สรปุ สงั คม ม.1
ปลายภาค
ภมู ิศาสตรท์ วปี เอเชยี
ทวีปเอเชียเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ที่สุดในโลก* มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิประเทศ
ภมู ิอากาศที่หลากหลาย มเี ช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ทแี่ ตกตา่ งกนั มากจึงทา
ให้ไดร้ บั สมญานามว่า “ทวีปแห่งความแตกตา่ ง”*
1. ทต่ี งั้ ของทวปี เอเชยี
1.1 ดนิ แดนส่วนใหญข่ องทวปี เอเชียตงั้ อย่ซู กี โลกเหนอื เพราะอย่เู หนอื เสน้ ศนู ย์สูตรยกเวน้
พ้ืนท่บี างส่วนของเกาะตา่ ง ๆ ในประเทศอินโดนีเซยี และติมอร์-เลสเต ทอี่ ยใู่ ตเ้ ส้นศนู ย์สตู รหรอื ซีก
โลกใต้
1.2 ท่ตี ้งั ตามพกิ ัดทางภมู ิศาสตรข์ องทวีปเอเชีย คอื
ละตจิ ดู ที่ 11 องศาถงึ ละติจูด 77 องศาเหนือ
ลองจิจูด 26 องศาตะวันออกถงึ ลองจิจดู 170 องศาตะวันตก
1.3 ทวีปเอเชยี มดี ินแดนตดิ ต่อกนั กบั มหาสมทุ ร 3 ด้านคือ
ทิศเหนอื จรดมหาสมุทรอารก์ ตกิ
ทศิ ใต้ จรดมหาสมุทรอนิ เดยี
ทิศตะวันออก จรดมหาสมทุ รแปซิฟิก**
ทศิ ตะวันตก จรดยโุ รปกับทวปี แอฟริกา
1.4 ทวีปเอเชียมีดินแดนติดต่อเน่ืองกับทวีปยุโรปและแอฟริกา** บริเวณรอยต่อระหว่าง
ดนิ แดนของทวีปยโุ รปกบั ทวปี เอเชีย เรียกว่า ยเู รเซีย
2. ขนาดของทวีปเอเชยี
ทวีปเอเชยี เป็นดินแดนทวีปท่ีใหญ่ท่สี ุดในโลกมเี นอื้ ที่ประมาณ 1 ใน 3 ของแผ่นดนิ ของโลก
ท้ังหมด
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 2
3. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวีปเอเชยี
ภมู ลิ ักษณ์ของทวีปเอเชียมี 5 เขตดังน้ี
3.1 เขตทร่ี าบต่าตอนเหนอื หรือท่รี าบล่มุ ภาคเหนือ**
เป็นที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชีย เรียกว่า เขตไซบีเรียของรัสเซีย
อยู่ระหว่างแม่น้าอ็อบ และแม่น้าเยนีเซย์ มีอากาศหนาวเย็น เพาะปลูกไม่ได้ และไม่สามารถใช้
ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ได้*** จงึ มปี ระชากรตง้ั ถน่ิ ฐานเบาบาง
3.2 เขตทรี่ าบลุม่ แม่น้า
ที่ราบลุ่มแม่น้าของทวีปเอเชียมีดินอดุ มสมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลูกจึงมีประชากรต้ังถิ่น
ฐานหนาแน่น**ได้แก่
ที่ราบลุ่มแม่น้าในเอเชียตะวันออกประเทศจีน มีแม่น้าสาคัญ 3 สายได้แก่ แม่น้า
หวงเหอ แมน่ า้ ฉางเจยี ง แม่น้าซเี กียง
ท่ีราบลุ่มแม่น้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม่น้าสาคัญ ได้แก่ แม่น้าโขง แม่น้าแดง
แมน่ า้ เจ้าพระยา แมน่ า้ สาละวนิ แม่นา้ อริ วดี
ท่ีราบลุ่มแม่น้าในเอเชียใต้ ประกอบดว้ ยแมน่ ้าสาคัญ 3 สาย ได้แก่ แม่น้าสินธุ แม่น้า
