The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6ธรณีสัณฐานและโครงสร้าง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by patcharee01k, 2022-06-11 00:10:41

6ธรณีสัณฐานและโครงสร้าง

6ธรณีสัณฐานและโครงสร้าง

ชุดกิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6

นางพชั รี คูณทอง
ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ

ชุดท่ี 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีท่เี กิดจากการเคลอ่ื นท่ีของแผน่ ธรณี

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อเปน็ ส่อื นวตั กรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซ่อมเสรมิ ได้ หรือใช้ใน
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรี ย น ของผู้ เรี ย น กลุ่ มส าร ะการ เรี ยน รู้ วิทย าศาส ตร์ เป็น น วัตกรร มท่ีช่ว ยล ดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศักยภาพ ซง่ึ สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร การตัดสนิ ใจ การนา
ความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั ตลอดจนสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านยิ มท่ี
ถูกตอ้ งเหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้จะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลกั สตู รได้

พัชรี คูณทอง

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ก

ชดุ ที่ 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีทเี่ กิดจากการเคลอื่ นท่ขี องแผน่ ธรณี

สำรบญั

เร่ือง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบญั ข
คำช้ีแจงเกี่ยวกบั กำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ค
แผนภูมิลำดับข้ันตอนกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ง
คำชแ้ี จงกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรับครู จ
คำชแี้ จงกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์สำหรับนักเรียน ช
1
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชวี้ ัด 1
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
แนวความคิดต่อเนอื่ ง 3
สาระสาคัญ 4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 7
บตั รเนือ้ หา ชดุ ที่ 6 เรือ่ ง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 22
บตั รกิจกรรมท่ี 6.1 เร่ือง ทอ่ งโลกกวา้ งตามหาธรณสี ัณฐานและโครงสร้างทางธรณี 25
บตั รกจิ กรรมที่ 6.2 ผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีฯ 26
บตั รกจิ กรรมท่ี 6.3 ถอดบทเรียน เรอ่ื ง ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีฯ 27
แบบฝกึ หัด เร่อื ง ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณฯี 28
แบบทดสอบหลงั เรียน 31
กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน
32
บรรณำนุกรม
33
ประวตั ยิ ่อผจู้ ดั ทำ

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ ข

ชุดท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณที ่ีเกิดจากการเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณี

คำชแี้ จงเกยี่ วกับชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกทีเ่ หมาะสมกบั ระดับ
และวัย เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพ่ือ
ส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
เข้าใจหลกั การทางวิทยาศาสตร์ เกดิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธสี ารวจตรวจสอบข้อมูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชดุ ดงั นี้

ชุดท่ี 1 เรอื่ ง ขอ้ มูลในการศึกษาและแบง่ ชน้ั โครงสรา้ งโลก
ชุดที่ 2 เรื่อง การแบง่ ช้ันโครงสรา้ งโลก
ชุดท่ี 3 เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎีทวปี เลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนุน
ชดุ ท่ี 4 เรื่อง แนวคดิ ของทฤษฎกี ารแผข่ ยายพ้นื สมุทรและหลักฐานสนับสนุน
ชดุ ท่ี 5 เรอ่ื ง การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ชุดท่ี 6 เรื่อง ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเี่ กิดจากการเคลอ่ื นทข่ี องแผ่นธรณี
ชุดที่ 7 เรอ่ื ง ภเู ขาไฟระเบิด
ชดุ ท่ี 8 เร่อื ง แผ่นดินไหว
ชุดท่ี 9 เรือ่ ง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้เป็น ชุดที่ 6 เร่ือง ธรณีสัณฐำนและโครงสร้ำง
ทำงธรณที ่เี กิดจำกกำรเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณี ใชเ้ วลำ 2 ชั่วโมง
3. ผู้ใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีควรศกึ ษาขัน้ ตอนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้
อยา่ งละเอยี ดกอ่ นใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดน้ี จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ใหม้ ีคณุ ภาพมากย่งิ ขึน้ ตอ่ ไป

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ ค

ชดุ ท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณที ีเ่ กิดจากการเคล่อื นที่ของแผ่นธรณี

แผนภูมลิ ำดับข้ันตอนกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์

อา่ นคาชี้แจงและคาแนะนาในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ศกึ ษาตัวช้วี ัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ เสริมพื้นฐำน
ทดสอบกอ่ นเรียน ผมู้ ีพนื้ ฐำนต่ำ

ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามข้ันตอน

ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรียนร้จู ากชุดกจิ กรรม

ไมผ่ ่ำน ทดสอบหลงั เรยี น
กำรทดสอบ

ผำ่ นกำรทดสอบ

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เรื่องตอ่ ไป

แผนภมู ิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์
ชดุ ท่ี 6 เรือ่ ง ธรณสี ณั ฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณีท่เี กิดจำกกำรเคลือ่ นท่ขี องแผ่นธรณี

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ง

ชุดท่ี 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีท่เี กิดจากการเคลอ่ื นทีข่ องแผน่ ธรณี

คำช้ีแจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรส์ ำหรบั ครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดท่ี 6 เรื่อง ธรณี
สณั ฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณที ่เี กดิ จำกกำรเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม
2 ชั่วโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้
กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้
การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนควรดาเนนิ การ
ดังน้ี

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับคาช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือที่ครูผู้สอนสามารถนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรไู้ ปใช้ในการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

2. ครูผสู้ อนเตรียมสือ่ การเรียนการสอนใหพ้ รอ้ ม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซ่ึงนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นส่ือการสอนท่ีตอ้ งใช้รว่ มกัน
4. ครูต้องช้ีแจงใหน้ ักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
ดังนี้

4.1 ศึกษาบทบาทของนกั เรียนจากการปฏิบัติกจิ กรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
ว่าจะปฏบิ ตั กิ ิจกรรมอะไร อยา่ งไร

4.3 นักเรียนต้องต้ังใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั ไมร่ บกวนผู้อน่ื และไมช่ กั ชวนเพือ่ นให้ออกนอกลู่นอกทาง

4.4 หลังจากปฏิบตั ิกิจกรรมแล้ว นกั เรยี นจะต้องจัดเก็บอุปกรณ์ทุกชิน้ ใหเ้ รียบรอ้ ย
4.5 เมอื่ มกี ารประเมนิ ผลนักเรยี นตอ้ งปฏิบตั ิตนอยา่ งตงั้ ใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขัน้ ตอน ดังนี้
5.1 ข้ันท่ี 1 ขั้นตรวจสอบความรเู้ ดมิ
5.2 ขน้ั ที่ 2 ขนั้ สร้างความสนใจ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ จ

ชดุ ที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ขี องแผ่นธรณี
5.3 ข้นั ที่ 3 ขั้นสารวจและคน้ หา
5.4 ขน้ั ที่ 4 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ
5.5 ขนั้ ที่ 5 ขัน้ ขยายความรู้
5.6 ขั้นที่ 6 ข้ันประเมนิ
5.7 ข้นั ที่ 7 ขนั้ นาความรูไ้ ปใช้
6. ขณะที่นกั เรียนทุกกลมุ่ ปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกลมุ่ หรือรายบุคคล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนกั เรียนกล่มุ อ่ืน
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลมุ่ ใดมีปญั หาควรเขา้ ไปให้ความช่วยเหลือจนปญั หานนั้ คล่คี ลายลง
8. การสรุปผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มรว่ มกัน ครคู วรเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนแสดงออกใหม้ ากทสี่ ุด
9. ประเมินผลการเรยี นร้ขู องนกั เรียน เพอ่ื ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ของนักเรียน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ ฉ

