The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patcharee01k, 2022-05-11 04:47:27

2_ระบบหายใจ

2_ระบบหายใจ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

เรอ่ื ง ระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ในรา่ งกายมนษุ ย์

ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 3 รหสั วิชา ว22101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

นางพัชรี คณู ทอง
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ
โรงเรยี นโนนกลางวิทยาคม อาเภอพบิ ลู มังสาหาร จงั หวดั อุบลราชธานี
สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่ือนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ใน
รา่ งกายมนุษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพื่อพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนา
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลด
บทบาทของครูตามแนวทางการปฏริ ูปการเรียนรู้ท่ียดึ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ เป็นกิจกรรม การเรยี นรู้
ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนา
ตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาท้ังด้านความรู้
กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร
การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์
คณุ ธรรมและคา่ นิยมท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอาหารกับการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์
ของหลกั สูตรได้

ผูจ้ ัดทาขอขอบพระคุณผ้ทู ่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีให้การสนับสนุน ให้คาแนะนา
และเป็นท่ีปรึกษาที่ดีในการจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การพัฒนาปรับปรุง/
ตรวจสอบแก้ไข จนได้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียน หวังเป็นอย่างย่ิงว่าชุดกิจกรรม
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน เพ่ือนร่วมวิชาชีพ ตลอดจนผู้สนใจ
ในการนาไปพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรียนร้ทู ีม่ ปี ระสิทธิภาพต่อไป

พัชรี คูณทอง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ ก

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

สำรบญั

เรื่อง หน้ำ

คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชี้แจงเก่ียวกบั กำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ค
แผนภมู ลิ ำดบั ข้นั ตอนกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ง
คำช้ีแจงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรับครู จ
คำชีแ้ จงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตรส์ ำหรบั นักเรยี น ช
1
สาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั 1
จุดประสงค์การเรยี นรู้ส่ตู ัวชี้วัด 2
สาระสาคัญ 3
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 6
บตั รเนอ้ื หา ชุดท่ี 2 เร่ือง ระบบหายใจ 22
บตั รกิจกรรมท่ี 2.1 เรื่อง การหายใจเขา้ และการหายใจออก 24
บตั รกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ความจุอากาศของปอด 28
บตั รกิจกรรมท่ี 2.3 เร่ือง วธิ ีการดูแลรักษาอวยั วะในระบบหายใจ 30
แบบทดสอบหลงั เรยี น 33
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
34
บรรณำนุกรม
36
ภำคผนวก 37
เฉลยกิจกรรมที่ 2.1 เรอ่ื ง การหายใจเขา้ และการหายใจออก 40
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 2.2 เรือ่ ง ความจุอากาศของปอด 44
เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 2.3 เรอื่ ง วธิ กี ารดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบหายใจ 46
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
47
ประวัตยิ อ่ ผูจ้ ัดทำ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ข

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

คำช้แี จงเกย่ี วกับชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรือ่ ง ระบบอวัยวะต่าง ๆ ใน
ร่างกายมนุษย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทาขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 รหัสวิชา ว22101 สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝกึ ทีเ่ หมาะสมกับระดับ
และวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพ่ือ
ส่งเสริมเจตคติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้

2. ผู้สอนได้รวบรวมเน้ือหาสาระและกิจกรรม เพ่ือพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์
จากหนังสือและแหล่งความรู้ต่าง ๆ นามาจัดทาเป็นเอกสารประกอบการเรียนให้เหมาะสมกับ
ผู้เรียน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสารวจตรวจสอบขอ้ มลู การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้าง
จิตวิทยาศาสตร์ ผู้สอนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ี จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ ต่อการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้มีคุณภาพต่อไป ซ่ึง
ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 5 ชดุ ดังนี้

ชดุ ที่ 1 เร่ือง ระบบหมุนเวยี นเลอื ด
ชดุ ที่ 2 เรอื่ ง ระบบหายใจ
ชดุ ที่ 3 เรื่อง ระบบขบั ถ่าย
ชดุ ท่ี 4 เรอ่ื ง ระบบประสาท
ชดุ ที่ 5 เร่อื ง ระบบสืบพันธ์ุ
3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีเป็น ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดท่ี 2
เรือ่ ง ระบบหำยใจ ใช้เวลำ 3 ช่วั โมง
4. ผู้ใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์นค้ี วรศกึ ษาข้นั ตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
อยา่ งละเอยี ดก่อนใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วิทยาศาสตรใ์ ห้มคี ณุ ภาพมากยิ่งขึน้ ต่อไป

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ค

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

แผนภมู ลิ ำดับข้นั ตอนกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์

อ่านคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ศกึ ษาตวั ชวี้ ัดและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพ้นื ฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผู้มีพ้ืนฐำนตำ่

ศกึ ษาชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตามข้ันตอน

ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรจู้ ากชุดกิจกรรม

ไมผ่ ่ำน ทดสอบหลงั เรยี น
กำรทดสอบ

ผำ่ นกำรทดสอบ

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เรอ่ื งต่อไป

แผนภูมิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรียนรูว้ ทิ ยำศำสตร์
ชดุ ท่ี 2 เรือ่ ง ระบบหำยใจ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ง

ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

คำช้ีแจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตรส์ ำหรบั ครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดท่ี 2 เร่ือง ระบบ
หำยใจ ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 3 ช่ัวโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทาง
กระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมี
ประสทิ ธภิ าพ ครูผ้สู อนควรดาเนินการดังนี้

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือท่ีครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรยี นรไู้ ปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ครผู ู้สอนเตรยี มส่ือการเรยี นการสอนให้พร้อม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นสือ่ การสอนท่ีตอ้ งใช้ร่วมกัน
4. ครูต้องชี้แจงใหน้ ักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดงั น้ี

4.1 ศกึ ษาบทบาทของนกั เรียนจากการปฏิบัติกจิ กรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพ่ือจะได้ทราบ
วา่ จะปฏิบัตกิ ิจกรรมอะไร อยา่ งไร

4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกัน ไมร่ บกวนผอู้ นื่ และไม่ชักชวนเพือ่ นให้ออกนอกลนู่ อกทาง

4.4 หลังจากปฏบิ ัติกจิ กรรมแลว้ นักเรียนจะตอ้ งจัดเก็บอุปกรณท์ ุกชิ้นใหเ้ รียบรอ้ ย
4.5 เมอ่ื มีการประเมนิ ผลนักเรียนตอ้ งปฏิบตั ติ นอย่างต้ังใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) แบ่งออกเป็น 5
ขัน้ ตอน ดังน้ี
5.1 ขั้นที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ
5.2 ข้นั ท่ี 2 ขั้นสารวจและคน้ หา
5.3 ขนั้ ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ จ

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

5.4 ข้ันท่ี 4 ขั้นขยายความรู้
5.5 ขนั้ ท่ี 5 ขั้นประเมิน
6. ขณะที่นักเรียนทุกกลมุ่ ปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกลมุ่ หรอื รายบคุ คล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรยี นกลุ่มอนื่
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลุ่มใดมีปัญหาควรเข้าไปใหค้ วามชว่ ยเหลือจนปญั หาน้นั คลี่คลายลง
8. การสรุปผลที่ไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตวั แทนของกลุ่มรว่ มกัน ครคู วรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกใหม้ ากท่สี ดุ
9. ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั เรยี น เพ่อื ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ฉ

ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตรส์ ำหรบั นกั เรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีนักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ชุดท่ี 2 เรื่อง ระบบหำยใจ ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต
และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์
และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตาม
คาช้ีแจง ดังต่อไปนี้

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 เร่ือง ระบบหำยใจ ใช้เวลำจัด
กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 3 ชัว่ โมง

2. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ขอ้
3. นกั เรียนทากจิ กรรมเป็นรายกล่มุ และศกึ ษาวิธีดาเนินกจิ กรรมใหเ้ ข้าใจ
4. นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมในชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นักเรียนทากจิ กรรมในชุดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู ห้ครบ
6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน 10 ขอ้

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ช

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ / สาระสาคัญ

ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิตหน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิตการลาเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ
ของสัตวแ์ ละมนุษยท์ ่ที างานสัมพนั ธ์กนั ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ี
ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ทท่ี างานสัมพนั ธก์ นั รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชว้ี ัด ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าทข่ี องอวัยวะท่ี เก่ยี วข้องในระบบหายใจ
ว 1.2 ม.2/1 อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้แบบจาลอง รวมทั้งอธิบาย
ว 1.2 ม.2/2 กระบวนการแลกเปลีย่ นแกส๊
ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแล
ว 1.2 ม.2/3 รกั ษาอวัยวะในระบบหายใจใหท้ างานเป็นปกติ

จุดประสงค์การเรียนรูส้ ตู่ วั ช้ีวดั

1. อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะทเี่ กีย่ วข้องในระบบหายใจได้ (K)
2. อธิบายการเคล่ือนทข่ี องอากาศเข้าและออกจากปอดได้ (K)
3. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกได้ (K)
4. อธิบายการแลกเปล่ยี นแก๊สบริเวณปอดและบริเวณเซลล์ของรา่ งกายได้ (K)
5. เปรียบเทียบการเปลย่ี นแปลงของกระดูกซี่โครงและกะบังลมขณะหายใจเข้าและออกได้
(K)
6. เปรียบเทยี บการทางานของปอดจาลองกบั การทางานของปอดในร่างกายได้ (K)
7. เปรยี บเทียบสัดสว่ นของแก๊สต่าง ๆ ในอากาศที่เข้าและออกจากรา่ งกายได้ (K)

