The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 21khanitta, 2021-03-30 12:04:16

งานแผนปฏิบัติการ 2563

ส่วนที่ ๕

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ

๔๘


ชื่อโครงการ ครูมือทอง
ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีศักยภาพใน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
แผนงาน งานบริหารบุคคล
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นการพิจารณาที่ 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

ผู้รับผิดชอบ นางพเยาว์ เหมือนหมาย, นางขนิษฐา จันทรและนางสุจิตา รัดพัด
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารบุคคล
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลาด าเนินการ 1 กรกฎาคม - 9 เมษายน 25๖4
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. หลักการและเหตุผล

ครูมือทอง หมายถึง ครูที่พฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพอให้เกิดการพฒนาเพอน าไปสู่การพฒนา
ื่
ื่


คุณภาพผู้เรียนอย่างมีประสิทธิผล ผ่านการพฒนาตนเองของครูในด้านที่ตนเองสนใจ การศึกษาดูงานโดย

ส่งเสริมขวัญก าลังใจให้เกิดแรงบันดาลใจในการมุ่งผลผลิตบนพื้นฐานแห่งจรรยาบรรณของครู

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกิดการพัฒนาสู่ “ครูมือทอง”

2.2 เพื่อกระตุ้นให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดแนวคิดในการพัฒนาจากการศกษาดูงาน
2.3 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีขวัญก าลังใจในการปฏิบัติงาน
2.4 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตนอยู่ในพนฐานจรรยาบรรณของครู
ื้
3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ


1) ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดการกระตุ้นในการพฒนาตนเอง ร้อยละ 85
2) ครูและบุคลากรทางการศกษามีขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติตน ร้อยละ ๘๕

3) ครุและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตนอยู่ในพื้นฐานจรรยาบรรณของครู ร้อยละ ๑๐๐

๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
. ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกิดแนวคิดในการพัฒนาตนเองจากการศกษาดูงาน การ

ปฏิบัติงานบนพื้นฐานจรรยาบรรณของครูให้เกิดประสิทธิผลในการจัดการศึกษา
๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ

ตัวชี้วัด งบประมาณ
เป้าหมาย
ระยะเวลา
ที่ กิจกรรม ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ ผู้รับผิด
ชอบ



ด าเนนการ
๑ ขั้นวางแผน (Plan) คณะครุและ พฤษภาคม-
1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ บุคลากร - เมษายน นางพเยาว์
เหมือนหมาย
งบประมาณ ทางการศึกษา ๒๕๖๓
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ

๔๙




ตัวชี้วัด งบประมาณ
ที่ กิจกรรม ความส าเร็จ เป้าหมาย ที่ใช้ ระยะเวลา ผู้รับผิด



ที่ด าเนนการ ด าเนนการ ด าเนนการ ชอบ
๓. ประชุมและวางแผน
ด าเนินการ

๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)
4.ด าเนินกิจกรรม ดังนี้ ครูและ ครูและ 15,500 ตลอดปี นางพเยาว์
เหมือนหมาย
1) กิจกรรมพัฒนา บุคลากร บุคลากร การศึกษา
บุคลากร ทางการ ทางการศึกษา 256๓

- การพัฒนาตนเองของครู ศึกษา
และบุคลากรทางการศกษา

- การศึกษาดูงานของครู


และบุคลากรทางการศกษา
- กิจกรรมสร้างขวัญและ
ก าลังใจ
- กิจกรรมส่งเสริมประพฤติ

ระเบียบวินัยคุณธรรมและ
จริยธรรม
๓ ขั้นติดตาม (Check)
ติดตามและประเมินผล



4 ขั้นสรุปและรายงานผล รายงาน ทุกกิจกรรม - กันยายน
การประเมิน (Action) โครงการ ๒๕๖๓

สรุปรายงานผลโครงการ


5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทอง

6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
7. งบประมาณ ใช้งบประมาณ จ านวน 15,500 บาท (หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน )

๕๐




รายละเอียดการใช้งบประมาณ


ประเภทรายจ่าย
ราคา/
กิจกรรม ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน หมายเหตุ
หน่วยละ
แทน เชื้อเพลิง
กิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร 5,000

ทางการศึกษา พัฒนาตนเองโดย
เข้ารับการอบรมสัมมนากิจกรรม
ทางวิชาการ
2.ส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพชุมชน

แห่งการเรียนรู้
รวม 5,000
กิจกรรมที่ ๒ การศึกษาดูงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา

-พาครูไปศึกษาดูงานโรงเรียน 10,000
ต้นแบบ โรงเรียนแกนน าในด้าน
ต่างๆ อย่างน้อย 2 โรงเรียน /
ปี

รวม 10,000




8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. ครูและบุคลากรทางการ ส ารวจ แบบส ารวจ

ศึกษาทุกคนได้รับการประชุม
อบรมสัมมนาและศึกษาดูงาน

อย่างน้อยคนละ 20 ชั่วโมง/ปี

2. ครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้

ความสามารถที่ตนสนใจ
ร้อยละ 85




๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ


ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาตนตามความสนใจ มีขวัญและกาลังใจในการ
ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นฐานจรรยาบรรณของครู

๕๑ 2





ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ

( นางพเยาว์ เหมือนหมาย)
ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง

ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ

( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

๕๒


ชื่อโครงการ ขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาสู่หลักชัย
ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ ๒ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้สูงขึ้น โดยครู

จัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพ
แผนงาน งานวิชาการ
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

ประเด็นการพิจารณาที่ ข้อที่ 1 ,2 ,4,5
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นการพิจารณาที่ 2.3

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1 ,3.2
ผู้รับผิดชอบ นางสาวพิชญาภา อินทร์สิงห์, นางสาวสุวิมล วัดเกลี้ยวพงษ์
และนางสมจิตต์ นิมิตธรรมโสภณ
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารวิชาการ

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. หลักการและเหตุผล

ื่
โรงเรียนบ้านสมอทอง ยึดมั่นพฒนาการการจัดการเรียนการสอนเพอให้นักเรียนมีทักษะในการหา
ความรู้ รักการเรียนรู้ รักการอ่าน ให้ห้องสมุดเรือนไทยสมอทองเป็นแหล่งเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนโดยยึด
นักเรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เขียน เพอให้นักเรียนมีทักษะที่
ื่
จ าเป็นในชีวิตประจ าวัน และสนองทักษะจ าเป็นในหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในด้าน

ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายใต้การเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต สร้างสังคมแห่งการ
เรียนรู้ ซึ่งเป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านสมอทอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการเพม
ิ่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างต่อเนื่อง โครงการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาสู่หลักชัย จึงเกิดขึ้น


2. วัตถุประสงค์

1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องในจัดการศกษา

2. เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนตามเป้าหมายของสถานศกษา
3. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมห้องสมุดเรือนไทยสมอทองเป็นแหล่งเรียนรู้
4. เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
5. เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถ อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน

3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาในการจัดการศึกษาเพื่อพฒนานักเรียนร้อยละ ๘๕

๒. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

๕๓




๓. ร้อยละ ๘๕ ของนักเรียนใช้ห้องสมุดเรือนไทยสมอทองเป็นแหล่งเรียนรู้
๔. นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารร้อยละ ๘๕

๕. นักเรียนมีความสามารถ อ่านคิด วิเคราะห์ เขียน
๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
โรงเรียนบ้านสมอทองมีหลักสูตรสถานศึกษา ในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนานักเรียนให้มี
ความสามารถ อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมี

ความสามารถใช้เทคโนโลยีในสารสนเทศในการสื่อสาร

๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ


ที่ กิจกรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิด


ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ ชอบ

ด าเนนการ
๑ ขั้นวางแผน (Plan)
1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ คณะครูและ - พฤษภาคม- นางสาว
พิชญาภา
งบประมาณ บุคลากร มิถุนายน อินทร์สิงห์

2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ทางการศึกษา ๒๕๖๓ และคณะ
3.ประชุมและวางแผน
ด าเนินการ
๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)

4.ด าเนินกิจกรรม ดังนี้ คณะครูและ 65,000 ตลอดปี คณะครู
และ
-พัฒนาหลักสูตร บุคลากร การศึกษา บุคลากร
-เพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา 256๓ ทางการ
-ส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุด ศึกษา

-พัฒนาการเรียนการสอน
คอมพิวเตอร์
-พัฒนาศักยภาพนักเรียน

-ส่งเสริมกิจกรรมคิด
วิเคราะห์ เขียน
๓ ขั้นนิเทศ ติดตาม
(Check) ผู้อ านวยก

5.ติดตามและประเมินผล ตลอดปี ารโรงเรียน
การศึกษา , รอง
256๓ ผู้อ านวยก
ารโรงเรียน


4 ขั้นสรุปและรายงานผล -
การประเมิน (Action) รายงาน ทุกกิจกรรม มีนาคม 256 นางสาว
พิชญาภา
1. สรุปรายงานผล โครงการ ๔ อินทร์สิงห์
โครงการ และคณะ

๕๔





5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทอง

6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔
7. งบประมาณ ใช้งบประมาณจาก งบประมาณอุดหนุนรายหัว เป็นเงินทั้งสิ้น 65,000 บาท
(หกหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

รายละเอียดการใช้งบประมาณ

กิจกรรม ราคา/ ประเภทรายจ่าย หมายเหตุ
หน่วยละ ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน
แทน เชื้อเพลิง

กิจกรรมที่ ๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
1.ประชุมวางแผน 10,000
- ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร
แกนกลางและหลักสูตร

สถานศึกษา
- ศึกษาสภาพปัจจุบัน
ปัญหา ส ารวจความต้องการของ
ชุมชนและนักเรียน

- ส ารวจข้อมูลแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีในท้องถิ่น
- สรุปผลการศึกษา /

ส ารวจข้อมูล
2. ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
ท้องถิ่น

- ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา
3. น าหลักสูตรไปใช้
4. ประเมินผลการใช้หลักสูตรฯ

