3. ผูTเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงคR คิดเปZนรTอยละ 96.85อยูUใน ระดับคุณภาพ
ยอดเยย่ี ม
4. เรยี นเปZนผTมู ใี จรกั ในการเปนZ จติ อาสา บริการ ชUวยเหลอื ชมุ ชนและสังคม
5. วทิ ยาลัยการอาชพี วารนิ ชำราบมกี ารพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะอยาU งเปนZ ระบบ ใหTสอดคลอT งกับ
ความตอT งการของสถานประกอบการ ชุมชน และสงั คม และไดTรบั ความรวU มมือกับสถานประกอบการใน
การพัฒนาหลกั สูตรกับสถานประกอบการในรูปแบบทวภิ าคี และมกี ารปรับปรงุ รายวิชาเพื่อใหเT หมาะกับ
ความตTองการของตลาดแรงานและ สถานประกอบการ
6. ครูผTสู อนมีการจัดทำแผนการจดั การเรียนการสอนและสื่อการสอนทุกรายวิชา แผนในการจดั การ
เรยี นรTู มีองคปR ระกอบครบตามทีก่ ำหนด
7. ครูจัดทำขTอมูลผเTู รียนเปZนรายบุคคลทกุ สาขาวชิ า
8. ครไู ดTรบั การพัฒนาตนเองและวิชาชพี และไดนT ำความรTูจากการพัฒนาตนเองมาใชใT นการจัดการ
เรยี นการสอนอยUางมคี ุณภาพ
10.วทิ ยาลัยมรี ะบบขอT มลู สารสนเทศสำหรบั การบรหิ ารจัดการบรหิ ารสถานศกึ ษาที่มคี วามเร็วสูง
12. มีการปรบั ปรุง ซUอมบำรุง ระบบสาธารณูประโภค อาคารสถานที่ หอT งเรียน หTองปฏบิ ตั กิ ารเพื่อ
เอ้ืออำนวยความสะดวกใหกT ับผมูT าใชบT รกิ าร
13. มีการจัดการอาชวี ศึกษาระบทวิภาคีทุกสาขาวิชา
4. สถานศึกษาไดTระดมทรัพยากรภาคเี ครือขUายเพ่ือการจัดการเรยี นการสอนอยาU งมีคุณภาพ
15. ผบูT ริหารสถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารสถานศกึ ษาโดยใชTการบรหิ ารแบบมสี UวนรวU ม
16.วทิ ยาลัยมีการบริหารจดั การระบบขอT มูลสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารงานใหมT ปี ระสทิ ธภิ าพ
17. สถานศกึ ษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอนทกุ สาขาวิชา
18.จดั ทำโครงการมอบทุนการศกึ ษาใหTกับผเTู รยี นทกุ ปก{ ารศกึ ษา
19.วิทยาลยั การอาชพี วารนิ ชำราบไดทT ำโครงการการบริการชุมชนและจิตอาสาใหกT บั บุคลากรของ
รฐั และประชาชนท่ัวไป
20.วทิ ยาลยั ไดTสนับสนุนใหT ครู และนกั เรียน นักศกึ ษาไดจT ดั ทำดTานนวตั กรรม สง่ิ ประดษิ ฐR งาน
สราT งสรรคR งานวิจยั
จดุ ที่ควรพฒั นา
1. การดแู ลผTูเรียนและการลดปญ| หาการออกกลางคันในแตลU ะป{การศึกษา
2.พัฒนาใหTผTูเรยี นใหมT สี มรรถนะเปZนผูTประกอบการและประกอบอสิ ระตามแนวทางของศูนยบR Uม
เพาะผปTู ระกอบการอาชวี ศกึ ษา
3. พัฒนาผเTู รยี นใหมT ที กั ษะวิชาชีพเพ่ือเขTาประกวด แขงU ขนั ทางดTานทกั ษะวิชาชพี ในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ
4.สUงเสรมิ ใหTครูผTูสอนที่มผี ลงานจากการพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชพี มนี วตั กรรม ไดรT บั การ
ยอมรับหรือเผยแพรสU ูUระดับทส่ี งู ขนึ้ ไป
5. การนำส่อื และนวตั กรรมใหมUๆเขาT มาใชใT นการบริหารจัดการสถานศึกษา
6. อปุ กรณRทจ่ี ำเปนZ ในการใชงT านเครอื่ งแมขU Uาย SERVER ท่ีนำมาจัดการระบบมนี อT ยและไมทU นั สมัย
7. ความรUวมมอื กับสถานประกอบการเพือ่ เพิม่ ศักยภาพครูและครฝู ƒกในสถานประกอบการ
8. สงU เสรมิ ใหคT รูและผเูT รียนสรTางนวัตกรรม สงิ่ ประดษิ ฐR งานสรTางสรรคR หรืองานวิจัย ใหมT ชี ิ้นงานท่ีนUาสนใจ
และหลากหลาย สามารถนำไปใชไT ดTจรงิ
9. การนำผลงานนวัตกรรม สิง่ ประดิษฐR ไปใชกT บั ชมุ ชน องคRกรหนวU ยงานตาU งๆในระดับ จังหวัด
ระดบั ประเทศ
วิทยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี
จดุ เดนR ในการพัฒนาสถานศกึ ษา
1. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี กำหนดใหTแผนกวิชา ศึกษาแนวปฏิบัติในการจัดสอบมาตรฐาน
วิชาชีพระดับ ปวช. และ ปวส. ทุกป{การศึกษา และมอบหมายใหTครูในแผนกทุกคนมีสUวนรUวมในการทบทวนความรTู
ใหTกับนักเรียน นักศึกษา และจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพ (ภาคปฏิบัติ) ตามกรอบเวลาในขTอมูลการจัดสอบมาตรฐาน
วิชาชีพ ทั้งนี้ กำหนดใหTทุกแผนกวิชาดำเนินการจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพทั้งภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ โดย