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

1

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

8. เขยี นลาดับการเคล่ือนทข่ี องอากาศผ่านอวัยวะต่าง ๆ เข้าและออกจากปอดได้ (P)
9. จาลองการทางานของปอดในการหายใจเขา้ และออก (P)
10. วดั ความจุอากาศของปอด (P)
11. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของอวยั วะในระบบหายใจและการดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบ
หายใจ (A)
12. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)
13. เป็นนักใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรือกระบวนการเรยี นรู้ เพ่ือหาคาตอบอย่าง
สนุกสนาน (A)

สาระสาคัญ

ระบบหายใจในแต่ละวันมนุษย์จะมีการหายใจเข้าและออกตลอดเวลาซงึ่ การหายใจเกิดจาก
การทางานร่วมกันของอวัยวะในระบบหายใจเพื่อนาอากาศทม่ี ีแก๊สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายและกาจัด
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายดังน้ันระบบหายใจจึงเป็นระบบท่ีมีความจาเป็นอย่างย่ิง
สาหรบั การดารงชีวติ ของมนุษย์

ระบบหายใจ (respiratory System) เป็นระบบแลกเปล่ียนแก๊สของร่างกายกับสิ่งแวดล้อม
โดยแก๊สออกซิเจนท่ีอยู่ภายนอกจะเข้าสู่ร่างกายผ่านการหายใจเข้าซึ่งนาไปใช้ในปฏิกิริยาสลาย
สารอาหารภายในเซลล์เพ่ือให้ได้พลังงานมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกายอีกทั้งยังได้แก๊ส
คารบ์ อนไดออกไซด์และน้าซึ่งจะถูกกาจัดออกจากรา่ งกายผ่านการหายใจออกต่อไป

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

2

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ี 2 ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา
เวลา 10 นาที
เร่ือง ระบบหายใจ 10 คะแนน

คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องทสี่ ุด แล้วเขยี นเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. กระบวนการหายใจเกิดข้ึนท่ีบริเวณใด
ก. บรเิ วณปอด
ข. เซลลท์ ุกเซลล์
ค. บรเิ วณถงุ ลมปอด
ง. บริเวณเส้นเลือดฝอย

2. ขอ้ ความใดกลา่ วถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างกะบงั ลมกบั กระดกู ซ่โี ครงในขณะท่เี ราหายใจเข้า
ไดถ้ กู ต้อง

ก. ทงั้ กะบงั ลมและกระดูกซี่โครงเลอื่ นสูงขึน้
ข. ทั้งกะบังลมและกระดกู ซโ่ี ครงเลือ่ นต่าลง
ค. กะบงั ลมเลื่อนสงู ขึน้ กระดูกซ่โี ครงเล่ือนต่าลง
ง. กะบงั ลมเล่ือนตา่ ลงกระดกู ซโี่ ครงเลอื่ นสงู ข้ึน

3. ในจงั หวะที่หายใจเข้ามกี ารเปล่ยี นแปลงเกดิ ขึ้นในลักษณะใด
ก. ปริมาตรของซองอกน้อยลงความดันอากาศสงู ขน้ึ
ข. ปรมิ าตรของช่องอกมากข้ึนความดนั อากาศสูงข้นึ
ค. ปริมาตรของช่องอกมากขึ้นความดนั อากาศลดต่าลง
ง. ปรมิ าตรของซอ่ งอกน้อยลงความดนั อากาศลดต่าลง

4. การนาก๊าซออกซเิ จนเขา้ ไปเผาผลาญอาหาร ทาใหเ้ กดิ พลังงานเปน็ กระบวนการในระบบใด
ก. ระบบหายใจ
ข. ระบบขบั ถ่าย
ค. ระบบย่อยอาหาร
ง. ระบบหมนุ เวียนโลหิต

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

3

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

5. ในการหายใจแต่ละครงั้ อวัยวะใดเป็นตัวควบคุมการหายใจเข้าและออก
ก. จมกู
ข. ปอด
ค. หลอดลม
ง. กระดูกซโี่ ครงและกะบังลม

6. การแลกเปลย่ี นแก๊สเกดิ ข้ึนท่ใี ด
ก. จมกู
ข. ถงุ ลม
ค. หลอดลม
ง. กะบังลม

7. ของเสยี ของระบบหายใจคืออะไร
ก. ไอนา้
ข. เลือดดา
ค. แก๊สไนโตรเจน
ง. แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์

8. อะไรทีเ่ ป็นตัวกาหนดอัตราการหายใจเขา้ หายใจออกให้หายใจเร็วข้นึ หรอื หายใจช้าลง
ก. ปริมาณออกซิเจน
ข. ปรมิ าณน้าในเลือด
ค. ปรมิ าณของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลอื ด
ง. ปรมิ าณของคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นอากาศ

9. ถา้ เปรยี บโลกเปน็ ร่างกายมนษุ ย์ ต้นไม้บนโลกจะเปรยี บได้กบั อวัยวะส่วนใด
ก. ตบั
ข. ปอด
ค. หวั ใจ
ง. กระเพาะอาหาร

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

4

ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

10. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเกี่ยวกบั การหายใจเข้า

กะบังลม กระดกู ซีโ่ ครง ปริมาตรในชอ่ งอก ความดนั ในช่องอก
ก. หดตัว ยกตวั ขนึ้ เพิ่มขึ้น ลดลง
ข. หดตวั ยกตวั ขึ้น ลดลง ลดลง
ค. คลายตัว เคลอ่ื นตา่ ลง ลดลง ลดลง
ง. คลายตวั ยกตัวข้ึน เพิ่มข้นึ ลดลง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

5

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

บัตรเนือ้ หา
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ (respiratory system)

ระบบหายใจ (respiratory system)
การหายใจ (breathing) เป็นกระบวนการซึ่งนาอากาศเข้าหรือออกจากปอด ส่ิงมีชีวิตท่ี

ต้องการออกซิเจนต้องการไปเพ่ือปลดปล่อยพลังงานผ่านการหายใจระดับเซลล์ในรูปเมทาบอลิซึม
โมเลกุลพลังงานสูง เช่น กลูโคส การหายใจเป็นเพียงกระบวนการเดียวซึ่งส่งออกซิเจนไปยังท่ีที่
ต้องการในร่างกายและนาคาร์บอนไดออกไซด์ออก อีกกระบวนการหนึ่งท่ีสาคัญเก่ียวข้องกับการ
เคลื่อนท่ีของเลือดโดยระบบไหลเวียน การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นในถงุ ลมปอดโดยการแพร่ของแก๊ส
ระหว่างแก๊สในถุงลมและเลอื ดในหลอดเลือดฝอยปอด เม่ือแก๊สที่ละลายนี้อยู่ในเลอื ด หัวใจป๊ัมเลือด
ใหไ้ หลไปทัว่ ร่างกาย

นอกเหนือไปจากการนาคาร์บอนไดออกไซด์ออก การหายใจส่งผลให้เกิดการสูญเสียน้าจาก
ร่างกาย อากาศที่หายใจออกมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากับ 100% เพราะน้าแพร่ข้ามพ้ืนผิวที่ชุ่มชื้นของ
ทางเดินหายใจและถุงลมปอด

ระบบหายใจของคนประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ ดังน้ีคอื
1. ส่วนนาอากาศเข้าสู่ร่างกาย (conducting division) ส่วนน้ีประกอบด้วยอวัยวะที่ทา

หน้าท่ีเปน็ ทางผ่านของอากาศเข้าสสู่ ว่ นท่ีมีการแลกเปลีย่ นแก๊ส โดยเรม่ิ ต้ังแต่รูจมูก โพรงจมกู (nasal
cavity) คอหอย (pharynx) กล่องเสียง (larynx) หลอดลมคอ (trachea) หลอดลมหรือขั้วปอด
(bronchus) หลอดลมฝอย (bronchiole) ซึ่งยังแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือหลอดลมฝอยเทอร์มินอล
(terminal brochiole) และหลอดลมฝอยแลกเปลีย่ นแก๊ส (respiratory bronchiole)

2. สว่ นแลกเปลยี่ นแกส๊ (respiratory division) สว่ นแลกเปลี่ยนแกส๊ เปน็ สว่ นของหลอดลม
ฝอยทีต่ ่อจากหลอดลมฝอยเทอร์มนิ อล คอื หลอดลมฝอยแลกเปลย่ี นแก๊ส ซึ่งจะมีการโป่งพองเป็นถุง
ลมย่อย (pulmonary-alveoli) ซึ่งทาให้แลกเปลี่ยนแก๊สได้ สาหรับส่วนท่ีต่อจากท่อลมฝอย
แลกเปลี่ยนแก๊สจะเป็นท่อลม (alveolar duct) ถุงลม (alveolar sac) และถุงลมย่อย (pulmonary
alveoli) โครงสร้างต้ังแต่หลอดลม (bronchus) ที่มีการแตกแขนงและมีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ คือ
หลอดลมฝอย ท่อลม ถุงลม ถุงลมย่อย จะเรียกว่า บรอนเคียลทรี (broncheal tree) ซ่ึงจะถูกบรรจุ
อยู่ในปอดยกเว้นหลอดลมตอนต้น ๆ ที่อยู่นอกปอด นอกจากน้ีโครงสร้างที่กล่าวมาแล้วยังมี
ส่วนประกอบทส่ี าคัญซึ่งเป็นองค์ประกอบร่วม คือกระดกู ซโ่ี ครง (rib) และกล้ามเนื้อยึดกระดูกซ่ีโครง