รวม 10,000
กิจกรรมที่ 2 ยกระดับผลสัมฤทธิ์

11. แจ้งปฏิทินการนิเทศ/อบรม 20,000
2. ด าเนินการนิเทศ
- การนิเทศการจัด
ห้องเรียน
- การสังเกตการสอน

- การตรวจเยี่ยมห้อง

๕๕





- การให้ค าปรึกษาหารือ
๓.เตรียมความพร้อมอย่าง

เข้มข้นในการสอบ O-net, NT
รวม 20,000

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุดเรือนไทยสมอทอง
1. แข่งขันตอบปัญหาความรู้ที่ 20,000
ได้จากการอ่านหนังสือใน

ห้องสมุด
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
2. แข่งขันตอบปัญหา
สารานุกรมไทยภาคเรียนละ

2 ครั้ง
3. ประกวดยอดนักอ่าน
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง

4. ประกวดการเขียนเรียงความ
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
สรุปผลและรายงานผลการจัด
กิจกรรม

รวม 20,000
กิจกรรมที่ 4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. จัดสร้างสื่อและนวัตกรรม 10,000

เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน
2. การให้บริการเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ
- การให้บริการห้อง
คอมพิวเตอร์

- การให้บริการอินเตอร์เน็ต
- การให้บริการห้องสมุด
3. สรุป ประเมินผล รายงานผล

รวม 10,000
กิจกรรมที่ ๕ ส่งเสริมการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน
1. วางแผนการจัดกิจกรรม 5,000
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดย

ก าหนดให้นักเรียนทุกคนเข้าร่วม
กิจกรรม
2. ก าหนดกิจกรรมพัฒนา

คุณภาพผู้เรียน โดยความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการ

46
๕๖




สถานศึกษาและคณะกรรมการ
ภาคี 4 ฝ่าย

3. ด าเนินกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
- กิจกรรมบูรณาการวิชาการ
- ค่ายพักแรมลูกเสือ

- ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
-วันคริสมาสต์
4. ก ากับ ติดตาม ตรวจสอบ

5. ประเมินผลกิจกรรม
6.รายงานผลการด าเนินการ
กิจกรรม

รวม 5,000

49
๕๗




8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ


ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1.โรงเรียนมีหลักสูตร 1.ส ารวจ 1.แบบส ารวจ
สถานศึกษาในการจัดการศึกษา 2.ประเมิน 2.แบบประเมิน

2. นักเรียน ร้อยละ 80 มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2 ทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้

3. นักเรียนร้อยละ 85ใช้
ห้องสมุดเรือนไทยบ้านสมอทอง
เป็นแหล่งเรียนรู้

4. นักเรียนร้อยละ 85 มี
ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
5. นักเรียนร้อยละ 85 มี

ความสามารถ อ่าน คิด วิเคราะห์
เขียน


๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

โรงเรียนบ้านสมอทองมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ใช้จัดการศกษาและมีห้องสมุดเรือนไทยสมอทองเป็น

แหล่งเรียนรู้ นักเรียนสามารถอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้
อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น



ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสาวพิชญาภา อินทร์สิงห์)

ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง



ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

5๘



ชื่อโครงการ เอื้ออารี ปลูกส านึกดี แทนคุณแผ่นดินในถิ่นสมอทอง


ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 3 พฒนาคุณลักษณะของนักเรียนให้มีคุณธรรมและ
จริยธรรม
แผนงาน งานบริหารทั่วไป
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ข้อที่ 1,2,3
ผู้รับผิดชอบ นางสมควร เผ่าชวด, นางสาวพัชนี แจ้งถิ่นป่าและนางด าเนิน กาหล
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
1. หลักการและเหตุผล

แผ่นดินไทยมีความเป็นมาที่ยาวนาน ภายใต้การปกครองในระบอบต่างๆ จนถึงปัจจุบัน ผืนแผ่นดิน

ไทยให้ความร่มเย็นแก่ทกชนชาติ พวกเราเป็นคนไทย ทุกคนรักหวงแหนแผ่นดินไทยมาก แต่รักอย่างเดียวไม่
พอ พวกเราต้องตอบแทนคุณแผ่นดินด้วย จึงจะได้ชื่อว่า คนดี ขอให้ท าหน้าที่ของตนเองให้ดี คิดดี ท าดี มี

ส านึกดี กได้ชื่อว่าแทนคุณแผ่นดิน โครงการเอื้ออารี ปลูกส านึกดี แทนคุณแผ่นดินในถิ่นสมอทอง จึงเกิดขึ้น
เพื่อท าสิ่งดีๆ ท าสิ่งใหม่ๆ พัฒนา บวร ท้องถิ่นสมอทอง ให้พัฒนา ผ่านผลผลิตของชาติในอนาคต เพื่อ

ทดแทนคุณแผ่นดิน


2. วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักเรียนได้รับการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้มีคุณธรรมด้านการไหว้ การออม เข้า
ร่วมกิจกรรมวันส าคัญต่างๆ และปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตย มีความเป็นพลเมืองดี ร้องเพลงชาติไทยได้
ถูกต้อง


3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ

นักเรียนร้อยละ ๘๕ ได้รับการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้มีคุณธรรม จริยธรรม
๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคณธรรม จริยธรรม


5๙




๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ
ที่ กิจกรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิด


ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ ชอบ
ด าเนนการ


๑ ขั้นวางแผน (Plan)
1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ คณะครูและ - พฤษภาคม- นางสมควร
งบประมาณ บุคลากร มิถุนายน
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ทางการศึกษา ๒๕๖๓ เผ่าชวด

3.ประชุมและวางแผน
ด าเนินการ
๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)

4. ด าเนินกิจกรรม ดังนี้ คณะครูและ ๓๕,๐๐๐ พฤษภาคม คณะครู
- กิจกรรมการออม บุคลากร ๒๕๖๓ – และ
- กิจกรรมวันส าคัญ ทางการศึกษา มีนาคม 256 นักเรียน
- กิจกรรมร้องเพลงชาติให้ ๔

ถูกต้อง
- กิจกรรมน้องไหว้พ ี่
- กิจกรรมโรงเรียนสีขาว

๓ ขั้นนิเทศ ติดตาม
(Check)
5.ติดตามและประเมินผล ตลอดปี ผู้อ านวยการ
การศึกษา โรงเรียน
256๓

4 ขั้นสรุปและรายงานผล รายงาน ทุกกิจกรรม - มีนาคม 256
การประเมิน (Action) โครงการ ๔ นางสมควร
6. การสรุปรายงานผล เผ่าชวด

โครงการ

5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทองและชุมชนบ้านสมอทอง
6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔

7. งบประมาณ ใช้งบประมาณ จ านวน ๓๕,๐๐๐ บาท (สามหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

2
60
๖๐



รายละเอียดการใช้งบประมาณ


กิจกรรม ราคา/ ประเภทรายจ่าย หมายเหตุ
หน่วยละ ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน
แทน เชื้อเพลิง
1.กิจกรรมการออม
นักเรียนออมเงินวันละหนึ่งบาท

ใส่กระปุกออมสิน ทุกเช้า
2.กิจกรรมวันส าคัญทาง
พระพุทธศาสนา
- วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา

วันอาฬหบูชา วันออกพรรรษา 35,000
นักเรียนท าบุญและเวียนเทียน
ร่วมกัน
3.กิจกรรมร้องเพลงชาติให้

ถูกต้อง
4.กิจกรรมน้องไหว้พี่
มีมารยาท ไหว้ได้ถูกต้อง เคารพ
ครู ที่เข้ามาโรงเรียนโดยการไหว้

ทุกเช้า/เย็น และผู้มีเกียรติ
และผู้มีเกียรติที่มาเยี่ยมโรงเรียน
5.กิจกรรมโรงเรียนสีขาว

จัดอบรมความรู้เรื่องยาเสพติด
ประชาธิปไตย เดินรณรงค์

ต่อต้านยาเสพติด มีการเลือกตั้ง

ประธานนักเรียน รองประธานฯ
เลขา ปฏิคม ตามระบอบ

ประชาธิปไตย

รวม 35,000

62


๖๑



8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ


ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
นักเรียนร้อยละ ๘๕ ได้รับการ ส ารวจ แบบส ารวจ
ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมิน แบบประเมิน

ให้มีคุณธรรม จริยธรรม



10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมีคณธรรม จริยธรรม




ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
(นางสมควร เผ่าชวด)

ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง




ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

6๒



ชื่อโครงการ ขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม จริยธรรม สู่ชุมชน

ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 3 พฒนาคุณลักษณะของนักเรียนให้มีคุณธรรมและ
จริยธรรม
ลักษณะโครงการ ใหม่
แผนงาน งานบริหารทั่วไป
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ด้นคุณภาพผู้เรียน

1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ประเด็นการพิจารณาที่ ข้อที่ 1 ,2 ,3
ผู้รับผิดชอบ นางสมควร เผ่าชวด, นางสาวพัชนี แจ้งถิ่นป่าและนางด าเนิน กาหล

กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารบริหารทั่วไป
ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
1. หลักการและเหตุผล


เนื่องจากในปัจจุบันนี้ สภาพสังคม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีทางด้านการสื่อสาร โลกอนเทอร์เน็ต

ได้มีการพฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นด้านวัตถุ ค่านิยม ทัศนคติ และสิ่งยั่วยุทางใจ ฯลฯ
และมีอิทธิพลต่อความคิด พฤติกรรม และการตัดสินใจของเยาวชนเป็นอย่างมาก ส่งผลให้เยาวชนมีพฤติกรรม

ต่างๆที่ไม่เหมาะสม ซึ่งไม่ใช่คุณลักษณะและค่านิยมที่พงประสงค์ของคนไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

ื้
พนฐาน พทธศักราช 2551 ก าหนดสิ่งที่ผู้เรียนพงรู้และปฏิบัติไว้ในมาตรฐานและตัวชี้วัดคือ สมรรถนะด้าน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ซึ่งต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนาจากสถานศึกษา ประกอบกับรัฐบาล
ปัจจุบันได้มีนโยบายให้ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะเยาวชนไทยปฏิบัติตนอยู่ในค่านิยม 12 ประการ ประกอบ