ชุดที่ 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีท่เี กิดจากการเคลือ่ นทข่ี องแผ่นธรณี

คำชแี้ จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรส์ ำหรบั นักเรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดที่ 6 เร่ือง ธรณี
สัณฐำนและโครงสร้ำงทำงธรณีท่ีเกิดจำกกำรเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ
สงั เกต และรวบรวมข้อมลู มาสรุปเป็นองคค์ วามรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสบื ค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ
แก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียนควรปฏิบัติตามคาช้ีแจง
ดังตอ่ ไปนี้

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 6 เรื่อง ธรณีสัณฐำนและโครงสร้ำง
ทำงธรณที ีเ่ กดิ จำกกำรเคล่อื นทขี่ องแผน่ ธรณี ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง

2. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น จานวน 10 ข้อ
3. นกั เรยี นทากิจกรรมเป็นรายกลมุ่ และศึกษาวิธดี าเนนิ กิจกรรมใหเ้ ขา้ ใจ
4. นกั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นกั เรยี นทากจิ กรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ขอ้

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ ช

ชุดที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณที ี่เกิดจากการเคล่อื นทขี่ องแผ่นธรณี

ชดุ ที่ 6

ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเี่ กดิ จากการเคลอ่ื นท่ี
ของแผ่นธรณี

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมท้ังผลต่อสิ่งมีชีวิต
และส่ิงแวดล้อม

ตัวชว้ี ัด
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
โดยใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณท่ีสัมพันธ์กับ
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยา
ที่พบ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายกระบวนการท่ีทาให้เกิดการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี ระบุผลท่ีเกิดจากการ

เคลื่อนที่ของแผ่นธรณีได้ (K)
2. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และสรุป เกีย่ วกับกระบวนการเคล่อื นท่ขี องแผ่นเปลือกโลก (P)

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 1

ชุดท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที ีเ่ กิดจากการเคลอื่ นท่ขี องแผ่นธรณี

3. อธิบายรูปแบบการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีท่ีสัมพันธ์กับการเกิดธรณีสัณฐาน
และโครงสรา้ งทางธรณีวทิ ยาแบบต่าง ๆ (K)

4. ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเก่ียวกับธรณีสัณฐานและโครงสร้างทาง
ที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรู้ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั (A)

5. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
ยอมรับความคดิ เห็นของผูอ้ ่ืนได้ (A)

ลาดบั ความคดิ ต่อเนอื่ ง

การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

ธรณีภาคซึ่งเป็นชั้นนอกสุดของโครงสร้างโลก แบ่งออกเป็นแผ่นธรณี (plate)
หลายแผน่ ซงึ่ เคลื่อนทไ่ี ปบนฐานธรณีภาคทา ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงทางธรณอี ยูต่ ลอดเวลา



ทฤษฎีทวปี เลอ่ื น คือ แนวความคิดท่ีกล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนงึ่ ทวปี ต่าง ๆ
ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปัจจุบัน แต่เคยอยรู่ วมกันเป็นแผ่นดนิ ใหญ่เพยี งแผ่นดนิ เดียวที่
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea)



หลักฐานที่สนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซาก
ดกึ ดา บรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลักฐานจากรอยครดู บนหินที่เกิด
จากการเคลอื่ นตวั ของธารนา้ แข็งบรรพกาล



ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพ้ืนสมุทรท่ีสนับสนุนการ
เคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี ได้แก่ สันเขากลางสมุทร อายุของหินบะซอลต์บนพ้ืนมหาสมุทร
ภาวะแม่เหลก็ บรรพกาล



โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 2

ชุดที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคลอ่ื นทขี่ องแผน่ ธรณี

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคดิ จากทฤษฎีทวีปเล่ือน ทฤษฎีการแผ่
ขยายพน้ื สมทุ ร นา มาสรุปเป็นทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซึ่งกล่าวถึงการเคลื่อนท่ี
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่นธรณีอันเน่ืองมาจากวงจรการพาความร้อนของแมกมา
ภายในเน้ือโลก



การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ
แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน แนวแผ่นธรณเี คลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณตี า่ ง ๆ บนโลก

สาระสาคญั

นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานแนวคิด และทฤษฎีต่าง ๆ ตั้งแต่ทฤษฎีทวีปเล่ือน
ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นมหาสมุทร และแนวคิดการพาวงจรความร้อน มาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่า
ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซ่ึงกล่าวถึงการเคลื่อนที่และการเปล่ียนแปลงลักษณะ เช่น
ขนาด ตาแหน่งของแผ่นธรณี โดยมีวงจรการพาความร้อนภายในโลกเป็นกลไกสาคัญในการ
ขับเคล่ือนให้แผ่นธรณีมีการเคล่ือนที่ในรูปแบบต่าง ๆ การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีจะส่งผลต่อการ
เกิดและการเปล่ียนปลงของทวีปและมหาสมุทร รวมทั้งธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี
กระบวนการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีทาให้เกิดแรงต่าง ๆ กระทาต่อหินในชั้นเปลือกโลกส่งผลให้
เกดิ ความเค้นในช้นั หนิ ซ่งึ ความเค้นน้ีจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและ / หรอื ปริมาตรของ
หินและทาให้หินอยู่ในภาวะความเครียด ความเค้นแบ่งได้เป็น 3 ชนิดคือความเค้นบีบอัดความ
เค้นถึงความเค้นเฉือน ความเค้นบีบอัดกระทาต่อช้ันหินที่อยู่ใต้ผิวโลกซ่ึงมีสมบัติคล้ายดินน้ามัน
หรือท่ีมีสรูปพลาสติกช้นั หินมีการเปล่ยี นลักษณะเปน็ ชนั้ หนิ คดโคง้ ความเค้นถึงจะทาให้ชัน้ หนิ บาง
ลงและเกิดรอยแยก ความเคน้ บีบอัดและความเค้นดึงกระทาต่อชั้นหินบนเปลือกโลกมีสมบัติแข็ง
เกร็งและเปราะคล้ายสมบัติของเวเฟอร์ชั้นหินจะเกิดรอยแตกและรอยเล่ือนส่วนความเค้นเฉือน
จาทาใหเ้ กิดรอยเล่ือนในแนวระดับ

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 3

ชุดท่ี 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคลื่อนทีข่ องแผน่ ธรณี

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

เร่ือง ธรณีสัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเี่ กิดจากการเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณี

รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วชิ า ว30104 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6

คาชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ุด แล้วเขยี นเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. การพบหนิ บะซอลตท์ ่ีบริเวณร่องลกึ หรอื รอยแยกบรเิ วณเทือกเขากลางมหาสมุทร หินท่ีพบ
แสดงถงึ ส่ิงใด

ก. การเกิดรอยแยกของแผน่ ธรณีภาค
ข. ชั้นของหนิ
ค. ความลกึ
ง. อายหุ นิ

2. หนิ ทเ่ี กิดจากตะกอนธารน้าแข็ง ควรจะเกดิ ขึ้นบริเวณใด
ก. ขั้วโลก
ข. ใกล้เทือกเขา
ค. ใกลม้ หาสมุทร
ง. ใกล้รอยแยกแผ่นธรณภี าค

3. อะไรจะเกดิ ขน้ึ เมื่อโลกมีรอยแตกรา้ วและมกี ารเคลอื่ นท่ี
ก. อุทกภยั
ข. แผน่ ดนิ ไหว
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. ดนิ ขาดอาหารของพืชใช้เพาะปลูกไม่ได้