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

6

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

(intercostal muscle) ซึ่งจะร่วมกันทางานให้เกิดการหายใจเข้า หายใจออกและป้องกันอันตราย
ใหแ้ กร่ ะบบหายใจด้วย

โดยปกตมิ นุษย์จะหายใจเข้าและออกประมาณ 10 – 15 คร้ังตอ่ นาที หรือประมาณ 18,720
คร้ังต่อวัน และการหายจะมีอากาศเข้าและออกจากรา่ งกายประมาณ 500 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร

เม่ือเอานิ้วอังบริเวณปลายจมูกเวลาหายใจเข้าและหายใจออก จะรู้สึกว่ามีอากาศเคลื่อนที่
ผ่านน้ิวมือมีอากาศเข้าและออกจากร่างกาย อากาศภายนอกจะเคล่ือนท่ีเข้าสู่ร่างกายทางรูจมูก
ภายในจมูกจะมีความชุ่มช้ืนและมีเส้นขนขนาดเล็กที่ช่วยดักจับฝุ่นละออง อากาศจะเคล่ือนที่เข้าสู่
ท่อลม (trachea) ท่ีมีลักษณะเป็นท่อกลวง และเข้าสู่หลอดลม (bronchus) ซึ่งจะแตกแขนงเป็น
หลอดลมฝอยขนาดเล็กอยู่ในปอด (lung) ทั้งสองข้าง ปลายสุดของหลอดลมฝอยจะมีถุงลม
(alveolus) ซงึ่ มีผนงั บางและมจี านวนมากหลายล้านถงุ นอกจากนี้ยังมีอวยั วะท่ีเกี่ยวข้อง คอื กระดูก
ซ่ีโครง (rib) โอบล้อมปอดทั้งสองข้างไว้กับกระบังลม (diaphragm) ซ่ึงเป็นแผ่นกล้ามเน้ือขนาดใหญ่
อยู่ดา้ นล่าง กั้นระหวา่ งชอ่ งอกกับช่องท้อง

ภาพท่ี 2.1 อวัยวะทเ่ี ก่ียวข้องกับระบบหายใจ
ทมี่ า : หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2

สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์ (หนา้ 69)

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

7

ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

ระบบหายใจ คือ ระบบทป่ี ระกอบด้วยอวยั วะเกีย่ วขอ้ งกับการหายใจ เปน็ การนาอากาศเข้า
และออกจากร่างกายส่งผลให้แก๊สออกซิเจนทาปฏิกิริยากับสารอาหาร ได้พลังงาน น้า และแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนการหายใจเกิดข้ึนกับทุกเซลล์ตลอดเวลา การหายใจจาเป็นต้องอาศัย
โครงสร้าง 2 ชนิดคือ กล้ามเน้ือกะบังลม และกระดูกซ่ีโครง ซ่ึงมีกลไกการทางานของระบบหายใจ
ดังนี้

โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวัยวะในระบบหายใจ
ระบบหายใจของมนุษย์ประกอบด้วยอวัยวะสาคัญในการแลกเปล่ียนแก๊ส ได้แก่ ปอด

และท่อท่ีเป็นทางเดินของอากาศประกอบด้วยจมูกปากท่อลมรวมถึงอวัยวะที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
หายใจ ได้แก่ กะบังลมและกระดูกซี่โครงอากาศจากภายนอกจะเข้าสู่ปอดผ่านทางจมูกและปาก
จากน้ันอากาศจะผ่านเข้าสู่ท่อลมซึ่งปลายของท่อลมจะแยกออกเป็นหลอดลม 2 แขนงเข้าสู่ปอด
ทั้ง 2 ข้างซ่ึงเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น แต่เนื่องจากปอดของมนุษย์ไม่มีกล้ามเนื้อ
จงึ ไมส่ ามารถหดตัว

ภาพที่ 2.2 ตาแหน่งทีต่ งั้ ของระบบหายใจ
ทม่ี า : http://taem.weebly.com/.html

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

8

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

จมูกและปาก (nose and mouth) ท้ังจมูกและปากจะต่อถึงคอหอยและหลอดลมคอได้
อากาศเมอ่ื ผ่านเขา้ สู่รูจมูกแล้วก็จะเข้าสู่โพรงจมูก ทโ่ี พรงจมูกจะมีขนเสน้ เลก็ ๆและตอ่ มน้ามันชว่ ยใน
การกรองและจับฝุ่นละอองไม่ให้ผ่านลงสู่ปอด นอกจากน้ีที่โพรงจมูกยังมีเย่ือบุจมูกหนาช่วยให้
อากาศที่เข้ามามีความชุ่มชื้นเพิ่มข้ึนและมีอุณหภูมิสูงข้ึนเน่ืองจากเส้นเลือดจานวนมากท่ีอยู่ใต้เยื่อบุ
ผิวของโพรงจมูก ถ้าหากเป็นหวัดนาน ๆ เชื้อหวัดอาจทาให้เยื่อบุในโพรงอากาศบริเวณจมูกเกิดการ
อักเสบ และทาให้ปวดศีรษะซ่ึงเรียกว่า เป็นไซนัสหรือไซนัสอักเสบ (sinusitis) ขึ้นได้ ในจมูกจะมี
บริเวณที่เรียกว่า ออลแฟกเทอรี แอเรีย (olfactory area) หรือบริเวณท่ีทาหน้าท่รี ับกลน่ิ โดยมีเซลล์
เยื่อบุผิวซ่ึงเปล่ียนแปลงไปทาหน้าท่ีโดยเฉพาะเรียกว่า ออลแฟกทอรีเซลล์(olfactory cell) ซ่ึงมี
พนื้ ทีป่ ระมาณ 10 ตารางเซนตเิ มตร และจะมีขนาดเลก็ ลงเมือ่ อายุมากขน้ึ

คอหอย (pharynx) คอหอย (pharynx) เป็นบริเวณท่ีพบกันของช่องอากาศจากจมูกและ
ช่องอาหารจากปาก อากาศจะผ่านเข้าสู่กล่องเสียง (larynx) ท่ีกล่องเสียงจะมีอวัยวะท่ีทาหน้าที่ใน
การปิดเปิดกล่องเสียงเรียกว่า ฝาปิดกล่องเสียง (epiglottis) ป้องกันไม่ให้อาหารตกลงสู่หลอดลม ท่ี
กล่องเสียงจะมีเย่ือเมือกท่ีมีใยเอ็นยืดหยุ่นได้เรียกว่า เส้นเสียง (vocal cord) เม่ือลมผ่านกล่องเสียง
จะทาให้เส้นเสียงส่ันและเกิดเปน็ เสยี งขน้ึ

หลอดลมคอ (trachea) หลอดลมคอ (trachea) เป็นท่อกลวงมีผนังแข็งและหนาเพราะมี
กระดูกอ่อนเรียงเป็นรูปเกือกม้าทาให้หลอดลมคอไม่แฟบและการที่กระดูกอ่อนของหลอดลมคอเป็น
รูปเกือกม้าทาให้หลอดอาหาร ซ่ึงอยู่ด้านหลังสามารถขยายขนาดได้เมื่อมีการกลืนอาหารผ่านหลอด
อาหารลงสู่กระเพาะอาหาร หลอดลมคอของผู้ใหญ่ยาวประมาณ 9-15 เซนติเมตร โดยจะเร่ิมจาก
กระดูกคอชิ้นที่ 6 จนถึงกระดูกอกช้ินท่ี 5 แล้วจึงแตกแขนงเป็นหลอดลม (bronchus) เขา้ สู่ปอดอีก
ทีหน่ึง หลอดลมคอส่วนแรก ๆ จะมีต่อมไทรอยด์ (thyroidgland) คลุมอยู่ทางด้านหน้า ทางด้าน
นอกของหลอดลมจะมีต่อมน้าเหลือง

หลอดลมเล็กหรือขัว้ ปอด( bronchus)เป็นส่วนทแ่ี ตกแขนงแยกจากหลอดลม แบง่ ออกเป็น
2 กง่ิ คือซ้ายหรือขวา โดยกิ่งซา้ ยจะเขา้ สู่ปอดซ้าย และก่งิ ขวาแยกเข้าปอดขวาพร้อม ๆ กับเส้นเลือด
และเส้นประสาท

หลอดลมฝอย (bronchiole)แบง่ ออกเป็น 2 สว่ นคอื
1. หลอดลมฝอยเทอร์มนิ อล (terminal bronchiole) เป็นทอ่ ท่ีแยกออกจากหลอดลม

แขนงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 มิลลิเมตร พบกล้ามเนื้อเรียบและเยื่ออิลาสติกไฟเบอร์
(elastic fiber) เป็นองค์ประกอบของผนังหลอดลมฝอยเทอร์มินอล แต่ไม่พบโครงสร้างที่เปน็ กระดูก
ออ่ น

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

9

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

2. หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส (respiratory bronchiole) เป็นส่วนแรกท่ีมีการ
แลกเปล่ียนแก๊ส เนื่องจาก มีถงุ ลมยอ่ ยมาเปิดเข้าทีผ่ นัง ซึง่ จะพบในส่วนที่อย่ทู ้าย ๆ ซ่ึงจะมมี ากกว่า
สว่ นทอ่ี ยตู่ ดิ กบั หลอดลมฝอยเทอร์มินอล