กับโรงเรียนได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษา รุ่นที่ 4 และเป็นโรงเรียนวิถีพทธตาม
นโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดังนั้น โรงเรียนบ้านสมอทองจึงได้ประสานความร่วมมือกับชุมชุนหมู่ที่2 บ้านสมอทอง ก าหนด
คุณธรรมอตลักษณ์ของโรงเรียนและชุมชนขึ้น ได้แก่ มีมารยาท ความรับผิดชอบ จิตอาสา และความพอเพยง


ื่

เพอปลูกฝังคุณลักษณะและพฤติกรรมที่สะท้อนถึงคุณธรรมจริยธรรมที่พงประสงค์ ผ่านการด าเนินกิจกรรม
ตามโครงการขับเคลื่อนคุณธรรมจริยธรรม สู่ชุมชน ที่ได้ก าหนดขึ้นเพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อไป
2. วัตถุประสงค์
เพื่อปลูกฝังคุณธรรมอัตลักษณ์ ให้นักเรียน สมาชิกในชุมชน

3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
ร้อยละ 80 ของนักเรียนและสมาชิกในชุมชน มีคุณธรรมอัตลักษณ์ที่ชุมชนต้องการ

๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
ครอบครัวและชุมชนของนักเรียนโรงเรียนบ้านสมอทอง จังหวัดอุทัยธานีได้รับการปลูกฝัง
คุณธรรมอัตลักษณ์ ตามที่ชุมชนต้องการ

6๓



๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ


ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

ด าเนินการ
1 ประชุมชี้แจงโครงการ/กิจกรรม แต่งตั้งคณะกรรมการ กรกฎาคม 256๓ ผู้บริหาร , คณะครู
ด าเนินงาน และกรรมการสถานศึกษา
2 จัดท าเอกสารทั้งหมด ที่เกี่ยวกับโครงการ/กิจกรรม กรกฎาคม 256๓ นางสมควร เผ่าชวด

3 ด าเนินการจัดกิจกรรมมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ ๑ สร้างความตระหนักและเรียนรู้
๑.๑ ประชุมครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง

และนักเรียนเพื่อให้ความรู้ สร้างความ ตระหนักเกี่ยวกับ
การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสู่ชมชน
๑.๒. ประชาสัมพันธ์โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม
จริยธรรม สู่ชุมชน ของโรงเรียน ให้
ผู้ปกครอง หน่วยงานในชุมชน คนในชุมชนและหน่วยงาน

ต้นสังกัดทราบ
๑.๓. เยี่ยมบ้านนักเรียนและชุมชนเพื่อประชาสัมพันธ์ มิถุนายน – มีนาคม ผู้บริหาร
สื่อสาร กิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม ปีการศึกษา 2563 คณะครู

จริยธรรมของโรงเรียน ชุมชน

ขั้นตอนที่ ๒ มุ่งสู่การมีส่วนร่วม

หัวหน้าคุ้มแกนน า 13 คุ้ม ผู้ปกครองและชุมชนร่วมกบ
โรงเรียน ก าหนดคุณธรรมเป้าหมาย

ก าหนดพฤติกรรมบ่งชี้และตัวชี้วัดของคุณธรรม

ขั้นตอนที่ ๓ รวมพลังจิตอาสา
หัวหน้าคุ้ม 13 คุ้ม แกนน า ออกแบบและวางแผนจัด

กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน กิจกรรมที่ท า
ร่วมกัน โดยเน้นเป็นกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ยึด
คุณธรรมเป้าหมายที่ได้ร่วมกันก าหนด คือ คุณธรรมด้าน
จิตอาสา โดยท ากิจกรรมจิตอาสา พัฒนาชุมชน ในวัน

ส าคัญ ทั้งที่บ้าน วัด โรงเรียนและ กิจกรรมหน้าบ้านสวย
หลังบ้านสวน

ขั้นตอนที่ ๔ สรรหาเครือข่ายคุณธรรม
หัวหน้าคุ้ม 13 คุ้ม ขยายผลลงสู่ชุมชนภายในคุ้ม

ี่
ด าเนินกิจกรรมตามทก าหนด โดยผู้ปกครอง
และชุมชนร่วมกัน ท ากิจกรรม จิตอาสาพัฒนาชุมชนและ
กิจกรรมหน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน

53

6๔




ขั้นตอนที่ ๕ เลิศล้ าผลสัมฤทธิ์
ชุมชนร่วมกันพัฒนา บ้าน วัด และโรงเรียน ในวัน

ส าคัญ เปลี่ยนแปลงไปตามคณธรรมอัตลักษณ์ ที่ชุมชน

ก าหนด โดย บ้าน วัด โรงเรียน สะอาด และสวยงาม เป็น
ระเบียบ


4 สรุปผลการด าเนินงาน และรายงานผลโครงการ ๙ เมษายน 256๔ นางสมควร เผ่าชวด


5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทองและชุมชนบ้านสมอทอง
6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔
7. งบประมาณ ใช้งบประมาณ จ านวน 20,000 บาท
ดังรายละเอียดการใช้ งบประมาณดังนี้

แหล่งงบประมาณ
รายการ
เงินอุดหนุน อื่น ๆ รวม(บาท)


1. ค่ากระดาษ A4 ใช้ในกิจกรรม 3,000 - 3,000
2. อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 17,000 - 17,000

รวม 20,000 - 20,000

8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ


ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกใน ประเมิน แบบประเมิน
ชุมชนหมู่ ๒ บ้านสมอทอง มี

คุณธรรมอัตลักษณ์ที่โรงเรียน
และชุมชนก าหนดไว้ร่วมกัน


๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ี่
นักเรียนและสมาชิกในชุมชน หมู่ ๒ บ้านสมอทอง เป็นผู้มีคุณธรรมอัตลักษณ์ทก าหนดไว้ร่วมกัน

ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
( นางสมควร เผ่าชวด )

ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง

ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

๖๕




ชื่อโครงการ พ ฒนานวัตกรรม เพาะ TONKLA คนดีด้วย SMT KON “D” classroom

ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 3 พฒนาคุณลักษณะของนักเรียนให้มีคุณธรรมและ
จริยธรรม
แผนงาน กลุ่มงานบริหารทั่วไป
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน
ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ข้อที่ 1,2,3

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
ผู้รับผิดชอบ นางสมควร เผ่าชวด, นางสาวพัชนี แจ้งถิ่นป่าและนางด าเนิน กาหล

กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.ที่มาและความส าคัญของโครงการ
ื่
“การศึกษาเป็นเรื่องใหญ่และส าคัญยิ่งของมนุษย์ คนเราเมอเกิดมาก็ได้รับการสั่งสอนจากบิดา
มารดา อนเป็นความรู้เบื้องต้น เมอเจริญเติบใหญ่ขึ้น ก็เป็นหน้าที่ของครูและอาจารย์สั่งสอนให้ได้รับวชา


ื่
ความรู้สูง และอบรมจิตใจให้พร้อมด้วยคุณธรรม เพื่อจะได้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติสืบไป”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร


สยามินทราธิราช บรมนาถบพตร ในพธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสาน
มิตร 13 ธันวาคม 2505
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้แก่
เยาวชนไทย โดยส านักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในฐานะองค์กรหลักเกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้เยาวชนส่วน
ใหญ่ของประเทศได้จัดท าโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ที่เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษา นักเรียนและชุมชนทุกภาคส่วนในการสร้างฐานทางสังคมที่เข้มแข็ง คือ การสร้างเยาวชนของ

ชาติให้เป็นคนดี คนเก่งและเป็นคนที่มีความสุข
โรงเรียนบ้านสมอทอง อ าเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี เป็นโรงเรียนกองทุนการศึกษา มีการจัดการ
เรียนรู้โดยน้อมน าศาสตร์พระราชา พระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ที่ทรงมีพระกระแส

ด ารัส ทรงพระราชทานในวโรกาสต่างๆ เกี่ยวกับนักเรียน ครูและการศึกษา โรงเรียนบ้านสมอทองจึงเล็งเห็น
ว่าการพฒนาโรงเรียนทั้งระบบผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ชุมชนทุกภาคส่วนและสร้างนักเรียนให้

เป็นคนดีของบ้านเมือง มีคุณธรรม จริยธรรม ปัจจุบันเยาวชนไทยขาดคุณธรรม จริธรรมดังปรากฏข่าวจากสื่อ
ต่างๆ ส่งผลกระทบกับการศึกษาของไทย ที่สร้างนักเรียนให้เป็นคนเก่งได้ แต่การเป็นคนเก่งเพียงอย่างเดียวไม่
สามารถประสบความส าเร็จในการใช้ชีวิตในสังคมได้ต้องเป็นคนดีด้วย ดังนั้นคณะครูโรงเรียนบ้านสมอทองจึง



สืบสานพระราชปณิธาน“เดินตาม รอยเท้าพอ สานต่องานที่พอท า” และคิดสร้างนวัตกรรมพฒนาคุณภาพ

ผู้เรียน ด้วยนวัตกรรม เพาะ TONKLA คนดีด้วย SMT KON “D” classroom โดยมุ่งเน้นการด าเนินการใน
กิจกรรม “เพาะ ต้นกล้าคนดีด้วยวิธีอริยะ” เพอการบรรลุวัตถุประสงค์การสร้างคนดีอย่างยั่งยืนต่อไปเป็น
ื่
ส าคัญ

๖๖




2.เป้าประสงค์

โรงเรียนมีการพฒนาตนเองทั้งด้านการบริหารจัดการโรงเรียนที่ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ และด้าน
ื่
การจัดการเรียนการสอนเพอให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านอาชีพกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องกับ
ศตวรรษที่ 21 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นมีระบบสารสนเทศ

โดยผู้บริหารและครูใช้ประโยชน์ในการพฒนานักเรียนสามารถดูแลช่วยเหลือนักเรียนในด้านต่าง ๆ รวมทั้ง

