The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มะเร็งเต้านม เรื่องใกล้ตัวที่ผู้หญิงต้องรู้

BreastCancer

1

มะเร็งเต้านมเร่ืองใกล้ตวั ท่ผี ู้หญิงต้องระวงั

มารู้จักมะเร็งเต้านมกันเถอะ

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งท่ีพบมากเป็นอนั ดบั หนึง่ ในผ้หู ญิงทว่ั โลก
และพบผ้ปู ่ วยมะเร็งเต้านมรายใหม่เพ่ิมขนึ ้ ในทุกๆปี มะเร็งเต้านมเกิด
จากเซลล์ของเต้านมท่ีมีการแบง่ ตวั อย่างผิดปกติ เหนือการควบคมุ ของ
ร่างกายและเปล่ียนแปลงเป็นเซลล์มะเร็ง สว่ นใหญ่มกั เกิดที่ภายในท่อ
นํา้ นม และสามารถกระจายออกจากทอ่ นํา้ นม ไปท่ีตอ่ มนํา้ เหลืองที่รกั แร้
และอวยั วะอืน่ ท่ีไกลออกไป

มะเร็งเต้านมเกดิ จากอะไร?

ปัจจบุ นั ยงั ไมม่ ีข้อมลู ใดสรุปแน่ชดั ถึงสาเหตขุ องการเกิดมะเร็งเต้านม
เราพบวา่ มปี ัจจยั ที่เกี่ยวข้องคอื

 อายุ พบวา่ มคี วามเสย่ี งเป็นมะเร็งเต้านมเพ่ิมขนึ ้ เม่อื อายมุ ากขนึ ้ โดยพบ
ได้มากในวยั กลางคน ตงั้ แตอ่ ายุ 50 ปีขนึ ้ ไป มีเพียงประมาณร้อยละ 10 ที่พบ
ได้ในอายตุ ่ํากวา่ 40 ปี

 ฮอร์โมน ฮอร์โมนเพศหญิงมคี วามสมั พนั ธ์กบั การเกิดมะเร็งเต้านม ซ่งึ เห็นจาก
o ผ้หู ญิงเป็นมะเร็งเต้านมมากกวา่ ผ้ชู ายถงึ 100 เทา่
o ชว่ งเวลาในการมปี ระจําเดือน โดยพบวา่ ผ้ทู ่ีมีประจําเดือนครงั้ แรกเม่ืออายนุ ้อย
หรือหมดประจําเดอื นช้า มีความเส่ียงมากขนึ ้ ในการเกิดมะเร็งเต้านม
o ผ้หู ญิงท่ีไมเ่ คยมีบตุ รหรือตงั้ ครรภ์ครงั้ แรกเม่ืออายมุ ากกวา่ 30 ปี มีความเสี่ยงใน
การเกิดมะเร็งเต้านมมากกวา่ คนที่ตงั้ ครรภเ์ มอ่ื อายนุ ้อย
o ผ้หู ญิงที่ใช้ยาคมุ กําเนิดมากกว่า 5 ปี หรือได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนทดแทนหลงั
หมดประจําเดือนเป็นระยะเวลานานกวา่ 2 ปี จะเพิ่มความเสย่ี งของมะเร็งเต้านม
มากขนึ ้

 ประวตั ิโรคมะเร็ง ผ้ทู ่ีเคยเป็นมะเร็งเต้านมข้างหนงึ่ มีโอกาสเสยี่ งที่จะตรวจพบโรคมะเร็งได้
ที่เต้านมอีกข้างหน่ึง หรือผ้ทู ่ีเคยตรวจพบการเปล่ียนแปลงของเนือ้ เยื่อเต้านมบางชนิดมี
โอการเส่ียงที่จะเป็นมะเร็งเต้านมได้มากขนึ ้

2

 ประวตั ิครอบครัว พันธกุ รรม มะเร็งเต้านมมีการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมท่ีเก่ียวข้องกบั ยีน
BRCA1, BRCA2 (บีอาร์ซีเอวนั , บีอาร์ซีเอท)ู ผ้หู ญิงท่ีมีการกลายพนั ธ์ขุ องยีนนีจ้ ะมโี อกาส
เสย่ี งเป็นมะเร็งเต้านมเพิ่มขนึ ้

 ประวตั กิ ารได้รับรงั สี โดยเฉพาะการได้รับรงั สีบริเวณหน้าอกเมอื่ อายยุ งั น้อย
 พฤติกรรม การด่ืมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอร์ รับประทานอาหารที่มีไขมนั สงู การขาดการ

ออกกําลงั กาย ภาวะอ้วนหลงั หมดประจําเดือน นํา้ หนักเกิน เพิ่มความเส่ียงในการเป็น
มะเร็งเต้านมมากขนึ ้

เราจะตรวจคดั กรองมะเร็งเต้านมได้อย่างไร?