ท่อลม (alveolar duct)ท่อลม (alveolar duct) เป็นท่อส่วนสุดท้ายของส่วนท่ีมีการ
แลกเปลีย่ นแกส๊ (respiratory division) ซงึ่ จะไปสิ้นสดุ ท่ีถงุ ลม (alveolar sac)

ถงุ ลมและถุงลมย่อย ถุงลมและถงุ ลมยอ่ ย(alveolus หรือ alveolar sac และ pulmonary
alveoli) ถุงลมเป็นช่องว่างท่ีมีถุงลมย่อยหลาย ๆ ถุงมาเปิดเข้าท่ีช่องว่างอันน้ี ส่วนถุงลมย่อยมี
ลักษณะเป็นถุงหกเหล่ียมมเี ซลล์พิเศษหลั่งสารพวกฟอสโฟลิพิด (phospholipid) เรยี กว่า เซอรแ์ ฟก
แทนท์(surfactant) เข้าสู่ถุงลมย่อยเพื่อลดแรงตึงผิวของถุงลมย่อยไม่ให้ติดกัน เม่ือปอดแฟบเวลา
หายใจออกผนังของถุงลมย่อยท่ีอยู่ติดกันจะรวมกันเป็นอินเตอร์อัลวีโอลาร์เซปทัม( interalveolar
septum) ซ่ึงมีเส้นเลือดฝอยอยู่ภายใน นอกจากนี้ยังมีรูซ่ึงเป็นช่องติดต่อระหว่างถุงลมย่อยทาให้
อากาศภายในถุงลมย่อยมีแรงดันเท่ากันท้ังปอด ทั้งถุงลมและถุงลมย่อยจะรวมเรียกว่า ถุงลมปอด
ปอดแต่ละข้างจะมีถุงลมปอดประมาณ 300 ล้านถุง แต่ละถุงจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยประมาณ
0.25 เซนติเมตร คิดเป็นพื้นท่ีท้ังหมดของการแลกเปลยี่ นแก๊สของถุงลมปอดทั้งสองข้างประมาณ 90
ตารางเมตรหรือคิดเป็น 40 เท่าของพ้ืนท่ีผิวของร่างกาย การที่ปอดยืดหยุ่นได้ดีและขยายตัวได้มาก
และการมีพื้นที่ของถุงลมปอดมากมายขนาดนั้นจะทาให้ร่างกายได้รับแก๊สออกซิเจนอย่างเพียงพอ
และคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้เป็นอย่างดีอีกด้วยปอดของคนมีเส้นเลือดฝอยมาเลี้ยงอย่าง
มากมายจึงทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สได้มากและรวดเร็วจนเป็นท่ีเพียงพอแก่ความต้องการของ
รา่ งกาย

กลไกการทางานของระบบหายใจ
1. เมื่อหายใจเข้า แก๊สออกซิเจนจะเข้าไปสู่ปอดถึงถุงลมแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอย

เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงจะจบั ออกซเิ จน นาไปในกระแสเลอื ด นาไปปล่อยให้เซลลโ์ ดยการแพร่
2. แก๊สออกซิเจนจะเข้าทาปฏิกิริยากับสารอาหาร เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงาน

และ นา้ เรยี กกระบวนการน้วี ่า การหายใจเขยี นเป็นสมการได้ว่า

C6H12O6 + 6O2 ® 6CO2 + 6H2O + พลังงาน

3. กระบวนการหายใจเกิดขนึ้ กบั ทกุ เซลล์ทกุ เวลา ความเขม้ ข้นของแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
ในเลอื ดเปน็ ตัวการหน่ึงท่ีกาหนดอัตราการหายใจเขา้ และออกว่าจะเรว็ ชา้ เพยี งใด

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

10

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

ภาพท่ี 2.3 การเคล่ือนไหวของกระบังลม
ทม่ี า : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/web/lesson2_3.html

การหายใจเข้าเกิดเม่ือ กระบังลมเล่ือนลง กระดูกซ่ีโครงเลื่อนขึ้น ปริมาตรอากาศในปอด
คอ่ ย ๆ เพิ่มมากขนึ้ อากาศก็เข้าไปในปอด

การหายใจออกเกิดเมื่อ กระบังลมเล่ือนสูงขึ้น กระดูกซ่ีโครงเลื่อนลง ปริมาตรอากาศใน
ปอดคอ่ ย ๆ ลดลง อากาศก็ออกจากปอดออไปทางจมูก

ภาพที่ 2.4 การเคลื่อนไหวของกระดกู ซ่โี ครงในการหายใจ
ทมี่ า : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/web/lesson2_3.html

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

11

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

ภาพท่ี 2.5 กระบวนการหายใจ
ที่มา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/web/lesson2_3.html

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จากเซลล์เข้าส่เู ส้นเลือดฝอย แยกตัวออกเป็น 2 ทาง ทางหนึ่ง
ปนกับพลาสมา ทางน้ีเป็นส่วนน้อย 5 - 10% เท่านั้น อีกทางหน่ึงเข้าในเม็ดเลือดแดงจับกับ
เฮโมโกลบินและเขา้ นา้ ในเม็ดเลอื ดแดงทาให้เกิดเกลือไฮโดรเจนคารบ์ อเนตในเมด็ เลอื ดแดง เมอ่ื ไปถึง
ปอด แก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ะแยกตวั ออกผ่านเขา้ สู่ถุงลมแลว้ ออกมากบั ลมหายใจออก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

12

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

ภาพที่ 2.6 การแพรข่ องแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ที่มา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/web/lesson2_3.html

1. การหายใจเข้า (Inspiration) กะบงั ลมจะเลื่อนตา่ ลง กระดูกซโ่ี ครงจะเล่ือนสูงขน้ึ ทา
ให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มข้ึน ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศภายนอก
อากาศภายนอกจึงเคลอ่ื นเขา้ สจู่ มูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด

ภาพที่ 2.7 การหายใจเข้า
ทมี่ า : http://taem.weebly.com/.html

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

13

ชดุ กิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

2. การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซ่ีโครงจะเล่ือนต่าลง ทาให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง

ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่
จากถงุ ลมปอดไปสหู่ ลอดลมและออกทางจมูก

ภาพท่ี 2.8 การหายใจออก
ท่ีมา : http://taem.weebly.com/.html

ภาพท่ี 2.9 ภาพการหายใจเข้าและการหายใจออก
ที่มา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/559/559/lesson2/web/body3.html

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

14

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

องค์ประกอบของระบบหายใจ

ภาพที่ 2.10 อวัยวะในช่องอก
ท่ีมา : http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/haijai.htm

1. จมูก (nose) เป็นอวัยวะที่เป็นทางผ่านของลมหายใจ ภายในรูจมูกบุด้วยเย่ือบุ
จมูก ซ่ึงมีต่อมน้ามันและขนจมูกข้ึนอยู่รอบ ๆ ผนังของรูจมูก ขนจมูกจะทาหน้าท่ีกรองฝุ่นละอองใน
อากาศไม่ให้เข้าสู่หลอดลมและปอด ถัดจากรูจมูกเข้าไปจะเป็นโพรงจมูก ที่มีเย่ือบุค่อนข้างหนาบุอยู่
ทวั่ ผนงั ของโพรงจมกู เยอ่ื บุนี้ประกอบดว้ ยหลอดเลอื ดที่จะชว่ ยปรับอณุ หภูมขิ องลมหายใจ ตอ่ มเมอื ก
ท่ีทาหน้าท่ีขับน้าเมือกออกมาทาให้ลมหายใจมีความชุ่มช้ืน และช่วยจับฝุ่นละอองและเชื้อโรคที่ผ่าน
ขนจมูกเข้ามา และมีขนเล็ก ๆ ทาหน้าที่ปัดแผ่นน้าเมือกท่ีสกปรกให้ไหลไปทางลาคอลงสู่กระเพาะ
อาหาร

2. คอหอย (pharynx) เป็นบริเวณที่หลอดอาหารและหลอดลมแยกออกจากกัน
โดยหลอดอาหารจะอยู่ดา้ นหลังของหลอดลม

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

15

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

3. กล่องเสียง (larynx) อยู่ถัดเข้ามาจากโคนล้ิน ตรงเข้าสู่หลอดลมส่วนต้น ตรงทางเข้า
สู่กล่องเสียงจะมีลิ้นปิดหลอดลม ท่ีทาหน้าที่ปิดหลอดลมขณะที่เรากลืนอาหาร เพื่อป้องกันไม่ให้
อาหารผ่านลงไปส่หู ลอดลม ภายในกลอ่ งเสียงจะมีสายเสยี งท่ที าใหเ้ กดิ เสยี งตา่ ง ๆ ได้

4. หลอดลม (trachea) ประกอบด้วย หลอดลมใหญ่ เปน็ ทางเดนิ หายใจท่ีอยูถ่ ัดเข้า
มาจากกล่องเสียง เป็นกล้ามเนื้อเรียบที่มีกระดูกอ่อนรูปตัวยูฝังอยู่เป็นชั้น ๆ ทาให้คงรูปอยู่ได้ไม่หด
แฟบ ผนังด้านในของหลอดลมจะมีเยื่อเมือกท่ีคอยกักฝุ่นละออง โดยมีขนอ่อนขนาดเล็กคอยโบกพัด
ฝุ่นละอองให้ข้ึนไปด้านบนให้ออกไปจากหลอดลม หลอดลมเล็ก เป็นหลอดลมที่แยกออกมาจาก
หลอดลมใหญ่ไปสู่ปอดทั้ง 2 ข้าง จากน้ันจะแบ่งแยกออกไปเป็นหลอดลมย่อยที่จะสิ้นสุดท่ีถุงลม
ภายในปอด

