ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ประกอบการสอนแบบเนน้ แผนผงั มโนทศั น์
กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวชิ าชีววทิ ยา 5 รหสั วชิ า ว30250 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เร่อื ง ระบบประสาทและอวยั วะรบั ความรูส้ กึ
ชดุ ท่ี 3 เรอ่ื ง การทางานของเซลลป์ ระสาท
นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน
ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ
โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็ อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ก
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาชีววิทยา 5 รหัสวิชา ว30250 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ประกอบ
กิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง นำไปใช้ในการเรยี นการสอนซ่อมเสริมได้
หรือใช้ในการสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรปู การเรยี นร้ทู ี่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ เปน็ กิจกรรม การเรยี นรทู้ ส่ี ่งเสริมให้ผู้เรยี น
เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทำเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตาม
ศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนก ารคิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนำ
ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิทยาศาสตร์คุณธรรมและค่านิยมท่ี
ถูกตอ้ งเหมาะสม
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้จะทำให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอำนวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้
ผจู้ ดั ทำหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่า ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ชุดน้ี จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนำไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยง่ิ ข้นึ ตอ่ ไป
บุญล้อม แกว้ ดอน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ดี ูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ข
สารบัญ
เรอ่ื ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
คำชีแ้ จงเก่ยี วกับการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ค
แผนภูมิลำดบั ขน้ั ตอนการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ง
คำชี้แจงการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรส์ ำหรบั ครู จ
คำช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรส์ ำหรบั นักเรยี น ช
1
สาระการเรียนรู้/ผลการเรยี นรู้ 2
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
แนวความคิดรวบยอด 3
สาระสำคญั 4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 7
บตั รเน้อื หา ชุดที่ 3 เรือ่ ง การทำงานของเซลล์ประสาท 20
บัตรกจิ กรรมท่ี 3.1 สรุปสาระสำคญั เร่อื ง การทำงานของเซลล์ประสาท 22
บัตรกิจกรรมท่ี 3.2 ผังมโนทศั น์ เร่อื ง การทำงานของเซลลป์ ระสาท 23
บตั รกิจกรรมท่ี 3.3 ถอดบทเรยี น เรื่อง การทำงานของเซลลป์ ระสาท 24
แบบฝึกหดั เรือ่ ง การทำงานของเซลลป์ ระสาท 26
แบบทดสอบหลงั เรยี น 29
กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น
30
บรรณานุกรม
31
ประวัติย่อผ้จู ัดทำ
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ค
คำช้แี จงเก่ยี วกับชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง ระบบประสาทและ
อวัยวะรับความรู้สึก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการจัดการ
เรียนรู้ วิชาชีววิทยา 4 รหัสวิชา ว30244 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ
หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกับระดับและวัย เพื่อให้นักเรียนเกิดความ
กระตือรือร้น มีความสุขในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้
พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และสามารถนำความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจำวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ เกิด
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีสำรวจตรวจสอบข้อมูล การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการ
เสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบดว้ ยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวน 7 ชุด ดงั นี้
ชดุ ที่ 1 เรื่อง การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์
ชุดท่ี 2 เร่ือง เซลล์ประสาท
ชุดที่ 3 เรอ่ื ง การทำงานของเซลล์ประสาท
ชดุ ท่ี 4 เรอ่ื ง ศูนยค์ วบคุมระบบประสาท
ชดุ ท่ี 5 เรื่อง การทำงานของระบบประสาท
ชดุ ที่ 6 เร่ือง อวัยวะรบั ความรสู้ กึ (1)
ชดุ ท่ี 7 เรื่อง อวยั วะรับความรสู้ กึ (2)
2. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์น้ีเป็น ชุดที่ 3 เรื่อง การทำงานของเซลล์ประสาท
ใช้เวลา 2 ชว่ั โมง
3. ผใู้ ชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีควรศึกษาขัน้ ตอนการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
อยา่ งละเอียดกอ่ นใช้
4. ในการทำกิจกรรมและแบบทดสอบต่าง ๆ ให้นักเรียนทำด้วยความตั้งใจ และมีความ
ซื่อสตั ยต์ ่อตนเองใหม้ ากทสี่ ดุ โดยไมด่ ูเฉลยก่อนทำใบกิจกรรมและแบบทดสอบก่อนหรอื หลังเรยี น
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ง
แผนภมู ิลำดับข้ันตอนการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
อ่านคำชแี้ จงและคำแนะนำในการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ศกึ ษาตัวชี้วดั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพน้ื ฐาน
ทดสอบกอ่ นเรยี น ผู้มีพื้นฐานต่ำ
ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามขนั้ ตอน
ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากชดุ กจิ กรรม
ไม่ผา่ น ทดสอบหลงั เรยี น
การทดสอบ
ผา่ นการทดสอบ
ศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เร่อื งตอ่ ไป
ชุดท่ี 3 เรื่อง การทำงานของเซลลป์ ระสาท
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ดี ูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |จ
คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรส์ ำหรับครู
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 3 เรื่อง การ
ทำงานของเซลล์ประสาท ใช้เวลาในการทำกิจกรรม 2 ชั่วโมง ซึ่งนักเรียนจะได้สำรวจ สังเกต
และรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลุ
จุดประสงคแ์ ละมปี ระสทิ ธภิ าพ ครูผสู้ อนควรดำเนนิ การดังน้ี