คงคา และแมน่ า้ พรหมบุตร***
ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้าในเอเชียตะวันตกเฉยี งใต้ ไดแ้ ก่ แมน่ ้าไทกริส-ยูเฟรตสิ (ประเทศอิรกั )
3.3 เขตเทือกเขาและท่ีราบสูง ลักษณะภูมิประเทศของเขตเทือกเขาและท่ีราบสูงบริเวณ
ตอนกลางของทวีปเอเชียมีดังน้ี เป็นเทือกเขาและที่ราบสูงอันกว้างใหญ่ครอบคลุมตอนกลางของ
ทวีปในพื้นท่ี ประเทศอินเดีย ปากีสถาน จีน และรัสเซีย มีจุดรวมของเทือกเขาสูง เรียกว่า
ชุมเขาปามรี ์***หรือปาร์มีนอตซึ่งเป็นเทือกเขาสงู ทั้งหมดจะทอดตวั จากจุดรวมแห่งน้ี เทอื กเขาสาคญั
ไดแ้ ก่ เทือกเขาหมิ าลยั (มียอดเขาชอื่ ว่า ยอดเขา เอเวอร์เรสต)์ ** ฮินดกู ชู ขอบเขตท่รี าบสงู ระหวา่ ง
เทือกเขา ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบตเป็นท่ีราบสูงขนาดใหญ่ และสูงท่ีสุดในโลกที่ ราบสูงยูนนาน และท่ี
ราบสงู มองโกเลีย เปน็ ต้น
3.4 เขตท่รี าบสูงเก่าหรือทร่ี าบสูงตอนใตแ้ ละตะวนั ตกเฉยี งใต้
เป็นหินเปลือกโลกท่ีมีอายุเก่าแก่อยู่บริเวณตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
เขตทรี่ าบสูงแตล่ ะแห่งมอี าณาบริเวณไม่ตอ่ เนือ่ งกัน ได้แก่ ทร่ี าบสูงเดคคาน ในประเทศ
อินเดีย ที่ราบสูงอานาโตเลยี ในประเทศตรุ กี ท่รี าบสงู อาหรบั ในประเทศซาอดุ ิอาระเบยี
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 3
***เพิ่มเติม บรเิ วณประเทศ ฟลิ ิปปนิ ส์ อนิ โดนเี ซยี ญี่ป่นุ มคี วามอดุ มสมบูรณเ์ หมาะแกก่ าร
เพาะปลกู เพราะเปน็ ดนิ ท่เี กิดจากเถ้าถ่านภูเขาไฟ***
3.5 เกาะและหมเู่ กาะ
เกาะและหมู่เกาะของทวีปเอเชียในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเป็นหินเปลือก
โลกรุ่นใหมเ่ รยี กวา่ วงแหวนไฟแปซฟิ ิกจงึ เป็นแนวของแผน่ ดินไหวและภเู ขาไฟระเบิด
เกาะและหมู่เกาะของทวปี เอเชียมี 2 แหง่ คือหมู่เกาะในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเปน็ ทต่ี ั้ง
ของประเทศญี่ปุ่นและไต้หวัน และหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดินแดนของประเทศ
อนิ โดนเี ซียและฟิลิปปนิ ส์ (ศรีลังกา ก็เปน็ เกาะ)***
4. การแบง่ ภูมิภาคของทวปี เอเชีย
การแบ่งภมู ภิ าคทวีปเอเชีย แบ่งได้ 5 ภูมิภาค***ดงั นี้
4.1 เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ หรือ เอเชียอาคเนย์ ( Southeast Asia ) ได้แก่ ประเทศ
ไทย ลาว กมั พูชา พม่า เวยี ดนาม ฟลิ ปิ ปินส์ อินโดนเี ซยี มาเลเซีย สงิ คโปร์ บรูไนและตมิ อร์เลสเต
4.2 เอเชียตะวันออก ( East Asia ) ไดแ้ ก่ ประเทศจนี มองโกเลยี ไต้หวัน เกาหลีเหนือ