5. หลอดลมขั้วปอด (bronehi) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากหลอดลมแยกออกเป็น 2 ข้าง
คือ ซ้ายและขวาโดยข้างขวาจะสั้นกว่า กว้างกว่าและอยู่ในแนวดิ่งมากกว่าข้างซ้ายโรคต่างๆ เช่น
วัณโรค ปอดบวม จึงมักจะเกิดกับข้างขวามากกว่าข้างซ้าย หลอดลมข้ัวปอดนี้จะทอดเข้าสู่ปอดข้าง
ขวาและซา้ ย แตกแขนงออกเป็นแขนงเลก็ ๆ เป็นหลอดลมในปอด (bronehioles)

ภาพที่ 2.11 ระบบทางเดนิ หายใจ
ทมี่ า : https://sites.google.com/site/educationbyjittanan/rabb-khab-thay-1

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ

16

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

6. ปอด (lungs) เปน็ อวยั วะทอี่ ยู่ในทรวงอกท้ังสองด้าน โดยอยู่ถัดจากกระดูกซ่ีโครงเข้ามา
ด้านใน ปอดมลี ักษณะคลา้ ยฟองน้าและมีความยืดหยุ่นมาก ภายในปอดจะมถี ุงลมเล็ก ๆ (alveolus)
จานวนมาก และมีเสน้ เลือดฝอยผ่านเข้าไปในถงุ ลมเหลา่ นีเ้ พื่อทาการแลกเปล่ยี นแกส๊

ภาพท่ี 2.12 ลักษณะของปอด
ท่ีมา : https://sites.google.com/site/educationbyjittanan/rabb-khab-thay-1

กระบวนการทางานของระบบการหายใจ

ภาพที่ 2.13 ลกั ษณะการแลกเปลี่ยนแกส๊ ท่ีถุงลม
ที่มา : http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/haijai.htm

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

17

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

การแลกเปลย่ี นแกส๊ ที่ถงุ ลม
อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซ่ึงมีลกั ษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดแต่ละข้างจะมี
ถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ละถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมี
หลอดเลอื ดฝอยมาหอ่ ห้มุ ไว้ การแลกเปลย่ี นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซเิ จน ไนโตรเจน และไอนา้
ผ่านเขา้ ออกถงุ ลมโดยผา่ นเย่ือบางๆของถุงลม
เลือดจากหัวใจมาส่ปู อด เป็นเลอื ดท่ีมอี อกซิเจนต่า คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถงุ ลมจะ
มกี ารแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์
ในเส้นเลือดจะแพร่เขา้ สถู่ งุ ลม แล้วขบั ออกทางลมหายใจออก

ภาพท่ี 2.14 ลกั ษณะการแลกเปลีย่ นแก๊สท่ถี ุงลม
ทม่ี า : http://taem.weebly.com/36483619363936563629359136135921.html

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

18

ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

ภาพท่ี 2.15 ลักษณะการแลกเปลยี่ นแก๊สทถ่ี ุงลม
ทมี่ า : http://taem.weebly.com/36483619363936563629359136135921.html

การดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ
1. รกั ษาสุขภาพให้ดี โดยการ รบั ประทานอาหาร พักผ่อน และออกกาลงั กายอย่าง

สมา่ เสมอ
2. แต่งกายใหเ้ หมาะสมกับสภาพอากาศ เหมาะสมกับฤดูกาล เพ่อื ปอ้ งกันการเปน็ หวัด
3. หลกี เลยี่ งการอยู่ใกลช้ ดิ กับผูป้ ว่ ยโรคทางเดนิ หายใจ
4. ปิดปากและจมูกเวลาไอ หรือจาม
5. ไมใ่ ช้สง่ิ ของปนกบั ผู้อน่ื โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผู้ปว่ ยโรคทางเดินหายใจ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

19

ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

6. อย่ใู นท่อี ากาศบริสุทธิ์ ไม่อบั ชื้นแออดั โดยเฉพาะสถานท่ที ่มี คี วันบหุ รี่ เพราะควนั บุหร่ี
มกี า๊ ซพิษ คือไนโตรเจนไดออกไซด์ ทาใหเ้ ปน็ โรคถงุ ลมโป่งพอง

7. ระวังการกระแทกอยา่ งแรงกับอวยั วะการหายใจ ได้แก่หนา้ อก และปอด
8. ไม่เลีย้ งสตั ว์ต่าง ๆ ไวใ้ นบ้าน เพราะขนสตั วก์ ่อให้เกิดโรค

โรคของระบบการหายใจ และองค์ประกอบอนื่ ๆทีม่ ผี ลต่อการหายใจ
โรคของระบบการหายใจ
1. โรคถงุ ลมโป่งพอง ( ephysema)

โรคถุงลมโป่งพอง เป็นโรคท่ีเนื้อปอดถูกทาลาย ส่งผลให้การแลกเปล่ียนออกซิเจนลดลง
ทาใหผ้ ู้ปว่ ยมีอาการ หอบเหน่ือย หายใจลาบาก สาเหตุของโรค สาเหตขุ องถงุ ลมโป่งพอง ที่พบบ่อย
ท่ีสุด ได้แก่ การสบู บุหรี่ นอกจากนั้นยงั อาจเกดิ จาก การสูดดมสงิ่ ที่เป็นพษิ เช่น มลภาวะ ไอเสีย ฝุ่น
สารเคมี เปน็ ระยะเวลานาน ๆ

ภาพท่ี 2.16 ลกั ษณะของถงุ ลมโปง่ พอง
ทม่ี า : http://taem.weebly.com/36483619363936563629359136135921.html

2. โรคปอดจากการทางาน
โรคปอดดา (Anthracosis) เกิดจากการสะสมผงถ่านคาร์บอนในปอดปริมาณมาก

ซิลิโคซีส (Silicosisi) เกิดจากการหายใจเอาฝุ่นของซิลิคอนไดออกไซด ์(Sillicon dioxide) เข้าไป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

20

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

(silica ซิลิกา สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ SiO2 จุดหลอมเหลว 1,7000 C จุดเดือด 2,2300
C เป็นของแข็งไมม่ ีสีมีโครงสร้างผลึก 5 รปู แบบ ในธรรมชาตอิ ยใู่ นรปู ของทราย คอวตซ์ และหินบาง
ชนดิ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมการผลิตแกว้ ผงขัด วัสดุทนไฟ และผลติ ภัณฑ์เซรามกิ เป็นต้น)

แอสเบสโตซีส (Asbestosis) ซึ่งเกิดข้ึนจากการหายใจเอาฝุ่นในโรงงานทาเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งมี
กลิน่ และฝุ่นของสีน้ายาเคลือบเงา

ภาพที่ 2.17 ลักษณะของปอดดา
ท่ีมา : http://taem.weebly.com/36483619363936563629359136135921.html

3. โรคหอบหดื คือ โรคของหลอดลมทม่ี ีการตีบหรืออุดตันอันเนือ่ งมาจากมกี ารอักเสบของ
หลอดลม มีการหดเกร็งของกลา้ มเนือ้ หลอดลม มเี สมหะท่ีเหนียวออกมามาก

โรคหอบหืด มลี กั ษณะสาคัญ 3 ประการ
1. หลอดลมทม่ี ีการตีบหรอื อุดตนั เป็นๆหายๆการตีบหรืออุดตันเกดิ จาก กลา้ เนอ้ื หลอดลม
หดตวั เยอ่ื บุบวม มีการอักเสบ เสมหะมาก
2. มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลมรว่ มดว้ ย
3. หลอดลมมสี ภาพไวผิดปกติต่อส่ิงกระตุ้นต่างๆ เช่น ควันตา่ งๆ กลิ่นทแี่ รง สารก่อภมู ิแพ้

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

21

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

บตั รกิจกรรมท่ี 2.1
เร่ือง การหายใจเข้าและการหายใจออก

จดุ ประสงค์
- สังเกตและอธบิ ายกลไกการหายใจเข้าและหายใจออกโดยใชแ้ บบจาลองการทางานของปอด

วสั ดอุ ุปกรณ์
- แบบจาลองการทางานของปอด

วิธีการดาเนนิ กิจกรรม

ภาพแบบจาลองการทางานของปอด

1. สังเกตแบบจาลองการทางานของปอด และบันทึกส่วนประกอบท้ังหมดของแบบจาลอง
โดยเปรยี บเทียบกบั อวยั วะทั้งหมดของรา่ งกายในภาพท่ี 2.1

2. ยกแบบจาลองขึ้นด้วยมือข้างหนึ่ง จากน้ันใช้มืออีกข้างหนึ่งดึงแผ่นยางของแบบจาลอง
และค้างไว้ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงจากลกู โป่งทีเ่ กิดขนึ้ ท้ังสองใบ บนั ทกึ ผล

3. ใช้มือข้างเดิมดันแผ่นยางของแบบจาลองขึ้นและค้างไว้ สังเกตการณ์เปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน
ของลกู โปง่ ทาซา้ กัน 2 – 3 ครัง้ บันทกึ ผล

4. ร่วมกันอภปิ รายเพ่ือเปรยี บเทยี บการทางานของแบบจาลองกบั การหายใจ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