มอบหมายใหTงานวัดผลและประเมินผล จัดการสอบมาตรฐานวิชาชีพ(ภาคทฤษฏี) เปZนรายวิชาหนึ่งในการจัดสอบ
ปลายภาค เพื่อใหTนักเรียน นักศึกษาไดTเขTารับการสอบทุกคนและในภาคปฏิบัตินั้น แผนกวิชาไดTดำเนินการสอบ
นกั เรียน นักศึกษา ตามกรอบเวลาในภาคเรยี น
2. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานีไดTรับการยกยUองสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนที่มี
ประสิทธิภาพ สUงผลใหTไดTรับรางวัลจากการแขUงขันทักษะวิชาชีพในระดับ อาชีวศึกษาจังหวัด ระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชาติและระดับนานาชาติ
3. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ดำเนินการใหTครูและบุคลากรทุกฝNายในสถานศึกษาทุกคนและผูTเรียน
ทุกคนเขTารUวมโครงการ กิจกรรม การปลูกฝ|งจิตสำนึกดTานการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริยRสUงเสริมการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยRทรงเปZนประมุข และทะนุบำรุง ศาสนาศิลปะ วัฒนธรรม มีการ
ประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรม โดยครูและบุคลากรทุกฝNายในสถานศึกษาและผูTเรียน เพื่อนำผล
ไปปรับปรุง การบริหารจัดการและมีการประเมินความพึงพอใจของผูTเกี่ยวขTองภายนอกสถานศึกษาที่มีตUอ
ภาพลักษณRของสถานศกึ ษา
4. วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี มกี ารประเมินความพึงพอใจท่มี ีตUอคุณภาพของผูเT รียน 3 ดาT น
คือ ดTานคุณลักษณะที่พึงประสงคR ดTานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และดTานสมรรถนะวิชาชีพโดยกำหนด
กลุUมตัวอยUางจากสถานประกอบการ หนUวยงาน ควรไมUนTอยกวUา 5 แหUง และบุคคลในชุมชนควรไมUนTอยกวUา 5 คน
มีการสรTางเครื่องมือประเมินความพึงพอใจ โดยใชTแบบประเมินมาตราสUวนประมาณคUาเพื่อเก็บขTอมูลที่เหมาะสม
กับกลุUมตัวอยUางและครอบคลุมคุณภาพของผูTเรียนทั้ง 3 ดTาน มีการเก็บขTอมูลจากกลุUมตัวอยUางและนำขTอมูลมา
วิเคราะหอR ยาU งถกู ตTอง
5. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีการจัดเก็บขTอมูลผูTสำเร็จการศึกษาที่ไดTงานท า ศึกษาตUอและ
ประกอบอาชีพอิสระภายในหนึ่งป{ และสำรวจความพึงพอใจตUอคุณภาพของผูTสำเร็จการศึกษาจากกลุUมเป…าหมาย
คือ จากสถานประกอบการ หนUวยงานที่ผูTสำเร็จการศึกษาไปทำงาน จากสถานศึกษาที่ผูTสำเร็จการศึกษาไปศึกษา
ตUอและจากบุคคล สถานประกอบการ หนUวยงานผูTรับบริการจากการประกอบอาชีพอิสระของผูTสำเร็จการศึกษา
โดยใชTแบบสอบถามแบบมาตราสUวนประมาณคUา เพื่อเก็บขTอมูลที่เหมาะสมกับกลุUมเป…าหมายและครอบคลุม
คณุ ภาพของผูTสำเร็จการศึกษาทงั้ 3 ดาT น มีการเก็บขTอมลู และนำขTอมูลมาวิเคราะหแR ละสรุปผลอยUางถูกตTอง
6. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีกระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่มุUงบูรณาการคุณธรรม
จรยิ ธรรม คาU นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคแR ละปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มคี รผู สูT อน ท่มี ีคุณวฒุ ิ
ทางการศึกษาและประสบการณRตรงตามสาขาที่จัดการเรียนการสอน และมีการปรับปรุงพัฒนาดTานการจัดการ
เรียนการสอนอยUางสม่ำเสมอ มีกระบวนการในการกำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนอยUางมีคุณภาพ
ครูผูTสอนและบุคลากร ใหTความสำคัญ รUวมมือในการจัดการเรียนการสอน คณะครู อาจารยR มีความตระหนักวUา
กระบวนการวจิ ยั มบี ทบาทและมีความสำคัญในการแกTไขและพฒั นาผูTเรียนไดอT ยUางมคี ุณภาพ
7. วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี เปด† สอนหลักสูตรที่หลากหลาย เพ่ือสนองความตอT งการของผTเู รยี น
และสถานประกอบการ ประสานความรวU มมือในการจดั การศึกษา ระบบปกติ และระบบทวิภาคกี บั สถานประกอบ
การอยาU งตอU เน่ือง มีการใชปT ระโยชนR อาคารเรยี น หTองเรยี น และหTองปฏบิ ัติการอยUางคTุมคาU
8. วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี มีระบบฐานขTอมูลครอบคลุมทกุ ระบบ มขี อT มูลพ้ืนฐานครบมรี ะบบ
ปอ… งกันผูTบกุ รกุ ระบบฐานขอT มลู จากภายในและภายนอก มีการกำหนดสทิ ธิการเขTาถงึ ระบบฐานขTอมลู อยUางชดั เจน
มกี ารตดิ ต้งั โปรแกรม Anti-Virus เพื่อป…องกันไวรัสและกำจดั ไวรสั ในเครอื่ งลูกขUายมีฐานขTอมลู มกี าร Update
เปZนป|จจุบัน และมีการส ารองฐานขอT มลู อยUางสม่ำเสมอ
9. วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาอบุ ลราชธานี มหี Tองเรียน หอT งปฏิบัตกิ าร หรือโรง ฝกƒ งานท่ไี ดTรับการพัฒนาใหTเออื้
ตอU การจดั การเรยี นรTู มรี ะบบสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน ไดTแกU ระบบไฟฟา… ระบบประปา การคมนาคม ภายในสถาน
ศึกษา ระบบการส่ือสารภายใน และ ระบบรักษาความปลอดภยั ไดTรบั การบำรงุ รักษาและพฒั นา อยาU ตUอเนือ่ ง
10. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานีไดTใหTบุคลากร พัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพตามสาขางาน
สาขาวิชาอยUางตUอเนอื่ ง
11. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มีผูTบริหาร มีภาวะผูTนำที่ดี สามารถบริหารจัดการ โดยการใหTมีสUวน
รUวมโดยการใหTมีสUวนรUวมของผูTบริหาร ครูและบุคลากรทุกฝNายในสถานศึกษา ผูTเรียน ชุมชน สถานประกอบการ
หนUวยงานที่เกี่ยวขTองทั้งภาครัฐและเอกชน มีสUวนรUวมในการดำเนินงานอยUางเปZนระบบดำเนินงานเปZนไปตาม
นโยบาย แผนงาน และจัดการงบประมาณไดTทันตามกำหนดเวลา เกิดประโยชนRสูงสุดตUอผูTเรียน มีการตรวจสอบ
การปฏิบัติงานเปZนระยะ มีการรายงานผลทั้งลายลักษณRอักษรและนำเสนอในที่ประชุม มีผลงานเปZนที่ยอมรับทั้งใน
ระดบั ชมุ ชน องคกR ร สถาบนั ประเทศ และระดับชาติ
12. วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาอบุ ลราชธานี มีการสราT งความรUวมมอื กับบคุ คล ชุมชน องคกR รตUางๆ ท้ังใน
ประเทศและตUางประเทศ ในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรูการบริการทาง
วชิ าการและวิชาชพี โดยใชTเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพอ่ื พัฒนาผเTู รียนและคนในชมุ ชนสูสงั คมแหงU การเรียนรูT
13. วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี มกี ารบรกิ ารชุมชนและจติ อาสา ในการพฒั นาการสราT ง
สังคมแหUงการเรยี นรTู
14. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานีสUงเสริมสนับสนุนใหTมีการจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐRงาน
สรTางสรรคR งานวจิ ัย โดยผTบู ริหาร ครบู คุ ลากรทางการศึกษา ผเูT รยี นหรอื รวU มกับบคุ คล ชมุ ชน องคกR รตUางๆ สามารถ
นำไปใชปT ระโยชนไR ดตามวตั ถปุ ระสงคR และเผยแพรสสู าธารณชน
จุดที่ควรพัฒนา
1. ประชาสัมพันธชR UองทางการใหขT Tอมลู ยTอนหลังกลับมายังวทิ ยาลัยมากข้นึ ใหTแกผU ูสT ำเร็จการศึกษา
2. สรTางแรงจูงใจใหผT สTู ำเร็จการศกึ ษา รUวมมือในการตอบแบบตดิ ตามผลผสูT ำเร็จการศึกษาหลัง
สำเร็จการศกึ ษา
3. ควรจดั สรรงบประมาณใหเT ปนZ ไปตามความเหมาะสมเพ่อื เปZนแนวทางในการพฒั นาตอU ไป
4. ควรปรบั แผนใหเT ปZนไปตามระเบยี บทเ่ี หมาะสม เพ่อื เปZนแนวทางในการพัฒนางานในปถ{ ดั ไป
5. การเบิก – จUายงบประมาณเพ่ือการพฒั นาใหเT ออ้ื ตอU การจดั การดำเนนิ งาน
3.1 กลยทุ ธ9ในกาขับเคลอื่ น (Future Skill) ของสถานศกึ ษา
วิทยาลยั การอาชพี วารินชำราบ
1 สUงเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพนักเรียน นกั ศึกษา
1.1 สรTางมาตรฐานและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการวัดผล
ประเมนิ ผล
1.2 สUงเสรมิ การจดั การอาชีวศึกษาทวภิ าคี
1.3 ทดสอบมาตรฐานวชิ าชีพเพอ่ื ผลติ และพัฒนากำลงั คนทุกระดับฝ{มือใหTเปZนเลศิ ทกุ
สาขาวชิ าชีพ
1.4 งานวิจยั และสราT งองคRความรูT ภูมปิ ญ| ญากับการเรียนรูTเทคโนโลยีใหมๆU
1.5 เสริมสรTางคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมมาภิบาลในสถานศึกษา
2 สUงเสริมและพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