เกาหลใี ต้ ญป่ี ุ่น นอกจากน้ยี ังมีดนิ แดนอาณานคิ มของอังกฤษคอื ฮอ่ งกง และดินแดนอาณานคิ ม
ของโปรตุเกส คอื มาเก๊า
4.3 เอเชียใต้ ( South Asia ) ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ เนปาล ศรีลังกา
ภฎู านและมลั ดฟี ส์
4.4 เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ( Southwest Asia ) ได้แก่ ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน
อิรัก อิสราเอล จอร์แดน คูเวต เลบานอน กาตาร์ โอมาน ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย ตุรกี บาห์เรน
สหรัฐอาหรบั เอมเิ รตส์ เยเมน และไซปรัส มีลกั ษณะภูมิประเทศสว่ นใหญ่เป็นทะเลทราย***
4.5 เอเชียกลาง ได้แก่ ทาจิกิสถาน คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน
เคอร์กสิ ถาน และอยู่ในทวปี ยุโรป จอร์เจีย อารเ์ มเนยี อาเซอรไ์ บจาน
5. ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ ลักษณะภมู อิ ากาศภูมิ***
ภาคต่างๆของทวีปเอเชียมีลักษณะภูมิอากาศแตกต่างกันมีทั้งเขตร้อนเขตอบอุ่นและเขต
หนาวทั้งนเี้ กิดจากปจั จัยสาคัญดังน้ี
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 4
5.1 ทตี่ ง้ั (ทวปี เอเชียมพี ้ืนที่กวา้ งใหญ)่ ***
5.2 ความใกล้-ไกลจากทะเล
5.3 ความสูงตา่ ของพื้นที่
5.4 ลมประจาท่พี ัดผ่าน ลมมรสมุ พายุหมนุ
5.5 กระแสนา้
6. เขตภูมอิ ากาศของทวีปเอเชีย
ดว้ ยปัจจัยดังกล่าวทาให้แตล่ ะพ้ืนท่ีของทวีปเอเชียมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันจาแนกได้
11 เขต แตล่ ะเขตใชส้ ญั ลักษณ์เปน็ ภาษาอังกฤษดงั น้ี
6.1 เขตภูมอิ ากาศแบบป่าฝนเขตรอ้ นหรือป่าดิบช้ืน (AF)
6.2 เขตภูมอิ ากาศแบบมรสมุ เขตรอ้ น (Am) มกั ไดร้ บั ผลกระทบจากพายหุ มุนเขตร้อน***
6.3 เขตภูมอิ ากาศแบบท่งุ หญา้ สะวันนา หรอื ท่งุ หญา้ เขตร้อน (Aw)
6.4 เขตภูมอิ ากาศแบบทุง่ หญา้ กึง่ ทะเลทราย (Bs)
6.5 เขตภมู ิอากาศแบบทะเลทราย (Bw)
6.6 เขตภมู ิอากาศแบบอบอ่นุ ช้ืน (Ca)
6.7 เขตภมู ิอากาศแบบเมดเิ ตอร์เรเนยี น (Cs)
6.8 เขตภูมิอากาศแบบชน้ื ภาคพื้นทวปี (Da)
6.9 เขตภมู อิ ากาศแบบไทกาหรือแบบกึ่งข้ัวโลก (Dc) เรียกอีกอยา่ งวา่ กง่ึ อารก์ ตกิ
6.10 เขตภูมอิ ากาศแบบทุนดราหรือแบบขว้ั โลก (ET)
6.11 เขตภูมิอากาศแบบท่สี ูงหรือภูเขาสูง (H)
7. โครงสร้างทางเศรษฐกิจของทวีปเอเชยี
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของประชากรในทวปี เอเชยี แบง่ เป็น 4 ประเภทดังนี้
7.1 การเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ เพาะปลูก เล้ยี งสตั ว์ ประมง ป่าไมแ้ ละเหมอื งแร่