22

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

คาถามท้ายกจิ กรรม
1. แบบจาลองการทางานของปอดมีสว่ นประกอบอะไรบ้าง แลละแตล่ ะสว่ นประกอบ
เปรียบเทียบได้กบั อวยั วะใดของระบบหายใจ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. เมอ่ื ดึงแผ่นยางของแบบจาลองลง เปรียบไดก้ บั การหายใจเขา้ หรือหายใจออก ทราบได้
อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. เมอ่ื ดนั แผน่ ยางของแบบจาลองขนึ้ เปรยี บได้กับการหายใจเข้าหรือหายใจออก ทราบได้
อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. จากกจิ กรรมสรปุ ได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

23

ชุดกิจกรรมการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

บตั รกจิ กรรมที่ 2.2
เร่ือง ความจุอากาศของปอด

จดุ ประสงค์
- ทดลองและอธบิ ายความจุของปอด

วสั ดอุ ุปกรณ์
1. ชดุ อุปกรณ์วัดความจอุ ากาศของปอด
2. กรรไกร
3. เทปใส

วธิ ีการดาเนนิ กจิ กรรม
1. คล่ีชุดอุปกรณ์วัดความจุอากาศของปอด ซ่ึงประกอบด้วยถุงพลาสติกยาว ท่อพลาสติก
สนั้ และสติกเกอรใ์ สท่แี สดงปริมาตรความจอุ ากาศของปอดออก

2. นาสติกเกอรใ์ สท่ีแสดงปริมาตรความจอุ ากาศของปอดตดิ บนถุงพลาสติก โดยให้ดา้ นท่ีมี
เลข 6.0 ลิตร ตดิ อย่กู ับดา้ นปลายของถงุ พลาสติก

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

24

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

3. นาท่อพลาสติกสั้นสอดไปในถุงพลาสติก โดยให้ปลายท่อโผล่พ้นถุงออกมาประมาณ 3
เซนตเิ มตร จากนน้ั ให้ใชเ้ ทปพันทอ่ เข้ากบั ถุงให้แมน่

4. จับคู่ทากิจกรรมกับเพื่อน โดยคนหน่ึงยืนถือชุดอุปกรณ์วัดความจุอากาศของปอดด้าน
ทอ่ พลาสติกท่ใี ชเ้ ปน็ ท่อเป่า และอีกคนหน่ึงยนื ถอื ชุดอุปกรณด์ า้ นปลายถุง

5. ให้คนที่ยืนอยู่ด้านปลายถุงเข้ามายังด้านท่อเป่าจนเกือบถึงท่อเป่า โดยอย่าม้วนแน่น
จนเกินไป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

25

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

6. ให้คนที่อยู่ทางด้านท่อเป่าสูดลมหายใจเข้าให้เต็มที่แล้วเป่าลมเข้าไปในถุงพลาสติก
จากนั้นให้รีบใช้มือข้างที่ถนัดปิดถุงพลาสติกบริเวณท่ีติดกับท่อเป่า เพื่อป้องกันไม่ให้
อากาศรั่วออกจากถุง ขณะเดียวกันคนท่ีอยู่ด้านปลายถุงค่อย ๆ เดินถอยหลังพร้อมท้ัง
คลายมือคล่ีถุงพลาสติกออก เพื่อเพิ่มพ้ืนท่ีในการรองรับอากาศที่เข้าไปภายใน
ถุงพลาสตกิ

7. เมอ่ื เมอ่ื เป่าลมเขา้ ไปในถุงเรยี บร้อยแลว้ คนที่ยนื อยู่ดา้ นปลายถุงค่อยๆ มว้ นถงุ พลาสติก
เข้ามาจนแน่น แล้วอา่ นค่าปริมาตรอากาศในถุง บันทึกผล

8. ทาซ้าข้อที่ 5 – 7 อกี 2 ครัง้ แล้วหาคา่ เฉล่ีย
9. รวบรวมข้อมูลจากการทากิจกรรมของแต่ละคน เพ่ือนามาเปรียบเทียบกนั และนาเสนอ

ในรปู แบบที่น่าสนใจ

คาถามท้ายกิจกรรม
1. ความจอุ ากาศของปอดในแต่ละคนมีค่าแตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปจั จยั ใดบ้างที่มผี ลตอ่ ปริมาตรความจุอากาศของปอดและสง่ ผลอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

26

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

3. จากกจิ กรรมสรุปได้วา่ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

27

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

บัตรกิจกรรมท่ี 2.3
เรื่อง วิธกี ารดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจ

จุดประสงค์
- รวบรวมขอ้ มลู และนาเสนอวิธีการดูแลรักษาอวยั วะในระบบหายใจ

วสั ดอุ ุปกรณ์
-

วิธีการดาเนินกจิ กรรม
1. สบื คน้ ข้อมลู เก่ียวกบั โรคท่ีเกีย่ วขอ้ งกับระบบหายใจ กลุ่มละ 1 โรค เช่น โรคมะเรง็ ปอด
โรคหอบหืด โรคถงุ ลมโปง่ พอง โรคหลอดลมอักเสบ โรควัณโรค
2. รว่ มกันวิเคราะหห์ าสาเหตุท่ีอาจกอ่ ใหเ้ กดิ โรค ระบุอวยั วะที่เกยี่ วข้องกับโรคทน่ี ักเรียน
เลอื ก พร้อมท้งั นาเสนอวิธกี ารดูแลรกั ษาอวัยวะเหล่านัน้ ใหท้ างานเป็นปกติ
3. นาเสนอข้อมลู ในรปู แบบที่น่าสนใจ เชน่ โปสเตอร์ แผน่ พบั

คาถามท้ายกจิ กรรม
1. โรคทเ่ี ก่ียวกบั ระบบหายใจมสี าเหตมุ าจากอะไรบา้ ง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. นกั เรยี นจะมีวธิ ีการป้องกันตนเองและบุคคลรอบขา้ งใหป้ ลอดภัยจากโรคทเี่ กีย่ วกับ
ระบบหายใจอย่างไรบ้าง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

28

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

3. จากกิจกรรมสรปุ ได้ว่าอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

29

ชดุ กิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 2 ระบบอวยั วะในร่างกายของเรา
เวลา 10 นาที
เรอื่ ง ระบบหายใจ 10 คะแนน

คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสดุ แล้วเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. กระบวนการแลกเปล่ียนแก๊สเกิดขึน้ ทบี่ ริเวณใด
ก. จมูก
ข. ถุงลม
ค. ขั้วปอด
ง. หลอดลม

2. บรเิ วณที่พบกนั ระหว่างช่องอาหารกับช่องอากาศ คอื ส่ิงใดต่อไปน้ี
ก. กล่องเสียง
ข. หลอดลม
ค. คอหอย
ง. จมูก

3. กระบวนการใดท่ีทาใหร้ ่างกายเผาผลาญอาหารแลว้ ไดพ้ ลังงาน
ก. การหายใจระดับเซลล์
ข. การหายใจโดยระบบทางเดนิ หายใจ
ค. การดดู ซึมอาหารของระบบย่อยอาหาร
ง. การหมนุ เวยี นเลอื ดของระบบหมุนเวียนเลือด

4. เม่อื รา่ งกายหายใจเอาอากาศที่ไมส่ ะอาด หรอื มสี ง่ิ แปลกปลอมเข้าไป ร่างกายจะพยายาม
ขบั สง่ิ แปลกปลอมออกดว้ ยวิธีการใด

ก. ไอ
ข. หาว
ค. จาม
ง. สะอึก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ

30

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

5. ปริมาณแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดม์ ีผลตอ่ อตั ราการหายใจหรือไม่ อยา่ งไร
ก. มี เพราะถ้าปริมาณแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์สูงจะทาให้หายใจช้าลง
ข. มี เพราะถา้ ปริมาณแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์สงู จะทาให้หายใจเร็วขน้ึ
ค. ไม่มี เพราะปริมาณแก๊สทเี่ กีย่ วข้องกับอตั ราการหายใจ คือแกส๊ ออกซิเจน
ง. ไมม่ ี เพราะปริมาณแก๊สทีเ่ ก่ยี วข้องกับอัตราการหายใจ คือแกส๊ คารบ์ อนมอนอกไซด์

6. ข้อใดกลา่ วถึงความสัมพันธ์ระหว่างกะบงั ลมกับกระดูกซโี่ ครงได้ถูกตอ้ ง
ก. เม่ือหายใจเขา้ กะบงั ลมและกระดกู ซีโ่ ครงจะเล่ือนสูงขึ้น
ข. เม่ือหายใจเขา้ กะบังลมและกระดกู ซ่โี ครงจะเลื่อนต่าลง
ค. เมอื่ หายใจเข้า กะบังลมจะเล่ือนสูงข้นึ และกระดกู ซโ่ี ครงเล่ือนตา่ ลง
ง. เม่อื หายใจเข้า กะบงั ลมจะเล่ือนต่าลงและกระดกู ซี่โครงเลอื่ นสูงขึ้น

7. เม่อื ปรมิ าณออกซิเจนในเลอื ดน้อย ร่างกายจะมีปฏกิ ริ ิยาตอบสนองอยา่ งไร
ก. ไอ
ข. หาว
ค. จาม
ง. สะอกึ