การตรวจคดั กรองมีความสําคญั มาก เน่ืองจากการค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกสามารถ
รักษาให้หายขาดได้ วธิ ีการตรวจคดั กรองในปัจจบุ นั คือ

 การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
 การตรวจเต้านมด้วยบคุ ลากรทางการแพทย์
 การเอก็ ซเรย์เต้านม (แมมโมแกรม)

แนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม แนะนําให้

 ผ้หู ญิงท่ีมีอายุ 20 ปีขนึ ้ ไป ควรเร่ิมตรวจเต้านมด้วยตนเองอยา่ ง
น้อยเดอื นละครัง้ และตรวจเต้านมโดยแพทย์หรือบคุ ลากรทางการแพทย์ที่ได้รบั การฝึกฝน
ทกุ 3 ปี
 ผ้หู ญิงท่ีมอี ายุ 40 - 69 ปี ควรตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละครงั้ ตรวจเต้านม
โดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการฝึกฝนทกุ 1 ปี และควรได้รับการตรวจ
ด้วยการทําแมมโมแกรมทกุ 1-2 ปี
 ในผ้ทู ่ีมีประวตั ิญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม หรือมะเร็งรังไข่ ควรเร่ิมทําการตรวจด้วย
แมมโมแกรมตงั้ แต่อายทุ ่ีญาติสายตรงเป็นลบออก 10 ปี เช่น หากทา่ นมีมารดาเป็นมะเร็ง
เต้านมตอนอายุ 45 ปี ท่านควรตรวจคดั กรองด้วยแมมโมแกรมเมอื่ อายุ 35 ปี เป็นต้น
 สว่ นในผ้หู ญิงที่อายุ 70 ปี ขนึ ้ ไป การตรวจคดั กรองในกลมุ่ นี ้ แพทย์จะพิจารณาถึงความ
เหมาะสมเป็นรายบคุ คลไป

*** การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะต้น เพ่มิ โอกาสรักษาหายได้***

3

รู้ได้อย่างไรว่าเป็ นมะเร็งเต้านม

โดยการตรวจร่างกาย ร่วมกบั ผลการตรวจแมมโมแกรม และ/หรือภาพอตั ราซาวด์เต้านม หากพบ
ลกั ษณะที่สงสยั วา่ เป็นมะเร็งเต้านม แพทย์จะต้องมกี ารสง่ ชิน้ เนือ้ เพ่ือยืนยนั การวินิจฉยั อีกครงั้

มะเร็งเต้านมมีการรักษาอย่างไร

 การผา่ ตดั
 การให้ยาเคมีบําบดั / ยามงุ่ เปา้ (Targeted therapy)
 การฉายแสง
 การใช้ยาต้านฮอร์โมน

หากเป็นมะเร็งระยะแรก ก้อนไมโ่ ต แพทย์จะเร่ิมการรักษาด้วย
การผา่ ตดั แตห่ ากก้อนมะเร็งมีขนาดก้อนโต แพทย์อาจเร่ิมการ
รักษาโดยให้ยาเคมีบําบดั เพื่อให้ขนาดก้อนเลก็ ลงแล้วจึงผ่าตดั
ซึ่งการผา่ ตดั จะแบง่ เป็น 2 สว่ น คอื สว่ นของเต้านมและตอ่ มนํา้ เหลืองบริเวณรกั แร้

 การผา่ ตดั เต้านมมที งั้ การผา่ ตดั แบบเก็บเต้านม การผา่ ตดั เต้านมออกทงั้ หมด หรือเป็นการ
ผา่ ตดั เต้านมทงั้ หมดร่วมกบั การเสริมเต้านมไปพร้อมๆ กนั หรือจะมาเสริมเต้านมในภายหลงั ก็ได้ การเลือก
ผา่ ตดั ด้วยวธิ ีใดขนึ ้ อยกู่ บั ตําแหน่ง ขนาดของก้อน ระยะของโรค ปัจจยั ทางร่างกายของผ้ปู ่ วยแตล่ ะคน และ
การตกลงร่วมกนั ระหวา่ งแพทย์กบั ผ้ปู ่ วย

