การคุ้มครอง
ผู้บริโภค
นานงาสงาสวาอวาอลาีลยียาาห์ห์ลลออยยฟฟ้า 26 นางงสสาาววมมัณัณฑฑททา าขุนขุอนินอิทนร์ท1ร์21น2านยภาัยสภพัสลพบลรรบลุรศิรลลปุ์ศิ7ลปม์.75/ม4.5/4
สิทธิพื้นฐาน
ของผู้บริโภค
ผู้บริโภค หมายถึง
ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ
สิทธิของผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ 2522 และ
ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ 2541 และ
(ฉบับที่3) พ.ศ 2556 ได้บัญญัติสิทธิของผู้บริโภค
ที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย 5 ประการ
1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและ
เพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้า
3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
นานงาสงาสวาอวาอลาีลยียาาห์ห์ลลออยยฟฟ้า 26 นางงสสาาววมมัณัณฑฑททา าขุนขุอนินอิทนร์ท1ร์21น2านยภาัยสภพัสลพบลรรบลุรศิรลลปุ์ศิ7ลปม์.75/ม4.5/4
กฎหมายที่คุ้มครอง
ผู้บริโภค
หมายถึง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของประชาชนในด้านบริโภคสินค้าและ
บริการ เพื่อไม่ให้ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบโดยผู้ประกอบการ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านการโฆษณา การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
ต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือ เช่น สั่งให้ผู้ประกอบการดำเนินการทดสอบ
ส่งผลเสียต่อสังคมส่วนรวม เช่น ข้อความที่เป็น หรือพิสูจน์เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยในสินค้า
เท็จหรือเกินจริง , ข้อความที่สนับสนุนให้มีการ นั้นๆ หรือเข้าดำเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิด
กระทำที่นำไปสู่ความเสื่อมเสียในวัฒนธรรมชาติ
สิทธิของผู้บริโภค
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสัญญา การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
ข้อความในสัญญาจะต้องไม่เป็นลักษณะที่ทำให้ บนฉลากต้องระบุชื่อหรือเครื่องหมายการค้า
ผู้บริโภคเสียเปรียบผู้ประกอบธุรกิจ และห้ามใช้ ของผู้ผลิตหรือผู้นำเข้า สถานที่และประเทศที่
ผลิต รวมถึงราคา ปริมาณ วิธีใช้ ข้อแนะนำ คำ
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค เตือน วัน เดือน ปีที่ผลิตและหมดอายุ เป็นต้น
นานงาสงาสวาอวาอลีายลีายห์าหล์ อลยอฟย้าฟ้2า 626นานงาสงาสวามวัณมัณฑทฑาทขาุนขุอนินอิทนรท์ ร1์ 212นานยาภยัสภัพสลพลบรบรรลรุศลิุลศิปล์ ป7์ 7ม.ม5./54/4
พระราชบัญญัติขายตรง
และตลาดแบบตรง พ.ศ.2545
การขายตรง หมายถึง
การนำเสนอขายสินค้าหรือบริการต่อผู้บริโภคโดยตรงโดย
ผ่านตัวแทนขายตรงหรือผู้จำหน่ายอิสระ
1) ผู้จำหน่ายอิสระหรือตัวแทนขายตรงต้องส่งเอกสารการซื้อขายที่มีข้อความ
เป็นภาษาไทยโดยระบุชื่อผู้ซื้อ ผู้ขาย วันที่ซื้อขาย และวันส่งมอบสินค้าหรือ
บริการให้แก่ผู้บริโภค
2) เอกสารการซื้อขายสินค้าหรือบริการแบบตรงต้องระบุรายละเอียดดังนี้
- ชื่อผู้ซื้อ ผู้ขาย วันที่ซื้อ วันส่งมอบสินค้าและสิทธิในการบอกเลิกสัญญา
- กำหนดเวลา สถานที่ และวิธีในการชำระเงิน
- สถานที่และวิธีในการส่งมอบสินค้าหรือบริการ
- วิธีการเลิกสัญญา หรือการคืนสินค้า
- การเปลี่ยนสินค้าหากสินค้าชำรุดหรือบกพร่อง
3) หากไม่มีเอกสารการซื้อขายสินค้า จะถือว่าการซื้อขายสินค้านั้นไม่มีผลผูกพัน
4) ผู้บริโภคมีสิทธิเลิกสัญญาการซื้อขายสินค้าภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับ
สินค้าหรือบริการ
5) ผู้บริโภคที่ใช้สิทธิเลิกสัญญาต้องส่งสินค้าคืนให้แก่ผู้จำหน่ายอิสระ และมี
สิทธิยึดสินค้าไว้จนกว่าจะได้รับเงินจากการซื้อสินค้าคืน