1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สำหรบั ครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อทีค่ รผู สู้ อนสามารถนำชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
2. ครผู ูส้ อนเตรยี มสื่อการเรยี นการสอนใหพ้ รอ้ ม
3. ก่อนดำเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจำกลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเว้นส่ือการสอนทตี่ ้องใช้รว่ มกนั
4. ครตู ้องช้ีแจงให้นักเรยี นรเู้ ก่ียวกับบทบาทของนกั เรียนในการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้
ดงั นี้
4.1 ศกึ ษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เขา้ ใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน อ่านคำชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
วา่ จะปฏิบตั ิกิจกรรมอะไร อย่างไร
4.3 นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกนั ไม่รบกวนผูอ้ ่ืน และไม่ชกั ชวนเพอื่ นให้ออกนอกลู่นอกทาง
4.4 หลังจากปฏิบัติกจิ กรรมแล้ว นกั เรียนจะต้องจดั เกบ็ อุปกรณท์ ุกช้นิ ให้เรยี บร้อย
4.5 เม่อื มกี ารประเมนิ ผลนักเรียนตอ้ งปฏิบัตติ นอย่างตง้ั ใจและรอบคอบ
5. การดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Based
Teaching)
6. ขณะทีน่ ักเรียนทุกกลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไมค่ วรพดู เสยี งดงั หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เป็นรายกล่มุ หรอื รายบคุ คล ตอ้ งไม่รบกวนกิจกรรมของนกั เรียนกลมุ่ อ่ืน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ฉ
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลมุ่ ใดมปี ัญหาควรเข้าไปให้ความชว่ ยเหลอื จนปญั หาน้นั คลีค่ ลายลง
8. การสรุปผลที่ได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมรว่ มของนักเรียนทกุ กลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นกั เรยี นแสดงออกให้มากท่ีสุด
9. ประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนกั เรียน เพ่อื ตรวจสอบผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น
ตงั้ ใจศึกษา
ชดุ กิจกรรมนะคะ
เด็ก ๆ
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |ช
คำช้แี จงการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรส์ ำหรับนกั เรยี น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 3 เรื่อง การ
ทำงานของเซลล์ประสาท ซึ่งนักเรียนจะได้สำรวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์
ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาผ่านทางกระบวนการ
กลมุ่ เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ นักเรยี นควรปฏิบตั ติ ามคำช้แี จง ดังตอ่ ไปน้ี
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 3 เรื่อง การทำงานของเซลล์ประสาท ใช้เวลาใน
การทำกิจกรรม 2 ชัว่ โมง
2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จำนวน 10 ข้อ
3. นกั เรียนทำกจิ กรรมเปน็ รายกลุ่มและศึกษาวิธดี ำเนนิ กจิ กรรมให้เขา้ ใจ
4. นักเรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมในชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5. นักเรียนทำกิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบ
6. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ข้อ
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |1
ชดุ ท่ี 3
การทำงานของเซลล์ประสาท
สาระการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู้
สาระ ชีววิทยา
4. เขา้ ใจการย่อยอาหารของสตั วแ์ ละมนุษย์ รวมทั้งการหายใจและการแลกเปล่ยี น
แก๊ส การลำเลยี งสารและการหมุนเวยี นเลอื ด ภมู ิคมุ้ กันของร่างกาย การขับถ่าย
การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโต
ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
2. อธบิ ายเก่ียวกบั โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
3. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศกั ยไ์ ฟฟา้ ทีเ่ ย่ือหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท
และกลไกการถ่ายทอดกระแสประสาท
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |2
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายการทำงานของเซลล์ประสาทในการส่งกระแสประสาท (K)
2. อธิบายเก่ยี วกบั การเปล่ียนแปลงของศักย์ไฟฟา้ ทีเ่ ยื่อหุ้มเซลลข์ องเซลลป์ ระสาท (K)
3. อธบิ ายเกีย่ วกับกลไกการเกิดกระแสประสาทและการถา่ ยทอดกระแสประสาท (K)
4. เขยี นแผนภาพแสดงการเปล่ียนแปลงศกั ย์ไฟฟ้าท่ีเยอื่ หุม้ เซลลแ์ ละการถ่ายทอด
กระแสประสาท (K)
5. ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (P)
6. ประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเก่ียวกับการทำงานของเซลลป์ ระสาท
ในการร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอนและนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวัน (A)
7. สนใจใฝ่ร้ใู นการศึกษาและมุ่งมั่นในการทำงาน ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์
ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผู้อื่นได้ (A)
แนวความคดิ รวบยอด
ต่อเนือ่ ง
การทำงานของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาททำหน้าที่รับและส่งสัญญาณประสาทไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
มีโครงสรา้ งแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวเซลล์ประกอบด้วยนิวเคลียสและไซโทพลาซมึ ที่มี
ออร์แกเนลล์อยู่ภายใน ทำหน้าที่สังเคราะห์สารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ และเส้น
ใยประสาททำหนา้ ท่รี ับและสง่ กระแสประสาท แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ เดนไดรตท์ ำหนา้ ที่
นำกระแสประสาทเขา้ สู่ตวั เซลล์และแอกซอน ทำหนา้ ทีน่ ำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์
เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่การทำงานได้ 3 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทรับ
ความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ และเซลล์ประสาทประสานงาน และจำแนกตามรูปร่างได้
4 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทขั้วเดียว เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม เซลล์ประสาทสองขั้ว
และเซลล์ประสาทหลายขวั้
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |3
กระแสประสาทเกิดจากการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเดนไดรต์
และแอกซอน ทำให้มีการถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทไปยังเซลล์ประสาท
หรือเซลลอ์ ืน่ ๆ ผ่านทางไซแนปส์
การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่งอาศัย
การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล ซึ่งการถ่ายทอด
กระแสประสาทจะเกิดขนึ้ ระหว่างไซแนปส์ เมือ่ กระแสประสาทถูกส่งมาท่ีปลายแอกซอนของ
เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์จะมีถุงบรรจุสารสื่อประสาทเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ประสาทหลัง
ไซแนปส์ ทำให้เกดิ การถ่ายทอดกระแสประสาทไปยงั เซลลป์ ระสาทถดั ไป
สาระสำคญั
กระแสประสาทเกิดจากการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเดนไดรต์
และแอกซอน ทำให้มีการถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทไปยังเซลล์ประสาท หรือเซลล์
อืน่ ๆ ผา่ นทางไซแนปส์
การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่งอาศัย
การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล ซึ่งการถ่ายทอดกระแส
ประสาทจะเกิดขึน้ ระหว่างไซแนปส์ เมื่อกระแสประสาทถูกส่งมาทีป่ ลายแอกซอนของเซลล์ประสาท
ก่อนไซแนปส์จะมีถุงบรรจุสารสื่อประสาทเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ ทำให้เกิดการ
ถ่ายทอดกระแสประสาทไปยงั เซลลป์ ระสาทถัดไป
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |4
รายวิชาชีววิทยา 5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง เซลล์ประสาท
รหัสวชิ า ว30250
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จำนวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที
2. จงเลือกคำตอบทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ แลว้ เขยี นเครอื่ งหมาย ลงในกระดาษคำตอบ
1. เซลล์ประสาทหลายข้วั ทำหนา้ ที่เป็นเซลล์ประสาทประเภทใด
ก. เซลล์ประสาทสง่ั การ
ข. เซลลป์ ระสาทตัวกลาง
ค. เซลลป์ ระสาทประสานงาน
ง. เซลล์ประสาทรบั ความรูส้ ึก
2. ระบบประสาทของหมกึ มีลกั ษณะอย่างไร
ก. มรี ่างแห่ประสาทเช่ือมโยงทั่วร่างกาย
ข. มีสมองบรเิ วณส่วนหัวและมีไขสนั หลงั กลางลำตัว
ค. มสี มองบรเิ วณสว่ นหวั และมเี ส้นประสาทข้างลำตวั
ง. มีสมองบรเิ วณส่วนหัวและมีปมประสาทตามสว่ นต่าง ๆ
3. ขอ้ ใดอธิบายลกั ษณะของศกั ยเ์ ยือ่ เซลล์ระยะพกั ไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. ภายในเซลล์มคี วามเข้มของ K+ น้อยกว่าภายนอกเซลล์
ข. ภายนอกเซลลม์ ีความเขม้ ของ Na+ มากกว่าภายในเซลล์
ค. ภายในเซลล์มีความเข้มของ Na+ มากกว่าภายนอกเซลล์
ง. ชอ่ งโพแทสเซยี มเปิด ทำให้ K+ จากภายนอกเซลล์ไหลเขา้ สู่ภายในเซลล์มากข้นึ
4. ปจั จยั ใดมผี ลต่อการเคลือ่ นท่ีของกระแสประสาท
ก. จำนวนเดนไดรต์
ข. จำนวนเซลล์ชวนั น์
ค. ระยะห่างของโนดออฟแรนเวียร์
ง. อัตราสว่ นของเดนไดรต์ตอ่ แอกซอน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |5
5. เยื่อห้มุ เซลล์มีกลไกรักษาความตา่ งศกั ยร์ ะหวา่ งภายนอกเซลลแ์ ละภายในเซลล์ ยกเว้นขอ้ ใด
ก. อาศยั กระบวนการโซเดียมโพแทสเซียมปม๊ั
ข. ยอมให้ไอออนบางชนิดผา่ นเข้าและออกไดต้ า่ งกัน
ค. ภายในเซลล์มีสารท่เี ป็นประจุลบ ไม่สามารถออกนอกเซลล์ได้
ง. ขับโปรตนี ทม่ี ีประจลุ บออกนอเซลล์โดยกระบวนการแอ็กทีฟทรานสปอร์ต
6. ขอ้ ใดกลา่ วถึงแอกชนั โพเทนเชียลไดถ้ กู ต้อง
ก. ดโี พลาไรเซชนั เกดิ ขึน้ เมอื่ Na+ เข้าสูภ่ ายในเซลล์
ข. รีโพลาไรเซชนั เกิดข้ึนเม่ือ K+ เข้าสูภ่ ายในเซลล์
ค. ศกั ย์เยอ่ื เซลล์ระยะพกั มคี ่าศักย์ไฟฟา้ +70 mV
ง. ระยะดโี พลาไรเซชันมคี ่าศกั ยไ์ ฟฟ้า -70 mV
7. ส่วนใดของเซลลป์ ระสาททที่ ำหน้าท่นี ำกระประสาทเขา้ สตู่ ัวเซลล์
ก. แอกซอน
ข. เดนไดรต์
ค. ตวั เซลล์
ง. เซลล์ชวนั น์
8. ปัจจัยในข้อใดส่งผลต่อความเร็วของกระแสประสาทที่เคลื่อนที่ผ่านเซลล์ประสาทที่แอกซอน
มีเยื่อหุม้ ไมอลี ิน
ก. จำนวนไซแนปส์
ข. จำนวนเดนไดรต์
ค. ความยาวของแอกซอน
ง. ระยะของโนดออฟแรนเวยี ร์
9. เซลลป์ ระสาทสองข้วั พบบรเิ วณใดของร่างกาย
ก. สมอง
ข. ไขสนั หลงั
ค. เรตินาของลูกตา
ง. กล้ามเนอ้ื เรยี บ
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |6
10. การเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้าและออกจากเซลล์ในแอกชันโพเทนเชียลใช้
กระบวนการใด
ก. การแพร่
ข. ออสโมซสิ
ค. เอนโดไซโทซิส
ง. แอ็กทฟี ทรานสปอรต์
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |7
บัตรเนื้อหา
ชดุ กิจกรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ชดุ ท่ี 3 การทำงานเซลลป์ ระสาท
การทำงานเซลลป์ ระสาท
เซลล์ประสาททำหนา้ ทรี่ ับและส่งสญั ญาณประสาทไปยังเซลล์ต่าง ๆ ท่ัวร่างกาย มโี ครงสร้าง
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ตัวเซลล์ประกอบด้วยนิวเคลียสและไซโทพลาซึมที่มีออร์แกเนลล์อยู่
ภายในทำหน้าที่สังเคราะห์สารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ และเส้นใยประสาททำหน้าที่รับ
และส่งกระแสประสาท แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เดนไดรต์ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัว
เซลลแ์ ละแอกซอน ทำหน้าท่ีนำกระแสประสาทออกจากตวั เซลล์
เซลลป์ ระสาทจำแนกตามหน้าท่ีการทำงานได้ 3 ประเภท ได้แก่ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทสั่งการ และเซลล์ประสาทประสานงาน และจำแนกตามรูปร่างได้ 4 ประเภท ได้แก่
เซลล์ประสาทขวั้ เดียว เซลลป์ ระสาทข้วั เดยี วเทียม เซลลป์ ระสาทสองข้ัว และเซลลป์ ระสาทหลายขัว้
การถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่งอาศัยการ
เปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล ซึ่งการถ่ายทอดกระแสประสาท
จะเกิดขึ้นระหว่างไซแนปส์ เมื่อกระแสประสาทถูกส่งมาที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อน
ไซแนปส์จะมีถุงบรรจุสารสื่อประสาทเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ ทำให้เกิดการ
ถ่ายทอดกระแสประสาทไปยงั เซลลป์ ระสาทถัดไป
3.1 การเกิดกระแสประสาท
กระแสประสาทเป็นการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในและภายนอกเซลล์
ประสาท ซึ่งเป็นผลจากสิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น ความร้อน แสงสว่าง สารเคมี มากระตุ้นหน่วย
รบั ความรูส้ กึ บริเวณที่ถูกกระตุ้นและเป็นสื่อชักนำให้บริเวณถดั ไปเกิดการเปลยี่ นแปลงความต่างศักย์
ซึ่งเกิดสลับกันระหว่างระยะพักและระยะที่ถูกกระตุ้น การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเกิดขึ้นตาม
แนวยาวของเสน้ ใยประสาทจากจดุ หนง่ึ ไปยังอกี จดุ หนงึ่ ของแอกซอนที่ไม่มีเย่ือหุ้มไมอลี ิน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |8
ภาพท่ี 3.1 การทดลองวัดค่าความต่างศักยไ์ ฟฟา้ ในแอกซอนของเซลล์ประสาทหมึก
ทมี่ า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 1 บริษัทอกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด (หนา้ 49)
จากการทดลองของเอ. แอล. ฮอดจ์กิน (A. L. Hodgkin) และเอ. เอฟ. ฮักซ์ลีย์ (A. F.