ได้รับการดูแลช่วยเหลือ และพัฒนาเต็มศักยภาพและความปลอดภัย


3.วัตถุประสงค์
ื่
1) เพอสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการค้นหาเป้าหมายในการพฒนาโรงเรียน ตลอดจนมี

ส่วนร่วมในการส่งเสริมและพัฒนาทักษะคุณธรรมของนักเรียน
2) เพื่อส่งเสริมให้ครูใช้กระบวนการ PLC ในการจัดการเรียนรู้

3) เพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถบูรณาการการเรียนรู้ครอบคลุมทั้ง 8 กลุ่มสาระ
4) เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ
5) เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์ จิตอาสา พอเพียง และรับผิดชอบ


4.นิยามศัพท์/นิยามเชิงปฏิบัติการ
ต้นกล้าคนดี คือ การผลิตต้นกล้าที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคลให้ได้มีความรู้รวบยอดที่ได้จาก
กิจกรรมการเรียนรู้ที่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้โดยการผสมผสานกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม ท าให้

นักเรียนมีความรู้และมีคุณธรรมจริยธรรม ด้วยโมเดลการเรียนรู้ CAR นั้นคือ Cooperative Learning คือ
การจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างการเรียนรู้ด้วยการท างานแบบกลุ่ม Active Learning คือ การจัดการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสร้างการเรียนรู้ด้วยการลงมือท า Reflective learning คือ การจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน

สร้างการเรียนรู้ด้วยการสะท้อนความคิด โดยเสริมกระบวนการให้ เด็กคิด เด็กน า เด็กท า เด็กเสนอ เด็ก
ทบทวน เด็กบันทึก
การเรียนการสอนห้องเรียนอริยะ คือ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพอพฒนาพฤติกรรมเชิง

ื่
คุณธรรมให้แก่ผู้เรียน
รายวิชา 9 วิชา คือ วิชาที่เน้นคุณธรรมให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน 9 วิชา ดังนี้

1 วิชาเป้าหมายชีวิต : เนื้อหา ผู้เรียนสามารถค้นหาศักยภาพของตนเอง เรียนรู้และทบทวน
เป้าหมาย (ความชอบ ความตั้งใจ ความขยัน) พฤติกรรมที่ต้องเพิ่มและลด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอีกทั้งสามารถ
จินตนาการได้ว่า ตนเองจะช่วยสังคมได้อย่างไร โดยการบูรณาการความรู้ ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ของ

คุณธรรมด้านพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักการทรงงานศาสตร์พระราชา
2 วิชาคุณธรรมต้นทุน : ผู้เรียนได้เรียนรู้เข้าใจ ทบทวน คุณธรรมพนฐาน ตามอตลักษณ์ของ
ื้


โรงเรียน คือ มารยาทดี มีวินัย ความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา พอเพยง เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมรอบตัว
เพื่อพัฒนาคุณธรรมพื้นฐานให้สูงขึ้น และปฏิบัติได้อย่างยั่งยืน
3 วิชาคุณธรรมเป้าหมาย : ผู้เรียนได้เรียนรู้เข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรมเป้าหมาย โดยใช้หลักการ
ทรงงานของศาสตร์พระราชา “ระเบิดจากข้างใน” ให้นักเรียนคิดอยากจะท าความดีอะไร เพื่อสร้างให้เกิดการ
ปรับพฤติกรรมที่ท าได้
4 วิชาพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก : ผู้เรียนได้เรียนรู้เข้าใจถึงพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก วิเคราะห์

พฤติกรรมที่ดีของตนเองได้น าคุณธรรมเป้าหมายของตนเอง มาก าหนดพฤติกรรมที่ดีของตัวเอง ให้สัมพันธ์กับ
คุณธรรมเป้าหมายของโรงเรียน

๖๗





5 วิชาคุณธรรมเชิงสัมพทธ์ : ผู้เรียนได้เรียนรู้ เข้าใจถึงพฤติกรรมบงชี้เชิงบวก สามารถ
วิเคราะห์พฤติกรรมที่ดีของตนเองได้และสะท้อนความคิด ระดับคุณธรรม การกระท า 3 ระดับ (ดี ปกติ ชั่ว) ได้

6 วิชากิจกรรมส่งเสริมความดี : ผู้เรียนได้เรียนรู้ เข้าใจ คิด ออกแบบ กิจกรรมส่งเสริมความ
ดี ผ่านกระบวนการ นักเรียนคิด นักเรียนลงมือท าความดี ภายใต้คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน

7 วิชาทบทวนความคิด : ผู้เรียนได้ทบทวนความคิดของตนเองเกี่ยวกับการพฒนาทาง
อารมณ์ สติปัญญา สังขาร ความจริง ความงามในตัวเอง ภายใต้รูปแบบการทบทวน

8 วิชาบันทึกความดี : ให้ผู้เรียนบันทึกความดีที่ท า และความดีที่อยากท า น ากลับไปให้
ผู้ปกครองได้วิเคราะห์ความดีของบุตรหลายท าและคิด พร้อมทั้งน ากลับมาให้ครูประจ าชั้นตรวจและร่วมรับรู้
สิ่งที่นักเรียนท า ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารเรื่องภาวการณ์ทาความดี ผ่านการวาดภาพ ระบายสี ผ่านทักษะการ

เขียน


9 วิชานวัตกรรมคุณธรรม : ผู้เรียนสามารถ อาน เขียน คิดวิเคราะห์ สรุปจากสิ่งที่พบเห็น
และถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดผ่านเรื่องราว ออกแบบเป็น เครื่องมือที่จะน าไปใช้เผยแพร่คุณธรรมความดี
กระบวนการ PLC คือ การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูผู้สอน คณะครูมีการ PLC อยู่เสมอ โดย
ผ่านขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 สร้างทีมครู คือ การแบ่งกลุ่มเพื่อระดมประสบการณ์ หาปัญหาหรือแนวทางการ
พัฒนา โดยเลือกประเด็นเพียง 1 ประเด็นเพื่อแก้ปัญหาแต่ละครั้ง
ขั้นตอนที่ 2 ก าหนดปัญหาที่แท้จริง คือ ร่วมกันก าหนดปัญหาที่แท้จริง ให้ครูเริ่มจากปัญหา


ที่ครูเจอบ่อยๆ พบบ่อยๆ และเป็นปัญหาที่เด็กๆส่วนใหญ่เป็นกัน และครูยังหาทางแกไม่ได้ และน าสู่การปฏิบัติ
ื่
โดยมีการเปิดห้องเรียน เพอการสังเกตการณ์สอน
ื่
ขั้นตอนที่ 3 : วางแผนการแก้ไข และออกแบบกระบวนการ ครูและเพอนครู ต้องท าการ

วางแผน แบ่งหน้าที่ของแต่ละคน รวมทั้งหาวิธีการแกไข สิ่งที่จะเกิดขึ้นระหว่างการท างานไว้ด้วย
ขั้นตอนที่ 4 : ลงมือปฏิบัติตามแผน เมื่อวางแผนเสร็จ กระบวนการท าเสร็จ ก็ถึงขั้นลงมือ

ปฏิบัติ
ขั้นตอนที่ 5 : สนทนาสะทอนผลหลังการปฏิบัติ ขั้นตอนนี้ครูต้องกลับมาสรุปกันในทีมก่อน

แสดงความเห็นร่วมกันว่าปัญหาที่เราเลือกและน าวิธีแกไขไปใช้นั้น คือ การพบกลุ่มเพอสะท้อนคิดจากการ

ื่
จัดการเรียนรู้เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นจากการเปิดห้องเรียน ร่วมกันเสนอแนะ ปรับปรุง แก้ไข ปัญหาที่เกิด
จาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้


5. ระยะเวลาการด าเนินงาน
15 สิงหาคม 2563 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2564

๖๘




6. กรอบแนวคิดการด าเนินการ

๖๙




7. ขอบเขตการด าเนินงาน
7.1 ขั้นตอนการด าเนินงานโครงการ

กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ
๑. ประชุมครูและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขออนุมัติโครงการ ส.ค. ๖๓
๒. แต่งตั้งคณะท างานคณะกรรมการด าเนินงาน ส.ค. ๖๓

๓. วางแผนด าเนินงานและก าหนดกิจกรรมที่ปฏิบัติ ส.ค. ๖๓
๔. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นต้องใช้ในการด าเนินงาน ก.ย. ๖๓
๕. ด าเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ ตลอดปี

๖. ติดตามและประเมินผล ตลอดปี
๗. สรุปและรายงานผล ๓๑ มี.ค. ๖๔

7.2 โครงสร้างการบริหารจัดการโครงการ


การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยนวัตกรรม เพาะ TONKLA คนดี
ด้วย SMT KON D Classroom ผ่านกระบวนการ PLC

๗๐




บทบาทและหน้าที่
ทีมพี่เลี้ยง : เป็นทีมงานที่คอยให้ค าแนะน า ติดตามการด าเนินงานของโรงเรียน

ผู้บริหาร : เป็นผู้อ านวยความสะดวกพร้อมทั้งให้ค าปรึกษากับคณะครู
คณะครู : เป็นผู้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหา
นักเรียน : เป็นผู้เรียนรู้กิจกรรมต่างๆ ตามที่โรงเรียนได้จัดไว้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับตัวนักเรียน
ื่
Model teacher : ครูผู้สอน ผู้ที่พบปัญหาต่างๆภายในชั้นเรียนและน ามาเล่าสู่ให้เพอนร่วมงานฟัง
เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน

Buddy: ครูผู้ร่วมเรียนรู้สายชั้นเดียวกันอย่างน้อย 2 คน ผู้ให้ค าแนะน าแนวทางการแกไขปัญหา
ร่วมกัน
Mentor : ครูวิชาการของโรงเรียน ผู้ให้ค าปรึกษาต่างๆในการแก้ไขปัญหา