2.1 สราT งความเขาT ใจและคUานยิ มในการเรยี นระบบอาชวี ศึกษา
2 2 ขยายโอกาสทางการศึกษาวชิ าชีพและพฒั นาหลกั สูตรวิชาชพี ระยะสั้น
2.3 จัดกองทนุ กูยT ืมเพ่ือการศกึ ษา
2.4 สUงเสริมการสรTางรายไดT ระหวาU งเรียน
2.5 ลดปญ| หาการออกกลางคนั
3 สงU เสรมิ และพัฒนาความสมั พันธRระหวาU งสถานศึกษากับชมุ ชน
3.1 เรUงพัฒนาครู และบคุ ลากร ใหTไดมT าตรฐานมคี วามเปZนเลิศทางวชิ าชีพ
3. 2 สงU เสริมการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ การบรหิ ารจัดการและการใหบT รกิ าร
3.3 สUงเสรมิ งานวจิ ัยพฒั นานโยบายและวิจยั องคRความรูT
4 สUงเสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารงานบุคลากร
4. 1 พัฒนาศนู ยRกำลงั คนอาชีวศึกษา
4.2 สUงเสรมิ ความรวU มมือการผลิตกำลังคนดTานอาชวี ศึกษาใหมT ีคุณภาพตอบสนอง
ภาคอุตสาหกรรม/ พณิชยกรรม ทง้ั ภาครฐั และเอกชน
4. 3 ประสาน สงU เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการอาชีวศึกษาและฝƒกอบรมวชิ าชีพใหT
ชุมชนสถานประกอบการ ภาครฐั /เอกชนและเครือขาU ย
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี
๑. การจดั การศึกษาวิชาชีพ
๑.๑ การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
๑.๒ การพัฒนาผTูเรยี น
๑.๓ การพัฒนาหลกั สูตรและการจัดการเรยี นการสอน
๑.๔ การพฒั นาครู และบคุ ลากร
๒. การวิจัย
๒.๑ การวิจยั และพฒั นาผลงานโครงการทางวชิ าชพี สง่ิ ประดิษฐนR วตั กรรมและ
ผลงานวจิ ัย
๓. การบรกิ ารและสราT งสัมพันธRกบั ชุมชน
๓.๑ การบรกิ ารทางวชิ าการ วิชาชพี แกชU ุมชนและสงั คม
๓.๒ การสราT งเครอื ขUายความรUวมมือในการจดั การศกึ ษา
๔. การทำนบุ ำรงุ ดาT นศลิ ปวัฒนธรรมและสง่ิ แวดลอT ม
๔.๑ การทำนุบำรงุ ดาT นศลิ ปวัฒนธรรม
๔.๒ การอนรุ กั ษRสิ่งแวดลTอม
3.2 การสร,างความเขม, แข็งของระบบความรวR มมอื กับสถานประกอบการ
วทิ ยาลัยการอาชีพวารินชำราบ
วิทยาลยั ไดTทำความรวU มมอื กับสถานประกอบการจำนวน………8………สถานประกอบการ
จดั การเรยี นการสอนในระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) จำนวน 9 สาขาวชิ า และระดับ
ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) จำนวน 8 สาขาวิชา รวม 17 สาขาวชิ า และจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี
จำนวน 17 สาขาวชิ า เปZนระดับปวช. จำนวน 9 สาขาวชิ า และระดบั ปวส. จำนวน 8 สาขาวิชา มีผูเT รยี นในระบบ
ทวิภาคจี ำนวน 923 คน จากจำนวนผTเู รยี นท้งั หมด 10,48 คน ผเTู รยี นที่ศกึ ษาในระบบทวิภาคี คิดเปนZ รอT ยละ
88.07
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี
วทิ ยาลัยไดTทำความรUวมมอื กับสถานประกอบการจำนวน……10…………สถานประกอบการ
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี มสี าขาวชิ าทจี่ ดั การเรยี นการสอนในระบบทวิภาคี จำนวน 10 สาขาวิชา
มีผเูT รยี นทีศ่ ึกษาในระบบทวภิ าคี จำนวน 447 คน และมีผTเู รยี นท่ศี กึ ษาในระบบทวภิ าคีระดับ ปวช.จำนวน 89
คน ระดบั ปวส.จำนวน 358 คน คิดเปนZ รอT ยละ 12.95 จากนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทงั้ หมดของวทิ ยาลยั
3.3 ระบบการบรหิ ารจดั การ สคูR ุณภาพ
วิทยาลยั การอาชพี วารินชำราบ
1. วิทยาลัยการอาชีพวารินชำราบมีระบบ Internet แบบมีสายและไรTสาย โดยจัดสรรทรัพยากรใหT
เหมาะสมกับจำนวนผูTใชTทั้งของผูTบริหาร ครู บุคลากรการศึกษาและนักเรียนนักศึกษา ซึ่งสถานศึกษาไดTมีการนำ
ระบบเครือขUายความเร็วสูง คือระบบ UNINET และระบบ 3BB มีระบบการบริหารจัดการขTอมูลพื้นฐาน 9
ประเภท ทีม่ กี ารปรับปรุงขTอมูลเปZนปจ| จบุ ัน
2. สUงเสริม สนับสนุนใหTแผนกวิชา และงานทุกงาน ไดTจัดทำโครงการพัฒนา ปรับปรุงแผนกวิชาบรรจุไวT
ในแผนปฏิบัติการเปZนประจำทุกป{ และแผนกวิชาทุกแผนกวิชาและงานทุกงาน มีการดาเนินโครงการดTานการ
พัฒนาปรับปรุงหTองเรียน หTองปฏิบัติการ และอาคารสานักงาน ตลอดจนปรับปรุงภูมิทัศนRบริเวณโดยรอบอาคาร
เรยี น โรงฝƒกงาน และอาคารสานักงานอยาU งสวยงาม