Huxley) ซึ่งวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในแอกซอนของเซลล์ประสาทหมึก โดยนำไมโครอิเล็กโทรด
ต่อกับมาตรวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า โดยเสียบปลายไมโครอิเล็กโทรดเข้าไปในแอกซอนของหมึก
และนำปลายอีกข้างหนึ่งแตะไว้ที่ผิวนอกแอกซอนของหมึก ผลการทดลอง พบว่า ความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าภายในและภายนอกเซลล์ประสาทของหมึกในระยะพักของเซลล์ประสาทมีค่าประมาณ -
70 มลิ ลโิ วลต์ (m V) แตเ่ มอื่ ตำแหน่งหนึ่งบนแอกซอนของเซลล์ประสาทหมึกถูกกระตุ้น ค่าความต่าง
ศกั ย์ไฟฟ้าเปล่ยี นเปน็ +70 mV และจะเปล่ยี นกลบั มาเปน็ -70 mV เชน่ เดิม
จากการศึกษา พบว่า เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทเป็นสารประกอบประเภทฟอสโฟลิพิดเรียงตัว
2 ชั้น มีสมบัติให้ไอออนผ่านเข้าและออกได้ และมีโปรตีนแทรกอยู่ป็นระยะ เกิดเป็นช่องให้ไอออน
บางชนิดผา่ นเขา้ และออกได้ เชน่ ชอ่ งโซเดยี ม ชอ่ งโพแทสเซยี ม ช่องแคลเซียม
ในภาวะปกติที่เซลล์ประสาทไม่ถูกกระตุ้นหรือไม่มีกระแสประสาทเคลื่อนที่ผ่าน เรียกว่า
ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก (resting membrane potential) พบว่า สารละลายภายนอกเซลล์และ
ภายในเซลล์มปี ระจุไฟฟ้าต่างกันประมาณ -70 mV โดยภายนอกเซลล์มโี ซเดยี มไอออน (Na') สูงกว่า
ภายในเซลล์ ส่วนภายในเซลล์มีโพแทสเซียมไอออน (K') สูงกว่าภายนอกเซลล์ ซึ่งเซลล์จะรักษา
ปริมาณของไอออนโดยส่งโซเดียมไอออนออกไปภายนอกเซลล์ทางช่องโซเดียมและดึงโพแทสเซียม
ไอออนเข้าสู่ภายในเซลล์ทางช่องโพแทสเซียม โดยอาศัยพลังงานจาก ATP ในไมโทคอนเดรีย เรียก
กระบวนการนวี้ า่ โซเดียมโพแทสเซียมป้ัม (sodium-potassium pump)
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท หน้า |9
ภาพท่ี 3.2 การเคลื่อนท่ีของไอออนของเซลลป์ ระสาทผา่ นช่องโปรตนี ตา่ ง ๆ บนเย่ือหุ้มเซลล์
ทมี่ า : หนังสอื เรียนรายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เล่ม 1 บริษทั อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด (หนา้ 50)
แม้ว่าภายในเซลล์จะมีโพแทสเซียมไอออนสะสมอยู่จำนวนมาก แต่ยังพบสารอินทรียต์ ่าง ๆ
ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ไมส่ ามารถผ่านออกนอกเซลล์ได้ เช่น โปรตนี กรดนวิ คลอี ิก เป็นสารท่ีมีประจุ
ลบจึงทำใหภ้ ายในเซลล์มผี ลรวมของประจุเปน็ ลบเม่ือเทยี บกับภายนอกเซลลเ์ มอื่ เซลลป์ ระสาทได้รับ
การกระตนุ้ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงของศักย์ไฟฟา้ ภายในเซลลแ์ ละภายนอกเซลล์ ดงั น้ี
ในภาวะที่เซลล์ไม่ได้รับการกระตุ้น ภายนอกเซลล์จะมี Na และภายในเซลล์จะมี K+
ซ่งึ มีค่าศกั ย์ไฟฟ้าทเ่ี ย่อื หุ้มเซลล์เท่ากบั -70 mV เรียกระยะน้ีว่า ศกั ย์เย่อื เซลล์ระยะพัก
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 10
ภาพที่ 3.3 การเปลี่ยนแปลงความตา่ งศักยท์ ี่เยื่อหุ้มเซลล์ประสาทในภาวะถกู กระตนุ้
ทม่ี า : หนังสอื เรียนรายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เล่ม 1 บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั (หน้า 51)
เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นเซลล์ประสาทในระดับที่เซลล์สามารถตอบสนองได้ เรียกว่า
เทรโชลด์ (threshold) จะเกิดการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ ทำให้ช่องโซเดียมเปิด Na+
จึงไหลเข้าไปในเซลล์มากขึ้น เยื่อเซลล์ด้านในบริเวณที่ Na+ ผ่านเข้าไปจะมีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก
มากขึน้ ความต่างศักย์ท่เี ยื่อเซลล์จงึ เปล่ียนจาก -70 mV เปน็ +50 mV เรียกว่า เกิดดีโพลาไรเซชัน
(depolarization)
ภาพที่ 3.4 การเปลี่ยนแปลงความต่างศกั ย์ทเ่ี ย่ือหุ้มเซลล์ประสาทในภาวะถูกกระตุ้น
ที่มา : หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชีววิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 เล่ม 1 บรษิ ทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั (หน้า 51)
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 11
ภายหลังที่ Na+ ผ่านเข้าไปในเซลลแ์ ล้ว ช่องโซเดียมจะปิด ช่องโพแทสเซียมจะเปิด K+
จึงไหลออกไปนอกเซลล์ ทำให้ภายในเซลล์สูญเสียประจุบวก เรียกว่า เกิดรีโพลาไรเซชัน
(repolarization)
ภาพที่ 3.5 การเปล่ียนแปลงความต่างศักย์ทเ่ี ยื่อหุ้มเซลล์ประสาทในภาวะถูกกระตนุ้
ทีม่ า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 1 บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั (หน้า 51)
ความตา่ งศักยจ์ ะเปลี่ยนจาก +50 mV เป็น -70 mV เชน่ เดมิ ซ่ึงเซลล์จะกลบั เข้าสู่
ระยะศักยเ์ ยื่อเซลล์ระยะพักอีกครงั้
ภาพท่ี 3.6 การเปลี่ยนแปลงความต่างศกั ย์ทเ่ี ยื่อหุ้มเซลล์ประสาทในภาวะถกู กระตุ้น
ทีม่ า : หนังสอื เรยี นรายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เล่ม 1 บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั (หน้า 51)
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 12
การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ที่เกิดขึ้น เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล (action potential)
ทำให้เกิดกระแสประสาทในบริเวณที่ถูกกระตุ้นและเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ในบริเวณ
ถัดไป บริเวณที่เกิดแอกชันโพเทนเชียลแล้วจะกลับสู่ศักย์เยื่อเซลล์ระยะพักอีกครั้ง กระบวนการ
ดังกล่าวเกิดขึ้นต่อเนื่องสลับกัน ทำให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปตามความยาวของแอกซอนที่ไม่มี
เย่ือไมอลี ินหุ้มแบบจุดต่อจดุ อย่างต่อเน่ืองไปจนถงึ ปลายแอกซอน การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าขณะท่ี
เซลล์ประสาทถูกกระตุ้นสามารถนำมาเขียนกราฟได้ ดงั นี้