Administrator: ผู้อ านวยการโรงเรียน ผู้ให้ค าแนะน าและอานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหา
ื้
Expert: ผู้เชี่ยวชาญคือศึกษานิเทศก์ส านักงานเขตพนที่การศึกษาประถมศึกษาอทัยธานี เขต 2 ผู้ให้

ความรู้และแนะน า เป็นการรวมกลุ่ม ร่วมเรียนรู้ ร่วมแก้ปัญหาด้านวิชาการ

8. กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนโรงเรียนบ้านสมอทอง ปีการศึกษา 2563 จ านวน 164 คน


9. ผลผลิตของโครงการ
1) เป้าหมายที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตามภูมิสังคมของตนเอง
2) รายงานการน า PLC มาใช้ในการค้นหาเป้าหมายที่สอดคล้อง

กับแนวทางการพัฒนาโรงเรียน มาใช้ในการจัดท าแผนการสอนหน้าเดียวตามหน่วยการเรียนรู้ และมาใช้ในการ
พัฒนาชั้นเรียนเป็นห้องเรียนอริยะได้
3) รายงานการประเมินศักยภาพนักเรียนที่สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการ

ประเมินพฤติกรรมของนักเรียนที่สอดคล้องกับคณลักษณะอันพงประสงค์


4) รายงานการถอดบทเรียนกระบวนการพฒนาโรงเรียนให้สามารถพฒนาตนเองทั้งระบบ


ตามบริบทของโรงเรียน
10. ผลลัพธ์ของโครงการ
1) โรงเรียนสามารถยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องทั้งระบบ มีการบริหารจัดการ
เครือข่ายแบบมีส่วนร่วม

2) โรงเรียนสามารถใช้ข้อมูลจากระบบสารสนเทศในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในด้านต่างๆ ตาม
ศักยภาพ
3) ผู้บริหารและครูสามารถใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการค้นหาเป้าหมาย
ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาโรงเรียนตามภูมิสังคมของตนเอง มาจัดกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนา

ชั้นเรียนให้เป็นห้องเรียนอริยะที่น าไปสู่การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่สูงขึ้น
4) ผู้บริหารและครูที่เข้าร่วมโครงการ สามารถท าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงภายในโรงเรียนได้
5) นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

๗๑




11. การวัดและประเมินผลการด าเนินงาน


ข้อ ตัวชี้วัด วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือการวัดและประเมินผล
1 ร้อยละ 80 ผู้บริหารและครูใช้ชุมชนทาง การสังเกต แบบสังเกตแบบมีโครงสร้าง

วิชาชีพในการ
ค้นหาเป้าหมาย/จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้
/พัฒนาห้องเรียนอริยะ
2 ร้อยละ 80 นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ใน การสังเกต แบบสังเกตแบบมีโครงสร้าง

ศตวรรษที่ 21
3 ร้อยละ 80 นักเรียนมีคุณลักษณะอนพง การสังเกต แบบสังเกตแบบมีโครงสร้าง


ประสงค์

12. รายละเอียดงบประมาณ
- งบประมาณสนับสนุน งวดที่ 1 50,000 บาท เบิกจ่ายงบประมาณภายใน 15 – 30 วัน หลังลง

นามข้อตกลง
- งบประมาณสนับสนุน งวดที่ 2 35,000 บาท เบิกจ่ายงบประมาณภายใน 15 – 30 วัน หลังส่ง
รายงานงวดที่ 1
- งบประมาณสนับสนุน งวดที่ 3 15,000 บาท เบิกจ่ายงบประมาณภายใน 15 – 30 วัน หลังส่ง
รายงานงวดที่ 2

๗๒

๗๓





ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ

(นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์)
ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง




ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

ที่ ชื่อกิจกรรม รายการค่าใช้จ่าย จ านวนเงิน ๗๔
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ค่าอาหาร เครื่องดื่ม 10,000
1
เพาะต้นกล้าคนดี ด้วยวิถีอริยะ (โรงเรียน+ชุมชน) -ค่าเอกสาร
จัดอบรมพัฒนาการจัดท าสื่อการเรียนรู้ -ค่าอาหาร เครื่องดื่ม 10,000
2
เพาะต้นกล้าคนดี ด้วยวิถีอริยะ (ครู) -ค่าเอกสาร

3 กิจกรรม เพาะต้นกล้าคนดี ด้วยวิถีอริยะ
ปฐมนิเทศ ในชั้นเรียน ป.1-6 -ค่าวัสดุ อปกรณ์ ด าเนินการ 30,000

สร้างข้อตกลงร่วมกัน5+1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9 วิชา
คุณธรรม+พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับรายชั้นเรียน ป1.-ป.6

1.มารยาทดี 2.มีวินัย
3.ความซื่อสัตย์ 4.รับผิดชอบ
5.จิตอาสา 6.พอเพียง

วิชาเป้าหมายชีวิต ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ อาชีพบนความพอเพียง
วิชาคุณธรรมต้นทุน ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ คุณธรรมของฉัน

วิชาคุณธรรมเป้าหมาย ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ ระเบิดจากข้างใน
วิชามุมพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก

-หน่วยการเรียนรู้ พฤติกรรมดีๆที่ฉันอยากท า ป.1-6
วิชาคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ จิตอาสาของฉัน
วิชากิจกรรมส่งเสริมความดี

-หน่วยการเรียนรู้ ท าความดีด้วยตัวเรา
วิชาทบทวนความคิด ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ พฤติกรรมดีๆที่ฉันเห็น ที่โรงเรียน

บ้าน ชุมชน
วิชาบันทึกความดี ป.1-6
-หน่วยการเรียนรู้ สมุดบันทึกความดี
วิชานวัตกรรมคุณธรรม ป.1-6

-หน่วยการเรียนรู้ โครงงานคุณธรรมของฉัน
4 ถอดองค์ความรู้ (ผู้บริหาร/ครู) -ค่าอาหาร เครื่องดื่ม 10,000
-ค่าเอกสาร

5 นิทรรศการ เพาะต้นกล้าคนดี -ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 20,000
ด้วยวิถีอริยะ (โรงเรียน/ชุมชน/ครู/นักเรียน) -ค่าเอกสาร ป้าย
6 จัดท ารายการสรุป(ผู้บริหาร/ครู) -ค่าเอกสาร 10,000
7 ค่าบริหารจัดการโครงการ (ผู้บริหาร/ครู/นักเรียน) 10,000

รวม 100,000 บาท
ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ ๔ พฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

แผนงาน งานบริหารทั่วไป
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1.6 มีความรู้ ทักษะ พื้นฐานและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและ
สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

ผู้รับผิดชอบ นางบุศรินทร์ ตัณฑพาทย์
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง

ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1. หลักการและเหตุผล
อาชีพ คือ แนวทางททุกคนใช้เป็นเครื่องมือในการหาเงินในการด ารงชีวิต ซึ่งเงินนั้นเป็นตัวกลางใน
ี่
การแลกเปลี่ยนปัจจัยด้านต่างๆ ในการด าเนินชีวิต ทุกชีวิตจ าเป็นต้องมีอาชีพ อาชีพเป็นสิ่งส าคัญในการ
ได้มาซึ่งปัจจัย 4 และปัจจัย 4 นั้นทุกช่วงวัยต้องอาศัยในการด ารงชีพ
โรงเรียนบ้านสมอทองมีนักเรียนทั้งในเขตบริการและนอกเขตบริการมีหลากหลายชาติพนธุ์

ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีฐานะยากจน นักเรียนไม่ได้เข้าศึกษาเมื่อจบการศึกษาภาค

บังคับ ส่วนมากช่วยครอบครับประกอบอาชีพการเกษตร ทางโรงเรียนจึงคิดแนวทางส่งเสริมอาชีพทุกชั้น
เรียนให้นักเรียนได้ฝึกฝนอาชีพ เมื่อจบการศกษาไปแล้วจะได้เป็นแนวทางประกอบอาชีพในชีวิตประจ าวัน

โครงการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (1 ชั้นเรียน 1 อาชีพ ) จึง
เกิดขึ้นเพื่อสนับสนุนคุณภาพชีวิตให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ฝึกทักษะ

ลงมือปฏิบัติจริงในแต่ละชั้น เพื่อให้นักเรียนได้ได้ฝึกฝนถึง 6 อาชีพ ไว้เป็นแนวทางประกอบอาชีพในอนาคต
มีรายได้ระหว่างเรียนซึ่งเป็นกระบวนการหนึ่งที่โรงเรียนบ้านสมอทองได้ขับเคลื่อนขึ้นภายในโรงเรียน
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตครอบครัวให้มีความสุขยิ่งขึ้นไม่สร้างปัญหาสังคม ตั้งอยู่ในความพอเพียงหาเลี้ยงชีพ
อย่างมีความสุขตลอดไป

2. วัตถุประสงค์
1.เพอให้นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม ด้าน ความความผิดชอบ มีจิตอาสา และความพอเพียง

ื่
ื่
2. เพอให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ื่
3. เพอส่งเสริม นักเรียนมีทักษะชีวิตพื้นฐานการประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

๗๕


3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ

1. ร้อยละ 85 ของนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม เรื่อง ความความผิดชอบ
มีจิตอาสา และความพอเพียง
2. ร้อยละ 85 ของนักเรียนเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
3. ร้อยละ 85 นักเรียนมีทักษะชีวิตพื้นฐานการประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม เรื่องความรับผิดชอบ จิตอาสา และความพอเพียง เกิดการ
เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มีทักษะชีวิตพื้นฐานการประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้

๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ


ที่ กิจกรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิด

ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ ชอบ

ด าเนนการ

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมฝึกอาชีพเกษตร น้อมน าเศรษฐกิจพอเพียง (1 อาชีพ 1 ชั้นเรียน)
๑ ขั้นวางแผน (Plan)

1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ ผู้บริหาร - พฤษภาคม นาง
บุศรินทร์
งบประมาณ สถานศึกษา 256๓- ตัณฑ
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบ มิถุนายน พาทย์