4. สถานการณใ์ ดทไี่ มไ่ ด้ เป็นผลกระทบท่ีเกดิ จากการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก
ก. นา้ ท่วม
ข. ภเู ขาถล่ม
ค. หิมะละลาย
ง. แผ่นดินแยก

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 4

ชุดที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณที เ่ี กิดจากการเคล่อื นท่ขี องแผ่นธรณี

5. ภเู ขาเกิดขึ้นไดห้ ลายกระบวนการ แตก่ ระบวนการใดทไี่ ม่สามารถทาให้เกิดภูเขาได้
ก. การกัดกร่อนของผวิ โลก
ข. การยกตัวขน้ึ ของพ้ืนทวีป
ค. การดนั ของหนิ หนดื ท่ีใตผ้ ิวโลก
ง. การปรบั ตวั ระหวา่ งหินหนดื กับหนิ ชนั้ บรเิ วณข้างเคียง

6. เมอื่ แผ่นดนิ เคลอ่ื นท่ีออกไปขณะเดยี วกนั น้ันเกดิ อะไรข้นึ
ก. แมกมาจากใตแ้ ผน่ ธรณภี าคใต้มหาสมทุ รจะถูกดนั แทรกเสริมขน้ึ มาตรงรอยแยก
ข. เกดิ รอยตอ่ ระหวา่ งแผ่นธรณีภาค
ค. การกร่อนของเปลอื กโลก
ง. เกดิ การแบง่ ชั้นหนิ

7. โครงสรา้ งและอายุหินรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุอ่อนสดุ บรเิ วณใด
ก. บริเวณเทือกเขา
ข. กลางมหาสมุทร
ค. บริเวณรอยต่อแผ่นธรณภี าค
ง. ข้อ ก. และ ขอ้ ข. ถกู ตอ้ ง

8. สาเหตุใดท่ีทาให้แผน่ เปลือกโลกมีการเปล่ียนแปลง
ก. มนษุ ย์และธรรมชาติ
ข. ธรรมชาติและแผ่นดนิ ไหว
ค. มนษุ ย์และการระเบิดภูเขา
ง. มนุษย์และการตัดไมท้ าลายป่า

9. นอกจากหลักฐานรอยต่อแผ่นธรณีภาค รอยแยกของแผน่ ธรณีภาคและการค้นพบซากดึกดา
บรรพแ์ ลว้ ยังมีหลักฐานใดอีกท่ยี นื ยันสมมติฐานของเวเกเนอร์

ก. สนามแม่เหลก็ โลกโบราณ
ข. การค้นพบภูเขาไฟที่เกิดขน้ึ ใหมๆ่
ค. การเปลี่ยนแปลงของอากาศที่ทาใหเ้ กดิ การสะสมตวั ของตะกอนในบริเวณ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถกู ต้อง

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 5

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณที ีเ่ กิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

10. เปลือกโลกเกดิ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เนอื่ งจากสาเหตใุ ด
ก. กระบวนการปฏิกริ ิยาเคมี
ข. ภูเขาไฟระเบดิ
ค. ธารนา้ แข็ง
ง. กระแสนา้

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 6

ชดุ ท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที เ่ี กิดจากการเคลอ่ื นท่ีของแผ่นธรณี

บตั รเนือ้ หา
ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีท่เี กิดจากการเคลอื่ นทขี่ องแผ่นธรณี

การเคลอ่ื นทีข่ องแผน่ ธรณี ทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ข้ึนตรงบรเิ วณ
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีดังนี้ แผ่นธรณเี คลื่อนท่ีแยกออกจากกัน แผ่นธรณีเคล่ือนที่เข้ากัน แผ่น
ธรณีเคลื่อนท่ีเฉือนกัน เป็นต้น การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีในรูปแบบต่างๆ ส่งผลให้เกิดสถานท่ี
สาคัญ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น รอยเลื่อน เขตมุดตัว ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะรูปโค้ง
แนวภเู ขาไฟ รปู โค้ง เป็นตน้

1. แผ่นธรณีเคลอื่ นท่ีแยกออกจากกัน

การเคล่ือนที่แยกออกจากกันของแผ่นธรณี ทาให้เกิดสันเขาใต้สมุทร ส่งผลให้แผ่นธรณี
แตกออกจากกันอย่างฉับพลัน เป็นสาเหตุทาให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น ตรงบริเวณแนวรอยต่อของ
แผน่ ธรณี

รปู ท่ี 6.1 แผน่ ธรณเี คลื่อนท่แี ยกออกจากกัน 7
ท่ีมา : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156

1.1 แผน่ ธรณีเคลือ่ นทอ่ี อกจากกัน
รอยต่อแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีออกจากกัน (Divergent plate boundaries) เกิดขึ้น

เน่ืองจากแรงดันในชั้นฐานธรณีภาค ดันให้แผ่นธรณีโก่งตัวข้ึนจนเกิดรอยแตก แมกมาอยู่ภายใน
ดนั ตัวออก ทาให้แผ่นธรณีเคล่ือนที่แยกจากกัน การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีในลักษณะน้ีทาให้เกิด

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ

ชุดท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณที เี่ กิดจากการเคลอื่ นทีข่ องแผ่นธรณี

แผ่นดินไหวไม่รุนแรง โดยมีศูนย์กลางอยู่ในระดับตื้น รอยต่อซ่ึงเกิดจากแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีออก
จากกัน มี 2 ลักษณะ คือ แผ่นธรณีทวีปเคล่ือนท่ีออกจากกัน และแผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนที่
ออกจากกนั

1.2 แผน่ ธรณที วปี เคลอื่ นทอ่ี อกจากกนั
ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน ขอบแผ่นธรณีภาคที่แยกจากกันน้ี เนื่องจาก

การดันตัวของแมกมาในช้ันธรณีภาค ทาให้เกิดรอยแตกในชั้นหินแข็ง แมกมาสามารถถ่ายโอน
ความร้อนสู่ช้ันเปลือกโลก อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลให้เปลือกโลกตอนบน
ทรดุ ตวั กลายเปน็ หุบเขาทรุด (rift valley)

แรงดันในชั้นฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีทวีปโก่งตัว ส่วนยอดของรอย่โก่งยืดตัว
ออกและบางลงจนเกิดรอยแตก และทรุดตัวลงกลายเป็น "หุบเขาทรุด" (Rift valley) แมกมา
ผลักให้แผ่นธรณีแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบมาลาวี ในทวีปแอฟริกา และ ทะเล
แดง ซง่ึ กันระหว่างทวปี แอฟรกิ ากบั คาบสมทุ รอาหรบั

รูปที่ 6.2 แผ่นธรณีทวีปเคลอ่ื นท่ีออกจากกนั
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชีย่ วชาญ 8

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเี่ กิดจากการเคลื่อนทข่ี องแผน่ ธรณี

1.3 แผน่ ธรณมี หาสมุทรเคล่ือนทอี่ อกจากกัน
แรงดันในช้ันฐานธรณีภาคดันให้แผ่นธรณีมหาสมุทรยกตัวขึ้นเป็นสันเขาใต้สมุทร

(Mid oceanic ridge) แล้วเกิดรอยแตกที่ส่วนยอด แมกมาผลักให้แผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออก
จากกัน ตวั อย่างเชน่ สนั เขาใต้มหาสมุทรแอตแลนติก