ภาพท่ี 3.7 กราฟการเปล่ียนแปลงศกั ยไ์ ฟฟา้ ขณะทีเ่ ซลล์ประสาทถูกกระตุ้น
ท่มี า : หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชีววิทยา
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 1 บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด (หนา้ 52)
ทุกครั้งที่เซลล์ประสาทถูกกระตุ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าตามลำดับขั้นเช่นน้ี
ทำให้เซลล์ได้รับ Na+ เข้าสู่ภายในเซลล์ และสูญเสีย K'* ออกนอกเซลล์จำนวนหนึ่ง กระบวนการ
โซเดียมโพแทสเซียมปั๊มจะทำหน้าที่รักษาความเข้มข้นของ Na+ และ K+ ให้อยู่ในระดับปกติ
โดย Na+ ที่ผ่านเข้าสู่ภายในเซลล์จะถูกขับออก และดึง K+ กลับเข้าสู่ภายในเซลล์ในอัตราส่วน
3Na+ : 2K+ ทางช่องโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม โดยอาศัยการลำเลียงแบบใช้พลังงาน (active
transport)
การลำเลยี งแบบใชพ้ ลังงานเป็นการลำเลยี งสารผา่ นเย่ือหุ้มเซลลจ์ ากบรเิ วณทมี่ คี วามเข้มข้น
ของสารต่ำไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูง โดยลำเลียงผ่านโปรตีนตัวพาที่แทรกอยู่บน
เยอ่ื หมุ้ เซลล์ และอาศัยสารพลงั งานสูง เช่น ATP
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 13
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มจะเกิดขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องจากจุดที่ถูกกระตุ้นและเกิดการเปลี่ยนแปลงประจุในจุดถัดไป และเมื่อกระแสประสาท
เคลื่อนที่ผ่านไปแล้ว จุดนั้นจะกลับคืนสู่สภาวะพักเช่นเดิม แต่การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
ผ่านเซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เยื่อไมอีลินจะทำหน้าที่เป็นฉนวนกั้นไฟฟ้าที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ทำให้แอกซอนบริเวณทม่ี เี ยื่อไมอีลนิ หุ้มไมเ่ กิดแอกชนั โพเทนเชยี ล แต่แอกชันโพเทนเชียลจะเคลื่อนที่
จากโนดออฟแรนเวียร์หนึ่งข้ามไปยังอีกโนดออฟแรนเวียร์หนึ่งตลอดความยาวของเส้นใยประสาท
ดังนั้น การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจึงเป็นการกระโดดจากโนดออฟแรนเยร์หนึ่งไปยังโนดออฟ
แรนเวียร์ถดั ไปตอ่ กันไปเรอื่ ย ๆ จงึ ใช้เวลาเคลอื่ นที่น้อยกว่า
ภาพท่ี 3.8 เปรียบเทียบการเคล่ือนทขี่ องกระแสประสาทตามเซลล์ประสาททไ่ี ม่มีเยื่อหุ้มไมอลี ิน (ซ้าย)
และเซลลป์ ระสาทที่มีเยื่อหุ้มไมอีลนิ (ขวา)
ท่มี า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั (หน้า 52)
นอกจากนี้ ความเร็วของกระแสประสาทที่เคลื่อนที่ผ่านเซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
ยังขึ้นอยู่กับขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นใยประสาทด้วย หากเส้นใยประสาทมีเส้นผ่าน
ศนู ย์กลางขนาดใหญ่ กระแสประสาทจะเคลื่อนท่ีได้เรว็ กว่า สว่ นกระแสประสาทที่เคลื่อนท่ีผ่านเซลล์
ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม หากมีระยะของโนดออฟแรนเวียร์มาก กระแสประสาทก็จะเคลื่อนที่ได้
เรว็ กวา่
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 14
การทำงานของระบบประสาทและสมอง
ระบบประสาท เป็นระบบที่มีความละเอียดสูง และ เป็นระบบที่ทำงานอย่างสมดุล มีความ
อัจฉริยะในระบบเอง ก่อนที่จะทำความเข้าใจกับระบบประสาทในภาพใหญ่ เรามาส่องกล้อง
จลุ ทรรศน์ เพ่ือรู้จกั กับสงิ่ ทีเ่ รียกวา่ เซลลป์ ระสาท
ภาพที่ 3.9 เซลล์ประสาท
ทม่ี า : http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/
รจู้ กั กบั เซลลป์ ระสาท
เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นหน่วยเล็กที่สุดในระบบประสาท มีหลายรูปแบบ โดยทั่วไป
แล้วจะมีลักษณะบางอย่างคล้ายๆกันคือ มีปลายประสาทขาเข้า นิวเคลียส และ ปลายประสาทขา
ออก โดยระหวา่ ง ในเซลลแ์ ละสภาพแวดล้อมด้านนอก จะมคี วามตา่ งศกั ยท์ างไฟฟา้ อยู่ประมาณ -70
mV เกดิ จาก ความเขม้ ข้นของเกลือแร่ตา่ งกันระหวา่ งด้านในและด้านนอก เกลือแรท่ ว่ี า่ คือ โซเดียม
โปแตสเซียม และ แคลเซียม
เมอื่ เกดิ การกระต้นุ เซลลป์ ระสาทนี้จะมีการถ่ายเทเกลือแร่ระหว่างภายในและภายนอก จน
เกิดประจุไฟฟ้า เกิดสัญญาณต่อเนื่องไปท่ี ปลายประสาทขาออก ทำให้เกิดการหล่ัง “สารสื่อ
ประสาท” เพื่อไปกระตุ้นเซลล์ถัดไป และทางการแพทย์เราสามารถตรวจจับกระแสไฟฟ้านี้เพื่อ
นำมาทำการวิเคราะห์
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 15
นอกจากเซลล์ประสาทแล้ว ยังมีเซลล์ที่คอยค้ำจุน ยึดเหนี่ยวโครงสร้าง ส่งผ่านสารอาหาร
และช่วยเพิม่ ความเร็วของสัญญาณไฟฟ้า เราเรยี กเซลลก์ ลมุ่ นว้ี า่ Glial cell
เซลลป์ ระสาทสามารถแบ่งตามหน้าทไ่ี ด้ 3 ชนดิ ครับ
1. เซลลร์ ับข้อมลู (Sensory neuron) ทำหน้าทใ่ี นการรบั รขู้ ้อมลู จากสภาพแวดล้อมภายนอก
ยังแบ่งอีกว่าจะ รับเคมี รับแรงกด รับแสง รับอุณหภูมิ หรอื รบั อนั ตราย
2. เซลล์เช่ือมตอ่ (Interneuron) ทำให้ท่ีในการเชือ่ มตอ่ การรับ และ การสง่ สารส่ือประสาท
3. เซลลส์ ง่ั การ (Motor neuron) ทำหนา้ ท่สี ง่ั การ การทำงานไปยังอวัยวะเป้าหมายต่อไป
ภาพท่ี 3.10 การทำงานของระบบประสาท
ท่ีมา : http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/
กายวิภาคของระบบประสาทและสมอง
มาดูของจริงที่ตาเรามองเห็นกันครับ เนื่องจากระบบประสาทและสมอง เป็นระบบที่มี
ความสำคัญในการดำรงชีวิต จึงได้รับการวิวัฒนาการให้มีอวัยวะที่ช่วยปกป้องระบบนี้ สิ่งนั้นคือ
ระบบโครงรา่ งและกลา้ มเน้ือครับ จากที่กล่าวมาระบบประสาทสามารถแบง่ ชนดิ ตามการทำงานคือ
• ระบบประสาทส่วนกลาง คือ สมอง และ ไขสนั หลัง
• ระบบประสาทส่วนปลาย คือ เส้นประสาททน่ี อกเหนือจากส่วนกลางทัง้ หมด
การเดินทางของข้อมูลคือ ระบบประสาทส่วนปลาย(เส้นประสาท) รับและส่งข้อมูลเข้า
สู่ ระบบประสาทส่วนกลาง(สมองและไขสันหลัง) และสั่งงานออกมาท่ี ระบบประสาทส่วนปลาย