3.ประชุมและวางแผน โครงการ 256๔
ด าเนินการ

๗๖




๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)
4.ด าเนินกิจกรรม ดังนี้ ผู้บริหาร 20,000 ตลอดปี คณะครู

4.1 กิจกรรมฝึกอาชีพ ครูวิชาการ การศึกษา และ
เกษตร น้อมน าเศรษฐกิจ ร้อยละ 85 คณะกรรมการ นักเรียน
พอเพียง (1 ชั้นเรียน 1 นักเรียนมี ด าเนินงาน
อาชีพ) คุณธรรม

1.กิจกรรมปลูกผักสวนครัว จริยธรรม
ระดับชั้นอนุบาล เกิดการ
๒. กิจกรรมเพาะถั่วงอก เรียนรู้จาก

คอนโด ระดับ ประสบการณ์
ประถมศึกษาปีที่ ๑ ตรง นักเรียน
๓. กิจกรรรมปลูกมะนาววง มีความ
บ่อ ระดับประถมศึกษาปี รับผิดชอบ
ที่ ๒ จิตอาสา และ

๔. กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ความ
ระดับประถมศึกษาปีที่ ๓ พอเพียง
๕. กิจกรรมเลี้ยงปลากิน ปฏิบัติตาม

พืช ระดับประถมศึกษาปี หลักปรัชญา
ที่ ๔ ของเศรษฐกิจ
๖. กิจกรรมเพาะเห็ด พอเพียงและ
นางฟ้า ระดับ น าไปใช้ใน

ประถมศึกษาปีที่ ๕ ชีวิตประจ า
๗. กิจกรรมท าปุ๋ยดินและ วันได้
ปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพ ระดับ
ประถมศึกษาปีที่ ๖


๓ ขั้นนิเทศ ติดตาม
(Check)
ติดตามและประเมินผล

4 ขั้นสรุปและรายงานผล รายงาน เมษายน
การประเมิน (Action) โครงการ 256๔
สรุปรายงานผลโครงการ


5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทอง
6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 256๓ – เมษายน 256๔
7. งบประมาณ ใช้เงินงบประมาณ จ านวน 2๐,๐๐๐ บาท (สองหมื่นบาทถ้วน )

๗๗

รายละเอียดการใช้งบประมาณ


กิจกรรม ราคา/ ประเภทรายจ่าย หมายเหตุ
หน่วยละ ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน
แทน เชื้อเพลิง
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมฝึกอาชีพเกษตร น้อมน าเศรษฐกิจพอเพียง ( 1 ชั้นเรียน 1 อาชีพ )
1.กิจกรรมปลูกผักสวนครัว

ระดับชั้นอนุบาล
๒. กิจกรรมเพาะถั่วงอกคอนโด 20,000
ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑
๓. กิจกรรรมปลูกมะนาววงบ่อ

ระดับประถมศึกษาปีที่ ๒
๔. กิจกรรมเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
ระดับประถมศึกษาปีที่ ๓

๕. กิจกรรมเลี้ยงปลากินพืช
ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔
๖. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
ระดับประถมศึกษาปีที่ ๕
๗. กิจกรรมท าปุ๋ยดินและปุ๋ยน้ า

หมักชีวภาพ ระดับประถมศึกษา
ปีที่ ๖
รวม 20,000

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น (สองหมื่นบาทถ้วน) 20,000

8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ


วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. ร้อยละ 85 ของนักเรียนมี ประเมิน แบบประเมิน

คุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม เรื่อง
ความความผิดชอบ มีจิตอาสา
และความพอเพียง
2. ร้อยละ 85 ของนักเรียนเกิด

การเรียนรู้จากประสบการณตรง

3. ร้อยละ 85 นักเรียนมีทักษะ
ชีวิตพื้นฐานการประกอบอาชีพ

ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

๗๘



9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม เรื่องความรับผิดชอบ จิตอาสา และความพอเพียง เกิดการ
เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มีทักษะชีวิตพื้นฐานการประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้





ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
(นางบุศรินทร์ ตัณฑพาทย์)
ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง



ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

๗๙


ชื่อโครงการ ใส่ใจสุขภาพ


ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 5 พฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพ โดย
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง และสังคม
แผนงาน งานบริหารทั่วไป
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2 ข้อที่ 4 สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเด็นการพิจารณาที่ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออต่อการ
ื้
จัดการเรียนรู้อย่างมีคณภาพ

ผู้รับผิดชอบ นางพเยาว์ เหมือนหมาย คณะครู

กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารทั่วไป
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. หลักการและเหตุผล
สุขภาพดีไม่มีขาย ถ้าต้องการหรืออยากได้ให้เสาะหาด้วยตนเอง สุขภาพกายที่ดี สุขภาพจิตที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคน
ปรารถนาไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ การจะมีสุขภาพดีได้นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น สถานที่สะอาดถูกหลัก

สุขาภิบาล อาหารสดสะอาดมีสารอาหารครบ 5 หมู่ กระบวนการประกอบอาหาร ปรุงอาหารถูกสุขลักษณะ นักเรียน
ได้รับพลังงานอาหารสมส่วนในปริมาณที่พอดี เหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งสิ้น สภาพแวดล้อมทั่วไปก็ส่งผลต่อ
การบริโภคของผู้เรียน เพราะอาหารไม่ใช่แค่ใส่ปากรับประทาน อาหารยังแยกย่อยเป็นอาหารตาอาหารใจอีกต่างหาก
ดังนั้น โครงการใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนบ้านสมอทอง จึงด าเนินการสนองสุขภาพกาย สุขภาพจิต นักเรียนให้มี

สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีชีวีเป็นสุขทุกวันเวลา
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีน้ าหนัก ส่วนสูงมาตรฐานตามเกณฑ์
2.2 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันรับประทาน ได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่

2.3 เพื่อให้สถานที่ประกอบอาหารและปรุงอาหารถูกหลักสุขาภิบาล
2.4 เพื่อให้โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ครบครัน มีคุณภาพ
3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ

1. นักเรียน ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีน้ าหนักส่วนสูงตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
2. นักเรียน ร้อยละ 100 มีอาหารกลางวันรับประทาน สารอาหารครบ 5 หมู่
3. ร้อยละ 90 สถานที่ประกอบและปรุงอาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล

4. ร้อยละ 90 ภายในโรงเรียน มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ครบครัน มีคณภาพเหมาะสม


๘๐



๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีน้ าหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีอาหาร
กลางวันรับประทาน มีสารอาหารครบ 5 หมู่ สถานที่ประกอบและปรุงอาหารถูกหลักสุขาภิบาล ภายใน


โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ครบครันและมีคณภาพเหมาะสม

๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ

ที่ กิจกรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ


ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ

ด าเนนการ

๑ ขั้นวางแผน (Plan)

1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ ผู้บริหาร - กรกฎาคม ผู้อ านวยการ
โรงเรียน,นางพ
งบประมาณ สถานศึกษา 256๓- เยาว์ เหมือน
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบ เมษายน หมาย, คร ู
3.ประชุมและวางแผน โครงการ 256๔ วิชาการและ
คณะครู
ด าเนินการ

๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)
1. กิจกรรมการพัฒนา ร้อยละ 90 ผู้บริหาร 5,000 กรกฎาคม- นางสาว
อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม โรงเรียนมี ครูวิชาการ สิงหาคม ด าเนิน กาหล

และสาธารณูปโภค การส่งเสริม คณะกรรมการ ๒๕๖๓
-การพัฒนาอาคาร สุขภาพ ด าเนินงาน
สถานที่ สิ่งแวดล้อมและ อนามัยและ
สาธารณูปโภค ความ

ปลอดภัยของ
ผู้เรียน
2.กิจกรรมช่วยเหลือ นักเรียน

นักเรียนพิการเรียนร่วม พิการเรียน นางจันทร์
ร่วม ชั้นป.1 ฉาย
ถึง ป.6 ร้อย วงค์จักษุ
ละ 90 ได้รับ
การศึกษา

เรียนร่วมเต็ม
ตามศักยภาพ
ของตนเอง

3. กิจกรรมอนามัย
-นโยบายของโรงเรียน นางพเยาว์
เหมือนหมาย

๘1





-การบริหารจัดการใน
โรงเรียน

-การร่วมระหว่าง
โรงเรียนและชุมชน
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่
เอื้อต่อสุขภาพ

-บริการอนามัยใน
โรงเรียน
-สุขาน่าใช้

-โภชนาการและ
อาหารที่ปลอดภัย อาหาร
เสริม(นม)
-การออกก าลังกาย
กีฬาและนันทนาการ

-การให้ค าปรึกษาและ
สนับสนุนทางสังคม
-การส่งเสริมสุขภาพ

บุคลากรในโรงเรียน
4. กิจกรรมดูแลช่วยเหลือ นางขนิษฐา
นักเรียน จันทร
-ระบบดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน
-ป้องกันอุบัติภัยใน
โรงเรียน
-ป้องกันแก้ไขสารเสพติด

๓ ขั้นนิเทศ ติดตาม
(Check)
ติดตามและประเมินผล

ขั้นสรุปและรายงานผล เมษายน นางพเยาว์
การประเมิน (Action) รายงาน 256๔ เหมือนหมาย
สรุปรายงานผลโครงการ โครงการ


5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทอง
6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔
7. งบประมาณ ใช้เงินงบประมาณ จ านวน ๑๕,๐๐๐ บาท
(หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน )

๘2




รายละเอียดการใช้งบประมาณ


กิจกรรม ราคา/ ประเภทรายจ่าย หมายเหตุ
หน่วยละ ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน
แทน เชื้อเพลิง
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมการพัฒนาอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและสาธารณูปโภค
1.กิจกรรมการพัฒนาอาคาร 10,000 นางสาวด าเนิน

สถานที่ สิ่งแวดล้อมและ กาหล
สาธารณูปโภค
1. ปรับปรุง พัฒนาอาคารเรียน
ห้องปฏิบัติการต่างๆให้อยู่ใน