ต่อมาน้าทะเลไหลมาสะสมกลายเป็นทะเล และเกิดรอยแตกจนเป็นร่องลึก เมื่อ
แมกมาเคล่ือนตัวแทรกขึ้นมาตามรอยแตก เป็นผลให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนตัวแยก
ออกไปท้ังสองขา้ ง ทาใหพ้ ื้นทะเลขยายกวา้ งออกไปทง้ั สองด้านเรียกวา่ กระบวนการขยายตัวของ
พ้ืนทะเล (sea floor spreading) และปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร เช่น บริเวณกลาง
มหาสมุทรแอตแลนติก บริเวณทะเลแดง รอยแยก แอฟริกาตะวันออก อ่าวแคลิฟอร์เนีย มี
ลักษณะเป็นหุบเขาทรุด มีร่องรอยการแยก เกิดแผ่นดินไหวตื้นๆ มีภูเขาไฟและลาวาไหลอยู่ใต้
มหาสมุทร

รปู ที่ 6.3 แผน่ ธรณีมหาสมทุ รเคลอื่ นท่อี อกจากกนั
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

ในขณะที่แผ่นธรณีภาคเกิดรอยแตกและเลื่อนตัว จะมีผลทาให้เกิดคลื่นไหวสะเทือน
ไปยังบริเวณต่างๆ ใกล้เคียงกับจุดที่เกิดรอยแตก รอยเล่ือนในชั้นธรณีภาคเกิดเป็นปรากฏการณ์
แผ่นดนิ ไหว

1.4 อายหุ นิ และสนามแมเ่ หลก็
แก่นโลกช้ันในและแก่นโลกชั้นนอกหมุนไปในทิศทางเดียวกัน แต่ด้วยความเร็วไม่

เท่ากัน ถ้าแก่นโลกชั้นในหมุนเร็วกว่าแก่นโลกช้ันนอก จะเกิดแรงเหนี่ยวนาให้เส้นแรงแม่เหล็ก
โลกเคล่ือนท่ีจากขั้วใต้ไปยังข้ัวเหนือ (Normal magnetism) แต่ในบางคร้ังแก่นโลกชั้นใน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 9

ชดุ ท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทีเ่ กิดจากการเคลอ่ื นท่ีของแผ่นธรณี

ขยายตัวตามแนวศูนย์สูตร (มีรูปทรงแป้นขึ้น) เป็นสาเหตุให้แก่นโลกช้ันในหมุนช้ากว่าแก่นโลก
ชัน้ นอก ทาให้ให้สนามแมเ่ หลก็ กลับขั้ว (Reverse magnetism) เสน้ แรงแม่เหล็กเคล่อื นทีจ่ ากขั้ว
เหนอื ไปยังขว้ั ใต้

รูปที่ 6.4 การเคล่อื นท่ขี องแก่นโลกเหน่ียวนาให้เกิดสนามแม่เหลก็ โลก
ทมี่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

เมื่อแมกมาโผล่ขึ้นจากช้ันฐานธรณีภาค กลายเป็นลาวาหินบะซอลต์ไหลบนพ้ืนผิวโลก
อะตอมของธาตุเหล็กที่มีอยู่ในแร่แมกนีไทต์ จะถูกเหน่ียวนาให้เรียงตัวตามทิศทางของ
สนามแม่เหล็กโลก รูปท่ี 6.5 แสดงให้เห็นว่า ลาวาชั้นล่างมีอายุเก่ากว่าลาวาช้ันบน เพราะเกิด

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 10

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณที ี่เกิดจากการเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณี

ข้ึนมาก่อน ขณะท่ีลาวาไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ มันจะบันทึกทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก
โลกในยุคสมัยน้ัน ซ่ึงจะเห็นได้ว่าเส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทางไปมาในทุกๆ หลายแสน
ปี เนื่องจากสนามแมเ่ หล็กโลกสลบั ขว้ั ไปมา

รปู ท่ี 6.5 เสน้ แรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาภูเขาไฟ
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

ในทานองเดียวกัน เม่ือแผ่นธรณีมหาสมุทรแยกออกจากกัน ลาวาท่ีไหลออกมาก็จะ
บันทึกทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกในยุคน้ันๆ รูปที่ 6.6 แสดงให้เห็นว่า เปลือกโลกเคลื่อนท่ี
ออกจากแหล่งกาเนิดในอัตราเฉลี่ย 10 กิโลเมตรต่อล้านปี หรือ 1 เซนติเมตรต่อปี เปลือกโลก
บริเวณใกล้รอยแยกมีอายุน้อยกว่าเปลือกโลกท่ีอยู่ห่างออกไป เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับทิศทาง
ไปมาในทุกๆ หลายแสนปี

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 11

ชดุ ท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที เี่ กิดจากการเคลอ่ื นทข่ี องแผ่นธรณี

รปู ที่ 6.6 เส้นแรงแม่เหล็กโลกสลับขั้วในลาวาพ้นื มหาสมุทร
ทม่ี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2. แผน่ ธรณเี คลื่อนทเี่ ขา้ หากัน

การเคล่ือนท่เี ขา้ หากันของแผ่นธรณี ทาใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงทางธรณีวิทยาต่างๆ ตรง
บรเิ วณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี ดังนี้

- การเคลอื่ นท่ีเข้าหากนั ของแผ่นธรณีมหาสมุทร เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรจานวน 2 แผ่น
เคล่ือนที่เข้าหากัน แผ่นท่ีมีความหนาแน่นมากกว่า ส่วนใหญ่เป็นแผ่นที่มีอายุหินมากกว่า
จะมดุ ตัวลงขา้ งใต้อีกแผ่นหนึ่ง บริเวณทแี่ ผ่นธรณีมดุ ตวั ลง เรียกว่า เขตมดุ ตวั บริเวณเขตมุดตวั จะ
เกิดเป็นร่องลึกก้นมหาสมุทร สว่ นปลายของแผ่นธรณที ี่มดุ ตัวลง จะเคลื่อนท่ีจมลงสฐู่ านธรณภี าค
ทาให้บางส่วนหลอมเหลวกลายเป็นแมกมา และจะปะทุแทรกขึ้นมาบนเปลือกโลกมหาสมุทร
เกิดเป็นกลุ่มภูเขาไฟลูกเล็กๆ อยู่กลางมหาสมุทร มลี ักษณะเรียงตอ่ กนั เป็นรูปโค้งตามแนวร่องลึก
ก้นมหาสมุทร เรยี กแนวภเู ขาไฟดังกลา่ ววา่ หมเู่ กาะรปู โค้ง

- การเคลื่อนท่ีเข้าหากันของแผ่นธรณีมหาสมุทร กับแผ่นธรณีทวีป เม่ือแผ่นธรณี
มหาสมุทรกับแผ่นธรณีทวีปเคลื่อนท่ีเข้าหากัน แผ่นธรณีมหาสมุทรซ่ึงมีความหนาแน่นมากกว่า
จะมุดตัวลงข้างใต้แผ่นธรณีทวปี บางส่วนของแผ่นธรณีท่มี ดุ ตวั หลอมเหลวกลายเป็นแมกมา ปะทุ
แทรกข้ึนมาบนเปลือกโลกทวีป เกิดเป็นกลุ่มภูเขาไฟท่ีมีการวางตัวเป็นรูปโค้งอยู่เหนือเขตมุดตัว
เรยี กว่า แนวภเู ขาไฟรูปโคง้