 การผ่าตัดต่อมนํา้ เหลืองบริเวณรักแร้ หากตรวจพบก่อนผ่าตดั แล้ว ว่ามีเซลล์มะเร็ง
กระจายไปตอ่ มนํา้ เหลอื งที่รักแร้ แพทย์จะต้องผา่ ตดั เลาะตอ่ มนํา้ เหลืองบริเวณรกั แร้ระดบั ท่ี 1 และ 2 ออก
สว่ นในกรณีที่ก่อนผา่ ตดั ยงั ตรวจไมพ่ บการกระจายไปตอ่ มนํา้ เหลืองท่ีรักแร้ แพทย์จะมีการตรวจหาต่อม
นํา้ เหลอื งตอ่ มแรกที่มะเร็งอาจกระจายไป ถ้าไมพ่ บเซลล์มะเร็งในตอ่ มนํา้ เหลืองนีก้ ็ไมจ่ ําเป็นต้องเลาะตอ่ ม
นํา้ เหลืองที่รักแร้เพิ่ม

การรักษามะเร็งเต้านมส่วนใหญ่เป็นการรกั ษาแบบผสมผสานกนั หลายวธิ ี ทัง้ นีข้ ึน้ อยกู่ บั ชนิด
ของมะเร็งเต้านม ระยะของโรค และความเหมาะสมในผ้ปู ่ วยแตล่ ะราย

4

การตรวจเต้านมด้วยตนเองมีวธิ ีการอย่างไร?
การตรวจเต้านมด้วยตนเองควรทําอยา่ งน้อยเดือนละครัง้ ชว่ งเวลาที่

เหมาะสมสําหรับผ้ทู ่ียงั มปี ระจําเดือน คือ 7-10 วนั หลงั จากมีประจําเดือนวนั
แรก เช่น มีประจําเดือนวนั ที่ 10 เป็นวนั แรก วนั ที่เหมาะสมในการตรวจเต้านม
คอื วนั ท่ี 17-20 เป็นต้น เนื่องจากเต้านมจะออ่ นตวั
ทําให้สามารถคลําพบส่ิงผิดปกตไิ ด้ง่าย สว่ นกรณี
ที่ไมม่ ีประจําเดือนแล้ว ควรกําหนดวนั ที่ช่วยให้จํา
ง่ายเช่น ทกุ วนั ท่ี 1 ของเดอื น ทกุ วนั ที่ 15 ของเดอื น เพ่ือให้ตรวจเต้านมเองเป็น
ประจําทุกเดอื น โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ท่านอาจตรวจได้ทงั้ ในท่ายืน
ทา่ นงั่ หรือท่านอนกไ็ ด้ ในห้องที่ปิดมิดชิด เพราะต้องถอดเสอื ้ ออก วธิ ีการตรวจ
มี 2 ขนั้ ตอน คือ การดู และการคลํา
 การดู โดยให้ท่านยืนหน้ากระจกเงา ปล่อยแขนแนบลําตวั ทงั้ 2 ข้าง ตามด้วยทา่ ยกมือ
เท้าสะเอว และยกมือทงั้ 2 ข้างไว้เหนือศรีษะ

แต่ละท่าควรสังเกตดูส่งิ ต่างๆ ต่อไปนี้
o หัวนม ตําแหน่งของหัวนมควรอยู่ในระดับเดียวกัน สีผิวของหัวนม
เหมือนกนั รูปร่างคล้ายกนั หัวนมไมถ่ กู ดงึ รัง้ ให้บ๋มุ ลง หรือเอนไปข้างใด
ข้างหนึง่ ไมค่ วรมีนํา้ เหลอื งหรือเลือดไหลออกจากหวั นม ไมค่ วรมแี ผลผิว
ถลอก หรือแผลจากก้อนนนู แตกออกมาที่ผวิ