6) หากสินค้าหรือบริการบุบสลายเพราะผู้บริโภค ผู้บริโภคต้องชดใช้ค่าเสียหาย
นางสาวอาลียาห์ ลอยฟ้า 26 นางสาวมัณฑทา ขุนอินทร์ 12 นายภัสพล บรรลุศิลป์ 7 ม.5/4
บทลงโทษและการดำเนินคดี
ผู้ประกอบการธุรกิจตามกฎหมาย
ความผิด จำคุก บทลงโทษ
1.เจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดใน ไม่เกิน 6 เดือน ปรับ หมายเหตุ
แหล่งกำเนิด โดยโฆษณา หรือใช้
ฉลากที่มีข้อความเป็นเท็จโดยรู้อยู่ ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
แล้วว่าจะทำให้เกิดความเข้าใจผิด
2.หากกระทำผิดในข้อ 1 ซ้ำอีก ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ใช้ข้อความโฆษณาที่นำไปสู่ความ ไม่เกิน 3 เดือน ไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
แตกแยกในสังคมหรือสนับสนุน
การผิดกฎหมายหรือฉลากนั้นไม่ถูก
ต้อง
4.ขายสินค้าควบคุมฉลาก โดยไม่มี ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ฉลากหรือฉลากนั้นไม่ถูกต้อง
หรือทั้งจำทั้งปรับ
หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ผลิต สั่งหรือนำสินค้าเข้ามาเพื่อ ไม่เกิน 1 ปี
หรือทั้งจำทั้งปรับ
โดยเป็นสินค้าควบคุมฉลาก ที่ไม่มี
ฉลากหรือฉลากไม่ถูกต้อง ไม่เกิน 100
,000 บาท
6.ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใด ขายสินค้า ไม่เกิน 6 เดือน
ที่สั่งห้ามขาย เพราะเป็นอันตราย
แก่ผู้บริโภค ไม่เกิน 50,000 บาท
7.ผู้ประกอบธุรกิจผู้ใดไม่ส่งมอบ ไม่เกิน 1 ปี
สัญญาที่มีข้อสัญญาหรือไม่ส่งมอบ
หลักฐานการรับเงินที่ถูกต้อง
ไม่เกิน 100,000 บาท
นางสาวอาลียาห์ ลอยฟ้า 26 นางสาวมัณฑทา ขุนอินทร์ 12 นายภัสพล บรรลุศิลป์ 7 ม.5/4
ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้บริโภค
ก่อนและหลังซื้อสินค้า
ก่อนซื้อสินค้า หลังซื้อสินค้า
ตรวจดูฉลากของสินค้าอย่างละเอียด เก็บรักษาหลักฐานต่างๆ จากการซื้อ
สอบถามข้อมูลคุณภาพของสินค้า สินค้า เช่น ใบเสร็จรับเงิน
จากผู้ที่เคยใช้ ร้องขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจ
ศึกษาเงื่อนไขหรือข้อจำกัดของสินค้า สอบคุณภาพและปริมาณของสินค้า
เช่น วัน เดือน ปีที่ผลิตและหมดอายุ หากพบว่าถูกละเมิดสิทธิสามารถร้อง
ไม่หลงเชื่อคำโฆษณาของ เรียนได้ที่หน่วยงานที่ให้ความ
คุ้มครองผู้บริโภค
นางสาวอาลียาห์ ลอยฟ้า 26 นางสาวมัณฑทา ขุนอินทร์ 12 นายภัสพล บรรลุศิลป์ 7 ม.5/4
การรวมพลังของผู้บริโภค
มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองสิทธิประโยชน์แก่ผู้บริโภค ผลักดันให้
ประชาชนรักษาสิทธิผู้บริโภค ซึ่งจะมีการรวมตัวกันของหน่วยงานรัฐ
เอกชน ประชาชน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.อาสาสมัครคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค (อสคบ.)
จัดตั้งเพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในระดับต่างๆ
2.กิจกรรมชุมนุมเยาวชนคุ้มครองผู้บริโภค "หนูน้อย สคบ."
เป็นโครงการที่ให้สถานศึกษาส่งตัวแทนจากโรงเรียน โดยมีกิจกรรม
และการบรรยายเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
3.ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในสถานศึกษา
เป็นการจัดตั้งชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในสถานศึกษา
4.สมาคมเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค
เป็นองค์กรเอกชนในรูปแบบสมาคม โดยมีอำนาจในการฟ้องคดี
การละเมิดสิทธิแทนสมาชิกในสมาคม แบ่งแยกออกเป็น 5 สมาคม
คือ สมาคมพิทักษ์ประโยชน์ผู้บริโภค , สมาคมส่งเสริมและคุ้มครอง-
ผู้บริโภค , สมาคมพลังผู้บริโภคแห่งประเทศไทย , สมาคมคุ้มครอง-
สิทธิประโยชน์ประชาชน และสมาคมผู้บริโภคจังหวัดบุรีรัมย์
นางสาวอาลียาห์ ลอยฟ้า 26 นางสาวมัณฑทา ขุนอินทร์ 12 นายภัสพล บรรลุศิลป์ 7 ม.5/4