8. ข้อใดคือความหมายของกระบวนการหายใจ
ก. กระบวนการท่แี ก๊สออกซิเจนเข้าทาปฏกิ ิรยิ ากับสารอาหาร
ข. กระบวนการเพ่ิมแกส๊ คาร์บอนมอนอกไซด์เขา้ ทาปฏิกิริยากบั สารอาหาร
ค. กระบวนการทแี่ ก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ ข้าทาปฏิกิรยิ ากบั สารอาหาร
ง. กระบวนการท่ีแก๊สไฮโดรเจนเขา้ ทาปฏิกริ ยิ ากับสารอาหาร

9. ระบบหายใจทางานเกี่ยวขอ้ งสัมพันธ์กับระบบใดมากทส่ี ุด
ก. ระบบนา้ เหลอื ง
ข. ระบบประสาท
ค. ระบบขับถ่าย
ง. ระบบหมุนเวยี นเลือด

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

31

ชดุ กิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

10. เมอ่ื ดงึ แผน่ ยางลงจะเกดิ การเปลย่ี นแปลงกับลกู โปร่งอย่างไรและเปรียบเทยี บไดก้ ับการ
หายใจอยา่ งไร

ก. ลูกโปร่งหดตวั และเปรยี บได้กับการหายใจเข้า
ข. ลูกโปรง่ หดตัวและเปรียบได้กับการหายใจออก
ค. ลูกโปร่งพองตวั และเปรียบได้กบั การหายใจเข้า
ง. ลูกโปร่งพองตวั และเปรยี บได้กบั การหายใจออก

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

32

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ข้อ ก ข ค ขอ้ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

33

ชุดกจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2554). หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เลม่ 2 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

________. (2554). คู่มือครู รายวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กาญจนา เนตรวงศ์. (2552). ติวเข้มวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน้ .
กรงุ เทพฯ : ฟสิ กิ สเ์ ซ็นเตอร์.

เกศกนก นันตา. (2551). คมู่ อื นกั เรยี น ชุดการเรียนการสอน ชุดท่ี 3 เรอ่ื ง ระบบหายใจ.
สบื คน้ เมอ่ื 8 ตุลาคม 2561
จาก https://www.kroobannok.com/news_file/p13376731152.pdf

ธนพงษ์ วัชรโรจน์. (2559). เตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : บริษทั สวสั ดีไอทีจากดั .
ประดับ นาคแกว้ และ ดาวลั ย์ เสรมิ บุญสม. (2555). หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษา

ปีที่ 2. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : แมค็ เอด็ ดูเคชั่น.
ประไพรตั น์ พลู ทว.ี (ม.ป.ป.). ชวี วิทยาเพม่ิ เติม เล่ม 2. อ่างทอง : วรศลิ ปก์ ารพิมพ.์
ฝา่ ยวิชาการสานักพมิ พภ์ ูมบิ ัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มอื -เตรียมสอบ วทิ ยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ :

สานักพมิ พ์ภูมิบณั ฑิต
พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์, พเยาว์ ยินดสี ุข, ธารณิ ี วิทยาอนิวรรตน์, นัยนา ตรงประเสรฐิ ,

อมรรตั น์ บบุ ผโชติ, น้าผงึ้ ศุภอุทมุ พร, และคนอนื่ ๆ. (2554). หนงั สือเรียนรายวชิ า
พน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
โพธธิ รณ์ ครรชติ านุรกั ษ์, ณฐั พงศ์ แถมยิ้ม และ ชัยศาสตร์ คเชนทร์สวุ รรณ. (2559). สรปุ เข้ม
วทิ ยาศาสตร์ ม.ต้น ฉบบั สมบูรณ์ ม่นั ใจเต็ม 100. นนทบุรี : ไอดีซฯี .
ไพโรจน์ แกว้ มา. (2555). Compact วทิ ยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : แมค็ เอด็ ดเู คช่ัน.
ยุพา ขาพูน ประกายดาว พรหมประพัฒน์ กอบกุล ไพศาลอัชพงษ์ และรณภูมิสามัคคีคารมย.์
(2553). การส่งเสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกนั พฤตกิ รรมเสี่ยงและปญั หาสุขภาพเยาวชน.
นนทบรุ ี : กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ์. (2560). โครงการตรวจคดั กรอง“ สมองเส่ือมอัลไซเมอรค์ รบวงจร
ในคนไทย”: ความรเู้ รื่องอลั ไซเมอร์. สืบคน้ เมื่อ 30 ธันวาคม 2560,
จากhttp://ad.cra.ac.th/AD_Screening/content/knowledge

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ

34

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

วลัยมน วมิ ลประสาร. (2560). ความปลอดภยั ในห้องปฏิบตั กิ าร (2). วารสารเพอื่ การวจิ ยั
และพฒั นาองคก์ ารเภสชั กรรม. 24 (3), 4. ศูนย์การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ.
(2561). ชวี ิตในอวกาศ. สบื ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561,
จาก http://www.lesa.biz/space-technology) spacecraft/life-in-space

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เติม
ชวี วทิ ยาเลม่ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6. กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
(พิมพค์ รง้ั ท่ี 9). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559). หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน
วิทยาศาสตร์ 4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เลม่ 2. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
(พมิ พค์ รัง้ ท่ี 9). กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั . (2560).
กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรีรวิทยา (เลม่ ที่ 8). สบื คน้ เมื่อ 20 พฤศจกิ ายน 2560,
จากhttp://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book
=8&chap=2&page=chap2.htm.

สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต.ิ (2556). แม่วยั ใสความทา้ ทายการ
ต้ังครรภใ์ นวยั รุ่น, กรงุ เทพฯ : บริษัท แอดวานส์ ปร้ินติ้ง จากดั .

https://www.youtube.com/watch?v=XFCzYWC_-Kk
http://www.youtube.com/watch?v=3mV41we6Q0c
http://www.youtube.com/watch?v=suMdYSoVSxs
https://sites.google.com/a/pkc.ac.th/humanbody2016/rabb-hayci
http://www.thaigoodview.com/.../sec04p06.html

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

35

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชุดที่ 2 ระบบหายใจ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ

36

ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 2.1
เรื่อง การหายใจเขา้ และการหายใจออก

จุดประสงค์
- สังเกตและอธบิ ายกลไกการหายใจเขา้ และหายใจออกโดยใช้แบบจาลองการทางานของปอด

วสั ดอุ ุปกรณ์
- แบบจาลองการทางานของปอด

วธิ ีการดาเนนิ กิจกรรม

ภาพแบบจาลองการทางานของปอด

1. สังเกตแบบจาลองการทางานของปอด และบันทึกส่วนประกอบทั้งหมดของแบบจาลอง
โดยเปรยี บเทียบกบั อวัยวะท้งั หมดของรา่ งกายในภาพท่ี 2.1

2. ยกแบบจาลองข้ึนด้วยมือข้างหนึ่ง จากนั้นใช้มืออีกข้างหน่ึงดึงแผ่นยางของแบบจาลอง
และค้างไว้ สังเกตการณเ์ ปล่ียนแปลงจากลูกโปง่ ท่ีเกิดข้ึนทั้งสองใบ บนั ทกึ ผล

3. ใช้มือข้างเดิมดันแผ่นยางของแบบจาลองขึ้นและค้างไว้ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงท่ี
เกดิ ขึน้ ของลูกโปง่ ทาซา้ กนั 2 – 3 ครงั้ บันทกึ ผล

4. รว่ มกันอภปิ รายเพอื่ เปรยี บเทียบการทางานของแบบจาลองกบั การหายใจ

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ

37

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

ตวั อยา่ งผลการทากิจกรรม

เมอ่ื ทาการทดลองจะสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลงของลกู โป่งในแบบจาลองการทางานของ
ปอด ดงั ต่อไปน้ี

เม่ือดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งภายในกล่องพลาสติกจะพองตัวข้ึน เนื่องจากปริมาตรของอากาศ
ในกล่องพลาสติก เพิ่มข้ึน ทาให้ความดันอากาศภายในกล่องลดลงต่ากว่าด้านนอก ส่งผลให้อากาศ
จากภายนอกเคลอ่ื นที่เขา้ ส่ลู กู โปง่

เม่ือดันแผ่นยางขึ้น ลกู โป่งภายในกล่องพลาสติกจะแฟบลง เน่ืองจากปริมาตรของอากาศใน
กล่องพลาสติก ลดลง ทาให้ความดันอากาศภายในกล่องสูงขึ้นและสูงกว่าภายนอกกล่อง ส่งผลให้
อากาศภายในลกู โป่งเคลื่อนท่ี ออกสภู่ ายนอก

คาถามท้ายกจิ กรรม
1. แบบจาลองการทางานของปอดมสี ่วนประกอบอะไรบ้าง แลละแต่ละสว่ นประกอบ
เปรียบเทียบได้กบั อวัยวะใดของระบบหายใจ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………แ…บ…บ…จา…ล…อ…งก…า…ร…ทา…ง…าน…ข…อ…ง…ป…อด……ป…ระ…ก…อ…บ…ด้ว…ย…ท…่อ…รูป…ต…ัว…Y……ซ…ึ่งท…่อ…ต…รง…เ…ปร…ีย…บ…ได…้ ……….
………ก…ับ…ท…่อ…ล…ม…แล…ะ…ท…่อ…ท…ี่ แ…ย…ก…อ…อก……2…ข…้าง…เ…ป…รีย…บ…ไ…ด้ก…ับ…ห…ล…อ…ด…ล…ม…ล…ูก…โป…่ง…2…ล…ูก…เ…ป…รีย…บ…ไ…ด้ก…ับ………….
………ป…อ…ด…ท…้ัง …2…ข…้าง……ช่อ…ง…ว…่าง…ภ…าย…ใ…น…ก…ล่อ…ง…พ…ล…าส…ต…ิก…ใส……ทร…ง…ก…ระ…บ…อ…ก…เป…ร…ียบ…ไ…ด…้กั…บช…่อ…ง…อก……แ…ละ………….
………แ…ผ…น่ …ยา…ง…เป…ร…ยี …บไ…ด…้ก…ับก…ะ…บ…ังล…ม…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