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 16
(เส้นประสาท) อกี คร้งั โดยระบบประสาทส่วนกลางจะได้รับสารอาหารจากเสน้ เลือดสมอง และ มนี ้ำ
ไขสนั หลงั คอยคำ้ จุน โดยน้ำไขสันหลงั น้ีจะอยู่รอบๆสมองและไขสันหลังทง้ั หมด ทางการแพทย์เราจึง
ใช้น้ำไขสัน เพอ่ื วนิ จิ ฉยั โรคเก่ยี วกับสมองบางโรค
ภาพที่ 3.11 การทำงานของระบบประสาท
ท่ีมา : http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/
ระบบประสาทส่วนกลาง และ ระบบประสาทสว่ นปลาย
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายทำหน้าที่ร่วมกันคือ รับสัญญาณประสาทขาเข้า
ผา่ นระบบประสาทส่วนปลาย สง่ ต่อไปยัง ประสาทสว่ นกลางเพื่อประมวลผล ส่งกลับมายังประสาท
สว่ นปลายเพ่ือทำงานอีกครัง้ ซ่ึงระบบการทำงานของระบบประสาทส่วนปลายขาออก ยังแบง่ เป็น
• กลมุ่ ท่ีสง่ั การได้ตามใจ (Somatic) เชน่ มือ แขน ขา กลา้ มเนือ้ ใบหนา้
• กล่มุ ที่ทำงานอัตโนมตั ิ (Autonomic) เชน่ ควบคมุ ระบบหัวใจ ทางเดินอาหาร และ หลอด
เลือด เพ่ือปรับสมดุลของอวัยวะภายในให้โดยอัตโนมตั ิ และในกลมุ่ นีย้ ังแบ่งออกเป็น 2 กล่มุ
ย่อยทท่ี ำงานในทางตรงกนั ขา้ ม เพ่ือความคุมอวยั วะภายในคือ
1. Sympathetic division ออกจากไขสันหลงั ระดับ หนา้ อก และ เอว
2. Parasympathetic division ออกจากไขสนั หลังระดับ ต้นคอ และ กน้
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 17
ภาพที่ 3.12 สมองสว่ นตา่ ง ๆ
ทม่ี า : http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/
สมองแต่ละส่วนนั้นทำหน้าที่แตกต่างกัน เมื่อสมัยก่อนนั้นแพทย์เราศึกษา การทำงานของ
สมองแต่ละส่วน จากคนที่ประสบอุบัติเหตุทางสมอง และกลุ่มของทหารที่ได้รับบาดเจ็บในสงคราม
เพื่อดูว่าสมองแต่ละตำแหน่ง ทำหน้าที่แตกต่างกันอย่างไร แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีมากขึ้น ทำให้เรา
เขา้ ใจสมองในแต่ละสว่ นชัดเจนมากขึ้น
3.2 การถา่ ยทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท
จากการทดลองของออทโต ลอวิ (Otto Loewi) ซึ่งนำหัวใจกบที่มีชีวิตและมี
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ติดอยู่มาใส่ในแก้วที่มีน้ำเกลือ แล้วกระตุ้นเส้นประสาทสมองด้วย
กระแสไฟฟ้า พบว่า หัวใจกบเต้นช้าลง และเมื่อดูดสารละลายจากแก้วที่ 1 ใส่ลงในแก้วที่ 2 ซึ่งมี
หัวใจกบที่ตัดเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ออก พบว่า หัวใจกบในแก้วที่ 2 มีการเต้นของหัวใจช้าลง
เชน่ กนั
จากการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า การกระตุ้นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 ทำให้เกิดการ
ปล่อยสารบางชนิดมายับยั้งการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่นเดียวกับการกระตุ้นเส้นใยประสาท
ที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อนั้น โดยมีการหล่ังสารจากปลายประสาทกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหดตัว เรียกสาร
ทีห่ ลง่ั ออกจากเสน้ ใยประสาทว่า สารสอ่ื ประสาท (neurotransmitter)
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 18
ภาพที่ 3.13 การทดลองของออทโต ลอวิ ในการกระตุ้นการหลงั่ สารสื่อประสาทของกลา้ มเนื้อหัวใจกบ
ทีม่ า : หนังสือเรียนรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 เล่ม 1 บริษัทอกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั (หนา้ 52)
ในเวลาต่อมา พบว่า บริเวณปลายแอกซอนมีสารสื่อประสาทปริมาณสูงมาก ทำหน้าท่ีเป็น
ตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลลป์ ระสาทหนง่ึ ไปยงั อีกเซลล์ประสาทหนึ่ง และในปัจจุบันพบ
สารสื่อประสาทหลายชนิด เช่น แอซิติลโคลีน (acetylcholine) นอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine)
เอนดอร์ฟิน (endorphin ซ่งึ จากการทดลองของออทโต ลอวิ พบวา่ แอซิตลิ โคลีน เป็นสารส่อื ประสาท
ทห่ี ลง่ั ออกมาจากเส้นประสาทสมองค่ทู ี่ 10 เมื่อถูกกระตนุ้ ด้วยกระแสไฟฟา้
การถ่ายทอดกระแสประสาทเกิดข้ึนระหว่างปลายแอกซอนของเซลลป์ ระสาทหน่ึงกบั ปลาย
เดนไดรของอีกเซลล์ประสาทหนึ่ง เรียกว่า ไซแนปส์ (synapse) มีช่องขนาดเล็กประมาณ 0.02
ไมโครเมตร คั่นอยู่ เรียกว่า ช่องไซแนปส์ (synaptic cleft) ซึ่งเป็นช่องผ่านของสารสื่อประสาท
ที่ปล่อยออกจากปลายแอกซอน โดยปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic
neuron) มีถุงขนาดเล็กบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มาถึงปลายแอกซอน
ถุงบรรจุสารสื่อประสาทจะเคลื่อนท่ีไปชิดกับเยื่อหุ้มเซลล์บริเวณไซแนปส์และปลอ่ ยสารสือ่ ประสาท
ออกมาเพื่อกระตุ้นเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ (postsynaptic neuron) ทำให้เกิดการถ่ายทอด
กระแสประสาทไปจนถงึ เซลล์เป้าหมาย
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 19
เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยจากปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์เข้าสู่
ช่องไซแนปส์ สารสื่อประสาทจะจับกับโปรตีนตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์
ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของไอออนต่าง ๆ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์
ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ ทำให้เกิดแอกชันโพเทนเชียลและเกิดการส่งกระแส
ประสาทตอ่ ๆ ไป
ภาพท่ี 3.14 การถ่ายทอดกระประสาทผา่ นไซแนปส์
ทีม่ า : หนังสือเรยี นรายวิชาเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชวี วิทยา
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เล่ม 1 บรษิ ัทอักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกัด (หนา้ 55)
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 20
บัตรกจิ กรรมท่ี 3.1