แหล่งประมงทางทะเลท่สี าคญั ของทวปี เอเชยี คือ บริเวณที่เรียกวา่ “ครู ิลแบงค๋
(kuril Bank)” เปน็ แหลง่ ปลาชกุ ชุมบริเวณมหาสมุทรแปซฟิ กิ ***
ประเทศในทวีปเอเชียที่มีการประมงทางทะเลท่ีทันสมัยมีผลผลิตในแต่ละปีสูง
มากของโลก ได้แก่ ญ่ปี นุ่ *** ซ่ึงมีเรือประมงที่มีความเรว็ สงู มีอุปกรณ์จบั ปลาท่ีทันสมยั และมีหอ้ ง
เย็นในเรอื ประมง รองลงมา ได้แก่ จนี เกาหลีใต้ อนิ เดยี ไทย และอินโดนีเซีย เปน็ ต้น
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 5
7.2 การอุตสาหกรรม ประเทศที่ประกอบอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มี ประเทศญี่ปุ่น จีน
สงิ คโปร์ ***
7.3 การพาณิชยกรรม
7.4 การคมนาคมขนส่งและการส่ือสาร
8. จานวนประชากรและการตงั้ ถิ่นฐานของประชากรในทวีปเอเชยี
8.1 การกระจายประชากรและการตั้งถิ่นฐานของประชากรในทวีปเอเชียข้ึนอยู่กับลักษณะ
ภมู ิประเทศและภมู อิ ากาศ
ลักษณะภูมิประเทศท่ีมีประชากรตั้งถ่ินฐานหนาแน่น คือ ท่ีราบชายฝั่งทะเล และทีร่ าบ
ลมุ่ แมน่ ้า เชน่ ท่รี าบลมุ่ แมน่ า้ สินธุ และคงคา ในเอเชยี ใต้ และทร่ี าบลมุ่ แมน่ ้าแยงซเี กยี ง และฮ
วงโหประเทศจีน เปน็ ต้น ***
ลักษณะภูมิประเทศท่ีมีประชากรเบาบาง ได้แก่ เขตเทือกเขาสูง เขตป่าดงดิบ และเขต
ทะเลทราย และเขตหนาวจัด
9. กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ของประชากรในทวปี เอเชยี
เช้อื ชาติของประชากรในทวปี เอเชียจาแนกได้ 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ คอื
**กลุ่มมองโกลอยด์ เป็นชนชาติผิวเหลือง ผมเหยียดตรงสีดา ใบหน้าแบนกว้าง ศรีษะ
เล็ก และตาเรียว มีจานวนมากกว่าชาติพันธุ์ใด ๆ ในทวีปเอเชีย แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย ๆคือ
พวกมองโกลอยด์เหนือ พวกมองโกลอยดใ์ ต้
กลุ่มคอเคซอยด์ พวกผิวขาว รูปร่างหน้าตาสูงใหญ่ คล้ายกับชาวยุโรป แต่ดวงตาและสี
ผมเข้มมากกวา่
กลุ่มนิกรอยด์ เอเชยี ผวิ ดา ผมหยกิ และปากหนา
10. ลักษณะทางสงั คม
ลักษณะทางสงั คมของประชากรในทวีปเอเชียมี 2 ลักษณะ
สังคมของประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลีใต้ และจีน**
(เฉพาะในเขตเมืองใหญ่) เป็นลักษณะของสังคมอุตสาหกรรม ซ่ึงประชากรส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 6
ในเมือง มีฐานะทางเศรษฐกิจ คุณภาพ และการศึกษาดี** เรียนรู้วัฒนธรรมเทคโนโลยีของชาติ
ตะวันตกได้อย่างรวดเร็ว
สงั คมของประเทศกาลงั พัฒนา ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรมใช้ชวี ิตอยู่