- การเคล่อื นทีเ่ ขา้ หากันของแผ่นธรณีทวีป เม่ือแผน่ ธรณีทวปี เคล่อื นท่เี ขา้ หากนั บางส่วน
ของแผ่นธรณีท่ีมีความหนาแน่นมากกว่า จะมุดตัวลงข้างใต้อีกแผ่นหน่ึง และบางส่วนที่มีความ
หนาแน่นใกล้เคียงกัน จะเกิดการชนกันจนทาให้ชั้นหินบนเปลือกโลกทวีป เกิดเป็นรอยคดโค้ง
และเกิดเปน็ เทือกเขาสงู ใหญ่ ตรงบรเิ วณรอยต่อของแผน่ ธรณี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 12

ชุดท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีท่เี กิดจากการเคลอื่ นทข่ี องแผ่นธรณี

รปู ที่ 6.7 แผ่นธรณีเคลอ่ื นที่เข้าหากนั
ทม่ี า : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156

2.1 แผน่ ธรณีเคลื่อนท่ีเข้าหากนั
รอยต่อของแผ่นธรณีเคล่ือนท่ีเข้าหากัน (Covergent plate boundary) เกิดข้ึนใน

บริเวณที่แผ่นธรณีปะทะกันซ่ึงเรียกว่า "เขตมุดตัว" (Subduction zone) ซ่ึงมักจะทาให้เกิด
แผ่นดินไหวอย่างรุนแรง โดยมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ในระดับลึก เน่ืองจากแผ่นธรณีด้าน
หน่ึงมุดตัวลงสู่ชั้นฐานธรณีแล้วหลอมละลาย หากแนวปะทะเกิดข้ึนใต้มหาสมุทร น้าทะเลใน
บริเวณโดยรอบจะเคลื่อนท่ีจมเข้าหากันแล้วสะท้อนกลับ ทาให้เกิดคล่ืนสึนามิ รอยต่อของแผ่น
ธรณีเคลื่อนทเ่ี ข้าหากนั มี 3 รูปแบบคือ แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกัน แผ่นธรณีมหาสมทุ รชนกบั แผ่น
ธรณีทวีป และแผ่นธรณที วปี ชนกนั

2.2 แผน่ ธรณีมหาสมทุ รชนกัน
แผ่นธรณีมหาสมุทรเกิดขึ้นและเคล่ือนที่ออกจากจุดกาเนิด บริเวณรอยต่อที่แผ่น

ธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน แรงขับดันจากเซลล์การพาความร้อน (Convection cell) ในช้ันฐาน
ธรณีภาค ทาให้แผ่นธรณีมหาสมุทรสองแผ่นเคล่ือนที่ปะทะกัน ดังรูปท่ี 6.8 แผ่นธรณีท่ีมีอายุ
มากกว่า มีอุณหภูมิต่ากว่า และมีความหนาแน่นมากกว่า จะจมตัวลงในเขตมุดตัว ทาให้เกิดร่อง
ลึกก้นสมุทร (Mid oceanic trench) เมื่อแผ่นธรณีจมตัวลง เปลือกมหาสมุทรและเน้ือโลก
ชั้นบนสุดซ่งึ มีจุดหลอมเหลวตา่ จะหลอมละลายเป็นหินหนืด ซึ่งมีความหนาแน่นต่ากวา่ เน้ือโลกใน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 13

ชุดท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณี

ชนั้ ฐานธรณีภาค จึงลอยตวั ข้ึนดันพื้นผิวโลกให้เกดิ เป็นหมู่เกาะภูเขาไฟรูปโคง้ (Volcanic island
arc) เรียงตัวขนานกับแนวร่องลึกก้นสมุทร บรรดาหินปูนซ่ึงเกิดจากส่ิงมีชีวิตใต้ทะเล เช่น
ปะการังเป็นตะกอนคาร์บอนเนตมีจุดเดือดต่า เม่ือถูกความร้อนจะเปล่ียนสถานะเป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ลอยตัวสูงข้ึนปลดปล่อยออกทางปล่องภูเขาไฟ ทาให้เกิดการหมุนเวียน
ของวัฏจักรคาร์บอนและธาตุอาหาร ตัวอย่างหมู่เกาะภูเขาไฟที่เกิดข้ึนด้วยกระบวนการนี้
ไดแ้ ก่ หมูเ่ กาะฟิลปิ ปินส์ และ หมู่เกาะญ่ปี ่นุ

รูปท่ี 6.8 แผ่นธรณีมหาสมทุ รปะทะกนั
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2.3 แผ่นธรณมี หาสมทุ รชนกับแผน่ ธรณที วปี
แผ่นธรณีมหาสมทุ รเป็นหินบะซอลต์ มคี วามหนาแน่นมากกว่าแผ่นธรณีทวีปซึง่ เป็น

หินแกรนิต เมื่อแผ่นธรณีทั้งสองปะทะกัน แผ่นธรณีมหาสมุทรจะจมตัวลงและหลอมละลายเป็น
หินหนืด เน่ืองจากหินหนืดมีความหนาแน่นน้อยกว่าเน้ือโลกในชั้นฐานธรณีภาค มันจึงยกตัวข้ึน
ดนั เปลือกโลกทวีปให้กลายเป็นเทือกเขาสูง เกิดแนวภูเขาไฟเรียงรายตามชายฝง่ั ขนานกับรอ่ งลึก
ก้นสมุทร ดังรูปท่ี 6.9 ตัวอย่างเทือกเขาท่ีเกิดขึ้นด้วยกระบวนการน้ี ได้แก่ เทือกเขาแอน
ดสี บรเิ วณชายฝงั่ ตะวนั ตกของทวีปอเมริกาใต้

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 14

ชดุ ท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที เี่ กิดจากการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี

รูปที่ 6.9 แผ่นธรณมี หาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวปี
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

2.4 แผ่นธรณที วปี ชนกัน
แผ่นธรณีทวีปมีความหนามากกว่าแผ่นธรณีมหาสมุทร ดังนั้นเมื่อแผ่นธรณีทวีป

ปะทะกันแผ่นหน่ึงจะมุดตัวลงสู่ช้ันฐานธรณีภาค อีกแผ่นหน่ึงจะถูกยกเกยสูงข้ึน กลายเป็น
เทือกเขาที่สูงมาก เป็นแนวยาวขนานกับแนวปะทะ ดังรูปที่ 6.10 ตัวอย่างเทือกเขาสูงท่ีเกิดขึ้น
ด้วยกระบวนการนี้ ได้แก่ เทอื กเขาหมิ าลัย ในประเทศเนปาล เทือกเขาแอลป์ ในทวปี ยโุ รป

รปู ที่ 6.10 แผ่นธรณที วปี ชนกัน
ท่มี า : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 15

ชดุ ที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณที เี่ กิดจากการเคล่ือนทขี่ องแผ่นธรณี

3. แผน่ ธรณเี คลือ่ นที่เฉือนกนั

ในธรรมชาติ การเคล่ือนที่เฉือนกันของแผ่นธรณีส่วนใหญ่ เกิดร่วมกับการเคลื่อนท่ีแยก
ออกจากกัน และการเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณี เช่น รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส (San
Andreas Fault)

3.1 แผ่นธรณเี คล่ือนท่ีผา่ นกัน
สันเขาใต้สมุทร (Mid oceanic ridge) เป็นบริเวณท่ีแมกมาโผล่ขึ้นมาแล้วดันแผ่น