38

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

2. เม่อื ดึงแผ่นยางของแบบจาลองลง เปรยี บได้กบั การหายใจเขา้ หรือหายใจออก ทราบได้
อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………เ…ม…่ือ…ดึง…แ…ผ…่น…ย…าง…ข…อ…งแ…บ…บ…จ…าล…อ…ง…ล…ง …เป…ร…ีย…บ…ได…้ก…ับ…ก…าร…ห…า…ย…ใจ…เข…้า……ทร…า…บ…ได…้จ…า…ก……….
…………ล…กู โ…ป…่งท…งั้ …ส…อง…ใ…บ…ภ…าย…ใ…น…กล…่อ…ง…พล…า…ส…ตกิ…พ…อ…ง…ออ…ก………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. เมื่อดนั แผ่นยางของแบบจาลองข้นึ เปรยี บไดก้ ับการหายใจเขา้ หรอื หายใจออก ทราบได้
อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………เ…ม…่ือ…ดัน…แ…ผ…่น…ย…าง…ข…อ…งแ…บ…บ…จ…าล…อ…ง…ข้ึน……เป…ร…ีย…บ…ได…้ก…ับ…ก…าร…ห…า…ยใ…จ…อ…อก……ท…รา…บ…ได…้จ…า…ก……….
…………ล…กู โ…ป…ง่ ท…ง้ั …ส…อง…ใ…บใ…น…ก…ล…่อ…งพ…ล…า…สต…ิก…แ…ฟ…บ…ลง………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. จากกจิ กรรมสรุปได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………แ…บ…บ…จา…ล…อ…งก…า…ร…ทา…ง…าน…ข…อ…ง…ปอ…ด……เป…็น…ก…าร…จ…าล…อ…ง…ก…ลไ…ก…กา…ร…ท…าง…า…น…ขอ…ง…ก…าร…ห…า…ยใ…จ…เข…้า…….
……แ…ล…ะ…ก…าร…ห…า…ยใ…จ…ออ…ก…ข…อ…งม…น…ุษ…ย…์ ม…ีส…่ว…น…ป…ระ…ก…อ…บ…คือ…ท…่อ…ร…ูป…ตัว……Y…ซ…ึ่งท…่อ…ต…ร…งเ…ป…รีย…บ…ไ…ด…้กับ…ท…่อ…ล…ม…….
……แ…ล…ะ…ท…่อท…่ีแ…ย…ก…ออ…ก……ท…ัง้ …2…ข…้าง…เป…ร…ีย…บ…ได…้ก…ับ…ห…ลอ…ด…ล…ม…ล…ูก…โป…ง่ …เป…ร…ีย…บ…ได…้ก…ับ…ป…อด……ช่อ…ง…ว…่าง…ภ…าย…ใ…น…….
……ก…ล…่อ…งพ…ล…า…ส…ต…ิกใ…ส…ท…รง…ก…ร…ะบ…อ…ก…เป…ร…ีย…บ…ไ…ด…้ก…ับช…่อ…ง…อ…ก…แ…ผ…่นย…า…ง…เป…ร…ีย…บไ…ด…้ก…ับ…กะ…บ…ัง…ล…ม…ก…าร…ด…ึง…….
……แ…ผ…่น…ย…าง…ล…ง …ส…่งผ…ล…ให…้อ…า…กา…ศ…จ…าก…ภ…า…ยน…อ…ก…เค…ล…ือ่ …น…เข…้า…สลู่…ูก…โ…ป่ง……เป…ร…ียบ…ไ…ด…ก้ ับ…ก…า…รห…า…ย…ใจ…เข…้า…ส…่ว…น…….
……ก…า…รด…ัน…แ…ผ…น่ …ยา…ง…ขน้ึ……ส…ง่ ผ…ล…ให…้อ…า…กา…ศ…เค…ล…ือ่ …น…ท…่ีออ…ก…จ…าก…ล…ูก…โป…่ง…เ…ป…รีย…บ…ได…ก้ …ับ…ก…าร……หา…ย…ใจ…อ…อ…ก………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

39

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชดุ ท่ี 2 ระบบหายใจ

เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 2.2
เรอ่ื ง ความจอุ ากาศของปอด

จดุ ประสงค์
- ทดลองและอธบิ ายความจขุ องปอด

วสั ดุอุปกรณ์
1. ชดุ อปุ กรณ์วดั ความจุอากาศของปอด
2. กรรไกร
3. เทปใส

วธิ ีการดาเนนิ กิจกรรม
1. คลี่ชุดอุปกรณ์วัดความจุอากาศของปอด ซ่ึงประกอบด้วยถุงพลาสติกยาว ท่อพลาสติกส้ัน
และสตกิ เกอร์ใสทีแ่ สดงปริมาตรความจุอากาศของปอดออก

2. นาสติกเกอร์ใสท่ีแสดงปริมาตรความจุอากาศของปอดติดบนถุงพลาสติก โดยให้ด้านที่มี
เลข 6.0 ลติ ร ตดิ อยกู่ ับด้านปลายของถุงพลาสติก

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ

40

ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ระบบหายใจ

3. นาท่อพลาสติกสั้นสอดไปในถุงพลาสติก โดยให้ปลายท่อโผล่พ้นถุงออกมาประมาณ 3
เซนตเิ มตร จากนัน้ ให้ใช้เทปพนั ท่อเข้ากบั ถงุ ให้แมน่

4. จับคู่ทากิจกรรมกับเพื่อน โดยคนหน่ึงยืนถือชุดอุปกรณ์วัดความจุอากาศของปอดด้านท่อ
พลาสตกิ ทีใ่ ช้เป็นทอ่ เป่า และอกี คนหนงึ่ ยนื ถอื ชดุ อปุ กรณ์ด้านปลายถุง

5. ให้คนท่ียืนอยู่ด้านปลายถุงเข้ามายังด้านท่อเป่าจนเกือบถึงท่อเป่า โดยอย่าม้วนแน่น
จนเกนิ ไป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ

41

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 ระบบหายใจ

6. ให้คนที่อยู่ทางด้านท่อเป่าสูดลมหายใจเข้าให้เต็มที่แล้วเป่าลมเข้าไปในถุงพลาสติก
จากนั้นให้รีบใช้มือข้างท่ีถนัดปิดถุงพลาสติกบริเวณที่ติดกับท่อเป่า เพื่อป้องกันไม่ให้
อากาศรั่วออกจากถุง ขณะเดียวกันคนที่อยู่ด้านปลายถุงค่อย ๆ เดินถอยหลังพร้อมทั้ง
คลายมือคล่ถี ุงพลาสติกออก เพอ่ื เพม่ิ พน้ื ที่ในการรองรบั อากาศทเ่ี ขา้ ไปภายในถงุ พลาสตกิ

7. เม่ือเมื่อเป่าลมเข้าไปในถุงเรียบร้อยแล้ว คนที่ยืนอยู่ด้านปลายถุงค่อยๆ ม้วนถุงพลาสติก
เข้ามาจนแน่น แล้วอ่านคา่ ปรมิ าตรอากาศในถงุ บนั ทกึ ผล

8. ทาซ้าขอ้ ท่ี 5 – 7 อกี 2 ครง้ั แลว้ หาคา่ เฉล่ยี
9. รวบรวมข้อมูลจากการทากิจกรรมของแต่ละคน เพ่ือนามาเปรียบเทียบกันและนาเสนอใน

รปู แบบท่นี ่าสนใจ

ตัวอยา่ งผลการทากิจกรรม

ผลการวัดความจุอากาศของปอดด้วยชุดวัดความจุอากาศของปอดซึ่งมีหน่วยเป็นลิตร
ตัวอย่างเช่น นักเรียน ชายวัดความจุอากาศของปอดท้ังหมด 3 ครั้งได้ค่า 3.3 3.4 และ 3.0 ลิตร
ตามลาดับ ส่วนนักเรียนหญิงวัดความจุ อากาศของปอดทั้งหมด 3 ครั้งได้ค่า 2.7 2.6 และ 2.8 ลิตร
ตามลาดับ เม่ือหาค่าเฉลี่ยความจุอากาศของปอดของ นักเรียนชายจะได้ 3.23 ลิตร ส่วนนักเรียน
หญิงมีคา่ ความจุอากาศของปอดเฉลย่ี ที่ 2.70 ลิตร ซ่งึ สามารถแสดงคา่ เป็นตารางได้ดงั นี้

เพศ วัดครงั้ ท่ี 1 ค่าความจุอากาศของปอด (ลิตร) วดั คร้ังท่ี 4
วดั ครัง้ ท่ี 2 วัดคร้งั ท่ี 3

ชาย 3.3 3.4 3.2 3.3

หญิง 2.7 2.6 2.8 2.7

ข้อมูลตารางสามารถอธบิ ายไดว้ ่า นกั เรียนชายมคี า่ ความจุปอดเฉลย่ี มากกวา่ นกั เรยี นหญงิ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ

42


Click to View FlipBook Version