3. วิทยาลัยดำเนินการใหTฝNาย งาน และแผนกวิชา มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ครอบคลุมทั่วถึงและ
เพียงพอตUอความตTองการในการใชTงาน และมีโครงการการปรับปรุง บำรุงรักษา ใหTระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานมี
สภาพพรอT มใชTงานและมีความปลอดภยั เปZนประจำทกุ ป{
4. วิทยาลัยมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่สUงเสริม สนับสนุนใหTผูTเรียนไดTศึกษาคTนควTาหาความรTู
เพิ่มเติมจากแหลUงเรียนรูTภายในสถานศึกษา และแหลUงเรียนรูTออนไลนR สUงผลใหTผูTเรียนที่ใชTบริการแหลUงเรียนรTู
และศูนยRวทิ ยบริการ
5. ความเร็วของสัญญาณอินเทอรRเน็ตและครอบคลุมพื้นที่ใชTงานภายในวิทยาลัย ความเร็วของระบบ
อินเทอรRเน็ตความเร็วสูง มี 2 ระบบ 1) UNINET ความเร็ว 1000/1000 mb/s 2) 3BB ความเร็ว 1000 / 1000
mb/s และหมายเลข IP จำนวน 5 หมายเลข
วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอุบลราชธานี
1. วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี มีระบบเครอื ขาU ยอินเทอรRเน็ตความเรว็ สงู สำหรบั บริหารจัดการ
ภายในสถานศกึ ษาครบทกุ ฝาN ยทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยมีการจดั ลำดบั ความสำคัญและความปลอดภยั ในการเขาT ถึง
ขTอมลู ดงั นีค้ ือ
1. โปรแกรม ศธ.02 งานทะเบยี นและงานวัดผลการศกึ ษา
2. โปรแกรมระบบงานพสั ดุ
3. โปรแกรมระบบเงนิ เดือนสวU นราชการ
4. โปรแกรมระบบพมิ พใR บเสรจ็
5. โปรแกรมระบบสารสนเทศหTองสมุด
6. การแบUงระดับการเขาT ถึงขTอมูลอนิ เตอรเR น็ตของระบบพสิ ูจนตR วั ตน Au then Gateway log
System
7. ระบบสารสนเทศงานแผนและงบประมาณ
2. วิทยาลัยอุบลราชธานี มีหTองเรยี น หTองปฏบิ ตั ิการหรือโรงฝƒกงานที่ไดรT บั การ พัฒนาใหTเอื้อตUอการจดั การ
เรยี นรTูดงั นี้
1. อาคารเรยี น 11 หลงั
2. อาคารปฏิบัติการ 1 หลัง
3. หTองเรยี น หอT งปฏบิ ัตกิ ารทใี่ ชใT นการจัดการเรยี นการสอน 95 หอT ง
4. หอT งเรยี น หอT งปฏบิ ัติการทม่ี ีระบบอินเตอรเR น็ตความเรว็ สงู ในการจดั การเรียนการสอน 95
หอT ง
5. หอT งเรียน หTองปฏิบตั ิการท่ีไดรT ับการพฒั นาใหเT อ้อื ตUอการจัดการเรยี นรTู 95 หอT ง
3. วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี มรี ะบบสาธารณปู โภคพ้ืนฐาน ไดแT กรU ะบบไฟฟ…า ระบบประปา การ
คมนาคมภายในสถานศกึ ษา ระบบการสือ่ สารภายใน และ ระบบรกั ษาความปลอดภัยไดรT ับการบำรงุ รกั ษาและ
พัฒนาอยาU งตUอเนื่อง
4. วิทยาลยั อาชวี ศึกษาอุบลราชธานี มีความเร็วของสัญญาณอินเทอรRเน็ตและครอบคลมุ พ้นื ทใ่ี ชTงาน และ
สถานศึกษา 1024 Mbps
3.4. การขบั เคลือ่ นระบบงานวชิ าการ
วิทยาลยั การอาชพี วารนิ ชำราบ
วิทยาลัยฯ มีการจัดทำหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขา หรือวิรายวิชาใหTสอดคลTองกับความตTองการของสถาน
ประกอบการ ชุมชน สังคม โดยไดTรับความรUวมมือในการพัฒนาหลักสูตรกับสถานประกอบการในรูปแบบทวิภาคี
จัดทำโครงการสรTางความรUวมมือและแลกเปลี่ยนขTอมูลระหวUางสถานศึกษากับสถานประกอบการ หนUวยงาน ทุก
สาขาวิชาไดTพัฒนาหลักสูตรฐานมรรถนะใหTเปZนไปตามความตTองการของสถานประกอบการ ตลาดแรงงาน ตาม
ความตTองการของผTเู รียน และสถานประกอบการยงั ใหคT วามรวU มมอื ในการพฒั นาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
ครูผูTสอนจัดทำแผนการเรียนรูTสูUการปฏิบัติที่มีคุณภาพ ใชTในการจัดการเรียนการสอนใหTกับนักเรียน นักศึกษา ใหTมี
ความรูT มีทักษะในสาขาวิชาที่เรียน จัดทำแผนการจัดการเรียนรูTสูUการปฏิบัติที่เนTนผูTเรียนเปZนสำคัญและนำไปใชT
การจัดการเรียนการสอน ไดTเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด นักเรียน นักศึกษา ผูTปกครอง สถานประกอบการทั้ง
ภาครัฐและเอกชนใหTการยอมรับตUอคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ซึ่งสถานประกอบการใหTการ
ยอมรับ รับนักเรียน นักศึกษาเขTาฝƒกประสบการณRวิชาชีพและรับเขTาทำงานหลังจากจบการศึกษา และนักเรียนที่
จบระดบั ปวช. ไดเT ขTาศกึ ษาตอU ในระดบั ปวส.