ในชนบทมกี ารศกึ ษาไมส่ ูงและมรี ายได้นอ้ ย
ภมู ศิ าสตรท์ วปี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย
1. ความหมายของทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี
ทวีปออสเตรเลีย เป็นทวีปที่มีขนาดเล็กสุด พ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยู่ในเขตซกี โลกใต้ และเป็น
ท่ตี งั้ ของประเทศออสเตรเลีย
โอเชียเนีย หมายถึงดินแดนท่ีประกอบด้วย ประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ปาปัว
นวิ กนิ ี และหม่เู กาะนอ้ ยใหญ่ ในมหาสมทุ รแปซิฟิกรวม 14 ประเทศ พนื้ ทดี่ นิ แดนโอเชยี เนียท้งั หมด
มปี ระมาณ 8.5 ล้านตารางกโิ ลเมตร จึงเรยี กรวมกนั วา่ ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนยี (ดินแดนใน
ทวปี ออสเตรเลีย)***
2. ที่ตัง้ และอาณาเขตทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี
ประกอบด้วยหมู่เกาะต่างๆในมหาสมุทรแปซิฟิกจานวนมากจึงไม่อาจกาหนดท่ีต้ังพิกัดทาง
ภมู ศิ าสตร์ใหช้ ัดเจนได้
ตาแหนง่ ละติจูด ตง้ั แตล่ ะติจูดท่ี 20 องศาเหนอื จนถึงระดับจดุ ที่ 50 องศาใต้
ตาแหน่งลองจจิ ูด ตง้ั แตล่ องจิจดู ท่ี 115 องศาตะวันออกจนถึงลองจจิ ดู ที่ 130 องศา
ตะวนั ตก
3. ภูมิประเทศของทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนยี
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศของทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย มี 3 เขต สรุปได้ดังน้ี
3.1 แผ่นดินใหญ่ทวีปออสเตรเลีย เป็นเปลือกโลกยุคหินเก่า ภูเขาส่วนใหญ่เป็นภูเขาหิน
ทราย พ้นื ท่ีสว่ นใหญข่ องทวีปเปน็ ท่ีราบสูง แบ่งลกั ษณะภมู ปิ ระเทศได้ 3 เขตคอื
เขตเทือกเขาสงู ภาคตะวันออก
เขตท่รี าบภาคกลาง
**เขตที่ราบสูงและทะเลทราย ภาคตะวันตกมีพื้นที่ครอบคลุมมากกว่าครึ่งหน่ึง
ของแผน่ ดินใหญ่สเตรเลยี
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 7
3.2 เกาะและหมเู่ กาะภูเขาไฟ
3.3 เกาะปะการังวงแหวน
***เพมิ่ เตมิ สตั ว์ทม่ี ถี ิ่นกาเนดิ และสัตว์ประจาถน่ิ ของออสเตรเลยี ไดแ้ ก่ จิงโจ้ โคอาลา และนกอีมู
สว่ นสัตวท์ ีม่ ีถ่นิ กาเนิดและสตั ว์ประจาถ่นิ ของนวิ ซีแลนด์ คือ นกกวี ี***
4. เชือ้ ชาตขิ องประชากร
ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียจาแนกเชื้อชาติได้เป็น 2 กลุ่ม
ใหญ่ ๆ คอื
4.1 ชนผวิ ขาว ประชากรสว่ นใหญใ่ นประเทศออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนดเ์ ป็นชาวตะวันตกหรือ
ชนผิวขาวทอ่ี พยพมาจากทวีปยุโรป โดยมีเชอื้ สายชาวอังกฤษมากที่สดุ