สภาพที่ใช้การได้ดี ปลอดภัย
สะอาดและสวยงาม
2. ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายใน

โรงเรียนให้สะอาด ร่มรื่น
สวยงามและใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
ตามความเหมาะสม
3. จัดสร้างสวนหย่อมบริเวณ
ป้ายโรงเรียน

4. ปรับปรุงและดูแลระบบ
สาธารณูปโภคให้สะดวก
ปลอดภัยต่อการใช้งานและใช้

อย่างมีคุณค่าเพอให้เกิด
ื่
ประโยชน์สูงสุด
รวม 10,๐๐๐
กิจกรรมที่ ๒ ช่วยเหลือนักเรียนพิการเรียนร่วม

๑. ช่วยเหลือนักเรียนพิการ 2,๐๐๐ นางจันทร์ฉาย
เรียนร่วม วงค์จักษุ
1)ประชุมครูและคณะกรรมการ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอ
อนุมัติโครงการ
2)แต่งตั้งคณะกรรมการ
ด าเนินงาน

3)วางแผนการด าเนินกิจกรรม
ดังนี้
- ส ารวจจ านวนเด็กพิการ ศึกษา
ปัญหา หาวิธีช่วยเหลือ

-จัดหาสื่อ อุปกรณ์ ใช้
ประกอบการเรียนการสอน

๘3




- จัดการเรียนการสอนพิเศษ
ร่วมกับนักเรียนตามปกติตาม

ศักยภาพ
4) ประเมินผลการด าเนินงาน
5) สรุปรายงานผลการด าเนิน
โครงการ

รวม 2,๐๐๐

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอนามย
๑. นโยบายของโรงเรียน 2,000 นางพเยาว์ เหมือน

1)แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริม หมาย
สุขภาพของโรงเรียน
2)ประชุมร่วมกันเพอก าหนด
ื่
นโยบายส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้

- ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การพัฒนาสุขภาพนักเรียน
- เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา

สุขภาพ
- พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตาม
สุขบัญญัติแห่งชาติคุ้มครอง
ผู้บริโภคในโรงเรียน
- ส่งเสริมการออกกาลังกายเพื่อ

สุขภาพแก่นักเรียนและชุมชน
โดยมีโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง
- พัฒนาระบบการเรียนรู้ โดยมี

ผู้เรียนเป็นส าคัญ
- ส่งเสริมสุขภาพบุคลากรใน
โรงเรียน
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ

ชุมชนในการพัฒนาสุขภาพ
นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน
และชุมชน
3) ชี้แจงนโยบายให้คณะครู

ผู้ปกครอง นักเรียน และ
นักเรียนรับทราบ
4) ก าหนดแผนงานรองรับ
นโยบาย

5) ประเมินผลการด าเนินงาน

๘4



6) สรุปรายงานผลการด าเนิน
โครงการ

๒. การบริหารจัดการใน นางพเยาว์ เหมือน
โรงเรียน หมาย
1.ประชุมคณะครูเพื่อจัดท า
โครงการส่งเสริมสุขภาพ

- รวบรวม วิเคราะห์ปัญหาและ
ความต้องการเพื่อดูความ
สอดคล้องกับสภาพปัญหาของ

โรงเรียน

- ระบุกิจกรรมและกาหนด
ระยะเวลา
- ระบุการมีส่วนร่วมของ

ผู้เกี่ยวข้อง
- ระบุการใช้ทรัพยากรและภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
- ระบุกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่

สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
การสอน
2.จัดตั้งคณะท างานดังนี้
- คณะกรรมการที่ปรึกษาให้การ

สนับสนุนการด าเนินงานส่งเสริม
สุขภาพ
- คณะท างานรับผิดชอบในแต่
ละกิจกรรม

- ผู้น านักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่


ื่
3. ชี้แจงการนิเทศติดตามเพอ
น าผลการนิเทศไปใช้พัฒนางาน
4. การประเมินผลงาน

5. สรุปรายงานผล
๓. ร่วมระหว่างโรงเรียนและ นางพเยาว์
ชุมชน เหมือนหมาย

1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจง
ขอบข่ายการด าเนินงาน
2. แต่งตั้งคณะท างาน
ื่
3.ประชุมคณะท างานเพอวาง

๘5





แผนการด าเนินงาน
-วิเคราะห์สภาพและสาเหตุของ

ปัญหาโครงการ
-ร่วมวางแผนการด าเนินงาน
4.ด าเนินกิจกรรม
-การรณรงค์ป้องกันโรค

ไข้เลือดออก
-การออกก าลังกาย
5. ประเมินผลและรายงานผล

การด าเนินงาน
๔. การจัดการสิ่งแวดล้อมใน นางพเยาว์
โรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ เหมือนหมาย

1.ประชุมชี้แจงขอบข่ายการ

ด าเนินงาน
-ก าหนดเวลา
-ก าหนดสถานที่
2.ก าหนดผู้รับผิดชอบและ

ระยะเวลาด าเนินการ
3.ด าเนินการ
-จัดสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรียน

-ป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจาก
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
-รณรงค์ก าจัดลูกน้ ายุงลาย
-จัดบรรยากาศภายในโรงเรียน

ให้เอื้อต่อสุขภาพ
4. การประเมินผล
5. สรุปรายงานผล
5.บริการอนามัยโรงเรียน นางพเยาว์

1.อาหารกลางวันและแจก เหมือนหมาย
และ
อาหารเสริม (นม) ทุกวันเปิด ครูประจ าชั้น
และปิดภาคเรียน

2.ครูอนามัยโรงเรียนและครู
ประจ าชั้น วัดน้ าหนัก ส่วนสูง
เพื่อเปรียบเทียบ กับเกณฑ์
มาตรฐาน

3.จัดกิจกรรมออกก าลังกาย
ส าหรับนักเรียน

๘6



4.จัดการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายของนักเรียน

5.ให้ค าปรึกษาและติดตาม
ความก้าวหน้าแก่นักเรียนที่ไม่
ผ่านเกณฑ์
๖. สุขาน่าใช้ และให้ค าปรึกษา นางพเยาว์

สนับสนุนทางสังคม เหมือนหมาย

1.นักเรียนสีประจ าวันท าความ
สะอาดห้องส้วมทุกวัน วันละ 2

ครั้ง เช้า – กลางวัน
2.ครูประจ าชั้นคัดกรองและระบุ
นักเรียนที่มีปัญหา
3.นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง

ทางเพศและสารเสพติดรับการ
เฝ้าระวังและช่วยเหลือเบื้องต้น
4.ให้บริการที่ปรึกษาทุกครั้งที่

ื่
นักเรียนต้องการโดยเพอน พอ
แม่ ญาติพี่น้อง หรือครู
๗. อาหารเสริม ( นม )และการ นางพเยาว์
ออกก าลังกาย กีฬา และ เหมือนหมาย
นันทนาการ และ

1.แจกอาหารเสริม (นม) ทุกวัน ครูประจ าชั้น

เปิดและปิดภาคเรียน รายได้
2.ครูอนามัยโรงเรียนและครู สถานศึกษา

ประจ าชั้น วัดน้ าหนัก ส่วนสูง ตามที่อบต.
เพื่อเปรียบเทียบ กับเกณฑ์ ทองหลาง
มาตรฐาน จัดสรรมาให้
3.จัดกิจกรรมออกก าลังกาย
ส าหรับนักเรียน

4.จัดตั้งชมรมเด็กไทยท าได้
5.จัดการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกายของนักเรียน

6.ให้ค าปรึกษาและติดตาม
ความก้าวหน้าแก่นักเรียนที่ไม่
ผ่านเกณฑ์

๘7



รวม ๖,๐๐๐ ๖,๐๐๐

กิจกรรมที่ ๔ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. ระบบดูแลช่วยเหลือ ๑,๐๐๐ นางขนิษฐา
นักเรียน จันทร
1. การรู้จักเด็กเป็นรายบุคคล และคณะครู
- การเยี่ยมบ้าน แบบสอบถาม

แบบส ารวจ
- การแนะแนว แบบส ารวจ
ตนเอง ส ารวจอาชีพ ส ารวจ

บุคลิกภาพ แบบมองอนาคต
แบบลักษณะของฉัน
2. การคัดกรองเด็ก
- การวิเคราะห์ผู้เรียน โดย

ครู /นักเรียน/ผู้ปกครอง
- ใช้แบบ SDQ วัดนักเรียน
แยกกลุ่มเด็ก/ แบบวัดแวว
3. กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน

ช่วยเหลือนักเรียน
- ด้านวิชาการ ส่งเสริมตาม
กลุ่มการเรียนรู้ และการแข่งขัน
ทางวิชาการ และความสามารถ

พิเศษ
- ด้านทุนเรียน ส่งเสริมตาม
ความสามารถความขาดแคลน

- ด้านการป้องอุบัติภัยและยา
เสพติด
4. ตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพ

ของโครงการ
2. ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน
1. จัดนักเรียนรายชั้น ป.4-ป.6
เป็นเวรน าเสนอข่าว นางสาวพิชญาภา
2. นักเรียนค้นหาข่าวจากแหล่ง อินทร์สิงห์

ต่างๆ ลงสมุดบันทึก
3. เชิญวิทยากร มาให้ความรู้
นักเรียนและด าเนินกิจกรรมใน
เรื่องอุบัติภัยต่างๆ ผู้บริหาร

5. นักเรียนร่วมกิจกรรมกับ คณะครู
วิทยากร

๘8




6.ครูให้ความรู้ในบทเรียนและ
อบรมหน้าเสาธง นางพเยาว์

7.ประชาสัมพันธ์และจัดป้าย เหมือนหมาย
นิเทศ ครูเวร
8. เวรสี
9.บุคลากรดูแลซ่อมแซมวัสดุ ครูเวร