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี
วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี มี 4 ประเภทวิชา ที่จัดการเรียนการสอนมีการพัฒนา ใหTเปZนหลักสูตรฐาน
สมรรถนะอยUางเปZนระบบ มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชาหรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ
กำหนดรายวิชาเพิ่มเติม จัดทำแผนการจัดการเรียนรูTสูUการปฏิบัติที่เนTนผูTเรียนเปZนสำคัญและนำไปใชTใน การจัดการ
เรียนการสอน ใชTสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลUงการเรียนรูTในการจัดการเรียนการสอน มีจำนวน
หTองเรียน 95 หTองหTองปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอรRเน็ตความเร็วสูง จำนวน 95 หTองในการจัดการเรียนการสอน
และครูผูTสอนไดTวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพจัดการเรียนรูTและแกTป|ญหาการจัดการเรียนรูT ครูผูTสอนใชTเทคนิควิธีการ
บริหารจัดการชั้นเรียนใหTมี บรรยากาศที่เอื้อตUอการเรียนรูTใชTวิธีการเสริมแรงใหTผูTเรียนมีความมุUงมั่นตั้งใจ ในการ
เรยี น และดแู ลชวU ยเหลือผTูเรียนรายบุคคลดTานการเรียน และดTานอื่นๆ
สรปุ ผลและขอ, เสนอแนะ
จากการฝƒกประสบการณRในสถานศึกษาตTนแบบ แหUงที่ ๑ วิทยาลัยการอาชีพวารินชำราบ ระหวUางวันท่ี
๒๕ - ๒๙ เมษายน ๒๕๖๕ และแหUงที่ ๒ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ระหวUางวันที่ ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
ขอสรุปภาพรวมเกี่ยวกับความรูTและประสบการณRที่ไดTรับจากการฝƒกประสบการณR ขTอเสนอแนะและนำเสนอ
โครงการพฒั นาสถานศกึ ษาฝNายใดฝNายหนงึ่ จำนวน ๑ โครงการ ดังน้ี
บทสรปุ ท่ไี ดจ, ากการฝnกประสบการณ9ในสถานศึกษาตน, แบบ
จากการเขTารับการฝƒกประสบการณRในสถานศึกษาตTนแบบทั้ง ๒ แหUง ซึ่งผูTฝƒกประสบการณRไดTศึกษา
ขTอมูล และศึกษาบริบทตUางๆ ของสถานศึกษา และการไดTรับคำแนะนำ ขTอชี้แนะ การถUายทอดประสบการณRใน
การบริหารสถานศึกษา จากผูTอำนวยการ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรูT แนวทางในการดำเนินงานจากรอง
ผูTอำนวยการ ทั้ง ๔ ฝNาย และหัวหนTางาน ผูTเกี่ยวขTอง สามารถสรุปประเด็นความรูTและประสบการณRที่ไดTรับเพื่อ
นำไปใชใT นการบริหารจัดการสถานศึกษา ดังตUอไปน้ี
๑. ผูTบริหารสถานศึกษาตTองมีความรูT ความสามารถดTานศาสตรRการบริหารการศึกษาโดยการศึกษา
คTนควTาหาความรTูดTานการบริหารสถานศกึ ษาดวT ยตนเองอยตUู ลอดเวลา
๒. เปZนนักประสานงานที่ดี คือ ประสานคน ประสานใจ ประสานงาน (๓ ประสาน) ทั้งในสถานศึกษา
และนอกสถานศึกษา ซึ่งไดTแกU ผูTอำนวยการ ครู บุคลากร ชุมชน องคRกรทTองถิ่น และสถานประกอบการ เพื่อสรTาง
เครอื ขUายความรUวมมอื ตาU งๆ ในการพัฒนาสถานศกึ ษา
๓. สรTางระบบการทำงานเปZนทีม ดTวยการใหTเกียรติกับผูTใตTบังคับบัญชา และเปZนการสรTางขวัญ
และกำลงั ใจ เพื่อการบรหิ ารงานแบบมสี วU นรวU ม โดยเป†ดโอกาสใหทT ุกคนมีสวU นรวU มคดิ รUวมทำรUวมรับผิดชอบ
๔. สรTางขวัญและกำลังใจ ใหTกับผูTใตTบังคับบัญชา เพื่อสรTางความสามัคคีในองคRกรจนกลายเปZน
วฒั นธรรมองคRกร
๕. พัฒนาหลักสูตร ใหTสอดคลTองกับความตTองการของสถานประกอบการ ดTวยรูปแบบการจัดการ
เรยี นการสอนใหมๆU หรือสรTางหลักสตู ร สำหรับสาขาวชิ าใหมUๆ ท่ีสอดคลอT งกบั ความตอT งการของตลาดแรงงานหรอื
สถานประกอบการ และสอดคลTองกบั การพฒั นาประเทศสมูU ิติชวี ิตวิถอี นาคต (Next Normal)
๖. พัฒนาศักยภาพครูผูTสอนทั้งดTานวิชาการและวิชาชีพ โดยสUงครูเขTาฝƒกประสบการณRในสถาน
ประกอบการ เพอ่ื แลกเปลยี่ นเรียนรูTและพัฒนาครใู หรT ูTเทาU ทันเทคโนโลยีดจิ ิทลั
๗. เปZนคนมองโลกในแงUดี คิดบวก มีความอดทนอดกลั้นมุมานะในการทำงาน และมีความสุขกับการ
ดำเนินชวี ติ
๘. บริหารสถานศึกษาโดยปฏิบัติตาม ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวขTอง โดยใหTมีความยืดหยุUน มีการ
ประนีประนอม
๙. การบริหารงานใดใดเปZนไปในรูปแบบคณะกรรมการ ใชTหลักการมีสUวนรUวม บุคลากรทุกคนตTอง
รบั รูTรบั ทราบ
๑๐. ปฏิบัติตนเปZนแบบอยUางที่ดี แกUครู บุคลากร นักเรียน นักศึกษา เชUน การตรงตUอเวลา ความ