4.2 ชนพนื้ เมือง หมายถงึ ประชากรเจ้าของถ่นิ เดิมมีท้ังพวกผิวสนี ้าตาล ไปจนถึงพวกผิวสี
ดา สว่ นใหญ่มผี มหยกิ ดา พวกผมเหยียดตรงมเี ปน็ สว่ นนอ้ ย และรูปร่างสันทดั ปานกลาง ไดแ้ ก่
ชาวอะบอริจินนีส ในประเทศออสเตรเลยี ***
ชนเผ่าเมารี ในนิวซีแลนด์
ชนพื้นเมืองในหมู่เกาะต่าง ๆ เช่นชาวฟิจิชาวไมโครนีเซียชาวเมลานีเซียและชาว
โพลนิ ีเซยี เปน็ ตน้
5. การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม
ในปัจจุบันมีการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่างชนพื้นเมือง ชาวยุโรป และทวีปเอเชียมาก
ขึ้นโดยเห็นได้ชัดในประเทศออสเตรเลียเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ
ซึ่งมีผู้คนหลายเช้ือชาติเข้ามาอาศัยอยู่ร่วมกัน ซ่ึงชาติที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรมในประเทศออสเตรเลียและโอเชยี เนยี มากทีส่ ดุ คือ ยุโรป***
ภยั ธรรมชาตทิ ีเ่ กดิ ในประเทศไทยและทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี
1. วาตภยั
คอื ภัยธรรมชาติทเ่ี กิดจากลมพายซุ งึ่ มคี วามรุนแรงมากพอท่จี ะสรา้ งความเสียหายใหแ้ ก่ชวี ิต
และทรัพย์สินได้ว่าจะภัยที่เกดิ ขึ้นในประเทศไทยทวีปเอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนียมี 2 ประเภท
คือ
S o c i a l b y ค รู อิ ฐ ห น้ า | 8
พายุหมุนเขตร้อน
พายดุ เี ปรสชัน่ ความเรว็ ลมไมเ่ กิน (61 กม./ชม.)
พายโุ ซนร้อน (62 - 117 กม./ชม.)
ไต้ฝุ่น (118 กม./ชม.ขึ้นไป) แหล่งที่เกิด มหาสมุทรแปซิฟิก(ตะวันออก
ญ่ีปนุ่ ) ทะเลจีนใต้ เกดิ มากสดุ ในเดือนกรกฏาคมถงึ ตุลาคม***
พายุฤดูร้อนหรอื พายุฝนฟ้าคะนอง
ขอ้ ควรปฏบิ ัติขณะเกดิ วาตภัย ประชาชนควรพึงปฏบิ ัติ ดงั น้ี
- พยายามคมุ สตใิ ห้ดีขณะท่ีมลี มพายุ
- ไม่ควรออกนอกอาคารควรอย่ใู นอาคารปิดประตูและหนา้ ต่างให้สนิท ***
- ไมค่ วรอยูใ่ นท่ลี มุ่ หรอื ทร่ี าบรมิ ทะเล
***เพมิ่ เติม***
ภยั พิบัติทางธรรมชาติทเี่ ป็นธรณีภยั ได้แก่ ภเู ขาไฟปะทุ สึนามิ
การท่แี ผน่ เปลือกโลกอนิ เดยี มุดตัวลงใตแ้ ผ่นเปลือกโลกยเู รเซยี ทาให้เกิด สึนามิ
หลงั เกดิ ภเู ขาไฟปะทอุ าจเกดิ แผ่นดนิ ไหวและสนึ ามิ
ประเทศญี่ปุ่นจึงเกิดภยั พบิ ัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งเนื่องจาก ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อของ
เปลอื กโลก และล้อมรอบด้วยทะเล
พื้นทีเ่ สยี่ งต่อการเกดิ อทุ กภัยมากที่สดุ คอื บรเิ วณที่ราบลุ่มแมน่ า้ แยงซีเกียง
*******************************************************************************************************************