สรปุ สาระสำคญั เรือ่ ง การทำงานของเซลลป์ ระสาท
คำสง่ั ให้นกั เรียนสรุปสาระสำคัญ เรื่อง การทำงานของเซลลป์ ระสาท
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 21
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
เจ้าของผลงาน ชอื่ ……………………………..…………………………………ชั้น……………..เลขท่ี…………
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชุดท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 22
บัตรกิจกรรมที่ 3.2
แผนผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง การทำงานของเซลลป์ ระสาท
คำชี้แจง ให้นักเรยี นสรุปความรู้ท่ีเก่ียวกับ “การทำงานของเซลล์ประสาท” เป็นแผนผังมโนทศั น์
(Concept Mapping) ในกระดาษทีแ่ จกใหแ้ ลว้ นำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 23
บัตรกิจกรรมที่ 3.3
ถอดบทเรยี น เร่ือง การทำงานของเซลล์ประสาท
คำชี้แจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนที่เกี่ยวกับ “การทำงานของเซลล์ประสาท” ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กำหนดให้แล้วนำเสนอผลงานโดยนำไปติดป้ายนิเทศ
หน้าชั้นเรียน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 24
แบบฝึกหัด
เร่ือง การทำงานของเซลลป์ ระสาท
คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ตอ้ งทส่ี ุด
1. กระแสประสาทถกู สง่ จากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ประสาทหนึ่งได้อย่างไร
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
2. การเปลีย่ นแปลงศกั ย์เย่อื เซลล์ระยะพกั และระยะท่ีถูกกระตุ้นมลี ักษณะอยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
........................................................................................... ...................................................................
............................................................................................................................. .................................
.......................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
3. เยอื่ ไมอีลินทห่ี มุ้ บรเิ วณแอกซอนของเซลลป์ ระสาทส่งผลต่อการเคลอ่ื นท่ีของกระแสประสาท
อย่างไร
............................................................................................................................. .................................
.................................................................................................................................................. ............
...................................................................................................................... ........................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 25
4. เพราะเหตใุ ดจงึ พบสารสื่อประสาทเฉพาะท่ปี ลายแอกซอน และมผี ลต่อการเคลื่อนท่ีของกระแส
ประสาทอย่างไร
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
5. จงเขยี นแผนภาพเกิดกระแสประสาท และการถ่ายทอดกระแสประสาทผา่ นไซแนปส์
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
.............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
..................................................................................................................................... .........................
......................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 26
รายวชิ าชีววิทยา 5 แบบทดสอบหลังเรยี น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
เรือ่ ง การทำงานของเซลล์ประสาท
รหัสวิชา ว30250
คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคำตอบท่ีถูกต้องที่สดุ แลว้ เขยี นเครื่องหมาย ลงในกระดาษคำตอบ
1. ระบบประสาทของหมกึ มีลักษณะอยา่ งไร
ก. มรี า่ งแหป่ ระสาทเชอ่ื มโยงทั่วร่างกาย
ข. มสี มองบรเิ วณสว่ นหวั และมไี ขสันหลงั กลางลำตัว
ค. มีสมองบรเิ วณส่วนหัวและมเี สน้ ประสาทข้างลำตวั
ง. มสี มองบริเวณส่วนหวั และมปี มประสาทตามส่วนต่าง ๆ
2. ข้อใดอธบิ ายลกั ษณะของศักยเ์ ยอื่ เซลลร์ ะยะพักได้ถูกต้อง
ก. ภายในเซลล์มคี วามเข้มของ K+ นอ้ ยกวา่ ภายนอกเซลล์
ข. ภายนอกเซลล์มีความเข้มของ Na+ มากกว่าภายในเซลล์
ค. ภายในเซลล์มีความเข้มของ Na+ มากกว่าภายนอกเซลล์
ง. ชอ่ งโพแทสเซียมเปดิ ทำให้ K+ จากภายนอกเซลล์ไหลเข้าสู่ภายในเซลล์มากขึ้น
3. เซลลป์ ระสาทหลายขัว้ ทำหนา้ ท่เี ป็นเซลลป์ ระสาทประเภทใด
ก. เซลล์ประสาทส่ังการ
ข. เซลล์ประสาทตัวกลาง
ค. เซลล์ประสาทประสานงาน
ง. เซลลป์ ระสาทรบั ความรู้สกึ
4. ปัจจัยใดมผี ลต่อการเคลอ่ื นทข่ี องกระแสประสาท
ก. จำนวนเดนไดรต์
ข. จำนวนเซลลช์ วันน์
ค. ระยะหา่ งของโนดออฟแรนเวยี ร์
ง. อัตราสว่ นของเดนไดรตต์ ่อแอกซอน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 27
5. ขอ้ ใดกล่าวถึงแอกชันโพเทนเชยี ลไดถ้ กู ต้อง
ก. รีโพลาไรเซชันเกิดขึน้ เม่ือ K+ เข้าสภู่ ายในเซลล์
ข. ดโี พลาไรเซชนั เกิดข้ึนเมื่อ Na+ เข้าสู่ภายในเซลล์
ค. ระยะดีโพลาไรเซชนั มีคา่ ศักยไ์ ฟฟา้ -70 mV
ง. ศักย์เยอื่ เซลลร์ ะยะพกั มีคา่ ศกั ย์ไฟฟ้า +70 mV
6. เยอื่ หมุ้ เซลล์มีกลไกรกั ษาความต่างศักยร์ ะหวา่ งภายนอกเซลล์และภายในเซลล์ ยกเว้นขอ้ ใด
ก. อาศยั กระบวนการโซเดยี มโพแทสเซยี มป๊มั
ข. ยอมให้ไอออนบางชนิดผ่านเข้าและออกได้ตา่ งกัน
ค. ภายในเซลล์มีสารทเี่ ป็นประจุลบ ไม่สามารถออกนอกเซลล์ได้
ง. ขบั โปรตีนทีม่ ปี ระจุลบออกนอเซลลโ์ ดยกระบวนการแอ็กทีฟทรานสปอร์ต
7. การเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้าและออกจากเซลล์ในแอกชันโพเทนเชียลใช้
กระบวนการใด
ก. แอก็ ทีฟทรานสปอรต์
ข. เอนโดไซโทซิส