5

o ปานนม ควรมผี วิ เนียน และสีเสมอกนั ไมค่ วรมรี อยนนู จากก้อนมะเร็งดนั
ผิวขึน้ มา หรือรอยบุ๋มจากก้อนมะเร็งดึงรัง้ ลงไป ไม่ควรมีแผลผิวถลอก
หรือแผลจากก้อนนนู แตกออกมาที่ผวิ

o ผวิ เต้านม ควรมีผวิ เนียน สีผิวเสมอกนั ไมค่ วรมีลกั ษณะผิวบวมหนา รู
ขมุ ขนใหญ่ เป็นลกั ษณะเหมือนผวิ ส้ม ไมค่ วรมีรอยนนู หรือรอยบุ๋มจาก
การดึงรัง้ ของก้อนมะเร็ง ไม่ควรมีสีผิวแดงคลํา้ ผิวตึงบางจากการท่ี
ก้อนมะเร็งรุกรานเข้าไปใต้ผิวหนัง ไม่ควรมีรอยแผลแตกทะลทุ ี่ผิวหนัง
พร้อมมนี ํา้ เหลอื งหรือเลอื ดไหลออกมา

o ระดับและขนาดของเต้านม เต้านมทงั้ 2 ข้างควรอยรู่ ะดบั เดียวกนั ควร
มีขนาดและรูปร่างใกล้เคียงกัน ไม่ควรมีการดึงรัง้ ขึน้ หรือห้ อยลงมา
ผดิ ปกตจิ ากการมีก้อนมะเร็ง

 การคลาํ หลงั จากดลู กั ษณะเต้านม 2 ข้าง ครบเรียบร้อยแล้ว ให้ท่านคลาํ บริเวณ
รกั แร้ บริเวณเหนือกระดกู ไหปล้าร้าและคลาํ เต้านมทงั้ 2 ข้าง
o การคลาํ บริเวณรักแร้และเหนือกระดูกไหปลาร้าทัง้ 2 ข้าง เพื่อดวู ่า
มีต่อมนํา้ เหลืองบริเวณดงั กล่าวโตหรือไม่ ท่าท่ีเหมาะสม คือ นัง่ ตวั ตรง
วางแขนข้างที่จะตรวจบนโต๊ะ และใช้ปลายนิว้ ชี ้นิว้ กลางและนิว้ นาง ของ
แขนอกี ข้างคลําลกึ เข้าไปในรักแร้ข้างท่ีจะตรวจ รวมทงั้ คลําตอ่ มนํา้ เหลือง
บริเวณไหปลาร้ าด้วย ทําสลบั กันทัง้ 2 ข้าง สงั เกตดวู ่ามีก้อนที่คลําได้
บริเวณรักแร้หรือเหนือกระดกู ไหปลาร้าหรือไม่

การตรวจต่อมนํา้ เหลืองบริเวณรักแร้และไหปลาร้า

6

 การคลาํ เต้านม

○ ทา่ นสามารถคลําเต้านมได้ทงั้ ในท่ายืน และท่านอน โดยในท่า
ยืนให้ท่านยืนยกแขนข้างที่จะตรวจไว้เหนือศรีษะ หรือในท่านอนให้
ทา่ นนอนหงายหนนุ หมอนเตยี ้ ๆ ใช้ผ้าหนนุ ไหล่ ยกแขนข้างที่จะตรวจ
ไว้เหนือศรีษะ จากนนั้ ใช้ปลายนิว้ ชี ้นิว้ กลางและนิว้ นางคอ่ ยๆ กดลง
บนผิวหนงั เบาๆ และกดแรงขนึ ้ จนกระทงั่ สมั ผสั กระดกู ซี่โครง

การตรวจเต้านมในท่ายืน การตรวจเต้านมในท่านอน

○ สําหรับทิศทางในการคลํา สามารถคลําได้ทงั้ เป็นวงกลมจาก
หวั นมวนตามเข็มนาฬิกาออกไป หรือคลําจากเต้านมสว่ นนอกวน
ตามเข็มนาฬิกาเข้ามาหาหัวนม คลําไล่ขึน้ -ลงจากใต้เต้านมถึง

กระดกู ไหปลาร้ า หรือคลําเป็นแนวรัศมีจากหัวนมออกไปยังด้าน

นอก ซ่ึงทกุ แบบมหี ลกั การเดียวกนั คอื คลําทุกส่วนของเต้านมให้

ครบถ้วน และต้ องบีบท่ีหัวนม เพ่ือดูว่ามีส่ิงคดั หล่งั ออกจาก

บริเวณหวั นมหรือไม่ หลงั จากนนั้ ให้เปล่ยี นคลาํ อกี ข้างแบบเดยี วกนั

การคลาํ เต้านมในทศิ ทางต่างๆ


Click to View FlipBook Version