ธรณีให้แยกออกจากกัน เน่ืองจากแผ่นธรณีมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน สันเขาใต้สมุทรจึงไม่
สามารถต่อยาวเป็นแนวเดียว ทว่าเยื้องสลับกันคล้ายรอยตะเข็บ ด้วยเหตุน้ีแผ่นธรณีที่เพิ่งเกิด
ข้ึนมาใหม่จึงเคลื่อนที่สวนทางกัน ในแนวตั้งฉากกับสันเขาใต้สมุทร เกิดเป็นรอยเลื่อนทรานส
ฟอร์ม (Transform fault) ดังรูปท่ี 6.11 ปรากฏการณ์น้ีทาให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับต้ืน มี
ความรุนแรงปานกลาง ถ้าเกิดขึ้นบนแผ่นดินจะทาให้ถนนขาด สายน้าเปล่ียนทิศทางการไหล
หรือทาใหเ้ กิดหนา้ ผาและนา้ ตก

รูปท่ี 6.11 รอยเลือ่ นทรานส์ฟอร์ม
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชย่ี วชาญ 16

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสร้างทางธรณที เี่ กิดจากการเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณี

ตัวอย่างแผ่นธรณีเคล่ือนที่ผ่านกันในมหาสมุทร ได้แก่ บริเวณสันเขากลางมหาสมุทร
แอตเลนติก ตัวอย่างแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีผ่านกันบนแผ่นดินได้แก่ รอยเลื่อนซานแอนเดรีย
ในรัฐแคลิฟอรเ์ นยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

รปู ที่ 6.12 รอยเลือ่ นซานแอนเดรยี ส
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

จากการที่นักวิทยาศาสตร์พบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ในบริเวณ
แนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่ีมีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี จึงทาให้สรุปได้
ว่า แนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณมี ี 3 รปู แบบ คือ แนวแผน่ แยกธรณี แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน และ
แนวแผ่นธรณเี คล่อื นผา่ นกันในแนวราบ

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 17

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณที เี่ กิดจากการเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณี

รูปท่ี 6.13 แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี 3 รูปแบบ และธรณีสัณฐาน
โครงสรา้ งทางธรณที ีส่ มั พนั ธ์กบั แนวรอยต่อ

ทมี่ า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 56)
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

4. การเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลก

แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนท่ีอยู่ตลอดเวลา และแบ่งการเคลื่อนท่ีของแผน่ โลกออกเป็น
3 แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน และแบบรอยเล่ือน ซึ่งมีผลทาให้เกิดกระบวนการทาง
ธรณวี ิทยา ดงั นี้

4.1 การคดโค้งโก่งงอ
การคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาล

ทาให้ช้ันหนิ ตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกนั เกิดการคดโคง้ โก่งงอ แต่การเกดิ รอยคดโค้งโกง่ งอ
จะใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเน่ือง รอยคดโค้ดโก่งงอของช้ันหินเกิด
ติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพ้ืนท่ีมากจะกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย
เทอื กเขาแอลปใ์ นทวปี ยโุ รป เทือกเขาภพู านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เปน็ ตน้

4.2 การยกตัวและการยบุ ตัว
การยกตัวและการยุบตัว เกิดจากพลังงานท่ีสะสมอยู่ภายในเปลือกโลก จะเร่ิมแตก

และแยกออกจากกันในทิศทางท่ีเป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทาให้เกิดรอยเล่ือนในลักษณะ ต่าง ๆ
เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกท่ีเกิดจากรอยเล่ือนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า Block
Mountain โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย และอีก
แบบคือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า Rift valleys ซ่ึงเกิด
จากรอยเลอื่ นแบบย้อน

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 18

ชุดที่ 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีเกิดจากการเคลอื่ นทขี่ องแผ่นธรณี

4.3 การผพุ งั อยกู่ บั ที่
การผุพังอยู่กับท่ีเป็นกระบวนการที่ทาให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการ

เปล่ียนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคท่ีสลายตัว ปัจจัยทาให้เกิดการผุพังอยู่กับที่
มดี งั น้ี

- ปัจจัยทางกายภาพ เกิดจากน้าท่ีแทรกตัวเข้าไปอยู่ในช้ันหนิ ที่มีรอยแยกหรือรอยแตก
เมื่อุณหภูมิมีการเปล่ียนแปลง เช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้าจะกลายเป็นน้าแข็ง
มีปริมาณเพ่ิมขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากข้ึน ทาให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก และเม่ือถึงตอน
กลางวันน้าแข็งละลาย น้านะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ
จนในท่สี ุดเกดิ การผุพงั เกิดขน้ึ

- ปัจจัยทางเคมี เกิดจากน้าฝนที่เป็นปัจจัยสาคัญ โดยการเกิดกระบวนการปฏิกิริยา
ไฮโดรไลซิส ปฏิกิรยิ าออกซิเดชัน และปฏิกิรยิ าคารบ์ อเนชัน ท่ีเปน็ สาเหตุของการผพุ งั

- ปจั จยั ชีวภาพ เกิดจากพชื เป็นตัวกลางท่ีทาให้ชั้นหนิ เกดิ การผพุ งั เช่น รากพืชทไี่ ปชอน
ไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตข้นึ รากพชื จะทาให้หนิ แตกเปน็ ช้นั ๆ

4.4 การกรอ่ น
การกร่อน เป็นการพังทลายของช้ันหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้า ลาธาร ธารน้าแข็ง คลื่น

เปน็ ตน้
4.5 การพัดพาและทับถม
ดิน หิน เม่ือเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้าหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ากว่า เกิดการทับถมเป็น

ลักษณะต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้า เกิดเป็นดิน
ดอนปากแม่น้า เป็นตน้

ผลกระทบธรรมชาติ

การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกมี 2 ลกั ษณะ ดงั นี้
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกท่ีเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว เชน่ การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขา

ไฟระเบิด ทาให้ผิวโลกบางส่วนแยกตัวออก บางส่วนถล่มทลายและยุบตัวลง มีผลทาให้อาคาร
บ้านเรือน ต้นไม้และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้รับความเสียหาย และยังทาให้มนุษย์และส่ิงมีชีวิตต้อง
ไดร้ ับบาดเจบ็ พิการ หรืออาจเสยี ชีวิตไป

การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เช่น การเคล่ือนท่ีของเปลือกโลก
การกร่อนและการผุพังของหินและดินตามเปลือกโลก ทาให้พ้ืนที่ท่ีจะใช้ทางการเกษตรกรรมถูก
ทาลายไป ส่งผลกระทบต่อปรมิ าณและคุณภาพของผลผลติ ทางการเกษตรทจ่ี ะไดร้ บั โดยตรง

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 19

ชุดท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทเี่ กิดจากการเคลอื่ นท่ีของแผน่ ธรณี

ผลกระทบจากการกระทาของมนุษย์
ในการพัฒนาประเทศมนุษย์ได้ทาลายเปลือกโลกเสมอ มนุษย์ได้ทาลายเปลือกโลกด้วย

การขุดเจาะ บางครั้งมีการระเบิดภูเขาเพ่ือเอาหินและแร่ธาตุข้ึนมาใช้ หรือ การทดลองระเบิด
นิวเคลียร์ มีการตัดไม้ทาลายป่าซ่ึงเปน็ การทาใหก้ ารกรอ่ นของพ้ืนดนิ เกดิ เร็วข้นึ อีกด้วย

ผลกระทบต่อประเทศไทย
เน่ืองจากประเทศไทยต้ังอยู่ในเขตร้อนช้ืน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมเกือบตลอดปี

มีแม่น้าลาคลองอยู่ท่ัวไป ดังน้ันบริเวณต่าง ๆ ของประเทศจึงได้รับอิทธิพลจากการกร่อนโดย
กระแสน้าเป็นส่วนใหญ่ ถึงแม้ว่าการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยยังมีน้อยและไม่รุนแรง
แ ต่ เ น่ื อ ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ตั้ ง อ ยู่ ไ ม่ ห่ า ง จ า ก แ น ว ร อ ย ต่ อ ข อ ง แ ผ่ น เ ป ลื อ ก โ ล ก ม า ก นั ก
แล ะ แ ผ่ น ยู เ ร เ ซี ย ท่ีร อ ง รั บ ป ร ะ เ ท ศ ไท ย ไ ด้ รั บ แร ง ดั น เ น่ื อ ง จ า ก กา ร เ ค ล่ื อน ท่ี เ ข้ า มา ข อ ง แ ผ่ น
ออสเตรเลยี อยตู่ ลอดเวลา ซึ่งอาจทาให้เกดิ แผน่ ไหวไดเ้ สมอ

การเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวเรามีปัจจัยที่ทาให้เปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจาก
หลายสาเหตแุ ละมผี ลกระทบทงั้ ทางตรงและทางอ้อม

ตารางที่ 6.1 รปู แบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และผลจากการเคลอ่ื นที่

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 20

ชดุ ท่ี 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีที่เกิดจากการเคล่อื นท่ขี องแผน่ ธรณี
ตารางท่ี 6.1 (ต่อ) รปู แบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และผลจากการเคล่อื นท่ี

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชีย่ วชาญ 21

ชุดที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีท่เี กิดจากการเคลอื่ นท่ีของแผ่นธรณี

บัตรกจิ กรรมที่ 6.1
เรอ่ื ง ท่องโลกกวา้ งตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี

จดุ ประสงคก์ จิ กรรม
1. ระบลุ ักษณะธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณี
2. เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์ของธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณี กบั การเคล่ือนท่ี รปู แบบ

ต่าง ๆ ของแผน่ ธรณี

วัสดุ-อุปกรณ์
1. แผนท่ีภมู ิประเทศ
2. รูปแสดงทิศทางการเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณี

สถานการณ์
“นักธรณวี ิทยาไดส้ ารวจพบธรณสี ณั ฐาน และโครงสร้างทางธรณแี บบต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี สนั เขา

กลางสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ประเทศญ่ีปุ่น หุบเขาทรุดท่ีทะเลแดง ร่องลึก
ก้นสมุทรมาเรียนา แนวรอยเลื่อนซานแอนเดรียส แนวเทือกเขาหิมาลัย และ แนวเทือกเขาแอนดีส
ให้นักเรียนศึกษาและอธิบายลักษณะแนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่ีสัมพันธ์ กับการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณแี ละทาให้เกดิ ธรณสี ณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณแี บบต่าง ๆ”

วธิ กี ารทากจิ กรรม
1. นกั เรียนสืบค้นเก่ียวกับลักษณะของธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และระบุบริเวณท่ีพบ

ลงพน้ื แผนทภ่ี มู ิประเทศ จากนัน้ อภปิ รายสรุปดังประเดน็ ต่อไปนี้
- ลกั ษณะของธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณแี ตล่ ะแหง่ ท่ีกาหนดให้
- บริเวณทพี่ บธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณดี ังกลา่ ว
- รอยตอ่ ของแผ่นธรณีทพี่ บธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณขี า้ งตน้
- ทิศทางการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีในบริเวณท่ีพบธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี

แตล่ ะแห่งปรากฏอยู่
2. สรุปและนาเสนอความสัมพันธ์ระหว่างธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีกาหนดให้กับ

ทิศทางการเคลือ่ นท่ขี องแผน่ ธรณใี นบริเวณแนวรอยต่อของแผน่ ธรณี

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชยี่ วชาญ 22

ชุดที่ 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ขี องแผน่ ธรณี

3. ออกแบบและนาเสนอแนวคิดเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดธรณีสัณฐาน
และโครงสร้างและโครงสรา้ งทางธรณีที่กาหนดให้กับทิศทางการเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณใี นบริเวณแนว
รอยตอ่ ของแผ่นธรณี

ผลการทากจิ กรรม

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 23

ชดุ ท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนท่ขี องแผ่นธรณี

สรุปผลการทากจิ กรรม
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
..................................................................................................................................... .........................

คาถามหลงั กิจกรรม
1. จากกจิ กรรมนักเรียนพบว่าถ้าจาแนกตามรูปแบบการเคลื่อนทแี่ ล้ว แนวรอยต่อของ แผน่

ธรณีมกี ีร่ ปู แบบ อย่างไรบา้ ง
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .................................

2. ธรณสี ณั ฐานแบบใดบ้างท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณใี นลกั ษณะเดยี วกัน
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชยี่ วชาญ 24

ชดุ ท่ี 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคล่ือนทขี่ องแผน่ ธรณี

บตั รกิจกรรมที่ 6.2
แผนผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง ธรณแี ปรสัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณี

ท่เี กดิ จากการเคลอื่ นทขี่ องแผ่นธรณี

คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เก่ียวกับ “ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจาก
การเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่ีแจกให้แล้ว
นาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูเช่ยี วชาญ 25

ชุดที่ 6 ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทีเ่ กิดจากการเคลื่อนทข่ี องแผน่ ธรณี

บตั รกิจกรรมที่ 6.3
ถอดบทเรยี น เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณี

ทเี่ กดิ จากการเคลอ่ื นที่ของแผ่นธรณี

คาชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนทเ่ี กีย่ วกบั “ธรณีแปรสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีเกดิ จาก
การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตท่ี
กาหนดใหแ้ ล้วนาเสนอผลงาน โดยนาไปตดิ ปา้ ยนเิ ทศหนา้ ช้ันเรยี น

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 26

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสร้างทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคล่ือนทขี่ องแผน่ ธรณี

แบบฝกึ หัด
เรื่อง ธรณีแปรสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที ีเ่ กดิ จากการเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณี

1. แนวคดิ ทฤษฎที วีปเลื่อน ทฤษฎกี ารแผ่ขยายพ้นื มหาสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐาน ของแผ่น
ธรณมี คี วามเหมือน และแตกต่างกนั ในเร่ืองใดบ้าง
............................................................................................................................. .................................
..................................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... .....................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
.............................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................