ค. ออสโมซสิ
ง. การแพร่
8. สว่ นใดของเซลล์ประสาทท่ที ำหนา้ ทีน่ ำกระประสาทเข้าสตู่ ัวเซลล์
ก. ตวั เซลล์
ข. แอกซอน
ค. เดนไดรต์
ง. เซลล์ชวนั น์
9. ปัจจัยในข้อใดส่งผลต่อความเร็วของกระแสประสาทที่เคลื่อนที่ผ่านเซลล์ประสาทที่แอกซอน
มเี ยื่อห้มุ ไมอลี ิน
ก. จำนวนไซแนปส์
ข. จำนวนเดนไดรต์
ค. ความยาวของแอกซอน
ง. ระยะของโนดออฟแรนเวียร์
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 28
10. เซลล์ประสาทสองขัว้ พบบรเิ วณใดของรา่ งกาย
ก. สมอง
ข. ไขสันหลงั
ค. กลา้ มเนอ้ื เรยี บ
ง. เรตินาของลกู ตา
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 29
กระดาษคำตอบ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
ชดุ ที่ 3 การทำงานของเซลลป์ ระสาท
แบบทดสอบก่อนเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ขอ้ ก ข ค ขอ้ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10
คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเมก็
ชุดที่ 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 30
บรรณานุกรม
เกศทิพย์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา และฤทธ์ิ วฒั นชัยยิ่งเจรญิ . (2564). หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เลม่ 1. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 3)
กรงุ เทพฯ : ไทยร่มเกลา้ , บริษัทอักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกัด.
จิรัสย์ เจนพาณชิ ย์ (2558). ชีววิทยาสำหรับนักเรยี นมธั ยมปลาย. กรงุ เทพมหานคร :
หจก.สามลดา.
ซรี ์สตาร์ (2552). ชวี วทิ ยา เล่ม 1. (แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications
โดยทมี คณาจารย์ ภาควิชาชวี วทิ ยามหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, ผูแ้ ปล). กรงุ เทพมหานคร :
เจเอสที พับลชิ ช่งิ จำกัด.
นงลักษณ์ สุวรรณพนิ จิ และ ปรีชา สวุ รรณพินิจ (2552). จุลชีววทิ ยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร :
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ปรชี า สุวรรณพนิ จิ และนงลกั ษณ์ สวุ รรณพินิจ (2549). ชีววิทยา 2. กรงุ เทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
วันดี วฒั นชยั ย่งิ เจรญิ (2552). การจัดจำแนกส่ิงมีชีวติ . ภาควิชาชีววทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ :
มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.
ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง. (2560). ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาชนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพซ์ ุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, สถาบัน. (2554). หนงั สอื เรียนรายวชิ าชีววิทยา
เพ่มิ เติมเล่ม 5. กรุงเทพมหานคร : สกสค.
สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2555). คู่มอื ครรู ายวิชาชีววทิ ยาเพ่มิ เตมิ
เล่ม 5. กรงุ เทพมหานคร : สกสค.
ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, สถาบนั . (2556). หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพม่ิ เดิม
ชวี วทิ ยา เลม่ 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์.
พมิ พค์ ร้ังท่ี 9. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว.
สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, สถาบัน.(2558). หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เดมิ
ชีววทิ ยา เลม่ 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์.
พมิ พ์ครง้ั ที่ 9. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว.
สตาร์, ซซี าย. (2553). ชวี วทิ ยา เลม่ 2. กรุงเทพมหานคร : เซนเกจ เลนิ นง่ิ .
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ ท่ี 3 : การทางานของเซลลป์ ระสาท ห น ้ า | 31
ประวัตยิ ่อผู้จดั ทำ
ชอ่ื – สกลุ นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน
วนั เดือน ปี เกิด วันท่ี 16 สิงหาคม พ.ศ. 2517
สถานที่เกดิ บ้านเลขท่ี 9 หมู่ 11
บ้านนางาม ตำบลนาดี อำเภอเดชอดุ ม
จังหวัดอบุ ลราชธานี 34160
โทรศัพท์ 091-828-417-9
ตำแหน่งหนา้ ทป่ี ัจจุบนั ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ
สถานที่ทำงานในปจั จบุ ัน โรงเรียนเบ็ตตี้ดูเมน 2 ช่องเมก็ ตำบลชอ่ งเมก็
อำเภอสิรินธร จังหวดั อุบลราชธานี
สังกัดองค์การบริหารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี
ประวัติการศกึ ษา
พ.ศ. 2541 ปริญญาตรี วทิ ยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอก ชวี วทิ ยาประยุกต์
สถาบนั ราชภฏั อบุ ลราชธานี
พ.ศ. 2542 ประกาศนียบตั รบัณฑติ วชิ าชพี ครู สถาบันราชภฏั อบุ ลราชธานี
ประสบการณ์การทำงาน
พ.ศ. 2542 ตำแหนง่ อาจารย์ 1 ระดบั 3 โรงเรียนช่องเม็กวิทยา
อำเภอสิรินธร จงั หวัดอุบลราชธานี
พ.ศ. 2547 ครู โรงเรยี นช่องเม็กวิทยา อำเภอสริ ินธร จังหวดั อุบลราชธานี
พ.ศ. 2550 ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนเบ็ตตี้ดูเมน 2 ช่องเม็ก
อำเภอสริ นิ ธร จงั หวัดอุบลราชธานี
สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี
พ.ศ. 2558 ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดเู มน 2 ชอ่ งเม็ก
อำเภอสิรินธร จงั หวดั อุบลราชธานี
สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดอุบลราชธานี
โดย : นางบญุ ลอ้ ม แกว้ ดอน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก
ชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์
ประกอบกำรสอนแบบเนน้ แผนผงั มโนทศั น์
โรงเรยี นเบ็ตต้ดี ูเมน 2 ช่องเมก็ อำเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลรำชธำนี
องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นจงั หวดั อบุ ลรำชธำนี