เสยี สละ การแตงU กายเปนZ ระเบียบ ตามแนวปฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา
๑๑. มีทักษะในการมองคนและเลือกคนมาทำงาน และใชTคนเกUงใหTทำงานไดT ดูคนออก
บอกคนไดT ใชคT นเปนZ
๑๒. เปZนนักแกTป|ญหา ไมUเดินหนีป|ญหาใหTลูกนTองตTองเผชิญป|ญหาเพียงลำพัง อยูUเคียงขTางและ
ปฏบิ ัตงิ านจนบรรลเุ ปา… หมาย
๑๓. เปZนนกั ประชาสัมพันธR สรTางภาพลกั ษณRท่ดี แี กUสถานศึกษารวมทั้งมเี ครอื ขาU ยท่ดี ใี นการทำงาน
๑๔. ผูบT ริหารตTองมีทกั ษะการพดู โนTมนTาวใหผT ูTฟง| คลอT ยตาม
๑๕. มีการนิเทศติดตามการปฏิบัติงานเปZนระยะ เพื่อการดำเนินการใหTบรรลุเป…าหมาย และเพื่อการ
พัฒนาตUอไป
ขอ, เสนอแนะและนำเสนอโครงการพัฒนาสถานศึกษา
ข,อเสนอแนะจากการฝกn ประสบการณ9
จากการฝƒกประสบการณRในสถานศึกษาตTนแบบทั้ง ๒ แหUง ผูTฝƒกประสบการณRขอนำเสนอ
ขTอเสนอแนะเพื่อนำไปสูUการปฏิบัติงานใหTประสบความสำเร็จในตำแหนUงรองผูTอำนวยการสถานศึกษา
ตามแนวคิดและทศั นะของผูฝT ƒกประสบการณR ดงั น้ี
รองผูTอำนวยการสถานศึกษา ตTองสรTางความรัก ความศรัทธา ใหTเกิดขึ้นกับผูTบริหาร ครู และบุคลากร
ทุกฝNายในสถานศึกษา ดTวยการแสดงออกถึงความจริงใจในการพัฒนาสถานศึกษาทุกดTาน ดTวยความมุUงมั่นตั้งใจ
ทุUมเท และเสียสละในการปฏิบัติงาน เมื่อทุกคนเกิดความรักและศรัทธาในตัวของผูTบริหารสถานศึกษาแลTว การ
ประสานความรUวมมือกับบุคลากรทุกฝNายใหTเขTามามีสUวนรUวมในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาก็จะประสบ
ความสำเร็จตามไปดTวย การสรTางความรักและความศรัทธาในตัวผูTบริหารสถานศึกษาจึงเปZนจุดเริ่มตTนของการ
พัฒนาในรูปแบบอื่น เชUน ความรักและสามัคคีของคนในองคRกร การชUวยเหลือแบUงป|น มนุษยสัมพันธR และการ
ทำงานเปนZ ทีม เปนZ ตนT
การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงคRของรองผูTอำนวยการสถานศึกษา จึงตTองเริ่มจากการสรTางความ
รักความศรัทธาใหTเกิดขึน้ กับผูTท่มี ีสUวนเก่ียวขอT งทกุ คนท้งั ในและนอกองคกR รดวT ยความจรงิ ใจ การบริหารสถานศกึ ษา
จึงจะประสบความสำเรจ็ ตามสงิ่ ที่มUงุ หวังทุกประการ
สถานศึกษาควรสUงเสริมใหTครูจัดการเรียนการสอนแบบ (Active Learning) เปZนกระบวนการเรียน
การสอนที่เนTนผูTเรียนมีสUวนรUวมและมีปฎิสัมพันธRกับกิจกรรมการเรียนรูTผUานการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เชUน
การวิเคราะหR การสังเคราะหR การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการหากรณีศึกษา เปZนตTน การ
เรียนการสอนแบบ PBL เรียนเปZนชิ้นงาน เปZนโครงการใหTผูTเรียนไดTคิดแกTป|ญหา นำไปสูUการพัฒนาเปZนนวัตกรรม
สิ่งประดษิ ฐR
ขอ, เสนอแนะเพอื่ การพัฒนาสถานศกึ ษา
จากการฝƒกประสบการณRในสถานศึกษาตTนแบบทั้ง ๒ แหUง ผูTพัฒนาไดTรับความรูTและประสบการณR
ในการบริหารสถานศึกษามากมาย เปZนประโยชนRในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตไดTเปZน อยUางดี แตUอยUางไรก็
ตาม สถานศึกษาตTนแบบที่ฝƒกประสบการทั้งสองสถานศึกษานั้น ยUอมมีขTอจำกัด และมีป|ญหาในการบริหารจัดการ
ในบางเรื่อง จากการสังเกตผลงานดีเดUนดTานสิ่งประดิษฐRของคนรุUนใหมU ซึ่งเปZนการคิดและสรTางนวัตกรรมของ
นักเรียน นักศึกษา ผูTพัฒนาเล็งเห็นวUา การบูรณาการการจัดการเรียนการสอนที่เนTนผูTเรียนเปZนสำคัญ โดยใชT
กระบวนการการจัดการเรียนการสอนแบบ (Active Learning) เปZนกระบวนการเรียนการสอนที่เนTนผูTเรียนมีสUวน
รUวมและมีปฎิสัมพันธRกับกิจกรรมการเรียนรูTผUานการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เชUน การวิเคราะหR การสังเคราะหR
การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการหากรณีศึกษา และผสมผสานกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนแบบใชTโครงงานเปZนฐาน (Project Based Learning) เปZนการใชTกระบวนการคิดขั้นสูง ชUวยใหTผูTเรียนไดTผลิต
งานที่เปZนรูปธรรมออกมา ทำใหTผูTเรียนสามารถชUวยดึง ศักยภาพตUาง ๆ ที่มีอยูUในตัวของผูTเรียนออกมาใชTประโยชนR
ตามความถนัดและความสามารถของตนเอง ดังนั้น การจัดการเรียนรูTแบบที่หลากหลาย ผสมผสานกับการเรียนรูT