2. จงอธบิ ายเกีย่ วกบั ประโยชนใ์ นการศึกษาโครงสรา้ งทางธรณี
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ยี วชาญ 27

ชุดที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นที่ของแผ่นธรณี

แบบทดสอบหลังเรยี น

เร่ือง ธรณีสัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6

คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทใี่ ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องทส่ี ดุ แล้วเขยี นเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. สถานการณ์ใดที่ไมไ่ ด้ เปน็ ผลกระทบที่เกิดจากการเปลย่ี นแปลงของเปลือกโลก
ก. นา้ ทว่ ม
ข. ภูเขาถลม่
ค. หิมะละลาย
ง. แผน่ ดนิ แยก

2. การพบหนิ บะซอลต์ที่บรเิ วณรอ่ งลึก หรือรอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร หนิ ท่ีพบ
แสดงถงึ สิ่งใด

ก. การเกดิ รอยแยกของแผน่ ธรณีภาค
ข. ชัน้ ของหิน
ค. ความลึก
ง. อายุหนิ

3. อะไรจะเกดิ ขึ้นเม่อื โลกมีรอยแตกรา้ วและมีการเคลอื่ นท่ี
ก. อุทกภัย
ข. แผน่ ดินไหว
ค. การกร่อนของเปลือกโลก
ง. ดนิ ขาดอาหารของพชื ใชเ้ พาะปลกู ไม่ได้

4. หนิ ที่เกิดจากตะกอนธารนา้ แขง็ ควรจะเกดิ ข้นึ บริเวณใด
ก. ขวั้ โลก
ข. ใกลเ้ ทือกเขา
ค. ใกล้มหาสมุทร
ง. ใกลร้ อยแยกแผน่ ธรณภี าค

โดย นางพชั รี คณู ทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ 28

ชดุ ที่ 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณี

5. ภเู ขาเกดิ ข้นึ ไดห้ ลายกระบวนการ แต่กระบวนการใดที่ไม่สามารถทาให้เกิดภเู ขาได้
ก. การกัดกร่อนของผิวโลก
ข. การยกตวั ขนึ้ ของพ้ืนทวีป
ค. การดนั ของหินหนดื ที่ใตผ้ ิวโลก
ง. การปรบั ตัวระหว่างหนิ หนดื กับหนิ ช้ันบรเิ วณขา้ งเคียง

6. เมอ่ื แผน่ ดนิ เคล่ือนท่ีออกไปขณะเดียวกนั นนั้ เกิดอะไรข้ึน
ก. แมกมาจากใตแ้ ผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรจะถกู ดนั แทรกเสริมข้นึ มาตรงรอยแยก
ข. เกิดรอยต่อระหว่างแผ่นธรณภี าค
ค. การกร่อนของเปลอื กโลก
ง. เกดิ การแบ่งชัน้ หนิ

7. เปลอื กโลกเกดิ การเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ เนื่องจากสาเหตใุ ด
ก. กระแสนา้
ข. ธารน้าแข็ง
ค. ภูเขาไฟระเบิด
ง. การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

8. สาเหตุใดท่ที าใหแ้ ผ่นเปลือกโลกมีการเปล่ียนแปลง
ก. ธรรมชาติและแผน่ ดนิ ไหว
ข. การกระทาของมนษุ ยแ์ ละธรรมชาติ
ค. มนุษยแ์ ละการระเบดิ ภเู ขา
ง. มนุษยแ์ ละการตดั ไม้ทาลายป่า

9. โครงสรา้ งและอายุหินรองรบั แผ่นธรณีภาคจงึ มอี ายุออ่ นสดุ บริเวณใด
ก. บรเิ วณเทอื กเขา และเทือกเขากลางมหาสมุทร
ข. บริเวณรอยเลื่อนซานแอนเดรียส
ค. แผ่นธรณีภาคกลางมหาสมุทร
ง. บรเิ วณรอยต่อแผ่นธรณีภาค

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูเช่ียวชาญ 29

ชุดที่ 6 ธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณที ี่เกิดจากการเคลือ่ นที่ของแผน่ ธรณี

10. นอกจากหลกั ฐานรอยต่อแผ่นธรณีภาค รอยแยกของแผน่ ธรณภี าคและการค้นพบซากดึกดา
บรรพแ์ ลว้ ยังมีหลกั ฐานใดอีกท่ยี นื ยันสมมติฐานของเวเกเนอร์

ก. สนามแม่เหลก็ โลกโบราณ
ข. การคน้ พบภเู ขาไฟทเ่ี กิดข้นึ ใหม่ๆ
ค. การเปล่ยี นแปลงของอากาศท่ีทาใหเ้ กดิ การสะสมตวั ของตะกอนในบรเิ วณ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถกู ต้อง

โดย นางพัชรี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 30

ชดุ ท่ี 6 ธรณสี ัณฐานและโครงสรา้ งทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
ชุดท่ี 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเี่ กดิ จากการ

เคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณี

แบบทดสอบก่อนเรียน ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ขอ้ ก ข ค ข้อ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ 31

ชุดท่ี 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีท่ีเกิดจากการเคลอ่ื นทีข่ องแผ่นธรณี

บรรณานกุ รม

กรมทรพั ยากรธรณี. (2544), ธรณวี ทิ ยาประเทศไทยเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว
เนอื่ งในวโรกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม
2542. (พมิ พ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.

กรมทรพั ยากรธรณ.ี (2550), ธรณวี ทิ ยาประเทศไทย. (พิมพค์ รัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ดอกเบ้ยี .
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2558) พจนานุกรมศัพท์ธรณวี ทิ ยา A-M. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ :

สานกั พิมพ์คณะรฐั มนตรีและราชกจิ จานุเบกษา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2558), พจนานุกรมศพั ท์ธรณวี ิทยา N-Z. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ :

สานกั พมิ พค์ ณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน

วทิ ยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2551). หนงั สอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ ร้ังท่ี 8). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2554). หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเตมิ

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พมิ พ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.
สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หนงั สอื เรียนรายวิชาเพิม่ เติม

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2563). หนังสือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 1).
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2563). ค่มู อื ครูรายวชิ าพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1).
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34156
http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/plate-tectonics/

โดย นางพัชรี คณู ทอง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครเู ชย่ี วชาญ 32

ชุดที่ 6 ธรณีสณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคล่ือนท่ีของแผน่ ธรณี

ประวัตยิ ่อผู้จัดทา

ชือ่ – สกลุ นางพัชรี คูณทอง

วัน เดือน ปี เกิด 4 พฤศจกิ ายน 2522

สถานท่เี กดิ อาเภอสิรินธร จังหวัดอบุ ลราชธานี

ท่ีอยู่ปจั จบุ นั 111 หมู่ 12 บา้ นโนนสมบตั ิ ตาบลโนนกลาง

อาเภอพิบูลมังสาหาร จงั หวัดอบุ ลราชธานี

เร่ิมรบั ราชการ 12 กรกฎาคม 2545 ตาแหนง่ อาจารย์ 1 ระดับ 3

โรงเรยี นขม้นิ พทิ ยาสรรพ์ อาเภอเมอื ง จังหวัดกาฬสนิ ธุ์

ตาแหน่งหน้าท่ีปัจจบุ ัน ครู วทิ ยฐานะ ครเู ชี่ยวชาญ

สถานทท่ี างานในปจั จบุ นั โรงเรียนโนนกลางวทิ ยาคม ตาบลโนนกลาง อาเภอพบิ ูลมังสาหาร

จังหวดั อุบลราชธานี

ประวตั กิ ารศึกษา ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นหนิ สงู ตาบลชอ่ งเม็ก อาเภอสิรนิ ธร
พ.ศ. 2535 จังหวัดอบุ ลราชธานี
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นเบต็ ต้ดี เู มน 2 ช่องเมก็ ตาบลชอ่ งเมก็
พ.ศ. 2538 อาเภอสริ นิ ธร จังหวัดอบุ ลราชธานี
มธั ยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสริ ินธรวิทยานสุ รณ์ อาเภอสิรินธร
พ.ศ. 2541 จังหวัดอุบลราชธานี
ปริญญาครศุ าสตรบ์ ัณฑติ (ค.บ.) สาขาวิชาฟิสกิ ส์
พ.ศ. 2545 มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
พ.ศ. 2556 มหาวทิ ยาลยั ราชธานี จังหวดั อุบลราชธานี

โดย นางพชั รี คูณทอง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครเู ช่ียวชาญ 33




Click to View FlipBook Version