อุปกรณ์หรืออาคารที่ช ารุด
รวมถึงสิ่งแวดล้อมอันอาจ

ก่อให้เกิดอันตราย

3. ป้องกันแก้ไขสารเสพติด นางขนิษฐา
1.ครูสอนสอดแทรกในทุกกลุ่ม จันทร
สาระการเรียนรู้ และคณะครู

- ภาพโปสเตอร์
2.คัดกรองนักเรียนกลุ่มติดยา

กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปลอดสิ่งเสพ
ติด

3.วันต่อต้านวันเสพติดโลก

- ประกวดภาพวาด
- เดินรณรงค์


รวม 1,๐๐๐ -
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ๑5,๐๐๐


8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. นักเรียน ร้อยละ 80 ของ ส ารวจ แบบส ารวจ
โรงเรียน มีสุขภาพกายและ ประเมิน แบบประเมิน
สุขภาพจิตที่ดี มีน้ าหนักส่วนสูง

ตามเกณฑ์มาตรฐาน
2. นักเรียน ร้อยละ 100 มี
อาหารกลางวันรับประทาน
สารอาหารครบ 5 หมู่ 3. ร้อย

ละ 90 สถานที่ประกอบและปรุง
อาหาร ถูกหลักสุขาภิบาล
4. ร้อยละ 90 ภายในโรงเรียน

มีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ครบ
ครัน มีคุณภาพเหมาะสม

84

๘9





9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีน้ าหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีอาหารกลางวัน
รับประทาน มีสารอาหารครบ 5 หมู่ สถานที่ประกอบและปรุงอาหารถูกหลักสุขาภิบาล ภายในโรงเรียนมี


สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ครบครันและมคุณภาพเหมาะสม






ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
(นางพเยาว์ เหมือนหมาย)
ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง




ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์ )

ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

๙0



ชื่อโครงการ ประกันคุณภาพภายใน

ชื่อแผนงาน(กลยุทธ์ระดับองค์กร) กลยุทธ์ที่ 5 พฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพ โดน
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง และสังคม
แผนงาน งานวิชาการ
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 2
ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

ผู้รับผิดชอบ นางสาวสุวิมล วัดเกลี้ยวพงษ์
กลุ่มงานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานบริหารวิชาการ
ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง
ระยะเวลาด าเนินการ กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
1. หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ว่าด้วยมาตรฐานและการประกันคณภาพ



การศึกษา ให้มีการประกันคณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับทั้งการ
ระบบประกันคณภาพภายใน ระบบประกันคณภาพภายนอก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร


การศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และ
ื่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นการเปิดเผยต่อสาธารณชน เพอน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกษา

เพื่อรองรับการประเมินภายนอก ซึ่งถือเป็นเรื่องส าคัญ จึงจัดท าโครงการนี้ขึ้น
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2.2 เพื่อให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน ตามมาตรฐาน

3. เป้าหมาย
๓.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกัน
คุณภาพภายใน โดยมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา

2. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในร้อยละ 75 เป็นระบบตามมาตรฐานที่ก าหนด
๓.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
อย่างชัดเจนและโรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายใน ตามมาตรฐาน

๙1


๔. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ


ตัวชี้วัด งบประมาณ
ระยะเวลา
เป้าหมาย
ที่ กิจกรรม ความส าเร็จ ที่ด าเนนการ ที่ใช้ ด าเนนการ ผู้รับผิด


ชอบ

ด าเนนการ
๑ ขั้นวางแผน (Plan)
1.ขออนุมัติโครงการ/ขอ โครงการ ครูและบุคลา - กรกฎาคม นางสาว
สุวิมล
งบประมาณ การทาง ๒๕๖๓- วัดเกลี้ยว
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการ การศึกษา เมษายน พงษ์ และ
๓. ประชุมและวางแผน ๒๕๖๔ คณะครู
ด าเนินการ






๒ ขั้นการด าเนินงาน (Do)
4.ด าเนินกิจกรรม ดังนี้ ครูและบุคลา 25,100 ตลอดปี คณะครู
1.กิจกรรมปรับปรุงและ การทาง การศึกษา
พัฒนามาตรฐาน การศึกษา 256๓

สถานศึกษา
2.กิจกรรมงานธุรการ
3 กิจกรรมการเงินและ

พัสดุ
4.กิจกรรมประชุม
ผู้ปกครอง
5 กิจกรรมประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษา

6. กิจกรรมสารสัมพันธ์
บ้าน – โรงเรียน
7. กิจกรรมบริการชุมชน


๓ ขั้นติดตาม (Check)
ติดตามและประเมินผล



4 ขั้นสรุปและรายงานผล รายงาน ทุกกิจกรรม - เมษายน
การประเมิน (Action) โครงการ ๒๕๖๔
สรุปรายงานผลโครงการ

80

๙2



5. สถานที่ด าเนินโครงการ โรงเรียนบ้านสมอทอง
6. ระยะเวลาด าเนินงาน กรกฎาคม 25๖๓ - เมษายน 25๖๔

7. งบประมาณ ใช้งบประมาณ จ านวน 25,100 บาท (สองหมื่นห้าพันหนึ่งร้อยบาทถ้วน )

รายละเอียดการใช้งบประมาณ


ประเภทรายจ่าย
ราคา/
กิจกรรม ค่าตอบ ค่าใช้สอย ค่าวัสด ุ น้ ามัน หมายเหตุ
หน่วยละ
แทน เชื้อเพลิง
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานสถานศึกษา
1.ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 5,100

จัดท าและประเมินมาตรฐาน
2.ด าเนินการจัดท ามาตรฐาน
ของสถานศึกษา
3.จัดท าโครงการที่สอดคล้องกับ

มาตรฐานของสถานศกษา

4.จัดท าเครื่องมือที่ใช้ในการ
ตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพตาม
มาตรฐาน.

5.จัดท าสรุปผลการด าเนินการ
ตาม มาตรฐาน
6.จัดท าเผยแพร่ผลการ
ด าเนินการตามมาตรฐาน.

รวม 5,100
กิจกรรมที่ 2 งานธุรการ
1. จัดท าข้อมูลสารสนเทศเป็น 10,000

4 งาน คือ
-งานบริหารบุคคล
-งานบริหารวิชาการ
-งานงบประมาณ

-งานบริหารทั่วไป
2. การรับ-ส่งหนังสือราชการ
3. ปฏิบัติงานตามภารกิจที่

ได้รับมอบหมายจาก
ผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานอื่น
4. ท าการคัดเลือกแยกประเภท
จัดเก็บหนังสือราชการประจ าปี
รวม 10,000

๙3

กิจกรรมที่ 3 งานการเงินและบัญชี

1. วางแผนการจัดซื้อ – จัดจ้าง 2,500
/ จัดสรรงบประมาณที่ได้รับ
2. ขอความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา
3. ด าเนินงานตามแผน

4. จัดท าเอกสารการเบิก -
จ่ายเงินและบัญชี
5. จัดท าข้อมูลสารสนเทศงาน

การเงิน
6. ตรวจสอบควบคุมการใช้
จ่ายเงินตามแผนงาน
7. ประเมินผลการด าเนินงาน

8. รายงานผลการด าเนินงาน
9. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผล
การด าเนินงาน


รวม 2,500
กิจกรรมที่ 4 งานพัสดุ
1. จัดท าเอกสารเพื่อท างานพัสดุ 2,500

2. จัดซ่อมครุภัณฑ์ ที่ช ารุด
3. จัดจ าหน่ายครุภัณฑ์ที่ใช้การ
ไม่ได้ไม่จ าเป็นต้องใช้
รวม 2,500


กิจกรรมที่ 5 ประชมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองก่อนเปิดภาค 2,000
เรียนและกอนปิดภาคเรียน ปี

ละ 2 ครั้ง
รวม 2,000



กิจกรรมที่ 6 ประชมคณะกรรมการสถานศึกษา
ประชุมคณะกรรมการ 2,000
สถานศึกษา ภาคเรียนละ 1
ครั้ง 2 ภาคเรียน

รวม 2,000

๙4




กิจกรรมที่ 7 สารสัมพันธ์บ้าน-โรงเรียน

1. ให้บริการข่าวสารกิจกรรม 500
ของโรงเรียน
2. ให้บริการข่าวสารกิจกรรม
หน้าเสาธงและหน้าอาคารเรียน
รวม 500

กิจกรรมที่ 8 บริการชุมชน
1. ชุมชนเข้ามาใช้บริการ 500

สถานที่ในการจัดประชุม
แข่งขันกีฬา และจัดงานอบรม
งานเลี้ยงต่างๆ
2. ชุมชนเข้ามาใช้บริการของ
ห้องสมุดเพื่อค้นคว้าหาความรู้

จากหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่างๆ

รวม 500


8. ตัวชี้วัดความส าเร็จ

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 80 มีความรู้ ประเมิน แบบประเมิน
ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยมี

ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศกษา
2. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในร้อยละ 75
เป็นระบบตามมาตรฐานที่ก าหนด


9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษาอย่าง

ชัดเจนและโรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายใน ตามาตรฐาน



ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอโครงการ
( นางสาวสุวิมล วัดเกลี้ยวพงษ์ )
ครูโรงเรียนบ้านสมอทอง



ลงชื่อ......................................ผู้อนุมัติโครงการและงบประมาณ
( นายศักดิ์ดา ทิพวรรณ์)

ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านสมอทอง

การให้ความเห็นชอบเอกสาร
แผนปฏิบัติการ ประจ าปีการศึกษา 256๓
ของโรงเรียนบ้านสมอทอง
................................................................................................


ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านสมอทอง
ครั้งที่ 2/256๓ เมื่อวันที่ ๑๐ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 256๓ ได้พิจารณาแผนปฏิบัติการ
ประจ าปีการศึกษา 256๓ ของโรงเรียนบ้านสมอทองแล้ว


เห็นชอบให้ด าเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีการศึกษา 256๓ ได้



(ลงชื่อ) ........................................................
(ว่าที่ร้อยตรีพิเชษฐ์ พุฒศิริ)
ประธานคณะกรรมการการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนบ้านสมอทอง


Click to View FlipBook Version