ในโลกดิจิทัล ใชTโครงงานเปZนฐาน (Project Based Learning) ก็เปZนอีกหนึ่งรูปแบบวิธีสอนที่จะนำผูTเรียนเขTาสUู
การแกTป|ญหาที่ทTาทายและสรTางชิ้นงานไดTสำเร็จดTวยตนเอง เปZนแนวทางในการพัฒนาผลงานดTานสิ่งประดิษฐR และ
สรรคRสรTางนวัตกรรมเพื่อกTาวเขTาสูUยุคชีวิตวิถีอนาคต (Next Normal) จึงไดTเสนอโครงการการพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนท่ีเนนT ผTูเรียนเปนZ สำคัญ เพื่อเปZนพัฒนาสถานศกึ ษาตUอไป
ภาคผนวก
นางสาวสจุ ีรา วิชาชาติ
กลุ่มท่ี 17 เลขที่ 8
เวลา09.00น. รายงานตวั เขา้ รับการปฐมนิเทศ
จาก นางสวุ นิจ สรุ ยิ พันตรี ผู้อานวยการวทิ ยาลัยการอาชพี วารนิ ชาราบ
พร้อมคณะผู้บริหารทั้ง 4 ฝ่าย ได้แก่
1.นางพศิ มัย นิตศิ กั ด์ิ รองผู้อานวยการ ฝา่ ยบริหารทรพั ยากร
2 นางช่ืนจติ เดชโยธิน รองผู้อานวยการฝา่ นแผนงานและความร่วมมือ
3นายธนกร ออ่ นละมัย รองผ้อู านวยการฝ่ายพฒั นากจิ การนกั เรียนนักศึกษา
และ นางธนั ยพร บญุ เย็น ครูชานาญการพเิ ศษ ตัวแทนฝา่ ยวชิ าการ
นางสาวสุจรี า วชิ าชาติ
กลุ่มที่ 17 เลขที่ 8
วนั ที่ 25 เมษายน 2565
ผู้อานวยการวิทยาลัยการอาชพี วารนิ ชาราบ นางสวุ นจิ สุริยพนั ตรี
พรอ้ มทีมบรหิ าร นางพิศมัย นิตศิ ักดิ์ รองผอู้ านวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร
และ รองผู้อานวยการฝกึ ประสบการณ์ เยี่ยมคา่ ยลกู เสอื
โครงการฝกึ อบรมบคุ ลกรทางการลูกเสอื หลกั สูตร ผู้กากับลกู เสือ ขั้นความรทู้ ว่ั ไป (G.I.C)
และผู้กากบั ลกู เสอื วสิ ามญั ข้ันความรู้เบื้องตน้ (R.B.T.C.)
ณ ค่ายลูกเสอื วิทยาลัยเทคนิคเดชอดุ ม
นางสาวสุจีรา วิชาชาติ
กลมุ่ ที่ 17 เลขที่ 8
วันท่ี 25 เมษายน 2565 นางพิศมยั นิติศกั ดิ์ รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
ใหค้ วามรู้และคาแนะนาเก่ยี วกับข้อมลู งานการเงิน งานบัญชี
นางสาวสุจีรา วิชาชาติ
กลมุ่ ที่ 17 เลขที่ 8
วันท่ี 25 เมษายน 2565 นางพิศมยั นิติศกั ดิ์ รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
ใหค้ วามรู้และคาแนะนาเก่ยี วกับข้อมลู งานการเงิน งานบัญชี
นางสาวสุจรี า วชิ าชาติ
กลุ่มท่ี 17 เลขที่ 8
วันที่ 25 เมษายน 2565 ท่าน ผอ. นิยม แสงวงศ์
เข้านิเทศ นางสาวสจุ รี า วชิ าชาติ รองฝึกประสบการณ์
นางสาวสุจรี า วชิ าชาติ
กลุ่มที่ 17 เลขท่ี 8
วนั ท่ี 26 เมษายน 2565 ท่านผอ. สวุ นจิ สรุ ิยพนั ตรี และ
ท่าน รองผอ. พศิ มัย นิติศักดิ์ และ นางสาวสจุ รี า วชิ าชาติ รองฝกึ ประสบการณ์
เขา้ ศึกษาดูงาน ณ เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4
นางสาวสุจีรา วชิ าชาติ
กลมุ่ ที่ 17 เลขที่ 8
วันที่ 27 เมษายน 2565 นางธันยพร บุญเย็น ครูชานาญการพิเศษ
ตัวแทนฝ่ายวชิ าการ ใหค้ วามรแู้ ละคาแนะนาเกีย่ วกบั งานดา้ น
วิชาการหลกั สตู รการเรียนการสอนและไปนิเทศนักศกึ ษา
ณ ห้างหุ้นส่วนจากัดบา้ นและท่ีดนิ รวมสนิ ไทย
นางสาวสจุ ีรา วิชาชาติ
กลุ่มที่ 17 เลขท่ี 8
วนั ท่ี 28 เมษายน 2565 นางชื่นจิต เดชโยธิน
รองผอู้ านวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมอื
นิเนศการฝึกประสบการณ์ ใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมอื
นางสาวสุจรี า วิชาชาติ
กลมุ่ ที่ 17 เลขท่ี 8
วันที่ 29 เมษายน 2565
ผู้อานวยการวทิ ยาลยั การอาชพี วารินชาราบ นางสุวนจิ สุรยิ พันตรี
พรอ้ มทา่ นรองฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร นางพศิ มัย นิตศิ ักด์ิ
รองฝา่ ยพัฒนานักเรยี นนักศกึ ษา นายธนกร อ่อนละมยั
รองฝกึ ปะสบการณ์ นางสาวสุจีรา วชิ าชาติ และ นายธฤบดี ออ่ นออ้ ม
เข้าพบ นายปรีชา อุ่นอดุ ม นายอาเภอสาโรง จงั หวดั อุบลราชธานี
นางสาวสจุ ีรา วิชาชาติ
กล่มุ ที่ 17 เลขท่ี 8
วนั ท่ี 29 เมษายน 2565
นายธนกร ออ่ นละมยั รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนานกั เรยี นนักศึกษา
นิเทศการฝกึ ประสบการให้ความรคู้ าแนะนา เก่ียวกับการด้าน
การพัฒนานักเรยี นนกั ศึกษา
นางสาวสจุ รี า วชิ าชาติ
กลุม่ ท่ี 17 เลขท่ี 8
ขอขอบคณุ ท่านผ้อู านวยการและท่านรองผอู้ านวยการทกุ ฝา่ ย
ท่ใี ห้คาแนะนาการฝึกประสบการณ์คร้งั น้ี